126
กิตติกรรมประกาศ ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งและเปนเกียรติ และขอขอบพระคุณทานผูมีเกียรติจํานวนมากที่ได กรุณาใหการสนับสนุน และอนุเคราะหตอการดําเนินการโครงการวิจัย ดังตอไปนี. นพ.จรัส สุวรรณเวลา นายกสภาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนเสมือนครูผูชี้นํา หรือ mentor ในดานการบริหารวิชาการและวิจัย และกระตุนใหผูวิจัยศึกษาหาขอมูลเพิ่มเติม ตลอดเวลา . นพ. วิจารณ พานิช ผูกระตุนแนวคิดของการจัดการความรู . ดร . เทียนฉาย และ . ดร. สุชาดา กีระนันทน กับ . นพ. ภิรมย กมลรัตนกุล ที ่ผูวิจัยไดมีโอกาสเรียนรูดานการจัดทํา ยุทธศาสตรในระหวางรวมงานในชวงเวลาที่ผานมา ทานอาจารย ผูทรงคุณวุฒิ และผูบริหารระดับสูง จํานวนมากที่ไดกรุณาสละเวลาให ผูวิจัยไดเขาพบ ทําการสัมภาษณความคิดเห็น และขอเสนอแนะ อันมีประโยชนตอการวิเคราะห และสังเคราะหขอมูล อาทิ เชน ฯพณฯองคมนตรี . นพ. เกษม วัฒนชัย รศ. ดร. วันชัย ศิริชนะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง คุณสมนึก พิมลเสถียร สํานักงบประมาณ รศ.ดร.สุชาตา ชินะ จิตร สํานักงานกองทุนวิจัย รวมถึงทานรองอธิการบดีของมหาวิทยาลัยหลายแหง เปนตน ผูทรงคุณวุฒิที่กรุณาสละเวลามารวมเสวนาประกอบดวย . ดร. สันทัด โรจนสุนทร ราชบัณฑิต ประธานคณะที่ปรึกษา รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งได กรุณาทําหนาที่ประธาน และรวมใหความคิดเห็นในการประชุมเสวนาผูทรงคุณวุฒิ .ดร.อรรถสิทธิเวชชาชีวะ อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล .นสพ.ดร.พีระศักดิจันทรประทีป .ดร.ปยะวัติ บุญหลง รศ. ดร. วีระศักดิอุดมกิจเดชา รศ. เยาวลักษณ สุขธนะ ผศ. ดร. แกวคํา ไกรสรพงษ ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ดร. กระหยิ่ม ศานตตระกูล ดร. พันธศํกดิศิริรัชตพงษ ดร. วีรสิทธิสิทธิไตรย คุณวีระพจน แพสุวรรณ คุณปราโมทย วิทยาสุข คุณขจรศักดิมหคุณวรรณ และ คุณจิโรจน ไพฑูรย ทานอาจารยและผูทรงคุณวุฒิ ที่กรุณาชวยทบทวนและปรับแกแบบสอบถามกอนนํา ออกใช รวมถึงคณะอนุกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ของคณะ นักศึกษา วปอ. 2551 ที่ไดใหขอมูลเพื่อใชประกอบเปนสวนหนึ่งของแบบสอบถาม ทานผูบริหารระดับกลางและระดับสูง ไดใหความสําคัญตอประเด็นที่ผูวิจัยทําการ ศึกษาคนควา ดวยการเสียสละเวลาตอบแบบสอบถามอยางละเอียด แมจะมีภาระงานมากดังเปนทีทราบอยู นอกจากนั้นหลายทานยังไดติดตอกลับเพื่อใหความเห็นเพิ่มเติมอีกดวย ดร . กระหยิ่ม ศานตตระกูล และดร . รุงเรือง ลิ้มชูปฏิภาณ ประธานและเลขานุการ ตลอดจนคณะอนุกรรมาธิการดานการจัดการเทคโนโลยี คณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการสื่อสาร สภานิติบัญญัติแหงชาติที่กรุณาอนุญาตใหนําขอมูลจากการปฎิบัติงาน มาใช

20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

กิตติกรรมประกาศ

ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งและเปนเกียรติ และขอขอบพระคุณทานผูมีเกียรติจํานวนมากที่ไดกรุณาใหการสนับสนุน และอนุเคราะหตอการดําเนินการโครงการวิจัย ดังตอไปนี้

ศ. นพ.จรัส สุวรรณเวลา นายกสภาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซ่ึงเปนเสมือนครูผูช้ีนําหรือ mentor ในดานการบริหารวิชาการและวิจัย และกระตุนใหผูวิจัยศึกษาหาขอมูลเพิ่มเติมตลอดเวลา ศ.นพ.วิจารณ พานิช ผูกระตุนแนวคิดของการจัดการความรู ศ.ดร.เทียนฉาย และ ศ. ดร.สุชาดา กีระนันทน กับ ศ.นพ.ภิรมย กมลรัตนกุล ที่ผูวิจัยไดมีโอกาสเรียนรูดานการจัดทํายุทธศาสตรในระหวางรวมงานในชวงเวลาที่ผานมา

ทานอาจารย ผูทรงคุณวุฒิ และผูบริหารระดับสูง จํานวนมากที่ไดกรุณาสละเวลาใหผูวิจัยไดเขาพบ ทําการสัมภาษณความคิดเห็น และขอเสนอแนะ อันมีประโยชนตอการวิเคราะหและสังเคราะหขอมูล อาทิ เชน ฯพณฯองคมนตรี ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย รศ.ดร.วันชัย ศิริชนะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง คุณสมนึก พิมลเสถียร สํานักงบประมาณ รศ.ดร.สุชาตา ชินะจิตร สํานักงานกองทุนวิจัย รวมถึงทานรองอธิการบดีของมหาวิทยาลัยหลายแหง เปนตน

ผูทรงคุณวุฒิที่กรุณาสละเวลามารวมเสวนาประกอบดวย ศ.ดร.สันทัด โรจนสุนทร ราชบัณฑิต ประธานคณะที่ปรึกษา รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซ่ึงไดกรุณาทําหนาที่ประธาน และรวมใหความคิดเห็นในการประชุมเสวนาผูทรงคุณวุฒิ ศ.ดร.อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ศ.นสพ.ดร.พีระศักดิ์ จันทรประทีป ศ.ดร.ปยะวตั ิบุญหลง รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา รศ.เยาวลักษณ สุขธนะ ผศ.ดร.แกวคํา ไกรสรพงษ ดร.นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ดร.กระหยิ่ม ศานตตระกูล ดร.พันธศํกดิ์ ศิริรัชตพงษ ดร.วีรสิทธิ์ สิทธิไตรย คุณวีระพจน แพสุวรรณ คุณปราโมทย วิทยาสุข คุณขจรศักดิ์ มหคุณวรรณ และ คุณจิโรจน ไพฑูรย

ทานอาจารยและผูทรงคุณวุฒิ ที่กรุณาชวยทบทวนและปรับแกแบบสอบถามกอนนําออกใช รวมถึงคณะอนุกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ของคณะนักศึกษา วปอ. 2551 ที่ไดใหขอมูลเพื่อใชประกอบเปนสวนหนึ่งของแบบสอบถาม

ทานผูบริหารระดับกลางและระดับสูง ไดใหความสําคัญตอประเด็นที่ผูวิจัยทําการ ศึกษาคนควา ดวยการเสียสละเวลาตอบแบบสอบถามอยางละเอียด แมจะมีภาระงานมากดังเปนที่ทราบอยู นอกจากนั้นหลายทานยังไดติดตอกลับเพื่อใหความเห็นเพิ่มเติมอีกดวย

ดร.กระหยิ่ม ศานตตระกูล และดร.รุงเรือง ล้ิมชูปฏิภาณ ประธานและเลขานุการตลอดจนคณะอนุกรรมาธิการดานการจัดการเทคโนโลยี คณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการสื่อสาร สภานิติบัญญัติแหงชาติที่กรุณาอนุญาตใหนําขอมูลจากการปฎิบัติงาน มาใช

Page 2: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

คํานํา

ปจจุบันโลกมีวิวัฒนาการและมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมไปอยางมาก มีความเจริญกาวหนาขึ้นมาเปนลําดับจากยุคหนึ่งสูยุคหนึ่ง และกําลังเปลี่ยนผานจากยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไปเปนยุคของเศรษฐกิจฐานความรู ประเทศที่พัฒนาแลวตางๆ จึงใหความสนใจและพัฒนาการวิจัยใหเปนพลังในการเสาะแสวงหาองคความรู แกไขปญหาและใชหาหนทางในการพัฒนา อันนําไปสูการสรางนวัตกรรมใหมเพื่อการใชในการสรางประเทศใหมั่นคงและมั่งคั่ง ซ่ึงสําหรับประเทศไทยก็ไดมีการตั้งเปาหมายในการพัฒนาประเทศไปสูประเทศเศรษฐกิจฐานความรูใหเจริญกาวหนาทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกเชนเดียวกัน ดังนั้นการวิจัยจึงเปนประเด็นสําคัญที่ตองมีการพัฒนา

จากประสบการณของผูวิจัยทั้งทางดานการปฏิบัติงานวิจัยเปนเวลากวา 30 ป ทางดานบริหารดานวิชาการและวิจัย กวา 10 ป ตั้งแตระดับภาควิชา คณะ จนถึงระดับมหาวิทยาลยั และการรวมงานภารกิจที่เกี่ยวของกับการวิจัยดานนโยบายและบริหารจัดการในระดับประเทศเพื่อการพัฒนาการวิจัยของไทย ทําใหผูวิจัยไดเห็นทั้งศักยภาพของประเทศ ปญหา อุปสรรค และประเด็นที่นาสนใจหลายประเด็น จึงเล็งเห็นวา การมียุทธศาสตรโดยเฉพาะยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยอยางเปนระบบ จะเปนสิ่งสําคัญในการชวยสงเสริมการวิจัยของประเทศใหมีคุณภาพ สามารถนําไปใชในการแกไขปญหา และ/หรือ ใชเพื่อการพัฒนาประเทศในดานตางๆ ตั้งแต ดานประชาสังคม จนถึงดานเศรษฐกิจ ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจในการจัดทํายุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัย โดยการศึกษาหาขอมูลจากหลายๆแหลง และวิเคราะหตามขั้นตอนของการจัดทํายุทธศาสตร แลวนํามาสังเคราะหเปนยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศ

ผูวิจัยหวังวาผลการวิจัยในเรื่องยุทธศาสตรดังกลาวจะเปนสวนชวยใหผูที่สนใจหรือผูที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศ สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชน และมีสวนชวยในการพัฒนาประเทศไปสูเปาหมายที่วางไวไมมากก็นอย (ศ.นพ. สุทธิพร จิตตมิตรภาพ)

นักศึกษาวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตร วปอ. รุนที่ 51

ผูวิจัย

Page 3: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

สรุปยอ

เรื่อง ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศไทย ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีผูวิจัย ศาสตราจารย นายแพทย สุทธิพร จิตตมิตรภาพ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 51 ความเปนมา

การศึกษาคนควาวิจัยในแขนงตางๆ เพื่อนําความรูหรือองคความรูที่หลากหลายมาใชในการพัฒนาประเทศ ไดกลายเปนยุทธศาสตรที่สําคัญของนานาประเทศ เพื่อผลักดันใหประเทศเจริญพัฒนากาวสูการเปนประเทศเศรษฐกิจฐานความรู ซ่ึงก็เปนไปตามวิวัฒนาการของโลก ประเทศไทยก็เชนเดียวกัน มีการระบุใหการวิจัยเปนพลังในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรตางๆในการพัฒนาประเทศ ใหเปนไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 โดยไดมีการนอมนําเอากระแสพระราชดําริเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงมาใชประกอบดวย เพื่อใหการพัฒนาประเทศเปนไปอยางยั่งยืน

วัตถุประสงคของการวิจัย

เพื่อศึกษากลยุทธการพัฒนาดานวิจัยของประเทศตางๆ และกลยุทธของหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยในประเทศไทย รวมถึงศึกษาการดําเนินการดานวิจัยของหนวยงานตาง ๆ วิเคราะห จุดแข็ง จุดออนโอกาส ภาวะคุกคาม ปจจัยสนับสนุน ปญหาและอุปสรรค นํามาสังเคราะหเปนยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาการวิจัย เพื่อสรางความเขมแข็งใหแกประเทศ

ขอบเขตการวิจัย

การวิจัยเนนการศึกษาในหนวยงานทุกหนวยงานที่ เกี่ยวของกับงานวิจัย หรือมีการดําเนินการเกี่ยวกับการวิจัย แตจะเนนที่หนวยงานภาครัฐเปนสวนใหญ โดยไดแบงขอบเขตในการศึกษาการพัฒนาดานการวิจัยที่ยึดหนวยงานเปนหลัก มุงประเด็นการวิจัยเปนหลัก และมุงผลผลิตเปนหลักดวย

Page 4: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

2

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยนี้เปน การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวิธีดําเนินการดังตอไปนี้ 1. การรวบรวมขอมูล ใชวิธีการรวบรวมขอมูล 5 วิธี ไดแก 1.การศึกษาจากเอกสารและ

งานวิจัยที่เกี่ยวของ (Literature review) 2.การรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิจัยของประเทศและขอมูลการเปรียบเทียบปจจัยตางๆ ที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแขงขันของประเทศไทยในเวทีโลก 3.การใชแบบสอบถามความคิดเห็น 4.การสัมภาษณเชิงลึก(In-depth interview) โดยใชขอมูลเดิมที่ไดรับในชวงป พ.ศ. 2549-2550 ซ่ึงผูวิจัยไดรวมสัมภาษณในประเด็นนี้ และการสัมภาษณเฉพาะกลุมเจาะจง (Purposive sampling)ไดแก ผูบริหารระดับสูงของหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศไทย ผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ 5.การเสวนาของกลุมผูทรงคุณวุฒิ

2. การวิเคราะหขอมูล นําขอมูลจากการรวบรวมทั้งเอกสารงานวิจัย ขอมูลจากแบบสอบถาม และการสัมภาษณเชิงลึก มาทําการวิเคราะหใหไดขอมูลและขอเท็จจริงในประเด็นตาง ๆ ที่จะนําไปสังเคราะหเปน ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัย

ผลการวิจัย

จากขอมูลสถานภาพในอดีตและปจจุบันของประเทศไทย ที่แสดงถึงความเขมแข็งและความสามารถในการแขงขัน ซ่ึงศึกษาและรายงานโดย International Institute for Management Development – IMD ประเทศไทยไดรับการประเมินวามีความสามารถในการแขงขันในระดับปานกลางตลอดชวงเวลา 5 ปที่ผานมา และมีการพัฒนาในแตละดานสูงขึ้นเปนลําดับอยางชา ๆ แตพบวายังออนดอยกวาบางประเทศที่มีการพัฒนาอยางรวดเร็ว ปจจัยที่พบวายังออนดอยไดแก เศรษฐกิจภายในประเทศ ผลิตภาพและประสิทธิภาพการผลิต สุขภาพและสิ่งแวดลอม การลงทุนระหวางประเทศ ระบบการศึกษา (รวมถึงการวิจัย) โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยี โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตร กรอบโครงสรางสังคม ซ่ึงนับเปนปญหาและจุดออนดอยที่ตองปรับแกไข

จากการศึกษาระบบการวิจัยของตางประเทศ กรณีตัวอยาง สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ญ่ีปุน ออสเตรเลีย และ สิงคโปร ยืนยันไดวา การวิจัยเปนแรงขับเคลื่อนที่สําคัญในการพัฒนาประเทศ การมีการวิจัยที่มีเปาหมายแนวทางชัดเจนและตอบสนองตอความตองการ จะเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศ การจัดทํายุทธศาสตร นโยบาย และแผนวิจัย เพื่อเปนแนวทางการวิจัยใหหนวยงานวิจัยหรือสถาบันตางๆ มีทิศทางการวิจัยไปในทางเดียวกัน แตมีการกระจายอํานาจการตัดสินใจใหแกองคกรระดับตาง ๆ ที่มีการกําหนดพันธกิจที่ชัดเจน โดยที่ตางมุงเปาหมายเปนหลัก โดยมีการประเมินเปน

Page 5: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

3

ระยะ ๆ ประกอบกับมีการลงทุนคอนขางสูงในดานโครงสรางพื้นฐาน และทุนสนับสนุนการวิจัย เปนปจจัยแหงความสําเร็จในการพัฒนา

การวิเคราะหยุทธศาสตรดานการพัฒนาการวิจัยและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของของประเทศ พบวา ยุทธศาสตรหรือนโยบายและแนวทางการวิจัยของชาติในปจจุบันยังขาดการมีสวนรวม ทําใหไมไดรับการยอมรับ ไมตอบสนองตอแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ขณะเดียวกันก็มียุทธศาสตรของหลายองคกรมีสวนคาบเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา ซ่ึงแตละองคกรจัดทําขึ้นเพื่อตอบสนองตอพันธกิจของตนเองเทานั้นไมมีลักษณะการบูรณาการ โดยเฉพาะในสวนขององคกรที่ทําหนาที่จัดสรรทุนที่ กอใหเกิดความซ้ําซอน หรือกลายเปนสวนเสี้ยวไมตอเนื่อง ไมเชื่อมโยง ขาดน้ําหนัก และไมสามารถดําเนินไปจนครบวงจรที่จะนําไปสูการพัฒนาอุตสาหกรรม หรือเพิ่มคุณภาพชีวิต ประเทศไทยยังมีปญหาเกี่ยวกับการพัฒนาดานการวิจัยคอนขางมาก โดยมีประเด็นที่นาสนใจหลายประการดังนี้

1. ปญหาดานระบบ แนวคิด และกระบวนทัศนในการพัฒนา ตั้งแตระดับนโยบาย บริหารจัดการ ไปจนถึงระดับปฏิบัตกิาร ยุทธศาสตรหรือนโยบายและแผนวิจัยแหงชาติในปจจุบันยังขาดความชัดเจน ขาดทิศทาง ขาดการมีสวนรวมในการจัดทํา ทําใหขาดการยอมรับ การจัดสรรทุนเพื่อการวิจัยก็ไมสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ระบบวิจัยของประเทศไมมีความชัดเจนในดานโครงสราง องคกร การประสานเครือขายความรวมมือ หลายหนวยงานที่มีพันธกิจคาบเกี่ยวหลายพันธกิจ การขาดความตระหนักในความสําคัญของการวิจัย ในทุกระดับ และไมไดใชการศึกษาวิจัยอยางเปนระบบระเบียบในการแกปญหา กลาวไดวางานวิจัยของประเทศ ไมครบวงจร ไมสมดุล ไมตอเนื่องเชื่อมโยงระหวางผูวิจัยและผูที่ควรนําผลไปใชงาน

2. การขาดแคลนทรัพยากรเพื่อการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัย เนื่องจากงบเพื่อการวิจัยพึ่งพางบประมาณภาครัฐเปนสวนใหญ แตจัดไวเพียงรอยละ 0.2 ของผลผลิตมวลรวมของประชาชาติ นอกจากนี้ยังขาดแคลนเครื่องมืออุปกรณในการวิจัย การใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดอยางไมคุมคา

3. โครงสรางพื้นฐานทั่วไป โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ยังไมดีพอ 4. มีปญหาดานการบริหารจัดการ ขาดประสิทธิภาพ ทั้งดานการบริหารคน บริหารเงิน

และบริหารงาน ที่สําคัญที่สุดคือขาดการประเมินผลเพื่อนํามาใชปอนกลับในการพัฒนางานตอไป 5. ปญหาดานกําลังคน บุคลากรสายวิจัย สายวิทยาศาสตรเทคโนโลยีมีจํานวนไมพอเพียง 6. คุณภาพของงานไมดีเพียงพอ ทั้งที่มีผลในเชิงวิชาการ หรือการเชื่อมโยงกับภาคธุรกิจ 7. การขาดการมีสวนรวมของผูเก่ียวของ ทุกระดับ ตั้งแตตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา 8. ขาดการบูรณาการในดานการวิจัยในทุกระดับ และทุกมิติ

Page 6: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

4

ในการสังเคราะหยุทธศาสตรในการพัฒนาดานการวิจัยเนนที่ยุทธศาสตรเชิงรุก พิจารณาจากสวนที่ประเมินวา มีจุดแข็งและมีโอกาสที่ดี กับในสวนที่ประเมินวามีโอกาสสูงแตยังมีจุดออนที่ตองเรงแกไข ซ่ึงไดกําหนดเปนยุทธศาสตรใหครอบคลุมทั้ง 3 องคประกอบหลัก ไดแก

1. การสรางความรูใหม องคความรูใหม (Knowledge Creation) สรางความรู รวมไปถึงการสรางคนที่มีจิตวิจัย และมีความรูทักษะการวิจัย ครอบคลุมทุกสาขา

2. การจัดการความรูที่ไดรับ (Knowledge Management) เพื่อใหสามารถนําเอาความรูนั้นไปประยุกตใชประโยชนเชิงวิชาการ ชุมชน สังคม เศรษฐกิจและเพื่อพัฒนากระบวนการในทุกภาคสวน

3. การใชความรูเปนฐานสรางพลังในตนเอง (Empowerment) โดยมุงเปาผลผลิต เพื่อลดการพึ่งพา และการมีภูมิคุมกันเสริมความแข็งแรงในตนเอง และการสรางความสามารถในการแขงขัน

โดยแตละองคประกอบมี 3 ระดับ 3 มิติ 3 ขอบเขต เพื่อใหเกิดภาพองครวมของการพัฒนา โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ คือ

ระดับการพัฒนาดานการวิจัย แบงไดเปน 3 ระดับ คือ 1.ระดับนโยบาย อํานวยการ กํากับ 2. ระดับบริหารจัดการ ประสาน สนับสนุนและตรวจสอบ ประเมิน และ 3. ระดับปฏิบัติการ

มิติของการพัฒนาดานการวิจัย ไดแก 1. การสนับสนุนสงเสริมการจัดสรรทรัพยากร 2.การดําเนินการศึกษาคนควาวิจัย และ 3. การเผยแพรความรู ของงานวิจัยในทุกๆดานเพื่อการใชประโยชน

ขอบเขตของการพัฒนาดานการวิจัย ประกอบดวย 1. ขอบเขตที่ยึดหนวยงานรับผิดชอบเปนหลัก 2. ขอบเขตที่ยึดประเด็นการวิจัยเปนหลัก และ 3. ขอบเขตที่ยึดเปาหมายผลการวิจัยเปนหลัก

การนําไปใชประโยชน

จากการสังเคราะหขอมูล สามารถสรุปรวมเปนยุทธศาสตรเชิงรุก 8 ยุทธศาสตร ที่จะนําไปสูการดําเนินการใหเกิดประโยชนแกประเทศ ไดแก

ยุทธศาสตร 1 การปรับกระบวนทัศนเกี่ยวกับการวิจัยใหเห็นวาการวิจัยเปนปจจัยสําคัญตอการดําเนินงานเพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง การวิจัยเปนการลงทุนของประเทศ การวจิยัสามารถตอบสนองการพัฒนาประเทศไดทุกดานทั้งระดับ เศรษฐกิจ สังคม และความมั่งคงของมนุษย

ยุทธศาสตร 2 การปรับปรุงระบบวิจัย ปรับองคกร กําหนดบทบาทหนาที่ใหมีการบูรณาการ ทั้งในระดับโครงการวิจัย บุคลากร หนวยงานรวมวิจัย หนวยงานบริหารจัดการ และหนวยงานนโยบาย เพื่อนําไปสูการจัดทํายุทธศาสตรนโยบายและแผนงานวิจัยของชาติแบบบูรณาการ ซ่ึงมีการกํากับ ติดตามการดําเนินงาน มีการประเมินผลเพื่อใชในการปรับปรุงแผนใหเหมาะสมอยางตอเนื่อง

Page 7: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

5

ยุทธศาสตร 3 การกําหนดงบประมาณเพื่อการวิจัยอยางพอเพียง ทั่วถึง และเกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดี ปรับปรุงระบบการจัดสรรใหสอดคลองกับระบบวิจัยและแผนงาน ครอบคลุมทุกภาคสวน มีหลากหลายมิติ มีการกําหนดหนวยงานที่รับผิดชอบงบประมาณนั้นๆ รวมทั้งสามารถแยกประเภทงบประมาณเพื่อการบริหารจัดการที่ดีการพัฒนาคนให

ยุทธศาสตร 4 การพัฒนาคนใหมีศักยภาพในการปฏิบัติงานตามภารกิจ สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร และมีศักยภาพในการปฏิบัติงานตามภารกิจสายอาชีพนักวิจัย นักวิทยาศาสตรที่มีคุณลักษณะและวิธีการทํางานที่อาศัยความรูและการคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผล รวมถึงการพัฒนาอาชีพนักวิจัย นักวิทยาศาสตรที่ยังขาดแคลน เพื่อใหเปนฐานกําลังสนับสนุนและสงเสริมการสรางเครือขายวิจัยเพื่อเสริมพลังซึ่งกันและกันและใชทรัพยากรอยางคุมคา

ยุทธศาสตร 5 การสรางมูลคาแกผลผลิตการวิจัย การกระจายความรูผลผลิตงานวิจัย พัฒนาตําแหนงและบริหารหวงโซอุปทาน (Value Chain) ของผลผลิตเพื่อใหผลงานใหเปนที่รับรูโดยกวางขวาง ใหผูที่จะใชประโยชนสืบคนเขาถึงขอมูลได ทั้งการนําไปใชในเชิงวิชาการ หรือการนําไปสรางนวัตกรรม พัฒนาผลิตภัณฑสินคาและบริการ ที่ใหประโยชนเชิงพาณิชยมีเอกลักษณ จําหนายแขงขันได รวมถึงมีการบริหารจัดการการใชประโยชนในรูปแบบของทรัพยสินทางปญญาที่มีการจดทะเบียน คุมครอง แบงสรรผลประโยชนอยางยุติธรรม รวมถึงการปกปองสิทธิของผูประดิษฐคิดคน

ยุทธศาสตร 6 การเนนสรางการทํางานแบบบูรณาการดานการวิจัยในทุกองคประกอบ ทุกมิติ ทุกระดับ และครอบคลุมขอบเขตตางๆที่จําเปนใหเกิดบูรณาการตั้งแตสวนใหญไปจนถึงสวนยอย

ยุทธศาสตร 7 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการวิจัยในภาพรวม โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร เทคโนโลยีการเชื่อมตอระบบ การคมนาคม และระบบโลจิสติกส เพื่อเปนปจจัยสําคัญสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาและการบูรณาการงานวิจัย อยางเหมาะสม พอเพียงสําหรับการพัฒนาในอนาคต และเปนไปตามระบบมาตรฐาน

ยุทธศาสตร 8 การพัฒนาการวิจัยแบบกาวกระโดด โดยการรับถายทอดเทคโนโลยีจากตางประเทศ ผานความรวมมือที่มีอยู หรือรับถายทอดโดยอาศัยทรัพยากรบุคคลชาวไทยที่มีศักยภาพในตางประเทศ ในการพัฒนาเฉพาะดานที่ถูกกําหนดโดยยุทธศาสตรใหมีลําดับความสําคัญในลําดับตน ๆ หรือที่ประเทศมีความเขมแข็งเปนทุน หรือเปนฐานการผลิตขนาดใหญของโลกในปจจุบัน

“ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศ” เปนยุทธศาสตรที่สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนในการพัฒนาใหประเทศไทยไดเจริญกาวหนาไปสูประเทศที่พัฒนาบนเศรษฐกิจฐานความรู เปนหนึ่งในผูนําในระดับนานาชาติ และเปนประเทศที่ภาคประชาสังคมมีการพัฒนาโดยอาศัยปญญาและบนพื้นฐานของปรัชญาพอเพียง ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงพระราชทานแนวทางการพัฒนาประเทศไว

Page 8: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

บทคัดยอ เรื่อง ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพ่ือสรางความเขมแข็งของประเทศไทย ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีผูวิจัย ศาสตราจารย นายแพทย สุทธิพร จิตตมิตรภาพ หลกัสูตร วปอ. รุนที่ 51

การคนควาวิจัยเพื่อหาความรู และสรางนวัตกรรม ไดกลายเปนยุทธศาสตรที่สําคัญ เพื่อผลักดันใหประเทศเจริญพัฒนาเปนประเทศเศรษฐกิจฐานความรู และกาวสูความมั่งคั่งและมั่นคง ประเทศไทยก็ไดวางแนวทางที่จะนําการวิจัยมาใชเปนพลังในการขับเคลื่อนไปสูเปาหมายเชนเดียวกัน อยางไรก็ตามการกําหนดยุทธศาสตรที่เหมาะสมโดยเฉพาะยุทธศาสตรเชิงรุกเปนปจจัยสําคัญที่จะชวยใหมีการดําเนินงานจนประสบความสําเร็จ

ผูวิจัยจึงไดทําการศึกษาขอมูลการพัฒนาดานงานวิจัยของประเทศตาง ๆ ที่มีความเจริญกาวหนา เปรียบเทียบกับขอมูลของหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของกับการวิจัยของไทย นํามาวิเคราะหเพื่อแสดงใหเห็นปจจัยสนับสนุน จุดแข็ง โอกาส จุดออน ภาวะคุกคาม แลวนํามาสังเคราะหเปนยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศ

การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพโดยทําการรวบรวมขอมูล 5 วิธี ไดแก 1.การศึกษาจากเอกสาร 2.การรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิจัยของประเทศ และขอมูลการเปรียบเทียบปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาศักยภาพและความสามารถในการแขงขันของประเทศไทยในเวทีโลก 3.การใชแบบสอบถามความคิดเห็น 4.การสัมภาษณเชิงลึก 5.การเสวนาของกลุมผูทรงคุณวุฒิ

จากการรวบรวมขอมูลสามารถสังเคราะหเปนยุทธศาสตรเชิงรุก 8 ยุทธศาสตรไดแก 1.การปรับกระบวนทัศนเกี่ยวกับการวิจัย 2.การปรับปรุงระบบวิจัยของประเทศ ปรับองคกรและการกําหนดบทบาทหนาที่ที่มีการบูรณาการ และมีการประเมินผลอยางเหมาะสมและตอเนื่อง 3.การกําหนดงบประมาณที่พอเพียงและปรับปรุงระบบการจัดสรรใหสอดคลองกับระบบวิจัยและแผนงาน 4.การพัฒนาคนใหสามารถขับเคล่ือนยุทธศาสตร และมีศักยภาพในการปฏิบัติงานตามภารกิจสายอาชีพนักวิจัย นักวิทยาศาสตร 5.การเนนสรางการทํางานแบบบูรณาการในทุกองคประกอบ ทุกระดับ ทุกมิติ 6.การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการวิจัย 7.การพัฒนาการวิจัยแบบกาวกระโดด โดยการรับถายทอดเทคโนโลยีจากตางประเทศ หรือรับถายทอดโดยอาศัยทรัพยากรบุคคลชาวไทยที่มีศักยภาพในตางประเทศ 8.การสรางมูลคาแกผลผลิตการวิจัย การกระจายความรูผลผลิตงานวิจัย ทั้งการนําไปใชในเชิงวิชาการ หรือการนําไปสรางนวัตกรรม พัฒนาผลิตภัณฑสินคาและบริการซึ่งทั้งหมดนี้ตองดําเนินการอยางจริงจังและตอเนื่อง

Page 9: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

Abstract

Title Proactive strategies for the development of research to strengthen Thailand’s potential power and competitiveness

Field Science and Technology Name Professor Dr. Soottiporn Chittmittrapap Course NDC Class 51

Research to develop knowledge and innovation is a key strategy to drive many countries towards a knowledge-based economy and wealth of the nation. Thailand also determines to use research as an important driving tool for the rapid development of the country to achieve a similar target together with the self-sufficient approach, thus requires a set of proactive strategies.

This is a descriptive study using 5 methods of data collection; 1.Literature review 2.Review of strategies and plans on research development especially in relation to capacity building and competitiveness of Thailand in the global arena 3.Questionnaires 4.In-depth interviews 5.Focus Group discussion.

This study has analyzed the development on research of the developed countries and compared it with the current situation and trends on Thailand’s development on research by using information and data of the concerned agencies and others sources of the above-mentioned data. The result was categorized and grouped as enabling factors, strengths, opportunities, weaknesses, threats and problems. Based on these factors, a set of proactive strategies on research reform and development has been synthesized in order to enhance Thailand’s capacities and competitiveness.

Eight proactive strategies have been formulated as follows: 1.Paradigm change on the concept of research 2.Structural reform of the national research system 3.Reform of national research budget system, appropriated amount of budget and its allocation 4.Human resource development in research, science and technology 5.Value-adding to the research products and to the value-chain of goods and products of Thailand 6.Enhancement of harmonization and collaboration in comprehensive plan and management 7.Improvement of research, science and technology infrastructures 8.International technology transfer for a great-leap forward in research development. Implementation of these proactive strategies must be fully supported and continuously deployed hence resulting in a reform of research system in Thailand and therefore enhancing Thailand’s capacities and competitiveness.

Page 10: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การศึกษาคนควาวิจัยในแขนงตาง ๆ เพื่อนําความรู หรือองคความรูที่หลากหลายมาใชในการพัฒนาประเทศ ไดกลายเปนยุทธศาสตรที่สําคัญของนานาประเทศ เพื่อผลักดันใหประเทศเจริญพัฒนา โดยอาศัยฐานความรู เปนแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ นับเปนการเปลี่ยนแปลงและเปนแรงขับเคลื่อนในทิศทางใหมที่สําคัญของสถานการณระดับโลก ในสวนของประเทศไทยก็มีการปรับเปลี่ยนแนวทางและรูปแบบการพัฒนา ซ่ึงไดเล็งเห็นความสําคัญในดานการวิจัยเชนกัน โดยมีแนวคิดใหพัฒนาการวิจัยที่ตองเห็นผลเปนรูปธรรม ประเมินได และแปรใหเกิดประโยชนไดทั้งในเชิงผลลัพธ และ/หรือ ผลกระทบตอความกาวหนาของประเทศอยางชัดเจน ตองมีการบริหารจัดการการวิจัยแบบใหมที่มีประสิทธิภาพ และยังเนนการวิจัยในประเด็นเรงดวนที่เปนภัยคุกคาม เชน ภัยดานความมั่นคง ภัยจากความยากจน ภัยจากการขาดความสามารถในการแขงขันในดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และ ธุรกิจบริการ

แนวความคิดเก่ียวกับการพัฒนาดานวิจัยอันดับแรก ก็คือ ความเขาใจในบทบาทของการวิจัยสําหรับภารกิจตาง ๆ ซ่ึงพบวาการวิจัยมีบทบาทหลักอยูหลายประการ

ประการแรก การวิจัยเปนการสรางความรู ซ่ึงจะนําสูการตัดสินใจในการแกปญหา และการพัฒนา เพราะความรูเปนสิ่งสําคัญสําหรับการปฏิบัติงานใด ๆ ก็ตาม ทั้งนี้ความรูที่มีอยูแลวอาจไมเพียงพอจึงตองมีการหาและสรางความรูใหม ๆ ความรูหลาย ๆ อยางเปนความรูที่มีความจําเพาะในถ่ินหนึ่ง ๆ ในกลุมคนที่มีชาติพันธุหนึ่ง ๆ ที่ไมอาจนําความรูสากลมาใชได หรือนํามาใชไดเพียงบางสวน

ประการท่ี 2 การวิจัยเปนเคร่ืองมือในการสรางคนในระบบการศึกษา ชวยใหไดคนที่มีความสามารถในการหาความรู การรูจักคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ รูจักเก็บและใชขอมูลที่แมนตรง เชื่อถือได และรูจักใชสถิติและเหตุผลที่เหมาะสมในการตัดสินใจ มีวิจารณญาณ คิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน ดียิ่งไปกวานั้นคือรูจักสังเคราะหความรู แนวปฏิบัติ จากความรูที่ไดรับ มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค และมีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง แมจะผานชวงระยะเวลาในการศึกษาไปแลวก็ตามยังสามารถเรียนรูอยูไดตลอดเวลา

ประการท่ี 3 การวิจัยเปนเครื่องมือในการนําความรูมาใช เพราะความรูเปนพลวัตรที่มีการเปลี่ยนแปลง และมีการเกิดขึ้นใหมตลอดเวลา ในการนํามาใชถารูจักใชหลักของการวิจัยก็จะทํา

Page 11: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ใหสามารถสืบคน ประเมินคุณคา และเลือกใชขอมูลความรูที่เปนจริง หรือเชื่อถือได นอกจากนั้นยังอาจใชกระบวนการวิจัยมาใชในการปรับแตง จัดหมวดหมู จัดการใหเกิดการเผยแพรใหไดประโยชน หรือจัดเปนมาตรฐาน เปนแนวทงปฏิบัติ

ประการที่ 4 การวิจัยเปนเครื่องมือในการสรางพลังของตนเอง สรางคุณคามากขึ้น ในแงของการพึ่งตนเองไมตองอาศัยความรูผูอ่ืนหรืออาศัยแตเพียงสวนนอย ยกตัวอยาง ประเทศสหรัฐอเมริกา สวีเดน ฟนแลนด เนนในเรื่องการวิจัยและพัฒนา สามารถเปนผูนําในการคิดคนสิ่งใหมๆ ทั้งความรูและประยุกตนําไปสรางผลิตภัณฑใหม ประเทศในภูมิภาคเอเชีย เชน ญ่ีปุน เกาหลี และไตหวัน ก็พัฒนาไดมากเพราะมีการสรางนักวิจัยมาก ใหความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนา ดังนั้นงานวิจัยจึงทําใหประเทศไทยพึ่งตนเองไดมากขึ้น เมื่อถึงระดับหนึ่งก็จะเปนเครื่องมือในการสรางศักยภาพและความสามารถในการแขงขัน ในภาวะที่มีกระแสโลกาภิวัตน และการดําเนินงานในระดับโลกไรพรมแดน และตลาดเสรีในทุก ๆ ดาน

แนวความคิดเก่ียวกับการพัฒนาดานวิจัยอันดับท่ีสอง ก็คือ งานวิจัยท่ีควรมีลักษณะ

บูรณาการ ซ่ึงหมายรวมถึง 1. งานวิจัยที่มีการผสมผสานวิชาการหลาย ๆ ดาน และใชความเชี่ยวชาญของนักวิจัย

ตางศาสตร 2. งานวิจัยที่มีศักยภาพนําไปสูการใชประโยชนที่เปนรูปธรรม ทั้งประโยชนในดาน

วิชาการและประโยชนในเชิงประยุกตใชงาน หรือประโยชนในเชิงพาณิชย 3. งานวิจัยที่ผสมผสานไปกับการสรางทีมวิจัย ทั้งการพัฒนาศักยภาพของอาจารยรุน

ใหม การผลิตบัณฑิตศึกษา ดังไดกลาวเนนแลวเกี่ยวกับแนวคิดอันดับแรก ประการที่สอง และไดขยายไปถึงการพัฒนาความสามารถในการวิจัยสําหรับนิสิตปริญญาบัณฑิตดวย การสรางทีมวิจัยแบบผสมผสานยังนาจะไดรวมถึงบุคลากรในพื้นที่ ในชุมชน ที่มารวมทําการวิจัยเพื่อพัฒนาทองถ่ิน หรือบุคลากรของภาคอุตสาหกรรมที่มารวมกันทําวิจัย เพื่อความเจริญกาวหนาในกระบวนการผลิต หรือพัฒนาผลิตภัณฑของภาคอุตสาหกรรม

แนวความคิดของการพัฒนาดานวิจัยอันดับท่ีสาม นับวามีความสําคัญเชนกัน ไดแก ความเชื่อมโยงระหวางสถาบันอุดมศึกษา หรือหนวยวิจัย กับหนวยงานปฏิบัติท่ีตางเขาใจบทบาทของตนเองและผูอ่ืน เพื่อสงตอหรือถายทอดผลจากการวิจัยนําไปสูภาคปฏิบัติ

สถาบันอุดมศึกษาเปนแหลงความรู แหลงที่มีทรัพยากรบุคคลที่มีความรูความสามารถ และไดดํา เนินภารกิจในการสรางปญญาความรูมาอยางตอเนื่อง จึง เปนปจจัยสําคัญในกระบวนการพัฒนาประเทศโดยใชฐานความรู ในสวนของสถาบันอุดมศึกษาที่มีความพรอมในงานวิจัยระดับหนึ่ง ก็ไดพยายามใชศักยภาพในการพัฒนางานวิจัยข้ึนอยางตอเนื่อง มีการสนับสนุนสงเสริมการวิจัย สนับสนุนบุคลากรในสวนอาจารยและนักวิจัย เกิดผลงานดานการวิจัยที่โดดเดน

Page 12: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ในหลายสาขา นักวิจัยจํานวนหนึ่งไดรับการยอมรับในความสามารถและเปนแกนนําในดานหนึ่ง ๆ ในระยะตอมามีการจัดตั้งหนวยงาน/องคกรวิจัย ทั้งแบบเปนทางการในรูปแบบสถาบันวิจัย มีระบบบริหารจัดการอยางเปนระบบระเบียบ มีอุปกรณการวิจัย และ นักวิจัย ของแตละสถาบัน เพื่อหวังสรางงานวิจัยแบบกลุมกอน นอกเหนือไปจากการวิจัยของภาควิชา ของคณะ/วิทยาลัย/สํานักวิชา นอกจากนั้นก็มีแนวคิดในการสงเสริมสนับสนุนการวิจัยในลักษณะกลุมที่มีความยืดหยุนมากขึ้น ไดแก หนวยวิจัย ศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทาง อยางไรก็ตามวิเคราะหไดวาองคกรวิจัยทั้งระดับคณะ/สถาบันวิจัย หนวยวิจัย ศูนยตาง ๆ ก็ยังมีปญหาความชัดเจนในเชิงนโยบาย ทิศทาง และพื้นฐานที่สําคัญในดานตางๆ ที่จะผนึกกําลังรวมกันใหเปนภาพรวมของการวิจัยทั่วทั้งมหาวิทยาลัย

สภาพการณปจจุบันของสถาบันอุดมศึกษา จึงมีลักษณะที่มีงานวิจัยในปริมาณรวมที่เปนที่ยอมรับไดในระดับหนึ่ง มีความหลากหลายสูงมาก มีงานวิจัยที่มีคุณภาพดีเดนจํานวนไมนอย กระจัดกระจายไปในแตละกลุม แตละสาขา มีงานวิจัยในประเด็นที่ใกลเคียงกันหรือเกี่ยวของกันในแตละสาขาความเชี่ยวชาญที่ไมเชื่อมโยง หรือเสริมกันและกันอยางเปนรูปธรรม มีอาจารย/นักวิจัย ที่ใหความสําคัญตอการวิจัยและมีการวิจัยอยางตอเนื่องจํานวนหนึ่ง แมวาในสวนของอาจารย/นักวิจัยรุนใหมที่สนใจและใหน้ําหนักสูงตอการวิจัย สัดสวนนี้จะมากเปนที่นาพอใจ แตในภาพรวมประเมินวายังเปนสัดสวนที่นอยกวาความตองการ ในบางสถานที่มีเครื่องมืออุปกรณสนับสนุนการวิจัยที่พอเพียง แตอาจารย/นักวิจัย ที่อาจสามารถใชประโยชนจากเครื่องมือ อุปกรณ ยังไมทราบหรือไมมีกลไกในการเขารวมกลุมเพื่อใหสามารถใชเครื่องมือพัฒนาศักยภาพของตนเองและงานวิจัยไดเต็มที่

ลักษณะของการพัฒนาดานการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาที่กลาวมานี้สวนใหญยังอยูภายในสถาบัน และอาจารย นักวิชาการเปนศูนยกลาง และอาศัยพื้นความรูหรือประสบการณความถนัดเดิมของนักวิชาการเหลานี้ในอดีตเปนหลัก ประโยชนจึงมักเกิดกับความกาวหนาทางวิชาการของสาขาวิชานั้นๆและความกาวหนาของบุคคลหรือหนวยงานวิชาการ

ในขณะเดียวกัน หนวยปฏิบัติเชนหนวยงานของกระทรวง กรม กองตาง ๆ มีหนาที่ในการพัฒนาประเทศ ซ่ึงสวนใหญบุคลากรของหนวยงานก็ไดอาศัยความรูที่ศึกษามาจากสถานศึกษา ไปดําเนินการโดยมีการปรับใหเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ สภาพทางสังคม และสภาพของทรัพยากรสนับสนุน อยางไรก็ตามในความเปนจริง มีปญหาจํานวนไมนอยที่ไมสามารถแกไขดวยการใชพื้นความรูเดิม หรือไดดําเนินการอยางประสบความสําเร็จมาขั้นหนึ่งแลวยังคงตองการการพัฒนาตอ ก็พบวาตองการความรูมากขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง หากไมมีการศึกษา คนควา วิจัย ก็อาจทําใหไมสามารถแกไขปญหาที่ซับซอนได หรือไมสามารถพัฒนาตอได เมื่อเห็นวาการวิจัยสามารถแกปญหาหรือพัฒนาได ก็อาจขวนขวายดําเนินการ แตทั้งนี้ก็มักประสบอุปสรรคมากมายในหลายดานทั้งบุคลากรสนับสนุน เครื่องมืออุปกรณการวิจัย การติดตามความรูใหมที่ทันสมัยมาใช อีกทั้งภารกิจหลักในดานการปฏิบัติ บริการ ก็มากเต็มกําลัง

Page 13: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

การเชื่อมโยงระหวางสถาบันการศึกษา หรือหนวยวิจัย กับหนวยปฏิบัติ ที่ตางเขาใจบทบาทและหนาที่ของตนเองและของผูอ่ืน จึงทําใหเกิดการใชประโยชนความถนัดและความเชี่ยวชาญของทั้งสองฝายเขามาผสมผสาน ทําใหสามารถแกไขปญหาที่ซับซอน หรือสามารถหาหนทางพัฒนาไดอยางตอเนื่องไมมีวนัสิ้นสุด

อันดับสุดทายของแนวความคิดก็คือ ภาพของ “การพัฒนาดานวิจัย” นั้นตองใหเปนท่ีรับรูเปนท่ียอมรับในทุกวงการ ทั้งวงการการศึกษา วงการธุรกิจ วงการอุตสาหกรรม ประชาสังคม ที่ไดเห็นและยอมรับวา การศึกษาคนควาวิจัย เพื่อสรางองคความรูไมใชแตเพียงสามารถนําไปสูความกาวหนาดานวิชาการ แตยังสามารถนําไปสูการพัฒนาระบบอุตสาหกรรม วงการธุรกิจ สรางศักยภาพในการแขงขันของประเทศ กับสามารถนําไปสูการพัฒนาสังคมและชุมชน ซ่ึงทั้งหมดในภาพรวมทําใหประเทศนั้นเขมแข็งในทุกภาคสวน

แนวความคิดเกี่ยวกับการวิจัยที่กลาวมานี้จึงเปนประเด็นหลักในการดําเนินการหลายประการสําหรับการกําหนดยุทธศาสตรเชิงรุกเพื่อพัฒนางานดานวิจัย เพื่อการสรางความเขมแข็งใหแกประเทศไทย นอกจากการตีพิมพเพื่อแสดงความสําเร็จหรือความกาวหนาดานวิชาการ สวนที่มีศักยภาพในการพัฒนาตอเนื่องไปถึงการประยุกตใชในดานตาง ๆ ก็มีการเชื่อมโยงไปยังภาคสวนนั้น ในขณะเดียวกันงานวิจัยนั้นตองดําเนินการตามมาตรฐานสากลของการวิจัย เชื่อถือไดในความถูกตอง แมนตรง เพื่อใหการพัฒนานั้นเกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุด

การที่ประเทศไทยจะยกระดับการดําเนินงานดานการวิจัยของประเทศใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล จึงนาจะสามารถพัฒนาไดจากศักยภาพที่มีอยู แตตองการการพัฒนาระบบวิจัยและการบริหารจัดการงานวิจัย ในหลาย ๆ ดาน โดยความมุงมั่นในเปาหมายรวมกันในทุกระดับ และพัฒนาอยางตอเนื่อง เชื่อมโยงสัมพันธกัน พรอม ๆ ไปกับการพัฒนาระบบคุณภาพ และระบบการจัดการความรูเพื่อใหเกิดระบบที่มีการประสานสัมพันธกันระหวางหนวยงานนโยบาย หนวยวิจัย และหนวยสนับสนุนที่มุงไปสูเปาหมายที่ตั้งไวรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ ที่สําคัญมากที่สุดก็คือ ตองมียุทธศาสตรเชิงรุก หรือยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนา นอกเหนือจากงานประจํา ซ่ึงจะตองมีการกําหนดประเด็นยุทธศาสตร กําหนดมาตรการ แลวแปลงเปนแผนงานที่มีความชัดเจน และ ความละเอียด ในแตละแผนงานตามกลยุทธที่วางไว เพื่อใหสามารถนําไปสูการปฏิบัติ และดําเนินการใหเกิดผลตามเปาหมาย อันจะเปนพื้นฐานใหประเทศไทยมีความเขมแข็งมากขึ้น มีการพัฒนาไปสูเศรษฐกิจฐานความรูโดยมีการสราง และพิสูจนความรู ตลอดจนถายทอดสูการปฏิบัติ และประยุกตใชทั้งในเชิงการพัฒนางานทั้งของหนวยงานภาครัฐ และในเชิงธุรกิจในภาคเอกชน รวมถึงการพัฒนาทองถ่ินชุมชนในภาคประชาสังคม อีกทั้งมีความสามารถในการแขงขันในเวทีโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนากาวหนาอยางรวดเร็ว ทั้งนี้โดยยังคงดําเนินการใหสอดคลองกับหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระราชทานไวเปนแนวปฏบิตัิในทุกระดับควบคูกันไปดวย

Page 14: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

รวมพัฒนา “วิจัย”

เพื่อไทยกาวนาํในสากล บนเศรษฐกิจฐานความรู และสูสังคมอุดมปญญา ดวยปรัชญา “พอเพียง”

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษารูปแบบกลยุทธการพัฒนาดานวิจัย โดยเฉพาะกลยุทธเชิงรุกและกระบวนการการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ เพื่อเสริมสรางศักยภาพ ในการใชงานวิจัยเพื่อแกปญหา หาหนทางพัฒนา และการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืนของประเทศตาง ๆ ที่มีความเจริญกาวหนาโดยอาศัยหลักเศรษฐกิจฐานความรู

2. เพื่อศึกษาและวิเคราะห กลยุทธการพัฒนาดานการวิจัย ของหนวยงานที่เกี่ยวของของประเทศไทย

3. เพื่อศึกษาสภาพปญหา อุปสรรค จุดออน ภาวะคุกคาม จุดแข็ง และโอกาส ในดานการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

4. เพื่อสังเคราะหยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัย เพื่อใหประเทศไทยมีความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน ลดการพี่งพาความรูหรือเทคโนโลยีจากตางประเทศ และสามารถพัฒนาใหประเทศไทยเปนประเทศที่ใชเศรษฐกิจฐานความรูในการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ดาน

ขอบเขตของการวิจัย

ขอบเขตของพื้นท่ี กําหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา โดยทําการศึกษาหนวยงานทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับ

งานวิจัย หรือหนวยงานที่มีการดําเนินการเกี่ยวกับการวิจัยแตจะเนนที่หนวยงานภาครัฐเปนสวนใหญ และเพิ่มเติมขอมูลทั้งจากภาครัฐวิสาหกิจ และ ภาคเอกชนดวยบางสวน เนื่องจากพบวาหนวยงานดังกลาวมีการพัฒนา และจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยแตเปนจํานวนไมมาก เมื่อเทียบกับจํานวนในภาคสวนของรัฐ

ขอบเขตของเนื้อหา แบงเปน 3 สวน

สวนของการพัฒนาดานการวิจัย ที่ยึดหนวยงานเปนหลัก สวนของการพัฒนาดานการวิจัย ที่มุงประเด็นเปนหลัก

Page 15: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

สวนของการพัฒนาดานการวิจัย ที่มุงผลผลิตเปนหลัก

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยนี้เปน การวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสถานภาพปจจุบันของบทบาทของการวิจัยในการพัฒนาประเทศไทย และวิเคราะหถึงจุดออน จุดแข็ง โอกาส และภาวะคุกคาม เพื่อนํามาสังเคราะหเปน “ยุทธศาสตรเชิงรุกเพื่อการพัฒนาดานการวิจัย” โดยมีวิธีดําเนินการดังตอไปนี้

1. การรวบรวมขอมูล การศึกษาวิจัยนี้จะใชวิธีการรวบรวมขอมูล 5 วิธีไดแก

1.1. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ (Literature review) 1.2. การศึกษาขอมูลจากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิจัยของประเทศไทย

1.2.1. ขอมูลยุทธศาสตรการวิจัย และยุทธศาสตรที่ เกี่ยวกับการวิจัยของหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

1.2.2. ขอมูลงบประมาณที่จัดสรรเพื่อการวิจัย 1.2.3. ขอมูลรูปแบบการบริหารจัดการ กับการดําเนินงานดานการวิจัยตาม

แผนงานของหนวยงานระดับตาง ๆ 1.2.4. ขอมูลการเปรียบเทียบปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาศักยภาพ

และความสามารถในการแขงขันของไทย 1.3. การรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามความคิดเห็น (Questionnaire) ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ ผูบริหารระดับสูงที่รับผิดชอบดานการวางนโยบาย

การวิจัยของหนวยงานจัดสรรทุน และหนวยงานดําเนินการวิจัย ผูบริหารระดับกลางที่รับผิดชอบในการดําเนินการตามแผนกลยุทธการวิจัยของหนวยงาน

1.4. การสัมภาษณเชิงลึก (In-depth interview) กลุมตัวอยางแบงเปน 2 กลุม ไดแก

1.4.1. กลุมที่ไดรับเชิญมาใหขอมูล ขอเท็จจริง และแสดงความคิดเห็น ตลอดจนใหขอเสนอแนะ ในการศึกษาแนวทางการพัฒนาดานการวิจัย และการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย ทั้งนี้ใชขอมูลเดิมที่ไดรับในชวงป พ.ศ. 2549-2550 ซ่ึงผูวิจัยไดรวมสัมภาษณในประเด็นนี้ระหวางทําหนาที่เปนที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการการจัดการเทคโนโลยี ในคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร

1.4.2. กลุมที่เจาะจง (Purposive Sampling) ไดแก ผูบริหารระดับสูงของหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศไทย ผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ

Page 16: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

1.5. การจัดกลุมเสวนาผูทรงคุณวุฒิที่มีสวนเกี่ยวของหรือเคยมีสวนเกี่ยวของกับการกําหนดยุทธศาสตรดานการวิจัย เพื่อรับทราบความคิดเห็นตอผลการวิจัยในลักษณะ Focus Group

2. วิธีการและขัน้ตอนการวิจัย 2.1. ขั้นตอนที่ 1 การกําหนดกรอบแนวคดิและแผนงาน

ทบทวนและทําความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิดประเด็น “การวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ” รวมทั้งบริบทการสรางความเขมแข็งของประเทศไทย เพื่อการแกปญหา และการหาหนทางพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน รวมถึง แนวคิดที่เกี่ยวของกับประเด็นสําคัญดังกลาว ไดแก แนวคิดการพัฒนาสูเศรษฐกิจฐานความรู และ แนวคิดการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนการทบทวนแนวคิดเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญากับแนวคิดที่ไดรับพระราชทานในเรื่อง “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ที่เปนประเด็นสําคัญในการลดการพึ่งพาจากตางประเทศ

2.2. ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบเครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย

2.2.1. แบบสอบถามความคิดเหน็ การสรางแบบสอบถาม ดําเนินการดังนี้ 2.2.1.1. ไดจากการศึกษา คนควา เอกสาร หนังสือ และขอมูลที่ปรากฎ

บนเวปไซต งานวิจัยที่เกี่ยวของประชุมหารือกับกลุมอาจารยและเจาหนาที่ที่มีประสบการณในการดําเนินงานดานการ พัฒนาการวิจัย เพื่อกําหนดกรอบในการสรางแบบสอบถาม และรวมกัน

2.2.1.2. สรางแบบสอบถามตามกรอบแนวคิดที่วางไวนําแบบสอบถามเสนอผูทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความถูกตองตามเนื้อหา และเพิ่มเติมประเด็นใหแบบสอบถามสมบูรณ (Validity)

2.2.2. แบบที่ใชในการสัมภาษณ 2.2.2.1. ผูวิจัยสรางแบบสัมภาษณจากพื้นฐานของการวิเคราะหขอมูลที่

ไดจากการศึกษา ทบทวนเอกสาร ขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม และขอมูลของประเทศไทย 2.2.2.2. กําหนดคําถามที่ตองการทราบความคิดเห็น หรือตองการการ

ยืนยันความคิดเห็นที่ไดจากกลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถาม 2.3. ขั้นตอนที่ 3 การรวบรวมและวิเคราะหขอมูล

เปนการรวบรวมขอมูลจากทุกแหลงตามที่ออกแบบวิธีวิทยาการวิจัยทําการวิเคราะหตามหัวขอและประเด็นที่กําหนดไว

2.4. ขั้นตอนที่ 4 การสังเคราะหจากขอมูลและการวิเคราะห เพือ่จัดทําเปน ยุทธศาสตรเชิงรุกเพื่อการพฒันาดานการวจิัย

Page 17: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ขั้นตอนการวิจัย แสดงไดดังแผนภาพที่ 1

ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย

1. ไดกรอบยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศที่ประสบความสําเร็จจากการใชการศึกษาวิจัยเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไปสูเศรษฐกิจฐานความรู และสรางความมั่งคั่งใหแกประเทศ

2. ไดขอมูลนโยบายและกลยุทธการพัฒนาดานการวิจัยของหนวยงานตาง ๆ ทั้งหนวยงานที่เปนผูใหทุน หนวยงานปฏิบัติการวิจัย และหนวยงานที่นํางานวิจัยไปใช

Page 18: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

แผนภาพที่ 1 ขั้นตอนการวจิัยเพื่อสังเคราะหยุทธศาสตรเชิงรุกตามวทิยวิธีการวิจยัในโครงการนี ้

3. ไดขอมูลปญหา และอุปสรรค จุดออนและภาวะคุกคาม จุดแข็งและโอกาส ในการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศ

การสํารวจขอมูลองคกรที่มีสวนเกี่ยวของกับการวิจัย

การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของโลก

และแนวโนม ของการพัฒนาการวิจัย

การวิเคราะหยุทธศาสตร การพัฒนาดานการวิจัยของ

ตางประเทศ และ ประเทศไทยวิเคราะหเอกสาร และสัมมนาเจาะลกึ

สัมภาษณเจาะลึก และ สํารวจโดยแบบสอบถาม การวิเคราะหการดําเนินงานและผลผลิตดานการวิจัย หรือผลผลติที่เกี่ยวของกับการวิจัยของหนวยงานระดับปฏบิัต ิ

ของประเทศไทย

ประชุมเสวนาผูทรงคุณวุฒิ

องคกรที่เกี่ยวของดานนโยบายและยุทธศาสตรของประเทศ ยุทธศาสตรขององคกร

สถาบันการศึกษา/สถาบนัวิจัย หนวยงานที่ใชผลผลิตการวจิัย

วิวัฒนาการในดานความรูแนวโนมการเปลีย่นแปลง

ประเด็นสําคัญที่สงผลกระทบใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

ของโลก

ปจจัยแหงความสําเร็จ แนวคิดในการพัฒนาและ

ผลมูลเหตุแหงความลมเหลวรูปแบบของการพัฒนาแบบ

ตางๆ

ปจจัยสนับสนุน

- จุดแข็ง - จุดออน -โอกาส - ภาวะคุกคาม

กระบวนการจัดทํา ยุทธศาสตร

ขอเสนอแนะ ขอคิดเห็นเกี่ยวกับ ความเหมาะสม/

ความเปนไปได และ ปจจัยแหงความสําเร็จ

ขอมูลองคกร ขอมูลยุทธศาสตรองคกร ขอมูลดานนโยบาย และ ขอมูลผลผลิตการวิจัย

สภาพแวดลอม

ภายในและภายนอก ในปจจุบันและอนาคต

ราง

กรอบแนวคิด และราง

ยุทธศาสตรเชิงรุก ในการพัฒนา

ดานการวิจัยเพื่อ สรางความเขมแข็ง

ของประเทศ

ยุทธศาสตรเชิงรุก ในการพัฒนา ดานการวิจัย

ทบทวน และสรุป

การสังเคราะหขอมูล

Page 19: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

4. ไดยุทธศาสตรเชิงรุกที่มีความสมบูรณ ที่จะสามารถนําไปใชในการพัฒนาดานการวิจัย โดยใชสภาพที่เปนอยูปจจุบันเปนที่ตั้ง และอาศัยแนวทางการพัฒนาที่ประสบความสําเร็จอันสามารถประยุกตใชกับสภาพของประเทศมาเปนกลยุทธการพัฒนา โดยหาวิธีในการแกปญหาและกําจัดอุปสรรคที่มี เพื่อใหสามารถนําไปใชอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Page 20: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของโลกสูยุคเศรษฐกิจสังคมฐานความรู

และการพัฒนาการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็ง

เมื่อมองยอนไปในอดีต วัฒนธรรมและความเจริญในโลกนี้เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง โดยมีจุดศูนยกลางความเจริญที่ปรับเปลี่ยนไปตามระยะเวลา ประเทศจีน อินเดีย เปอรเซีย ในทวีปเอเซีย ลวนเคยมีประวัติวาเปนผูนําดานความเจริญกาวหนา แตหลังจากมีการปฏิวัติวัฒนธรรมในทวีปยุโรปชวงยุคเรอแนสซองซแลว ศูนยกลางความเจริญกาวหนากลับไปอยูในแถบตะวันตกและมีการพัฒนาอยางเปนระบบ เกิดการพัฒนาเปนยุค ไลเรียงจากยุคพัฒนาเกษตรกรรม มาเปนยุคพัฒนาอุตสาหกรรม กาวสูยุคพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และกําลังกาวเขาสูยุคสังคมฐานความรู มีการนําเอาความรูที่ไดจากการศึกษาคนควาวิจัยมาใชเปนเครื่องมือรวมกับการจัดการเชิงธุรกิจ การกําหนดกฎเกณฑดานทรัพยสินทางปญญา สรางผลประโยชนใหแกประเทศเจาของความรูนั้น ๆ

พื้นฐานของการพัฒนาในยุคเรอแนสซองซไดแก การคนควา ทดลอง และพิสูจน มีการทําขอมูลอยางเปนระบบระเบียบ มีการตรวจสอบและวัดโดยเครื่องมือที่แมนยํา อันเปนหลักทางวิทยาศาสตรทําใหเขาใจในธรรมชาติ นําไปสูการประดิษฐ และผลิตสินคาที่มีคุณภาพ ตลอดจนสรางเครื่องมืออุปกรณสําหรับการผลิต นอกจากนั้น ยังนํามาผลิตอาวุธยุทธโธปกรณสรางพลังและอํานาจทางทหาร เสริมไปกับการแผอิทธิพลไปยังพื้นที่อ่ืนนอกเหนือจากประเทศของตน ยึดครองพื้นที่และนําเอาทรัพยากรที่มีคุณคาจากพื้นที่นั้นไปสรางความมั่งคั่ง นําไปสูความเจริญกาวหนาสืบเนื่อง

การศึกษาคนควาอยางเปนระบบระเบียบอันนําไปสรางความรูที่ถูกตองเชื่อถือได ก็คือหลักของการวิจัย การวิจัยไดกอใหเกิดความรูในทุก ๆ ดาน เพิ่มปริมาณหลายเทาทวีคูณในลักษณะ Exponential นอกจากนั้นประเทศในแถบตะวันตกไดขยายรูปแบบการจัดการศึกษาสูงขึ้นเปนระดับปริญญาตรี โทและเอก และเนนใหผูเรียนไดใชการคนควาวิจัยในเรื่องใหม ๆ สรางความรูใหมเปนฐาน จึงถือไดวาการวิจัยในประเทศแถบตะวันตกไดเกิดขึ้นและดําเนินมาเปนเวลานาน จนสามารถปรับกระบวนการใหเหมาะสม และสรางคุณประโยชนไดอยางคุมคา ตลอดจนมีการพัฒนาการบริหารจัดการใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการแบงสรรผลประโยชนอยางเทาเทียมและยุติธรรม มีกิจกรรมที่สรางแรงจูงใจในการทําวิจัย มีการลงทุนเพื่อการวิจัยที่ขยายวงจากภาครัฐสูภาคเอกชน เพราะไดพิสูจนใหเห็นวาไดรับผลตอบแทนจากการนําความรูจากการวิจัยมาพัฒนาผลิตภัณฑและบริการอยางคุมคา รวมถึงสามารถใชสรางความไดเปรียบและความสามารถเชิงการคาเหนือคูแขงทั้งในระดับองคกรตลอดจนระดับประเทศ

Page 21: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ความเจริญกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบันทําใหเกิดกระแสโลกาภิวัฒน มีการคาขามพรมแดนอยางสะดวกสบาย สงผลใหตลาดสินคาขยายวงกวางขึ้น ประกอบกับมีการดําเนินการเพื่อใหมีการคุมครองสินคาและบริการในฐานะทรัพยสินทางปญญา ไมสามารถลอกเลียนได ทําใหประเทศหรือภาคเอกชนที่เปนเจาของความรูสามารถหาผลประโยชนไดอยางกวางขวางมากขึ้น

ยุคสังคมฐานความรูหรือเศรษฐกิจฐานความรู

การเปลี่ยนแปลงของโลกไดพัฒนาขึ้นเปนลําดับ จากการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจการคาโดยอาศัยการใชแรงงานเปนหลัก ซ่ึงทําใหโลกในยุคนั้นมีการขยายอาณาจักร มีการทําสงครามและเมื่อชนะสงครามก็นําคนมาเปนทาสแรงงาน พัฒนาสูการแสวงหาทรัพยากรธรรมชาตินํามาสรางความเจริญ อันทําใหโลกในยุคตอมาเกิดภาวะลาอาณานิคมและประเทศผูชนะไดเก็บกวาดเอาทั้งทรัพยากรธรรมชาติหรือแมแตสมบัติของชาติที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมและอารยธรรมก็ยังถูกแยงชิงไป คร้ันตอมามีการพัฒนาดานเทคโนโลยีการผลิต ทําใหประเทศจํานวนไมนอยกลายเปนประเทศอุตสาหกรรมและผลิตสินคาที่มีมูลคามากกวาสินคาทางการเกษตรออกจําหนาย สรางความร่ํารวยและความเจริญกาวหนาใหกับประเทศนั้นๆ การพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศเปนการพัฒนาในยุคตอมา ทําใหเกิดการสื่อสารกันไดอยางทั่วถึงและไรพรมแดนในเชิงภูมิประเทศอยางมาก ผลิตภัณฑและการใหบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก็ไดสรางความมั่งคั่งใหกับทั้งบุคคล องคกร และประเทศผูคิดคน

ปจจุบันเปนยุคที่อิงความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รากฐานสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาในยุคนี้ไดพัฒนาไปถึงระดับโมเลกุล (Molecular level) และระดับพันธุกรรม (Genomics) ความเจริญกาวหนาดังกลาวสงผลใหวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสาขาหลักหลายสาขา เชน เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เทคโนโลยีอนุภาคระดับนาโนโมเลกุล (Nanotechnology) เปนตน มีการพัฒนาและประยุกตใชใหเกิดวิวัฒนาการในดานวัสดุ (Materials) ดานอิเลคทรอนิคส (Electronics) และวิทยาศาสตรชีวภาพกับการแพทย (Biology and Medical Sciences) เกิดการเพิ่มผลิตภาพและผลิตผลใหม ๆ ที่มีคุณลักษณะที่ดีขึ้นกวาเดิม มีประสิทธิภาพมากกวาเดิม ทั้งในดานอุตสาหกรรม ดานการเกษตร รวมถึงดานการรักษาโรค

วิวัฒนาการของโลกดังกลาวมาแลวนั้น เกิดขึ้นจากสิ่งสําคัญในดานความรูหลายประการคือ (จรัส สุวรรณเวลา 2545)

ประการแรก เปนวิวัฒนาการในการคนหาความรูและพิสูจนความรูที่คนพบจนกลายเปนองคความรูหรือ Knowledge creation รวมถึงลมลางความเชื่อหรือความรูเดิม ทั้งนี้ไดอาศัยกระบวนการวิจัยคือการวางแผน ศึกษาคนควาอยางเปนระบบระเบียบ การคนควานั้นเกิดขึ้นอยาง

Page 22: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

มากในทุกสาขาวิชาและอาชีพ ประมาณกันวาความรูที่เกิดขึ้นใหมหรือคนพบในชวงระยะเวลา 50-60 ปที่ผานมามีปริมาณมากเทากับตั้งแตเมื่อสรางโลกมาจนถึง 50-60 ปที่แลวทีเดียว นอกจากนั้นยังอาศัยการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดเก็บไดอยางครบถวนแตกระทัดรัด และสามารถสืบคนและคนคืนไดอยางสะดวกรวดเร็ว

สืบเนื่องจากการสรางความรูขึ้นมาใหมอยางมากมายและรวดเร็วทําใหความรูบางอยางลาสมัยหรือมีความรูใหมเขามาทดแทน ความรูจึงเปนสิ่งที่มีวันหมดอายุหรือมี Expire date หรือมีชวงเวลาใชงาน หรือ Shelf-life จึงตองหมั่นติดตามความกาวหนาทางวิชาการตลอดเวลาในทุกสาขาวิชา

ประการที่ 2 มีการเพิ่มประสทิธิภาพของการแยกแยะองคความรู (Knowledge -dissemination) วาความรูหรือองคความรูใดใชไดดีกับสถานการณใด และมีการนําความรูไปใชในระหวางสาขาวิชามากขึ้น

ประการที่ 3 เกิดกระบวนการในการจัดการความรู (Knowledge management) คือการบริหารจัดการใหความรูไดนําไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุดทั้งในแงของการแลกเปลี่ยนเรียนรู การเผยแพรทั้งความรูที่พิสูจนแลว (Explicit knowledge) หรือความรูประสบการณเฉพาะตัว (Tacit หรือ Implicit knowledge)

ประการที่ 4 ความรูเปนสิ่งที่มีคามีราคา แตเดิมความมีราคาอยูในลักษณะที่ผูคนควาหาความรูก็ไดใชความรูนั้นผลิตสินคาหรือพัฒนาการบริการใหกับผูอ่ืน สรางความมั่งคั่งรํ่ารวย แตตอมาก็อาจถูกลอกเลียนและ ถูกแยงตลาดทําใหมีการกําหนดใหความรูที่คิดคนขึ้นมาเปนทรัพยสินทางปญญา ซ่ึงมีกฎเกณฑปองกันการลอกเลียนไปใช ผูที่จะเอาไปใชตองจายคาความรูนั้น ความรูจึงไมใชเร่ืองที่เผยแพรถายทอดในวงกวางเชิงวิชาการแตอยางเดียวเหมือนในสมัยกอน ความรูบางอยางที่นําไปประยุกตเชิงการคาไดจึงกลายเปนความรูที่ตองซื้อหา

ประการที่ 5 ในปจจุบันความรูสามารถเผยแพรไดอยางรวดเรว็ ขามประเทศ ขามทวปี ไรพรมแดนโดยเฉพาะความรูที่เผยแพรในเชิงวิชาการ ไมตองรอการตีพิมพในวารสาร หนังสือ ที่ใชเวลา ไมตองรอการจัดสงเอกสาร โดยอาจเผยแพรผานระบบอินเตอรเนตหรือโดยการสงขอมูลมาตีพิมพในประเทศปลายทาง แมแตขาวสารตาง ๆ นั้น การใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมยั ทันตอเวลา ทาํใหชวยในการตัดสินใจเชิงธุรกิจ อีกทั้งชวยสนับสนนุการทําธุรกรรมการเงินระหวางประเทศไดเปนอยางด ี

แนวโนมใหมที่เกิดจากวิวัฒนาการของโลก

วิวัฒนาการของโลกยังกอใหเกิดแนวโนมใหมหลายประการ คือ แนวโนมของการแยกสวนของกิจกรรมในกระบวนการผลิตสินคาไดแก ขั้นตอนการประดิษฐคิดคนและพัฒนาสินคา

Page 23: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ผลิตภัณฑ (Creative and innovation) ขั้นตอนการผลิต (Production) ขั้นตอนการตลาดในการจําหนายสินคาและใหบริการ (Marketing and services) ขั้นตอนในกระบวนการผลิตทั้ง 3 ขั้นตอนสามารถแยกสวนและแยกสถานที่ได ไมจําเปนตองอยูในสถานที่แหงเดียวกันหรือแมแตในประเทศเดียวกัน สภาพที่สามารถเห็นไดก็คือการจัดบางขั้นตอนในกระบวนการผลิตใกลแหลงวัตถุดิบเพื่อลดคาใชจายในการขนสงวัตถุดิบ และคาธรรมเนียมการจัดสงวัตถุดิบขามแดน หรือการจัดขั้นตอนการผลิตบางขั้นตอนที่อาจไมตองใชฝมือแรงงานชั้นสูงในประเทศที่คาแรงงานถูก คาครองชีพต่ํา การจําหนายสินคาและใหบริการก็ไมจํากัดอยูเฉพาะในประเทศใดประเทศหนึ่งหรือทวีปใดทวีปหนึ่ง ทําใหจําหนายไดมากขึ้น ทั้งนี้อาศัยการบริหารจัดการอยางเปนระบบ และอาศัยความกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตอส่ือสาร เชื่อมโยง และสั่งการ (กิตติ ล่ิมสกุล 2550)

แนวโนมของการสรางตราสินคา หรือ ช่ือยี่หอเฉพาะตัว (Branding) โดยผูที่เปนผูคิดคนหรือเปนเจาของความรูและเทคโนโลยี ก็จะสรางความเชื่อถือและความนิยมชมชอบในสินคาของตนเพื่อครองตลาด และมีกระบวนการเพิ่มขึ้นไดแก การสํารวจวิจัยตลาด (Market survey and Research) เพื่อนํามาเปนขอมูลสําหรับการออกแบบผลิตภัณฑ (Product design) การพัฒนาสินคารูปแบบใหม (Product development) ที่แตกตางจากสินคาที่มีอยูในทองตลาด โดยอาศัยการวิจัยและพัฒนาชวยสนับสนุน

แนวโนมของการรวมกลุมในแตละขั้นตอนหรือกระบวนการผลิตสําหรับดําเนินการผลิตใหกับหลายบริษัท เชน โรงงานผลิตรองเทาแหงหนึ่ง ๆ อาจรับจางผลิตรองเทาใหกับหลายยี่หอ หรือในการขนสงจะมีบริษัทหนึ่ง ๆ รับจางขนสงใหกับหลายโรงงานผลิตไปยังแหลงรวมสินคากอนการกระจายสินคา เกิดการใชบริการในขั้นตอนหนึ่ง ๆ รวมกันได เปนการรวมศูนยขั้นตอน หรือรวมศูนยกระบวนการ ซ่ึงหลายครั้งชวยลดตนทุนดานบุคลากรที่อาจตองมีเชี่ยวชาญพิเศษ หรือการทําสิ่งหนึ่ง ๆ ในปริมาณมาก เกิดความไดเปรียบในลักษณะของ Economy of scale และ Economy of scope ของกระบวนการแตละขั้นตอนทั้งในระดับทองถ่ิน ระดับภูมิภาค ระดับประเทศและระดับโลก

แนวโนมของการกระจายสินคาบางประเภทไดในเวลาเดียวกันทั่วโลกและทันตอเหตุการณปจจุบัน เชน ขาวสาร เหตุการณที่สําคัญ ๆ ในประเทศหนึ่งหรือพื้นที่หนึ่ง จะถูกสงไปยังแหลงผลิตสื่อ เชน หนังสือพิมพ ส่ือโทรทัศน ภายในเวลาอันรวดเร็ว และเมื่อผลิตสื่อไดแลวก็จะถูกสงไปทั่วโลกไดในเวลาไมนานในเวลาพรอม ๆ กัน ทําใหผูคนทั่วโลกไดรับรูเหตุการณหรือขาวสารความรูที่เปนปจจุบันพรอมกัน เวลาการผลิตสินคาประเภทนี้ กลายเปนประเด็นสําคัญในการแขงขัน

แนวโนมของการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑและ/หรือบริการในเชิงการคา เปนการวิจัยและพัฒนาตอยอดจากความรูพื้นฐานเชิงวิชาการ แตเปนการวิจัยเพื่อพัฒนาสินคาตนแบบ (Prototype) และพัฒนาตอเนื่องจนไดเปนสินคาใหม (End product) โดยตรง การวิจัยนั้นโดยปกติ

Page 24: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

มักตองลงทุนมากและตองใชบุคลากรที่มีความรูพื้นฐานดี ตองอาศัยเครื่องมืออุปกรณการวิจัยซ่ึงบางชิ้นมีราคาแพง ดังนั้นมักทําการวิจัยอยูในสถาบันการศึกษาหรือสถาบันวิจัยในภาครัฐ แตเมื่อการวิจัยใหผลตอบแทนสูงในเชิงการคาได ภาคเอกชนจึงหันมาทําการวิจัยเองบาง เปนการลงทุนเพื่ออนาคต แตสวนมากตองลงทุนเปนจํานวนมาก ทําใหมีความพยายามในการรวมมือวิจัยกับสถาบันการศึกษา รวมถึงชักจูงใหภาครัฐใหการสนับสนุนดานการเงินดวย

แนวโนมของการปกปดความรูที่ไดจากการพัฒนาเพื่อประโยชนทางการคา โดยปกปองสินคาของตนและกีดกันการแขงขัน โดยอาศัยระเบียบและกฎเกณฑของทรัพยสินทางปญญาและใชเปนประเด็นสําคัญที่จะบีบบังคับใหประเทศหรือกลุมที่ลอกเลียนหยุดการกระทํา โดยอาศัยชองทางงดเวนสิทธิพิเศษทางการคาระหวางประเทศหากไมปฏิบัติตาม

แนวโนมของการที่ผูบริโภคตองซื้อสินคาในราคาที่แพงขึ้น ๆ เพราะมีการบวกตนทุนการวิจัยเขาในมูลคาของสินคา ในสินคาบางชนิด เชน ยา ซ่ึงหลายกรณีก็กลายเปนประเด็นที่ทําใหผูปวยที่ยากจนไมมีความสามารถซื้อหาไมมีโอกาสที่จะไดรับยาที่ดีเหลานั้นในการรักษา แมวาจําเปนอยางมากตอชีวิต

แนวโนมของการสรางความรวมมือระหวางภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจกับสถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย ซ่ึงสืบเนื่องมาจากการลงทุนในการวิจัยที่สูง การตองพึ่งพาบุคลากรสายวิชาการวิจัยที่มีคุณภาพ ตลอดจนตองพึ่งพาความรูพื้นฐานเพื่อการตอยอดวิจัยและพัฒนาตัวอยางการประสบความสําเร็จแบบ ชนะ- ชนะ (win-win scenario) ในการรวมมือดังกลาว เปนตนแบบใหมีการพัฒนาความสัมพันธเชนนี้มากขึ้นเปนลําดับ ขอดีในภาคอุตสาหกรรมคือลงทุนนอยลง ไมตองเสาะแสวงหาบุคลากรสายวิชาการวิจัยมาก ไมตองลงทุนสําหรับเครื่องมืออุปกรณวิจัยทุกอยางเอง แตอาศัยใชรวมกันบางอยาง มีการตั้งโจทยวิจัยหรือเปาหมายที่ตรงกับแผนธุรกิจหรือสายการผลิตสินคาของตน ทําใหไดผลิตภัณฑสินคาใหมที่สรางรายได สวนภาคการศึกษาวิจัยหรือสถาบันการศึกษาก็ไดการสนับสนุนทั้งเครื่องมืออุปกรณวิจัยเพิ่มเติม มีรายไดทั้งจากคาความรูพื้นฐานที่ไดจากการวิจัยเชิงวิชาการ มีรายไดพิเศษแกบุคลากรสายนี้ของภาครัฐ ไดประสบการณไปสอนตอเพื่อสรางบุคลากรใหตรงกับความตองการของภาคอุตสาหกรรม นอกจากนั้นทั้ง 2 ภาคสวนยังมีโอกาสไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากภาครัฐรวมกัน เพราะสามารถสรางความเขมแข็งใหประเทศทั้งในภาควิชาการและภาคอุตสาหกรรม

แนวโนมของการรวมกลุมอุตสาหกรรม หรือกลุมธุรกิจระหวางประเทศ จากประเด็นของ Economy of scale รวมกับความชํานาญในแตละพื้นที่ที่แตกตางกันเกิดความตกลงรวมมือเชื่อมโยงระหวางบริษัทเปนกลุม Industrial clusters หรือเกิดการควบรวมกิจการ (Business merging) เพื่อลดตนทุนดานทรัพยากรและเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกลุม สามารถเชื่อมโยงการบริหารจัดการเกิดเปนบริษัทธุรกิจขามชาติหรือธุรกิจระดับโลก ซ่ึงถือเปนการรวมกลุมระหวางองคกรในภาคเอกชน

Page 25: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

แนวโนมการพัฒนากลุมอุตสาหกรรมหรือธุรกิจของแตละประเทศขึ้นมาเปนศูนยกลางสินคาและบริการ ประเภทหนึ่ง ๆ ในระดับประเทศที่ประเทศนั้น ๆ มีจุดเดน มีโอกาสในแขงขัน เกิดเปนศูนยกลาง (Hub) เชน Medical Hub, Automobile Hub และเกิดการพัฒนาตอเนื่องขึ้นอีกในการสรางหวงโซของมูลคา (Value Chain) ในกลุมอุตสาหกรรมตางๆ ในระดับโลก ทั้งนี้ก็เพราะการพัฒนาดังกลาวจะชวยเพิ่มสวนแบงการตลาดของอุตสาหกรรมนั้น ๆ ของประเทศของตนในตลาดระดับโลก การยกระดับของประเทศใหเปนหนึ่งในหวงโซของมูลคาในกลุมอุตสาหกรรมสามารถเชื่อมตอกันไดระหวางประเทศ ไมวาในภูมิภาคใด ก็ดวยความกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนั่นเอง

ประเด็นสําคัญที่มีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของโลก

นอกจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่จะเกิดขึ้นในยุคสังคมฐานความรูแลวยังมีประเด็นที่สําคัญที่จะมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปจจุบันและอนาคตอีก ไดแก โครงสรางประชากรที่เปลี่ยนไป ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมที่เปลี่ยนไป การเปลี่ยนแปลงพื้นที่การเกษตร การระบาดของโรคอุบัติใหมและอุบัติซํ้า ลักษณะของอาชญากรรมขามชาติ การกอการรายทุกระดับรวมถึงพฤติกรรมของผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลง

โครงสรางประชากรของโลกในปจจุบันและอนาคตเริ่มเกิดการแปรเปลี่ยนไปเปนสังคมผูสูงอายุ เพราะในอดีตมีความกลัวที่จะมีประชากรลนประเทศ ลนโลก ในขณะที่ทรัพยากรจํากัด ทําใหมีการควบคุมการเกิดของมนุษย ความกาวหนาทางการแพทยทําใหมนุษยมีอายุยืนยาวขึ้น การวินิจฉัยโรคไดถูกตองรวดเร็ว การรักษาโรคที่ไดผล รวมไปถึงการปรับปรุงสภาพความเปนอยู ทําใหความเสี่ยงตอการสูญเสียชีวิตนอยลง ลวนเปนสิ่งสําคัญใหสังคมของโลกมีผูสูงอายุมากขึ้น และมีลักษณะการกระจายของผูคนในโลกในวัยตาง ๆ ผิดไป จากเดิมพบวาประชากรในชวงวัยทํางานมีปริมาณลดลงอยางมาก อันอาจจะเกิดการแยงชิงแรงงานในวัยหนุมสาวมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุมที่ไดรับการศึกษาสูงและในสายวิชาชีพเฉพาะ เชน แพทย วิศวกร มีการขยับลักษณะของการทํางานไปทํางานที่รายไดดีขึ้นเปนลําดับ ทําใหเกิดชองวางความตองการแรงงานในระดับตาง ๆ และเกิดการนําเขาแรงงานจากตางประเทศ โดยดึงจากประเทศที่บุคลากรหรือแรงงานไดรับผลตอบแทนที่ต่ํากวา รวมไปถึงการขาดแคลนแรงงานไรฝมือในประเทศที่กําลังพัฒนา เกิดการยายถ่ินหรือลักลอบเขาเมืองเขามาเสริมชองวางความตองการในแตละระดับ ขึ้นกับสถานการณของประเทศนั้นๆ นําไปสูการแกปญหาในรูปแบบตาง ๆ เชน การกําหนดมาตรฐานหรือขอจํากัดปลีกยอยเพื่อกีดกันการยายถ่ินของแรงงาน

โครงสรางประชากรที่มีผูสูงอายุมากขึ้น ยังเปนผลใหภาครัฐตองใชงบประมาณในดานสวัสดิการสังคม การดูแลรักษาพยาบาลประชาชนมากขึ้นดวย ในขณะที่โครงสรางดานการเงิน

Page 26: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

สนับสนุนยังไมไดมีการเตรียมตัวมาลวงหนา หรือยังไมทันตอเวลา เชนการจายเงินสวัสดิการหรือประกันสังคมไวในชวงวัยทํางานเพื่อจัดเก็บไวใชเมื่อเขาสูชวงสูงอายุ สภาพสังคมที่ผูสูงอายุถูกทิ้งไวที่บาน โดยประชากรในวัยทํางานออกทํางานตางพื้นที่ ตางถิ่น เพื่อหวังรายไดที่สูงขึ้น อีกทั้งประชากรวัยทํางานทอดทิ้งอาชีพเกษตรกรรมที่ถายทอดจากรุนปูยา ตายาย ไปทํางานในภาคอุตสาหกรรมที่มีรายไดดีกวา และมีสังคมในอีกรูปแบบหนึ่งที่เขากับประชากรในวัยทํางานซึ่งเปนพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปในโลกยุคปจจุบันและอนาคต

การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจะมีมากขึ้นในปจจุบันและอนาคตเพราะในชวงเวลาที่ผานมาเศรษฐกิจของโลกอิงการผลิตสินคาจากทรัพยากรธรรมชาติ เชน ไม น้ํามัน แกสธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้ถูกใชไปมากและหมดไปอยางรวดเร็ว แตกวาจะเกิดขึ้นใหมและใชประโยชนไดใชเวลานานมาก ไมสามารถสรางขึ้นทดแทนไดในเวลาอันรวดเร็วและทันเสริมการนําไปใช เปนผลใหมีราคาสูง ประเทศที่ไมมีทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้ตองซื้อในราคาสูง และตองพึ่งพาโดยไมมีความสามารถในการตอรอง

ทรัพยากรน้ําตามธรรมชาตินับวันจะยิ่งขาดแคลนจากปญหาที่มีผลกระทบตอเนื่องหลายปจจัย เชน ปญหาโลกรอนจากภาวะเรือนกระจก การตัดไมทําลายปา ทําลายแหลงตนน้ําตามธรรมชาติ การกักเก็บน้ําจากการสรางเขื่อนทําใหบางพื้นที่ไดรับผลกระทบ แตก็มีขอดีในการบริหารจัดการและเก็บรักษาเพื่อใชประโยชนมากขึ้นในบางพื้นที่ ในปจจุบันพบวาพื้นที่หลายแหงของโลกประสบปญหาขาดแคลนน้ําทั้งอุปโภคบริโภคแลว ประมาณวาอยูในระดับรอยละ 10 ซ่ึงคร่ึงหนึ่งหรือรอยละ 5 ประชาชนขาดแคลนน้ําในขั้นวิกฤติ อุณหภูมิของโลกในแตละพื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม สงผลใหมีภัยธรรมชาติเกิดขึ้นบอยครั้งขึ้น และทวีความรุนแรงขึ้น กับเกิดขึ้นในพื้นที่ที่ไมเคยประสบมากอน ตัวอยางเชน คล่ืนความรอน Heat wave ที่เพิ่งเกิดขึ้นกับประเทศออสเตรเลียและประเทศอินเดีย ภัยจากแผนดินไหว พายุ คล่ืนยักษสึนามิที่ถลมพื้นที่รอบทะเลอันดามัน รวมถึงชายฝงตะวันตกของประเทศไทยซึ่งไมเคยคาดคิดวาจะเกิดขึ้นมากอน

ภาวะโลกรอนเปนประเด็นสําคัญที่มีการหยิบยกมากลาวถึงมาก เพราะเชื่อกันวาจะสงผลกระทบอยางรุนแรง และจะเกิดขึ้นในเวลาไมนานนัก พื้นที่บางแหงของโลกอาจจะกลายเปนทะเลทราย ในขณะที่บางแหงถูกน้ําทวม เพราะระดับน้ําทะเลสูงขึ้นจากน้ําแข็งที่บริเวณขั้วโลกละลายมากขึ้น สาเหตุของการเกิดภาวะโลกรอนที่สําคัญ ไดแก ปรากฏการณกาซเรือนกระจก ซ่ึงเปนฝมือของมนุษยจากการพัฒนาดานอุตสาหกรรมที่ปลดปลอยของเสียไปทําลายบรรยากาศชั้นโอโซนที่ปกปองคุมครองโลกไวจากแสงอาทิตย

สภาพสิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรมลง เชน คุณภาพอากาศ คุณภาพน้ํา คุณภาพเสียง ปญหาขยะมูลฝอย สงผลตอสุขภาพของผูทํางานและผูที่อาศัยอยูใกลเคียงบริเวณที่เปนแหลงผลิต และมีผลตอทรัพยากร เชน ปริมาณของปลาและสิ่งมีชีวิตในน้ํา

Page 27: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ภาคการเกษตร การขาดแคลนน้ํายังอาจสงผลตอผลผลิตการเกษตรเพื่อนํามาเปนอาหารลดลง เกิดความไมพอเพียง ตองพึ่งพิงการนําเขาอาหารและสินคาเกษตรเพื่อการบริโภค และยิ่งผลผลิตภาคการเกษตรลดลง สงผลใหสินคาประเภทอาหาร พืชผัก ผลไม ราคาสูงขึ้น แตในอีกดานหนึ่ง เมื่อมีการขาดแคลนพลังงานตามธรรมชาติ โดยเฉพาะน้ํามัน ทําใหมีการพัฒนาพลังงานจากชีวภาพรวมถึงจากพืช คือ Bioenergy ทําใหประชากรสวนหนึ่งหันมาปลูกพืชเพื่อใชเปนพลังงานทดแทน เพราะไดผลประโยชนสูงขึ้น สงผลตอเนื่องใหพื้นที่การเกษตรสําหรับพืชที่เปนอาหารลดลงอีก และอาจลดลงถึงขั้นวิกฤติขาดแคลนอาหารทั่วโลกได

การระบาดของโรคอุบัติใหมและโรคอุบัติซ้ํา ซ่ึงเกิดจากเชื้อโรคชนิดใหม ๆ เชน ไขหวัดนก โรค SARS หรือโรคไวรัสสมองฝอที่ติดตอจากวัวโดยเชื้อ Nipah Virus โรคเหลานี้ หากเกิดขึ้นแลวมีผลกระทบรุนแรง เชน ไขหวัดนกซึ่งแพรกระจายไดอยางรวดเร็วในสัตวปก ทําใหตองส้ินเปลืองในการกําจัดและควบคุมโรค จนถึงกับตองทําลายชีวิตสัตวปกจํานวนมากในพื้นที่ของการระบาด สงผลใหอาหารจําพวกสัตวปกลดนอยลงและราคาสูงขึ้น ตองสิ้นเปลืองทั้งบุคลากรและคาใชจายในการดูแลรักษาและเฝาระวังโรค นอกจากนั้นยังสามารถติดตอมายังคนไดดวย มีอัตราตายสูง ตองอาศัยเวลาและการศึกษาคนควาอีกระยะเวลาหนึ่งกอนจะรักษาหรือควบคุมโรคไดอยางเต็มที่ ไขหวัดใหญสายพันธุใหม ที่ระบาดในประเทศเม็กซิโกก็เปนตัวอยางหนึ่งของโรคอุบัติใหม ซ่ึงติดตอมายังคนและมีความรุนแรง มีผูเสียชีวิตแลวจํานวนไมนอยในชวงระยะเวลาสั้น ๆ เพียงไมกี่วัน โรคติดตอหลายอยางมีผลกระทบตอเศรษฐกิจ เพราะมีการหามการนําเขาสินคาอาหารในกลุมเสี่ยง เชน การหามนําเขาเนื้อวัวจากประเทศอังกฤษ เมื่อพบวามีการระบาด แตก็จําเปนเพราะการปกปดจะยิ่งทําใหเกิดอันตรายและสงผลกระทบที่รุนแรงกวา โรคระบาดบางอยาง เชน วัณโรค โรคเทาชาง อาจถูกกําจัดหมดไปแลวในบางประเทศเชนประเทศไทย อาจเกิดอุบัติซํ้า และระบาดซ้ําอีกครั้ง จากการแพรกระจายของโรคมาพรอมกับแรงงานอพยพตางถ่ิน แรงงานขามชาติที่ผิดกฎหมายที่ไมมีการควบคุมในดานโรคระบาดหรือดูแลในระบบสาธารณสุขที่ดีพอ

การระบาดของโรคยังสงผลกระทบตอการเดินทางทองเที่ยว ความแตกตื่นของประชาชน การตื่นกลัวในการงดบริโภคเกินกวาเหตุ การใชยาปองกันเกินกวาเหตุโดยไมจําเปน เหลานี้ยอมสงผลตอเศรษฐกิจของประเทศนั้น ๆ อีกทั้งภาระคาใชจายตาง ๆ ของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นก็ยังสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยรวมดวย

การระบาดโรคในสัตวที่เปนอาหารยังมีผลเปลี่ยนแปลงวิธีการในการเลี้ยง ทําลายวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม ตองหันมาใชวิธีการเลี้ยงสัตวแบบอุตสาหกรรม ตองลงทุนสูงขึ้นหรือตองพึ่งพิงกลุมธุรกิจการเกษตร ขาดความเปนอิสระแบบเดิม เพราะตองดําเนินการตามขั้นตอนที่ถูกกําหนดไว เกิดการครอบงําทางธุรกิจในดานอุตสาหกรรมการเกษตรไดงายขึ้น

ลักษณะของอาชญากรรมที่กวางขวางและรุนแรง รวมไปถึงการกอการราย โดยที่มีเครือขายกวางขวางขึ้น สลับซับซอน สามารถสรางความเสียหายมากและในวงกวาง พฤติกรรมของ

Page 28: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

อาญากรรมจะแยบยลมากขึ้น ตรวจจับไดยากและเชื่อมโยงตอเนื่องระหวางประเทศ เชน การคายาเสพติด การฟอกเงิน การคามนุษยเพื่อแรงงานผิดกฎหมายและเพื่อการคาประเวณี นอกจากนี้ยังมีอาชาญากรรมรูปแบบใหมโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย เชน อาชญากรรมไซเบอร การทําผิดกฎหมายโดยการแพรภาพหรือซ้ือขายแบบผิดกฎหมายโดยอาศัยอินเตอรเน็ต

พฤติกรรมของผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลง ทั้งในแงของการประชาสัมพันธสินคาไดกวางขวางขึ้น ทําใหเพิ่มคานิยมในการใชสินคาจากตางประเทศที่รูจักแพรหลายมากขึ้น อิทธิพลคานิยมในดานศิลปวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไปอาจทําลายวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ไมแข็งแรง มีการเลียนแบบ ทั้งดานเครื่องแตงกาย การบริโภค ที่อาจไมเหมาะสมหรือเขากับสภาพแวดลอมของประเทศเดิม แตในแงดีผูบริโภคก็จะไดรับความสะดวกสบายในการเลือกซื้อหรือสงสินคา มีการทําธุรกรรมซื้อขายผานอินเตอรเน็ตได

พฤติกรรมผูบริโภคในสวนที่เกี่ยวกับสุขภาพหรืออาหารมีการเปลี่ยนแปลงทั้งในเชิงบวกและลบ เชน ชีวิตการทํางานที่รีบเรงและมีเวลาพักนอย ความเปนอยูที่หางจากครอบครัวมาทํางานตางถิ่น ทําใหเลือกบริโภคอาหารประเภทสําเร็จรูป อาหารปรุงสําเร็จ อาหารแชแข็งมากขึ้น สงผลตอสุขภาพ ในอีกแงมุมหนึ่ง ผูบริโภคที่ใสใจตอการดูแลรักษาสุขภาพก็จะเลือกบริโภคสินคาหรือผลิตภัณฑที่ผลิตจากวัตถุดิบตามธรรมชาติ หรือใชกระบวนการตามธรรมชาติมากขึ้น ซ่ึงสําหรับประเทศไทยถือเปนสวนเสริมสินคาและผลิตภัณฑจากภูมิปญญาไทยและผลิตภัณฑพื้นเมือง

แนวโนมของพฤติกรรมในเชิงลบยังพบเห็นไดจากพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสม มีการเบี่ยงเบนผิดปกติ ผิดธรรมชาติมากขึ้น จากผลของสื่อที่มีขอมูลที่ไมเหมาะสมสามารถเผยแพรไดอยางกวางขวาง งายดายขึ้น ขาดการกํากับควบคุมและกวดขัน และผูบริโภคขาดภูมิคุมกันที่จําเปนในการตอตานพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมเหลานี้

ประเด็นดังไดกลาวมาแลวยอมมีผลตอการพัฒนาของประเทศ ซ่ึงมีผลตอทั้งเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม รวมไปถึงพฤติกรรมการดํารงชีวิตของประชาชนในประเทศนั้น ๆ การสรางความรูจากการวิจัยในเชิงสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร เพื่อหาแนวทางการพัฒนาอยางถูกตองก็มีสวนสําคัญที่จะชวยผลักดันใหโลกหรือประเทศตางๆ รวมถึงประเทศไทยไดพัฒนาไปสูสังคมฐานความรู สามารถใชประโยชนและสรางประโยชนจากความรู เพราะหากไมมีการพัฒนาแลวก็จะทําใหประเทศมีชองวางหางจากประเทศที่มีความรู มีเทคโนโลยีมากขึ้น ๆ ตกเปนเบี้ยลาง หมดความสามารถในการแขงขัน และเศรษฐกิจก็จะตกต่ําลง ๆ จนถึงขั้นวิกฤติในที่สุด

การพัฒนาดานการวิจัยจึงถือเปนสิ่งจําเปนสําคัญทุกประเทศ รวมทั้งประเทศไทย เพื่อใหสามารถกาวทันโลก สามารถใชประโยชนจากความรูทั้งที่ผูอ่ืนสรางและสรางขึ้นเองกับสามารถตอยอดพัฒนาภูมิปญญาของไทยใหเกิดสินคาผลิตภัณฑและบริการที่มีคุณคาเชิงธุรกิจ ประกอบกับการรักษาเอกลักษณ วัฒนธรรมของไทยใหคงไว

Page 29: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

การพัฒนาดานการวิจัยจําเปนตองดําเนินการอยางเปนขั้นตอน มีการกําหนดนโยบาย มียุทธศาสตรที่เหมาะสม จึงจะสามารถบรรลุผลตามที่ไวกลาวแลว ซ่ึงจะไดทําการศึกษาและวิเคราะหขอมูลการพัฒนาดานนี้ของตางประเทศที่ประสบความสําเร็จ รวมถึงศึกษาวิเคราะหขอมูลการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศไทยวามีจุดแข็ง จุดออน มีโอกาส หรือมีการภาวะคุกคามอยางไร เพื่อนํามาเปนขอมูลสังเคราะหยุทธศาสตรเชิงรุกที่เหมาะสมตอไป

นอกจากการวิจัยจะเปนกลไกขับเค ล่ือนที่ สําคัญสําหรับการเปนประเทศที่เจริญกาวหนาและพัฒนาสูประเทศเศรษฐกิจฐานความรูแลวมีขอมูลซ่ึงคณะทํางานเฉพาะกิจการเปนประเทศแหงความรู (The knowledge Nation Taskforce) ของประเทศออสเตรเลีย ไดศึกษาและระบุลักษณะของประเทศแหงความรู ซ่ึงหมายถึง ประเทศที่มีความเจริญกาวหนาและพัฒนาเขาสูระบบเศรษฐกิจฐานความรู ซ่ึงไดแกประเทศที่มีคุณลักษณะดังตอไปนี้ (An Agenda for the Knowledge nation , online 2009)

1. วิธีการทํางานขององคกรระดับสูงของชาติในทุกภาคสวนมีลักษณะการทํางานแบบ Proactive ทําหนาที่จัดโครงสรางพื้นฐาน จัดบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดระบบคมนาคมและโลจิสติกส และดานอื่นๆ ที่สําคัญและจําเปนใหประเทศมีพื้นฐานที่เขมแข็ง รวมถึงเปนผูสนับสนุนและกระตุนมากกวา “สั่งการ”

2. ประเทศมีการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพสูงใหแกเด็กและเยาวชน รวมถึงการจัดใหมีระบบที่ประชาชนทุกคนมีการเรียนรูตลอดชีวิตแมจะจบการศึกษาไปแลว

3. สถาบันการศึกษาระดับสูงมีคุณภาพ มีบุคลากรอาจารยและนักวิจัยที่มีคุณภาพความสามารถสูง ทั้งการถายทอดความรูและการศึกษาวิจัยใหไดความรูใหมๆจากการวิจัยพื้นฐานและนําความรูนั้นไปใชประยุกตใหเกิดประโยชน

4. จัดระบบใหมีความเชื่อมโยงระหวางองคกรวิจัยดวยกัน และ ระหวางองคกรวิจัยกับหนวยงานตางๆของภาครัฐและภาคเอกชน ซ่ึงจะกอใหเกิดความรวมมือในโครงการวิจัยตางๆ ที่หนวยปฏิบัติมีสวนรวมทั้งในกระบวนการวิจัยและนําผลการวิจัยไปใช โดยมีเปาหมายที่ชัดเจน และเอื้อ ใหมีการประสานงาน ผนึกกําลังระหวางกันและกัน

5. มีการจัดทํายุทธศาสตรระดับชาติที่จะนําไปสูผลที่ตองการเพื่อการพัฒนาตามแผน รวมไปถึงการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรตามลําดับความสําคัญ และใชการวิจัยเปนพลังสําคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร

6. มียุทธศาสตรที่จะเชื่อมโยงการวิจัยสูฐานนวัตกรรม จนกอใหเกิดรายไดจากความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมนั้นๆ มีการสรางมูลคาเพิ่มของสินคาและบริการที่ไดใชการวิจัยเปนสวนสนับสนุน ทําใหเศรษฐกิจของประเทศเจริญกาวหนา

Page 30: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

7. มีนโยบายที่มีลักษณะของ “บูรณาการ” ที่ใหความสําคัญกับทุกสวนที่เกี่ยวของที่จะมีผลตอเนื่องเชื่อมโยงกัน เชน การคํานึงถึงการอนุรักษส่ิงแวดลอม ประหยัดพลังงานควบคูไปกับการพัฒนาอุตสาหกรรม

8. มีการพัฒนาสินคาและบริการที่มีตราสัญลักษณเฉพาะของประเทศเปนที่เชื่อถือทั่วโลก

9. มีการจัดทํา ฐานขอมูลความรู และใชความรูนั้นทั้งเพื่อสรางเสริมประโยชนสาธารณะ โดยสามารถเขาถึงความรูไดเทาเทียมและสะดวก ลดชองวางทางเศรษฐกิจและสังคมระหวางกลุมคนในชาติ

ดังนั้นการที่ประเทศไทยจะพัฒนาสูการเปนประเทศที่เจริญกาวหนาแบบเศรษฐกิจฐานความรู จึงจําเปนตองมีการพัฒนาในหลาย ๆ ดานรวมถึงการพัฒนาดานการวิจัย และตองคํานึงถึงเปาหมายดังไดกลาวมาแลวขางตนในทุกภาคสวนดวย

Page 31: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

บทที่ 3 ความสามารถในการแขงขนัของประเทศไทย

เปนที่ยอมรับวาการศึกษาวิจัยเพื่อสรางองคความรูโดยเฉพาะการพัฒนาดาน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศตางๆ ในโลกในชวง 50-60 ปที่ผานมาและในอนาคต ในชวงที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจมาเปนลําดับขั้น ซ่ึงกําลังกาวไปสูสังคมฐานความรูและระบบเศรษฐกิจบนพื้นฐานของภูมิปญญา โดยอาศัยปจจัยหลายปจจัยที่ชวยสงเสริมสนับสนุนความกาวหนาและพัฒนานี้ ดังนั้นในการศึกษาวิจัยที่มุงเนนศึกษาเกี่ยวกับยุทธศาสตรการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศไทยและยุทธศาสตรการพัฒนาโดยเฉพาะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงไดทําการศึกษาถึงปจจัยสนับสนุนตางๆ ที่แสดงถึงความสามารถในการแขงขันของประเทศไทยทั้งในภาพรวมและเฉพาะดาน เพื่อใหเห็นภาพทั้งหมดของประเทศไทยในอดีตและปจจุบัน และเพื่อจะไดกําหนดตําแหนงปจจุบันของประเทศและกําหนดเปาหมายการพัฒนาในอนาคต

เกณฑการพิจารณาความสามารถในการแขงขัน

เมื่อศึกษาขอมูลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศตางๆ ซ่ึงสถาบัน International Institute for Management Development-IMD จัดทําขึ้น นับตั้งแตป พ.ศ. 2543 หรือ ค.ศ. 2000 สถาบัน IMD เผยแพรรายงานการจัดอันดับไวเปนรายปใน The World Competitiveness Yearbook (WCY) การจัดอันดับนั้นมีการวิเคราะหงานที่เรียกวา จํานวนประเทศเพิ่มขึ้นในแตละป แตในป พ.ศ. 2550 และ 2551 ไดทําการเปรียบเทียบประเทศตาง ๆ รวม 55 ประเทศเทาเดิม โดยในปสุดทาย 2551 มีการเพิ่มประเทศเปรู แตตัดประเทศไอซแลนดออก (IMD World Competitiveness Center, online : 2009)

เกณฑที่ใชพิจารณาจัดอันดับมีการปรับปรุงขึ้นเรื่อยมา สําหรับ ป พ.ศ. 2550 และ 2551ใชเกณฑเดิมซึ่งนาจะแสดงวาปจจัยหรือเกณฑที่นํามาใชในการเปรียบเทียบเร่ิมจะมีความแมนตรง สถาบัน IMD แบงวิเคราะหขอมูลใน 4 กลุมปจจัยหลัก แตละปจจัยหลักยังประกอบดวยปจจัยยอยอีก 5 ปจจัยยอย ดังนี้

1. ปจจัยหลักดานสมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 1.1. ปจจัยยอยเศรษฐกิจในประเทศ (Domestic Economy)

Page 32: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

1.2. ปจจัยยอยการคาระหวางประเทศ (International Trade) 1.3. ปจจัยยอยการลงทุนระหวางประเทศ (International Investment) 1.4. ปจจัยยอยการจางงาน (Employment) 1.5. ปจจัยยอยราคาสินคา (Prices)

2. ปจจัยหลักดานประสิทธิภาพของภาครัฐ (Government Efficiency) 2.1. ปจจัยยอยฐานะการเงินการคลังสาธารณะ (Public Finance) 2.2. ปจจัยยอยนโยบายการเงินการคลัง (Fiscal Policy) 2.3. ปจจัยยอยกรอบโครงสรางสถาบันขององคกรของรัฐ(Institutional Framework) 2.4. ปจจัยยอยกรอบและกฎระเบียบเกี่ยวกับธุรกิจ (Business Legislation) 2.5. ปจจัยยอยกรอบโครงสรางสังคม (Societal Framework)

3. ปจจัยหลักดานประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 3.1. ปจจัยยอยผลิตภาพและประสิทธิภาพในการผลิต (Productivity and Efficiency) 3.2. ปจจัยยอยตลาดแรงงาน (Labor Market) 3.3. ปจจัยยอยการเงินภาคธุรกิจ (Finance) 3.4. ปจจัยยอยการบริหารจัดการ (Management Practices) 3.5. ปจจัยยอยทัศนคติและคานิยม (Attitudes and Values)

4. ปจจัยหลักดานโครงสรางพื้นฐาน 4.1. ปจจัยยอยโครงสรางพื้นฐานทั่วไป (Basic Infrastructure) 4.2. ปจจัยยอยโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยี (Technological Infrastructure) 4.3. ปจจัยยอยโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตร (Scientific Infrastructure) 4.4. ปจจัยยอยโครงสรางพื้นฐานทางสุขภาพและสิ่งแวดลอม (Health and

Environment) 4.5. ปจจัยยอยโครงสรางพื้นฐานทางการศึกษา (Education)

นอกจากนั้นยังมีเกณฑ ในการพิจารณาสําหรับปจจัยยอยเหลานั้นอีก รวมทั้งสิ้นมี

เกณฑหรือดัชนีช้ีวัดรวม 331 เกณฑ ตัวอยางเชน ปจจัยยอยดานการจางงาน (Employment) จะดูจากตัวเลขอัตราการวางงาน อัตราการวางงานของประชาชนในวัยแรงงานหรือกลุมเยาวชน (อายุต่ํากวา 25 ป) อัตราการวางงานระยะยาว (Long-term unemployment) หรือปจจัยยอยดานนโยบายการเงินการคลัง จะดูจากอัตราภาษีเงินได เปนตน แตทั้งนี้เมื่อนํามาวิเคราะหเพื่อจัดอันดับ IMD ใชเพียง 254 เกณฑ สวนที่เหลือเปนขอมูลพื้นฐานเพื่อประกอบและเพื่อการตรวจสอบความเชื่อถือได (Validity check factors)

Page 33: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ผลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขัน

ผลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันในภาพรวมของประเทศไทยในชวง 5 ป ที่ผานมาที่ไดรับการประเมินอยูในอันดับที่ 25, 26, 29, ในป พ.ศ. 2547 , 2548 และ 2549 ตามลําดับ แตในป 2550 ประเทศไทยไดตกลงไปอยูในอันดับที่ 33 ซ่ึงสืบเนื่องจากความไมสงบภายใน ประเทศ ซ่ึงสงผลตอเศรษฐกิจและผลผลิตของประเทศ สวนในป พ.ศ. 2551 ประเทศไทยไดกลับขึ้นมาอยูในอันดับที่ 27 ทั้งนี้ประเทศสหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่มีความสามารถในการแขงขันในอันดับที่ 1 โดยในป พ.ศ. 2551 ประเทศในสิบอันดับแรกไดแก 1.สหรัฐอเมริกา(1) 2.สิงคโปร(2) 3.เกาะฮองกง(3) 4.สวิตเซอรแลนด (6) 5.ลักเซมเบอรก(4) 6.เดนมารค(5) 7.ออสเตรเลีย(12) 8.แคนาดา(10) 9.สวีเดน(9) 10.เนเธอรแลนด (8) ซ่ึง ตัวเลขในวงเล็บคืออันดับที่ประเมินไวในป พ.ศ. 2550 (IMD World Competitiveness center, online : 2009)

หากเปรียบเทียบกันเฉพาะในกลุมประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟค ประเทศไทยแมจะถูกจัดอันดับอยูในสิบอันดับแรกในชวง พ.ศ. 2547-2549 แตขอมูลของป พ.ศ. 2550 นั้น ตกไปอยูอันดับที่ 11 และกลับเขามาอยูในสิบอันดับแรกอีกครั้งในป พ.ศ. 2551 ดังแสดงในตารางที่1

อยางไรก็ตามมีขอสังเกตเกี่ยวกับการใหขอมูลที่ไมตรงกับแนวการประเมินที่ทําใหปจจัยบุคลากรดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และวิศวกรรม ถูกประเมินแบบไมตรงกับสภาพที่แทจริงดังจะไดกลาวถึงในรายละเอียดตอไปนั้น ซ่ึงอาจแสดงใหเห็นวาประเทศไทยมีความสามารถในการแขงขันลดลงในขณะที่ประเทศอื่นไดพัฒนาขึ้น เชน ประเทศเกาหลีใต จีน มาเลเซีย และประเทศอินเดีย

เมื่อพิจารณาปจจัยหลักที่นํามาใชการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศจะพบวาในปพ.ศ. 2551 ที่ประเทศไทยไดรับการจัดอันดับในภาพรวมที่ดีขึ้นนั้น อันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศไทยดีขึ้นในทุกปจจัย โดยปจจัยดานสมรรถนะทางเศรษฐกิจเปนปจจัยที่มีอันดับสูงสุดเมื่อเทียบกับปจจยัอ่ืน ๆ (อยูในอันดับที่ 12) ในขณะที่ปจจัยดานโครงสรางพื้นฐานเปนปจจัยที่มีความออนแอมากที่สุด (อยูในอันดับที่ 39) ดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 1 อันดับความสามารถในการแขงขันโดยรวมของประเทศในภูมิภาคเอเชยี-แปซิฟค ป พ.ศ.2547-2551

อันดับความสามารถในการแขงขันโดยรวม (Overall Ranking) ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟค (Asia-Pacific)

ประเทศ (Country) 2547

(2004) 2548

(2005) 2549

(2006) 2550

(2007) 2551

(2008) สิงคโปร (Singapore) 2 3 3 2 2 ฮองกง (Hong Kong) 6 2 2 3 3 ออสเตรเลีย (Australia) 4 9 6 12 7

Page 34: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ไตหวัน (Taiwan) 12 11 17 18 13 จีน (China) 22 29 18 15 17 นิวซีแลนด (New Zealand) 18 16 21 19 18 มาเลเซีย (Malaysia) 16 26 22 23 19 ญี่ปุน (Japan) 21 19 16 24 22 ไทย (Thailand) 26 25 29 33 27 อินเดีย (India) 30 33 27 27 29 เกาหลี (Korea) 31 27 32 29 31 ฟลิปปนส (Philippines) 43 40 42 45 40 อินโดนีเซีย (Indonesia) 49 50 52 54 51 จํานวนประเทศทั้งหมด (Number of Countries)

51 51 53 55 55

ที่มา : IMD World Competitiveness center, online : 2009

ตารางที่ 2 อันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย ป พ.ศ. 2547-2551 จําแนกตามปจจยัหลัก

ปจจัยหลัก Factor

2547 (2004)

2548 (2005)

2549 (2006)

2550 (2007)

2551 (2008)

สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic) 9 7 19 15 12 ประสิทธิภาพของภาครัฐ (Performance Government Efficiency)

20 14 20 27 22

ประสิทธิภาพของธุรกิจ (Business Efficiency)

21 25 25 34 25

โครงสรางพื้นฐาน Infrastructure 42 39 42 48 39 อันดับโดยรวมของประเทศไทย 26 25 29 33 27 จํานวนประเทศ 51 51 53 55 55 ที่มา : IMD World Competitiveness center, online : 2009

แตเมื่อพิจารณาการจัดอันดับหรือคะแนนตามเกณฑของปจจัยยอยตางๆ 20 ปจจัยยอยใน 4 ปจจัยหลักยังพบวาบางปจจัยยอยมีความออนแออยูมาก เชน การลงทุนระหวางประเทศ ในปจจัยหลักดานสมรรถนะทางเศรษฐกิจ หรือผลิตภาพและประสิทธิภาพในการผลิต ในปจจัยหลักดานประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ เปนตน ทั้งนี้อันดับความสามารถของแตละปจจัยยอยแสดงไดดังแผนภาพที่ 2

การศึกษาศักยภาพและความสามารถในการแขงขันในระดับประเทศนั้น จําตองศึกษาในทุกภาคสวนที่ยอมรับกันวาเปนปจจัยสําคัญตอการพัฒนาของประเทศชาติและประชาชน รวมทั้งมีหลากหลายรูปแบบที่จะวิเคราะห ในที่นี้จะวิเคราะหและศึกษาปจจัยรวม 20 ปจจัยที่ IMD อางอิง โดยใชผลการศึกษาในพ.ศ. 2547 – 2551

Page 35: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ทั้งนี้ไดทําการเปรียบเทียบความสามารถในการแขงขันของแตละปจจัยในรูปของเปอรเซนไตล โดยที่เปอรเซนไตลที่ต่ํากวา 50 หมายถึง อันดับความสามารถในการแขงขันที่ต่ํากวาคร่ึงหนึ่งของจํานวนประเทศทั้งหมดที่นํามาเปรียบเทียบกัน ในที่นี้ไดศึกษาแนวโนมโดยเปรียบเทียบความสามารถในป พ.ศ. 2550 กับ ความสามารถเฉลี่ยของป พ.ศ. 2547-2550 โดยใช BCG Matrix ดังแสดงในแผนภาพที่ 3 ซ่ึงแสดงถึงสถานะและแนวโนมการพัฒนาศักยภาพการแขงขันของประเทศไทยในชวง 5 ปที่ผานมา

แผนภาพที่ 1 อันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย ป 2551 จําแนกตามปจจัยยอย

ที่มา : IMD World Competitiveness center, online : 2009

แผนภาพที่ 2 แผนภาพแสดงการวิเคราะหดวย BCG Matrix จากขอมูลที่ทําการศึกษาซึ่งแสดงถึง สถานะและศกัยภาพการแขงขันของประเทศไทย ป พ.ศ. 2551 (ตัวเลขในวงกลมคือปจจัยทีแ่สดงไวในหนาที่ 24)

ของอันด

บัของปจ

จัยยอยเฉ

ลี่ยขอ

งป พ

.ศ. 2

547-2

550

Page 36: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ปจจัยที่ถูกจัดใน Right Upper Quadrant หรือ มุมขวาบนเปรียบเทียบเปนดาวดวงเดน

(Stars) แสดงถึงศักยภาพและความสามารถสูง เพราะทั้งในอดีต 4 ปที่ผานมาและในปจจุบัน ปจจัยนั้นๆ ไดรับการจัดอันดับอยูในลําดับเปอรเซนไตลที่สูงกวาเปอรเซนไตลที่ 50 ในขณะที่ปจจัยที่ถูกจัดใน Left Lower Quadrant หรือ มุมขวาลาง แสดงถึงจุดออนดอยในการแขงขัน เพราะปจจัยนั้น ๆ ถูกจัดอันดับในเปอรเซนไตลที่ต่ํากวาเปอรเซนไตลที่ 50 ตลอดมาทั้ง 4 ป รวมถึงในปสุดทาย และปจจัยในซีกซายทั้งหมด ถือวาปจจัยนั้น ๆ มีศักยภาพในการแขงขันต่ํา ซ่ึงจากการวิเคราะหโดยวิธีนี้จะเห็นไดชัดเจนวาโดยภาพรวมความสามารถและศักยภาพในการแขงขันของประเทศไทย ยังอยูในระดับต่ํา ซ่ึงก็ตรงกันการประเมินเปรียบเทียบกับประเทศอื่นดังจะไดกลาวตอไป

ประเด็นที่เปนปญหาในการแขงขันคือ ปจจัยที่ถูกอันดับต่ํากวาเปอรเซนไตลที่ 50 หรือ

ถูกจัดอันดับสูงกวาอันดับที่ 28 ใน 55 อันดับ เรียงลําดับจากที่มีปญหามากที่สุด หรือถูกจัดอันดับต่ําสุด ไดแก

1. ปจจัยที่ 1.1 : เศรษฐกิจภายในประเทศ (Domestic Economy) (48) 2. ปจจัยที่ 3.1 : ผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิต (48) 3. ปจจัยที่ 4.4 : สุขภาพและสิ่งแวดลอม (Health and Environment) (47) 4. ปจจัยที่ 1.3 : การลงทุนระหวางประเทศ (47) 5. ปจจัยที่ 4.5 : ระบบการศึกษา (รวมถึงการวิจัย) (Education) (43) 6. ปจจัยที่ 4.2 : โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยี (Technological Infrastructures) (43) 7. ปจจัยที่ 4.3 : โครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตร (Scientific Infrastructures) (37) 8. ปจจัยที่ 2.5 : กรอบโครงสรางสังคม (Societal Framework) (36) 9. ปจจัยที่ 3.3 : การเงินภาคธุรกิจ (31) 10. ปจจัยที่ 2.1 : การเงินการคลังสาธารณะ (29)

Page 37: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

11. ปจจัยที่ 2.4 : กรอบและกฎระเบียบเกี่ยวกับธุรกิจ (Business Legislation)(29) 12. ปจจัยที่ 4.1 : โครงสรางพื้นฐานทั่วไป (29) จากรายละเอียดขางตน ตัวเลขในวงเล็บคืออันดับที่ถูกจัดในป พ.ศ. 2551

อยางไรก็ตาม ปจจัยดานการเงินการคลัง กรอบและกฎระเบียบเกี่ยวกับธุรกิจ

โครงสรางพื้นฐานทั่วไป ยังดูไมเปนปญหามากนัก เพราะพบวามีสถานะที่ดีขึ้น แตการเงินภาคธุรกิจถึงแมอันดับไมเลวนักแตพบวาถดถอยกวาปกอนๆ ตกอยูในมุมซายบนเปรียบเทียบเปนเด็กที่มีปญหาคือเคยดีกวานี้ แตในปจจุบันกลับตกลง

ภาพรวมความสามารถและศักยภาพในการแขงขันดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกลับนาเปนหวง เพราะตั้งแตมีการจัดอันดับรวมเฉพาะดานในป พ.ศ. 2541 – 2545 ประเทศไทยไดรับการจัดเปนอันดับที่ 43 จาก 47 ประเทศ (2541) อันดับที่ 46 จาก 47 (2542) 47 จาก 47 (2543) 48 จาก 49 (2544) และ 46 จาก 49 (2545) ซ่ึงเห็นไดวา ประเทศไทยอยูในลําดับทาย ๆ มาโดยตลอด แตหลังจากป พ.ศ. 2545 มีการปรับวิธีการจัดอันดับในดานนี้ใหมใหละเอียดยอยลงไปอีก ซ่ึงหากดูจากเกณฑหรือปจจัยยอยเกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในชวง 5 ปหลังซ่ึงแสดงไวในตารางที่ 3 อันดับของประเทศไทยก็ยังคงไมพัฒนาขึ้นมากเทาใดนักและดูวาจะตกต่ําลงดวย ยกเวนในปสุดทายที่อันดับดีขึ้น

ตารางที่ 3 อันดับความสามารถดานโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตรและโครงสรางพื้นฐานทาง

เทคโนโลยีของประเทศไทย ป พ.ศ. 2547 – 2551

ปจจัยหลัก Factor

2547 (2004)

2548 (2005)

2549 (2006)

2550 (2007)

2551 (2008)

โครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตร (Scientific Infrastructures Technological)

46 47 45 49 37

โครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยี (Infrastructures)

38 37 41 48 43

จํานวนประเทศทั้งหมด (Number of Countries)

55 55 55 55 55

ที่มา : IMD World Competitiveness center, online : 2009 แมวาอันดับความสามารถดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสุดทายคือ ป พ.ศ. 2551 จะ

พบวาปรับตัวสูงขึ้น เปนอันดับที่ 37 แตเมื่อวิเคราะหแลวพบวาอาจเกิดจากการใหขอมูลที่ทําใหการ

Page 38: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

แปลผลบิดเบือนไปจากความเปนจริง ดังแสดงใหเห็นจากการเปรียบเทียบเกณฑตาง ๆ ในปจจยัยอยโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตรในตารางที่ 4

ดัชนีที่เห็นวามีความผิดปกติ คือ สัดสวนบัณฑิตดานวิทยาศาสตรหรือ Science degree ซ่ึงพบวาประเทศไทยใหคาตัวเลขโดยรวมบัณฑิตสายสังคมศาสตรหรือ Social Science เขาไปดวย ทั้งๆ ที่ตามสากลไมใช Science degree โดย Science degree หมายถึงบัณฑิตดานวิทยาศาสตร ทั้งวิทยาศาสตรสุขภาพ (Health Science) วิทยาศาสตรชีวภาพ (Biological Science) วิทยาศาสตรกายภาพ (Physical Science) วิศวกรรมศาสตร (Engineering) และเทคโนโลยีแขนงตาง ๆ ทําใหอันดับในสวนนี้ของไทยขึ้นจากอันดับที่ 43 ไปเปนลําดับที่ 1เลยทีเดียว

การสอนวิทยาศาสตรในโรงเรียนความสนใจของเยาวชนที่มีตอวิทยาศาสตรหรือสถานการณดานกฎหมายที่เอื้อตอการวิจัยดาน Science ก็อาจมีขอมูลที่เบี่ยงเบนเชนกัน ทําใหอันดบัดีขึ้นอยางมากเปนสิบอันดับ

ขอมูลที่วิเคราะหแลวเห็นวานาเปนหวงก็คือ การเปรียบเทียบการพัฒนาในดานนี้ของประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟคดังแสดงใวในตารางที่ 5 เพราะประเทศอื่น ๆ ในกลุมประเทศกําลังพัฒนาลวนมีการพัฒนาขึ้นเปนลําดับในดานโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตร ไดรับการจัดอันดับดีขึ้น

ตารางที่ 4 อันดับความสามารถในการแขงขันดานโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของประเทศไทย ป พ.ศ. 2550-2551

เกณฑ Criteria อันดับป 2550 (2007 Ranking)

อันดับป 2551 (2008 Ranking)

1.คาใชจายดานการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศ Total expenditure on R&D (US$ millions)

43 44

2.คาใชจายดานการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศตอ GDP

Total expenditure on R&D per GDP

52 51

3.คาใชจายดานการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศตอ ประชากร

Total expenditure on R&D per capita

51 50

4.คาใชจายดานการวิจัยและพัฒนาของภาคธุรกิจ Business expenditure on R&D (US$ millions)

43 43

5.คาใชจายดานการวิจัยและพัฒนาของภาคธุรกิจ Business expenditure on R&D per GDP

50 49

6.จํานวนบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศ (FTE)

Total R&D personnel Nationwide(FTE)

27 27

7.จํานวนบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศตอประชากร 1,000 คน

Total R&D personnel Nationwide per capita (FTE)

45 45

8.จํานวนบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชน**

Total R&D personnel in business enterprise (FTE)

34 37

Page 39: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

9.จํานวนบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชนตอ ประชาชน 1,000 คน

Total R&D personnel in business enterprise per capita (FTE)

47 47

10.จํานวนสิทธิบัตรที่ใหกับคนในประเทศ Patents granted to residents 38 38 11.จํานวนสิทธิบัตรที่ไดรับการคุมครองในตางประเทศ

Securing patents abroad 48 44

12.การคุมครองทรัพยสินทางปญญา Intellectual property rights 50 42 13.จํานวนสิทธิบัตรตอประชากร 100,000 คน Number of patents in force - - 14.ผลิตภาพของการสรางงานที่ไดสิทธิบัตร Patent productivity 39 36 15.รางวัลโนเบล Nobel prizes 25 26 16.รางวัลโนเบลตอประชากร Nobel prizes per capita 25 26 17.ความสนใจของเยาวชนที่มีตอวิทยาศาสตร* Youth interest in science 35 29 18.การสอนวิทยาศาสตรในโรงเรียน* Science in schools 35 27 19.สัดสวนบัณฑิตดานวิทยาศาสตร Science degrees 43 1 20.การวิจัยพื้นฐาน* Basic research 38 38 21.จํานวนบทความดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี Scientific articles 40 39 22.สภาพทางกฎหมายที่เอื้อตอการทําวิจัยทางวิทยาศาสตร*

Scientific research legislation 45 37

หมายเหตุ: *ขอมูลจากการสํารวจและ **ขอมูลพ้ืนฐาน

ที่มา : IMD World Competitiveness center, online : 2009

ตารางที่ 5 อันดับความสามารถในการแขงขันดานโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของกลุมประเทศในภูมภิาคเอเชีย-แปซิฟค ป พ.ศ. 2547 – 2551

อันดับโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยี (Technological Infrastructure Ranking) ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟค (Asia-Pacific)

ประเทศ (Country) 2547

(2004) 2548

(2005) 2549

(2006) 2550

(2007) 2551

(2008)

ญี่ปุน (Japan) 2 2 2 2 2 ไตหวัน (Taiwan) 7 8 5 6 4 เกาหลี (Korea) 17 13 10 7 5 สิงคโปร (Singapore) 16 16 14 13 8 จีน (China) 20 18 15 15 10 ออสเตรเลีย (Australia) 22 23 21 20 18 อินโดนีเซีย (Indonesia) 38 38 39 43 22 นิวซีแลนด (New Zealand) 26 27 26 25 26 ฮองกง (Hong Kong) 35 30 28 36 27 มาเลเซีย (Malaysia) 33 35 32 31 28 อินเดีย (India) 30 26 24 26 29

ไทย (Thailand) 46 47 45 49 37

Page 40: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ฟลิปปนส (Philippines) 49 49 50 54 53

จํานวนประเทศทั้งหมด (Number of Countries)

51 51 53 55 55

ที่มา : IMD World Competitiveness center, online : 2009 ในขณะเดียวกันหลายประเทศก็พัฒนาอยางกาวกระโดด เชน เกาหลีใต (Vision 2025:

Korea ‘s long - term plan for science and technology development., online : 2009) สิงคโปร (Science and Technology Plan 2010 (STP 2010), online : 2009) จีน (Ministry of Science and Technology of the People's Republic of China 2006) ไตหวัน (National Science Council, Taiwan 2005) หรือแมแต ฮองกงและมาเลเซีย (Prime Minister’s Department, Malaysia 2006) และยังคงมีชองวางของความสามารถในการแขงขันดานนี้ของประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคเดียวกันนี้

อยางไรก็ตาม อันดับความสามารถในการแขงขันดานโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟค กลับพบวามีการพัฒนานอย ซ่ึงก็ตรงกับความเปนจริงที่วาประเทศที่มีเทคโนโลยีระดับสูงและยายฐานการผลิตมายังประเทศในแถบเอเชียนั้น ไมไดทําการถายทอดความรูหรือเทคโนโลยีระดับสูงใหเลย ประเทศไทยก็นับวาไดมีการลงทุนจากตางประเทศรายใหญในภูมิภาคนี้ แตสินคาที่แมจะใชเทคโนโลยีการผลิตสูงที่ผลิตขึ้นในประเทศไทยลวนแตพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศ และมีการปกปดความรูและเทคโนโลยีดังกลาว การถายทอดเทคโนโลยีอยูในระดับการใชงานหรือปฏิบัติการเทานั้น การถายทอดเชิงวิศวกรรมนอยมาก เมื่อดําเนินการไปไดระยะหนึ่ง ปจจัยสนับสนุนสงเสริมการผลิตของไทยที่เคยไดเปรียบ โดยอาศัยทรัพยากรธรรมชาติที่เคยอุดมสมบูรณ ผลผลิตการเกษตรราคาถูก คาจางแรงานราคาถูก คาขนสงและคาใชจายราคาไมแพง ไดปรับตัวเปลี่ยนแปลงไปตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่ดีขึ้นทําใหมีการแขงขันจากประเทศกําลังพัฒนาอื่น ๆ ที่เร่ิมเขามาขอมีสวนแบงในภาคการผลิต และอาศัยปจจัยหลายอยางที่ทําใหตนทุนถูกกวาในประเทศไทย สวนผูประกอบการไทยก็จะเริ่มอยูในสภาพที่เสียเปรียบคูแขงทางการคา เมื่อตองดําเนินการผลิตสินคาจําหนายเอง และสงเขาสูตลาดโลก เนื่องจากขาดความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปญหานี้อยูในขั้นวิกฤตเพราะไมมีความตระหนักในเรื่องนี้มากเพียงพอ ซ่ึงการจัดอันดับโดยอาศัยขอมูลปจจัยตาง ๆ ที่กลาวมาสะทอนใหเห็นขอเท็จจริงดังกลาวอยางชัดเจน สภาพของการพัฒนาที่ไมพอเพียงเกิดขึ้นทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึงการพึ่งพิงภาครัฐ ก็พบวาภาครัฐสวนใหญยังไมมีขีดความสามารถเพียงพอและขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากเดิมตั้งเปาการพัฒนาไวคนละแนวทาง ระยะเวลาการทํางานของภาครัฐที่ใชเวลานานมากไมทันกับความตองการและการใชงานหรือแขงขันในเชิงธุรกิจ โดยสรุปก็คือ ผูประกอบการของไทย ขาดองคความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่จะใชในการพัฒนาสินคา

Page 41: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

กระบวนการผลิตและบริการ รวมถึงเพื่อสรางนวัตกรรม ทําใหมีความสามารถในการแขงขันทางการคาในเวทีโลก นอย ยกเวนในสวนของบริษัทขามชาติที่ยังคงมีฐานการผลิตในประเทศไทย

ในสวนของอันดับความสามารถของปจจัยยอยดานโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยีพบวา ในป พ.ศ. 2551 ประเทศไทยมีอันดับดังกลาวดีขึ้นเล็กนอย 5 อันดับ (จากอันดับที่ 48 เปนอันดับที่ 43 ) ซ่ึงเปนผลจากการเพิ่มขึ้นของอันดับ จากการพัฒนาปจจัยยอย และมีผลที่วัดโดยเกณฑการประเมินดีขึ้นเล็กนอย 13 เกณฑ (จาก 21 เกณฑ) เชน เงินทุนเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีจากอันดับที่ 37 มาอยูในอันดับที่ 33) ความพรอมของเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อการดําเนินธุรกิจ (จากอันดับที่ 46 มาอยูในอันดับที่ 40) กฎระเบียบกับการพัฒนาธุรกิจและนวัตกรรม (จากอันดับที่ 39 มาอยูในอันดับที่ 32) มูลคาการสงออกสินคาเทคโนโลยีขั้นสูง (จากอันดับที่ 20 มาอยูในอันดับที่ 17) ความปลอดภัยของการดําเนินธุรกรรมทางอินเตอรเน็ต (จากอันดับที่ 44 มาอยูในอันดับที่ 40) กองทุนรวมลงทุนภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี (จากอันดับที่ 37 มาอยูในอันดับที่ 34) ดังแสดงในตารางที่ 6

ตารางที่ 6 อันดับความสามารถดานโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศไทย ป พ.ศ. 2550-2551

เกณฑ Criteria อันดับป 2550 (2007 Ranking)

อันดับป 2551 (2008 Ranking)

1.การลงทุนดานโทรคมนาคมตอ GDP 1.Investment in telecommunications 48 47 2.จํานวนหมายเลขโทรศัพทพื้นฐานตอประชากร 1,000 คน

2.Fixed telephone lines 51 49

3.อัตราคาบริการของโทรศัพททางไกลระหวาง-ประเทศ

3.International fixed telephone costs

47 46

4.จํานวนผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากร 1,000 คน 4.Mobile telephone subscribers 49 47 5.อัตราคาบริการของโทรศัพทเคลื่อนที่ 5.Mobile telephone costs 5 5 6.ความพรอมของเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อการดําเนินธุรกิจ

6.Communications technology 46 40

7.สัดสวนเครื่องคอมพิวเตอรของประเทศตอเคร่ืองคอมพิวเตอรทั้งโลก

7.Computers in use 27 26

8.จํานวนคอมพิวเตอรตอประชากร 1,000 คน 8.Computers per capita 48 48 9.จํานวนผูใชอินเตอรเน็ตตอประชากร 1,000 คน 9.Internet users 49 50 10.จํานวนผูใชอินเตอรเน็ตตอประชากร 1,000 คน 10.Internet costs 4 4 11.จํานวนผูใชอินเตอรเน็ตความเร็วสงูตอประชากร 1,000 คน

11.Broadband subscribers 50 52

12.อัตราคาบริการอินเตอรเน็ตความเร็วสูง 12.Broadband costs - 31 13.แรงงานที่มีทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ* 13.Information technology skills 49 49 14.ความรวมมือทางเทคโนโลยีระหวางบริษัท* 14.Technological cooperation 33 35

Page 42: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

15.สภาพแวดลอมทางกฎหมายดานการพัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยี*

15.Development and application of technology

41 39

16.เงินทุนเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยี* 16.Funding for technological development

37 33

17.กฎระเบียบกับการพัฒนาธุรกิจและนวัตกรรม* 17.Technological regulation 39 32 18.มูลคาการสงออกสินคาเทคโนโลยขีั้นสูง 18.High-tech exports (USS millions) 20 17 19.สัดสวนการสงออกสินคาเทคโนโลยีขั้นสูงตอการสงออกสินคาอุตสาหกรรม

19.High-tech exports (% of manufacturing export) Scientific research

12 11

20.ความปลอดภัยของการดําเนินธุรกรรมทางอินเตอรเน็ต*

20.Cyber security 44 40

21.กองทุนรวมลงทุนภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี*

21.Public and private sector ventures

37 34

หมายเหตุ: * ขอมูลจากการสํารวจ

ที่มา : IMD World Competitiveness center, online : 2009 อยางไรก็ตาม แมวาในปพ.ศ. 2551 อันดับความสามารถในการแขงขันดานโครงสราง

พื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศไทยจะปรับตัวสูงขึ้น 5 อันดับ แตเมื่อเปรียบเทียบอันดับความสามารถในดานดังกลาวกับประเทศอื่น ๆ ในกลุมภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟคพบวา ประเทศอื่นๆ ยังมีอันดับความสามารถในการแขงขันดานดังกลาวเหนือกวาประเทศไทย (ตารางที่ 7)

การจัดอันดับในอีกรูปแบบหนึ่งโดย World Economic Forum (WEF) ก็คงพบลักษณะเดียวกันคือ ในป พ.ศ. 2546-2547 การเปรียบเทียบความกาวหนาในดานเทคโนโลยีหรือการใชเทคโนโลยีช้ันสูง (Technological Sophistication) ไทยอยูในอันดับ 36 จาก 102 ประเทศ โดยสิงคโปร มาเลเซีย และเวียดนาม ตางดีกวาประเทศไทย คือ อยูในอันดับที่ 5, 14 และ 15 ตามลําดับ

การวิเคราะหเปรียบเทียบศักยภาพการแขงขันของไทย ถือเปนการสรางจุดเปรียบหรือ Benchmark ที่มีประโยชน โดยหากศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศเกาหลีใต มาเลเซีย สิงคโปร จะเห็นไดชัดเจนวาในอดีตเมื่อ 30 กวาปที่ผานมานั้น ประเทศเหลานี้ลวนมีสถานภาพดานสังคมและเศรษฐกิจที่ดอยกวาประเทศไทย แตเมื่อระยะเวลาผานไปกลับพบวาประเทศเหลานี้ลวนมกีารพฒันาเจริญลํ้าหนากวาประเทศไทยทุกประเทศ ประเทศเหลานี้ทั้งมาเลเซีย จีน เกาหลีใตและสิงคโปร ถือเอาการพัฒนาดานการวิจัย การพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนหนึ่งในนโยบายหลักสําคัญในการพัฒนา นอกจากนั้นหลายประเทศ เชน ไตหวัน เกาหลีใต หรือ จีน ซ่ึงใชกลยุทธเลียนแบบตามกัน อาศัยการดึงเอาบุคลากรที่ไปประสบความสําเร็จในการคนควาสรางความเจริญในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในประเทศตะวันตกกลับมาชวยพัฒนา เพื่อใหเกิดความเจริญแบบกาวกระโดด อีกทั้งผูบริหารและนักวิชาการ กับภาคอุตสาหกรรม รวมกันคิดรวมกันทํางานและรวมมือสนับสนุนกันอยางจริงจัง

Page 43: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

หากวิเคราะหในอีกแงมุมหนึ่งก็จะพบเห็นวา อันดับความสามารถในการแขงขันโดยภาพรวมของไทยนั้น อยูในอันดับที่ไมเลวนัก มีการพัฒนาขึ้นในหลายปจจัย คงมีเฉพาะในดานการพัฒนาการวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเทานั้นที่ออนดอยมาก แตจะเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหความสามารถในการแขงขันในภาพรวมดอยลงในที่สุด ในขณะที่ประเทศอื่นกลับสูงขึ้นจากพื้นฐานที่ดีเหลานี้

การพัฒนาไปสูสังคมฐานความรูและมีการพัฒนาเศรษฐกิจที่อิงวิวัฒนาการของความรูและเทคโนโลยี มีความสัมพันธกับการลงทุนเพื่อสรางความรู หรือการลงทุนดานวิจัย ซ่ึงไมเฉพาะการวิจัยในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเทานั้น การวิจัยสาขาสังคมศาสตร การเงิน ระบบเศรษฐกิจ ก็มีสวนชวยพัฒนาปจจัยสนับสนุน เชน พัฒนาการบริหารจัดการ พัฒนามาตรฐาน พัฒนาระบบซัพพลายเออร พัฒนาการบริหารจัดการแรงงานรูปแบบตาง ๆ รวมถึงพัฒนาธุรกิจระดับชุมชน เปนตน

ตารางที่ 7 อันดับความสามารถในการแขงขันดานโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยีของกลุมประเทศในภูมภิาคเอเชีย-แปซิฟค ป พ.ศ. 2547-2551

อันดับโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยี (Technological Infrastructure Ranking) ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟค (Asia-Pacific)

ประเทศ (Country) 2547

(2004) 2548

(2005) 2549

(2006) 2550

(2007) 2551

(2008) สิงคโปร (Singapore) 2 3 3 2 2 ไตหวัน (Taiwan) 7 5 4 15 5 ฮองกง (Hong Kong) 3 4 2 3 8 เกาหลี (Korea) 8 2 6 6 14 ญี่ปุน (Japan) 9 9 10 20 16 มาเลเซีย (Malaysia) 19 20 19 18 18 ออสเตรเลีย (Australia) 18 18 18 21 22 นิวซีแลนด (New Zealand) 26 27 26 29 29 ฟลิปปนส (Philippines) 36 31 32 31 31 จีน (China) 33 32 29 27 32 อินเดีย (India) 40 36 37 37 41 ไทย (Thailand) 38 37 41 48 43 อินโดนีเซีย (Indonesia) 51 51 53 55 55 จํานวนประเทศทั้งหมด (Number of Countries)

51 51 53 55 55

ที่มา : IMD World Competitiveness center, online : 2009

Page 44: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ดัชนีช้ีบงการพัฒนาที่เกี่ยวของกับการวิจัย ประกอบดวยดัชนีที่ช้ีบงผล ดัชนีที่ช้ีบงปจจัยนําเขา ดัชนีที่ช้ีบงประสิทธิภาพของคนและระบบ อันไดแก

1. ประสิทธิภาพการผลิตมวลชน (Total Factor Productivity –TFP) ซ่ึง TFP ของไทยโดยรวมในแตละปมีอัตราถดถอยเปนสวนใหญ ทั้งในภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมและพบวาไมมีการเพิ่มผลผลิตมวลรวม (Gross Domestic Product- GDP) หากไมมีการเพิ่มปจจัยการผลิตมูลภัณฑทุนหรือแรงงาน ซ่ึงแปลผลไดวาประเทศไทยมีกระบวนการพัฒนาที่พึ่งการปรับเปลี่ยนในเชิงคุณภาพของทุนและแรงงานที่เกิดขึ้นจากการมีทักษะเพิ่มขึ้น โดยการเรียนรูระหวางทํางาน (Learning by Doing) ในขณะที่มีการใชการวิจัยและพัฒนา (Research and Development – R&D) นอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับการพัฒนาและการเติบโตของเศรษฐกิจไทยภาพรวม (กิตติ ล่ิมสกุล 2550)

2. ระดับการใชเทคโนโลยีในภาคการผลิต ภาคเอกชนของไทย สวนใหญมีลักษณะที่เนนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (Small and Medium Enterprises – SMEs) มีลักษณะที่ใชเทคโนโลยีการผลิตในระดับที่ 1 คือ ใชแรงงานเปนหลัก (Labor Intensive) และระดับที่ 2 คือ การใชทักษะเปนหลัก (Skill Intensive) เปนสวนใหญ หรือ มีลักษณะเปนเพียงผูรับจางผลิตตามคําสั่ง ตามแบบของผูวาจางเทานั้น มีเพียงสวนนอยที่จะอยูในระดับที่ 3 คือ การใชเทคโนโลยีเปนหลัก (Technology Intensive) และมีจํานวนนอยมากที่จะเปนระดับ 4 คือ อาศัยการวิจัยและพัฒนา (R&D Intensive) และมีขีดความสามารถในการออกแบบหรือสรางนวัตกรรมขึ้นเอง (กิตติ ล่ิมสกุล 2550)

3. การลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา ขอมูลคาใชจายหรือการลงทุนดานการวิจัยของประเทศไทยในชวงกอนป พ.ศ. 2543 อยูที่ประมาณ 5,000 ลานบาท ตอมาเมื่อรัฐเริ่มใหความสนใจในการวิจัยมีการจัดตั้งองคกรตาง ๆ ขึ้นและเพิ่มงบในการวิจัย พบวาในชวงป พ.ศ. 2542-2544 พบวาเฉลี่ยประมาณ 12,500 ลานบาทตอป และในป พ.ศ. 2547-2549 อยูที่ประมาณ 14,000 ลานบาท โดยเปนงบประมาณของหนวยงานภาครัฐประมาณ 60% คาใชจายดังกลาว เมื่อคิดเปนอัตราสวนคาใชจายการวิจัยและพัฒนาตอผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ (Gross Expenditure on R&D/Gross Domestic Product – GERD/GDP) เฉลี่ยอยูที่รอยละ 0.2-0.25 % ตอป โดยเพิ่มจากกอนป พ.ศ. 2543 ที่เฉลี่ยรอยละ 0.1 เทานั้น (กองนโยบายและวางแผนการวิจัย 2548)

แตเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุมพัฒนาแลวที่ประสบความสําเร็จโดยใชความรูและเทคโนโลยีเปนฐาน คาใชจายเพื่อการวิจัยจะอยูในระดับรอยละ 2-3 เชน ประเทศญี่ปุน เกาหลี สหรัฐอเมริกา สิงคโปร ไตหวัน สวีเดน ฟนแลนด และอังกฤษ สวนประเทศในภูมิภาคเอเชียที่อยูในกลุมประเทศกําลังพัฒนาลวนแตจัดสรรทุนเพื่อการวิจัยในอัตราที่สูงกวาประเทศไทย เชน มาเลเซีย อยูที่ประมาณรอยละ 0.5-0.6 ประเทศอินเดีย รอยละ 0.8 และประเทศจีน ในชวง 3-4 ป หลังนี้จัดงบวิจัยสูงถึงรอยละ 1-1.2 ทีเดียว

Page 45: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ประเทศที่ลงทุนวิจัยสูงพบวาเปนประเทศที่มีการคิดคนพัฒนานวัตกรรมดานสินคา และบริการที่ชวยสรางเสริมคุณภาพชีวิตและผลิตสินคาที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง ชวยเพิ่มมูลคาใหแกสินคาและเปนสินคาที่มีศักยภาพในการนสรางรายได เชน อุปกรณคอมพิวเตอร ยา เครื่องใชอิเล็คทรอนิคส และเครื่องใชไฟฟา ตลอดจนถึงยานยนต

4. บุคลากรวิจัยเมื่อเทียบเปนสัดสวนตอประชากร (กองนโยบายและวางแผนการวิจัย 2548) ถือเปนดัชนีช้ีวัดที่สําคัญในดานกําลังคนที่จะใชในการพัฒนาขอมูลแสดงใหเห็นวาประเทศที่ประสบผลสําเร็จในการพัฒนาในยุคปจจุบันลวนแตมีบุคลากรวิจัยและบุคลากรในสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจํานวนมาก

จํานวนบุคลากรวิจัยของไทย นอกจากมีจํานวนไมมากแลว สวนหนึ่งยังทํางานไมเต็มเวลาคือ มีภาระงานในดานอื่นอีกดวย เมื่อคํานวณกลับเปนจํานวนนักวิจัยเต็มเวลาแลวมีเพียง 3-6 คน ตอประชากร 10,000 คน แมจะใชขอมูลในชวง 5 ปหลังที่มีการใหความสนใจในการผลิตบุคลากรประเภทนี้แลวก็ตาม ในขณะที่ประเทศญี่ปุน เยอรมนี สิงคโปร ไตหวัน มีสัดสวนสูงถึง 50-70 คน ตอประชากร 10,000 คน สถิติของกลุมประเทศกําลังพัฒนาที่มีนโยบายผลักดันดานการวิจัยและพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ก็ยังคงมีสัดสวนต่ําประมาณ 7-10 คน ทั้งนี้เพราะการผลิตบุคลากรในระดับสูงเชนนี้ใชเวลานานในการสรางและถายทอดความรูจากรุนสูรุน

ผูสําเร็จการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนดัชนีช้ีบงถึงการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพราะการพัฒนาบุคลากรตองใชเวลาทั้งการปลูกฝงคานิยมการจัดความกาวหนาในรายอาชีพ การพัฒนาพื้นฐานความรูวิทยาศาสตรตั้งแตการศึกษาระดับประถมศึกษา ขอมูลของไทยพบวาผูสําเร็จการศึกษาดานวิทยาศาสตรสาขาตาง ๆ มีเพียงรอยละ 30% ในระดับปริญญาตรี นอกจากนั้นกําลังคนบางสวนยังไมไดเขาปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่ไดศึกษามา คุณภาพของบัณฑิตในความพรอมที่จะเริ่มปฏิบัติงานก็เปนดัชนีช้ีวัดที่สําคัญ ซ่ึงพบวาบัณฑิตของไทยมีความรูพื้นฐานพอเพียงที่จะนํามาใชทํางานระดับหนึ่งเทานั้น ยังขาดการประยุกตใชความรูในแงมุมตาง ๆ ขาดความคิดริเร่ิม เพราะสถาบันการศึกษาสวนใหญเนนสอน ความรูทางทฤษฎี ทั้งๆ ที่มีภาคอุตสาหกรรมการผลิตอยูในประเทศไทยจํานวนไมนอย แตไมไดใชประโยชนมากเทาที่ควรจะเปน

5. จํานวนสิทธิบัตรและผลงานวิชาที่ตีพิมพเผยแพร เปนดัชนีช้ีวัดในเชิงผลผลิต โดยเฉพาะสิทธิบัตรซึ่งเปนลักษณะหนึ่งของการจดทะเบียนเพื่อปกปองมิใหมีการลอกเลียน หรือนําไปใชในการผลิต อีกทั้งสามารถสรางเปนรายไดใหแกผูเปนเจาของ เมื่อจะทําการถายทอดความรูหรือเทคโนโลยี หรือตอยอดงานไปสูการผลิตสินคา บริการใหม หรือสรางนวัตกรรมใหมอยางตอเนื่อง

จํานวนสิทธิบัตรที่จดในประเทศไทยยังไมใชตัวเลขที่แสดงสถานะที่แทจริง เนื่องจากตองนับเฉพาะสิทธิบัตรที่เปนของคนไทย โดยไมนับรวมสิทธิบัตรที่จดในประเทศไทยโดย

Page 46: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ชาวตางชาติ หรือ องคกรธุรกิจขามชาติที่มาจดเพื่อคุมครองทรัพยสินทางปญญาของเขาในประเทศไทย ตัวเลขจํานวนสิทธิบัตรของคนไทยอยูที่ประมาณ 60 ช้ิน ตอป ซ่ึงนอยมากเมื่อเทียบกับประเทศญ่ีปุนที่มีจํานวนหลักแสน สหรัฐอเมริกามีจํานวนกวา 80,000 ช้ินตอป เกาหลีและไตหวันมีจํานวน 30,000 – 40,000 รายการตอป มากกวากันนับรอยเทา (ตารางที่ 8)

ตารางที่ 8 การวิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทยในป พ.ศ. 2547

จํานวนสิทธิบัตร ที่จดใหคนในประเทศ (เฉลี่ย

ป 2002-2004)

อันดับความสามารถในการแขงขันจาก 60 ประเทศ ป2004

ประเทศ การลงทุนเพื่อการวิจัย ป

2004 (% ของ GDP)

บุคลากรวิจัยตอประชากร 10000 คน ป 2004

ในประเทศ

นอกประเทศ

ดานวิทยาศาสตร

รวม

GDP ตอ คน ในป 2001 ($)

สหรัฐอเมริกา 2.66 37 (2001) 84,958 132,463 1 1 35,277 เยอรมนี 2.47 57 12,804 36,917 3 26 25,488 ญี่ปุน 3.20 69 109,823 171,071 2 17 37,950 สิงคโปร 2.24 60 217 734 18 3 24,664 เกาหลีใต 2.63 39 31,915 8,673 19 38 9,628 ไตหวัน 2.42 57 29,773 206 8 18 14,216 มาเลเซีย 0.63 7 27 90 42 23 3,531 จีน 1.23 9 5,913 529 22 19 840 ไทย 0.28 6 60 109 55 32 1,921 ฟลิปปนส 0.14 1 16 26 58 49 692 ที่มา: IMD World competitiveness Yearbook 2006, Ministry of Science and Technology of the People's Republic of China 2006, National Science Council, Taiwan 2005, Minister’s Department, Malaysia 2006

ตารางที่ 9 ตารางเปรียบเทียบจํานวนสิทธิบัตรตอประชากร 10,000 คน

ประเทศ ป 1958-88 ป 1993-96 ป 2001-2004 % การเปลี่ยนแปลง (1993-96 / 2001-04)

ภูมิภาคเอเซียตะวันออกและแปซิฟก 0.04 0.20 0.66 225.6 ไตหวนั 1.81 9.24 30.17 226.6 สิงคโปร 0.31 1.86 9.87 431.7 ฮองกง 1.67 3.65 9.32 154.9 เกาหลีใต 0.20 2.59 8.67 235.4 มาเลเซีย 0.02 0.08 0.28 238.6 ไทย 0.00 0.02 0.07 276.0 จีน 0.00 0.00 0.03 636.0 ฟลิปปนส 0.01 0.01 0.02 377.2 อินโดนีเซีย 0.00 0.00 0.01 132.4

Page 47: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ประเทศ ป 1958-88 ป 1993-96 ป 2001-2004 % การเปลี่ยนแปลง (1993-96 / 2001-04)

OECD 9.83 12.83 19.00 48.1 สหรัฐอเมริกา 18.47 24.50 33.56 37.05 ญ่ีปุน 12.62 18.75 28.54 2.27 ออสเตรเรีย 2.80 2.99 5.26 6.3

ที่มา: Arkhom Tempittayapaisith 2006 Ministry of Science and Technology of the People's Republic of China 2006, National Science Council, Taiwan 2005, Minister’s Department, Malaysia 2006

เมื่อวิเคราะหรายละเอียดสิทธิบัตรของไทย ก็ยังพบอีกดวยวาสิ่งประดิษฐจํานวนนอย อีกทั้งเปนการประดิษฐที่ใชเทคโนโลยีระดับที่ไมสูงนัก ทําใหมูลคาเพิ่มสําหรับสินคาที่เกิดจากการประดิษฐคิดคนนั้นมีคาไมสูงมากนักจํานวนสิทธิบัตรเม่ือคิดสัดสวนกับประชากรของประเทศนั้น ๆ ก็เปนดัชนีช้ีวัดอีกประการหนึ่งที่ชวยใหเกิดสมดุลในการเปรียบเทียบโดยเฉพาะเมื่อขนาดประเทศหรือจํานวนประชากรในแตละพื้นที่ แตละสวนไมเทากันหรือเทียบกันไมได (ตารางที่ 9)

ผลงานวิชาการที่เผยแพรในวารสารวิชาการระดับนานาชาติของไทยก็มีจํานวนนอยมีปริมาณเพียง 1 % ของประเทศญี่ปุน ผลงานการวิจัยในรูปแบบนี้จะเปนการศึกษาขั้นพื้นฐาน

6.ดุลการชําระคาธรรมเนียมเทคโนโลยี เปนดัชนีช้ีวัดวาประเทศนั้น ๆ ใชเทคโนโลยีที่สรางขึ้นหรือคิดคนขึ้นหรือตองซื้อเทคโนโลยีเหลานั้น เพื่อนํามาผลิตสินคา หรือสามารถขายเทคโนโลยีสรางรายไดใหกับประเทศมากนอยเพียงใด

สําหรับประเทศไทย ขอมูลพบวาคาใชจายเพื่อซ้ือเทคโนโลยีสูงขึ้นเปนลําดับ จาก 71,728 ลานบาท ในป พ.ศ. 2538 มาเปน 146,813 ลานบาท ในป 2542 และประเทศไทยขาดดุลชําระเงินคาธรรมเนียมเทคโนโลยีตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป และมูลคาขาดดุลในสวนนี้มีแนวโนมสูงขึ้น ๆ เพราะตางประเทศที่เปนเจาของความรูนั้นมีแนวโนมที่จะคิดราคาความรูและเทคโนโลยีระดับสูงที่จะถายทอดใหมากขึ้นและในราคาที่แพงขึ้นอยางมากดวย

สําหรับประเทศไทย ขอมูลพบวาคาใชจายเพื่อซ้ือเทคโนโลยีสูงขึ้นเปนลําดับ จาก 71,728 ลานบาท ในป พ.ศ. 2538 มาเปน 146,813 ลานบาท ในป 2542 และประเทศไทยขาดดุลชําระเงินคาธรรมเนียมเทคโนโลยีตอเนื่องมาเปนเวลากวา 10 ป และมูลคาขาดดุลในสวนนี้มีแนวโนมสูงขึ้น ๆ เพราะตางประเทศที่เปนเจาของความรูนั้นมีแนวโนมที่จะคิดราคาความรูและเทคโนโลยีระดับสูงที่จะถายทอดมากขึ้นและในราคาที่แพงขึ้นอยางมากดวย

ทั้งหมดที่กลาวมาแลวนั้นเปนการวิเคราะหศักยภาพและความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย เพื่อจะไดนําไปใชในการกําหนดสถานภาพและตําแหนงในปจจุบันของประเทศ เพื่อนําไปสูการสังเคราะหยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยใหกาวเดินไปยงัจดุหมายหรอืเปาหมายที่ตองการคือมีความเขมแข็งและมีความสามารถในการแขงขันในระดับสูง

Page 48: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

บทที่ 4 ยุทธศาสตรการพฒันาดานการวิจัยของประเทศ

ที่ประสบความสําเร็จ

เมื่อศึกษาขอมูลการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันและความเจริญกาวหนา รวมถึงโครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีโดยสถาบัน International Institute for Management Development (IMD) ในชวง 4-5 ป ที่ผานมาพบวาประเทศที่อยูในกลุมแนวหนาไดแก สหรัฐอเมริกา เยอรมนี สวีเดน ญ่ีปุน ออสเตรเลีย สิงคโปร เกาหลี ดังนั้นการศึกษารูปแบบยุทธศาสตรการพัฒนาดานการวิจัยและดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศที่ประสบความสําเร็จเหลานี้ นาจะเปนประโยชนในการพัฒนาประเทศไทย ในการศึกษานี้ไดเลือกศึกษากรณีตัวอยางของประเทศสหรัฐอเมริกาเปนหลัก และเสริมดวยกรณีศึกษาของประเทศอังกฤษ ออสเตรเลีย ญ่ีปุน และ สิงคโปร ซ่ึงอยูตางทวีป ในเชิงเปรียบเทียบ

ยุทธศาสตรและรูปแบบการบริหารจัดการดานการวิจัยของประเทศสหรัฐอเมริกา

จากขอมูลและการวิเคราะหโดย IMD ซ่ึงแสดงวาสหรัฐอเมริกาไดรับการประเมินเปนอันดับหนึ่งในหลายดาน แสดงใหเห็นวาสหรัฐอเมริกาไดใชงานวิจัย การวิจัยและพัฒนา การศึกษาและคนควาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นําไปสูการใชประโยชนทั้งดานวิชาการที่มีผลผลิตคือ ความรูใหม ๆ และดานพาณิชยกับอุตสาหกรรม เกิดความเขมแข็งในภาคการผลิตและเกิดรายได ทั้งนี้ในรูปแบบของบริหารจัดการ ผลการศึกษาพบดังนี้ (The national Research council, Online : 2009)

รูปแบบการจัดองคการ

สภาวิจัยแหงชาติ (National Research Council – NRC) เปนองคกรที่เชื่อมโยงหนวยงานระดับชาติ 3 แหง คือ National Academy of Sciences – NAS, National Academy of Engineering – NAE และ Institute of Medicine (IOM) เพื่อตอบสนองความตองการของประเทศในการศึกษาวิจัยและใหคําปรึกษาในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและนําเสนอประเด็นที่นาสนใจและจําเปนตอการคนควาใหม ๆ เพื่อการวางนโยบายและสนับสนุนในดานนั้น ๆ ตลอดจนเผยแพรผลงานการศึกษาวิจัยแกชุมชนและสาธารณะ

นโยบายยุทธศาสตรในดานตาง ๆ และถูกกําหนดโดยคณะกรรมการหลักระดับ Commission ในดานตาง ๆ 5 คณะ คือ 1. คณะกรรมการหลักดานพฤติกรรมศาสตร สังคมศาสตร

Page 49: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

และการศึกษา (Behavioral and Social Sciences and Education) 2. คณะกรรมการหลักดานวิทยาศาสตรส่ิงมีชีวิต (Life Sciences) 3. คณะกรรมการหลักดานวิทยาศาสตรกายภาพ คณิตศาสตร และวิทยาศาสตรประยุกต (Physical Sciences Mathematics and Applied Sciences) 4. คณะ กรรมการหลักดานวิศวกรรมศาสตรและระบบทางเทคนิค (Engineering and Technical Systems) 5. คณะกรรมการหลักดานธรณีวิทยา ส่ิงแวดลอม และทรัพยากร (Geosciences, Environment and Resources) และเสริมดวยคณะกรรมการระดับ Committee คือ ดานเกษตรกรรม และ ดานคมนาคมขนสง

การสงเสริมความเขมแข็งในดานการวิจัย การสงเสริมความรวมมือระหวางหนวยวิจัยกับภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม การพัฒนาผลผลิตและการบริการจากการวิจัย ดําเนินการโดยองคกรหลัก 3 องคกร ไดแก National Science Foundation–NSF, National Institute of Health–NIH และ National Endowment for the Humanities–NEH ทั้ง 3 มีบทบาทสําคัญในการกําหนดงบประมาณการวิจัย การพิจารณาใหการสนับสนุน การวาจางวิจัย ทุนสงเสริมอุปกรณเครื่องมือวิจัย สําหรับการวิจัยทั้งในดานวิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี (NSF) ดานการแพทยและสาธารณสุข (NIH) และดานมนุษยศาสตร (NEH)

ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการวิจัย

การวิเคราะหขอมูลยุทธศาสตรการพัฒนาดานการวิจัย พบวาประกอบดวย 1. การที่ NRC ไดรับการยอมรับอยางเต็มที่ใหเปนผูมีบทบาทในการสรางความคิด

หรือขอตกลงที่ยอมรับรวมกันในระดับประเทศ (Consensus building) ระหวางองคกรหนวยงานตาง ๆ ที่แบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบในแตละดาน แลวนํามาจัดทําเปนนโยบายและกลยุทธในแตระดับ ทั้งนี้มีการประสานอยางดีระหวางทั้งภาครัฐ สถาบันการศึกษาและภาคธุรกิจอุตสาหกรรม รวมถึงการประสานกับนโยบาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเปนในทิศทางเดียวกัน

2. การกระจายอํานาจการตัดสินใจในการใหทุนวิจัยลงไปเปนระดับลําดับชั้น หลังจากที่ไดกําหนดนโยบายและแนวทางการวิจัยในระดับชาติแลว ซ่ึงในการใหทุนวิจัยนั้นมุงเนนการสนับสนุนสงเสริมงานวิจัย หรือ โครงการวิจัยที่มีเปาหมายชัดเจน สามารถตอบสนองตามนโยบายที่กําหนดไว

3. การสรางความรวมมือและเชื่อมโยงระหวางภาครัฐ สถาบันอุดมศึกษา และภาคธุรกิจเอกชน ที่เปนรูปธรรม (Government – University – Industrial Research and Development Network) ทั้งในดานการลงทุนเพื่อการวิจัย การกําหนดประเด็นที่สําคัญของการวิจัย และการใชประโยชนจากผลการวิจัย ส่ิงที่สําคัญคือ การสรางพลวัตใหเกิดขึ้นในแตละภาคสวนเอง รวมกับมีการขับเคลื่อนที่สอดคลองสัมพันธกัน

4. การระดมทุนวิจัยจากทุกภาคสวน และกระจายทุนไปทุกภาคสวน ในชวงแรกของการพัฒนา (ทศวรรษ 1940–1950) การลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนานั้นมาจากภาครัฐและจัดสราง

Page 50: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

งบประมาณใหกับสถาบันวิจัยของรัฐที่ตั้งขึ้น ในชวงตอมา (ทศวรรษ 1950-1970) งบประมาณก็ยัง คงมาจากภาครัฐเปนสวนใหญ แตจัดสรรใหกับมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนมากขึ้น เนื่องจากการลงทุนวิจัยในภาคเอกชนเพิ่มมากขึ้นและจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยใหกับทั้งหนวยงานของรัฐ หรือเอกชน ขึ้นกับขีดความสามารถและผลการดําเนินงาน หลังทศวรรษ 2000 พบวาสัดสวนการลงทุนวิจัยจากภาคเอกชนตอภาครัฐเพิ่มเปน 7:3

5. การริเ ร่ิมในการสรางมูลคาใหแกผลผลิตที่ไดจากการวิจัย ใหมีสถานะเปนทรัพยสินอยางหนึ่ง เรียกวา ทรัพยสินทางปญญา มีการจําแนกเปนรูปแบบตาง ๆ หลายอยาง ทั้งลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรและอื่น ๆ มีการออกกฎหมายคุมครองสิทธิทางปญญาเหลานี้ไดแก Patent and Trademark Law ชองกระตุนใหมีการสนับสนุนและลงทุนเพื่อใหเกิดสิ่งประดิษฐ หรือสินคาใหม ซ่ึงสามารถจะไดรับการคุมครองและภาคเอกชนก็สามารถปกปองธุรกิจของตนเองได กฎหมาย Bayh–Dole Act เปนกฎหมายสําคัญอีกฉบับที่เร่ิมมีตั้งแต ค.ศ. 1980 (และมีการปรับปรุงเพิ่มเติมตอมาเปนระยะ) ที่กระตุน จูงใจและเปดโอกาสใหผูวิจัยคิดคนประดิษฐ ใชประโยชนจากงานไดมากขึ้นอันเปนยุทธศาสตรที่ตอเนื่องจากการระดมทุนวิจัยและการสนับสนุนทุนวิจัยในวงกวางที่ไมจํากัดเฉพาะหนวยงานภาครัฐ โดยใหสิทธิแกผูที่คิดคน โดยไมปดกั้นวาเมื่อไดทุนวิจัยภาครฐัตองใหสิทธิประโยชนแกภาครัฐหรือแหลงทุน ทําใหทั้งมหาวิทยาลัย ภาคอุตสาหกรรม และกลุมผูประกอบธุรกิจไมวาจะเปนขนาดเล็กหรือใหญ เกิดความคลองตัวในการดําเนินการเพื่อจดทะเบียนเปนเจาของในทรัพยสินทางปญญา และถายทอดหรือจําหนายเพื่อใหเกิดผลประโยชนกลับมาสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนาขึ้นเปนลําดับอีก เปนผลทําใหเกิดการขยายตัวในความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษาและภาคอุตสาหกรรมอยางมาก ปรากฏการณดังกลาวยังชวยลดปญหาการลอกเลียนผลผลิต การปกปองสิทธิ์ ซ่ึงประเทศญี่ปุนก็ไดรับผลกระทบจากประเด็นนี้ทําใหอุตสาหกรรมซบเซาลง และเพิ่งเริ่มออกกฎหมายในลักษณะเดียวกันออกมาหลังจากที่ไดพัฒนามหาวิทยาลัยใหมีความพรอม ในชวงป ค.ศ. 2000

6. การปรับกระบวนทัศนหรือมโนทัศนเกี่ยวกับการวิจัย โดยรัฐบาลกลางไดอาศัยการศึกษาทบทวนกระบวนการในการสรางความเข็มแข็งแกรงของระบบวิจัยเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงประเทศในอนาคต ซ่ึงจากรายงาน Renewing the Federal Government – University Research Partnership for the 21st Century ไดนําไปสูการปฏิรูประบบวิจัยคร้ังสําคัญในทุกภาคสวน โดยมีหลักที่สําคัญ 5 ประการ ไดแก

6.1. การวิจัยเปนการลงทุนเพื่ออนาคตซึ่งภาครัฐจําเปนตองสนับสนุนการวิจัยของมหาวิทยาลัยและองคกรวิจัยตาง ๆ ทั้งของรัฐและเอกชน เพราะเปนการลงทุนในการสรางหลัก ประกันดานสุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิตของประชาชน รวมไปถึงความมั่นคงของประเทศ

Page 51: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

6.2. ความเชื่อมโยงระหวางการศึกษาและวิจัยเปนสิ่งสําคัญและขาดไมไดเพราะเปนการสรางและพัฒนาบุคลากรสําหรับอนาคตควบคูไปกับการไดผลผลิตจากงานวิจัยจากกระบวนการศึกษานั้น

6.3. การวิจัยตองนําไปสูการสรางความรูใหมและความเปนเลิศทางวิชาการดวย เพราะจะเปนความรูพื้นฐานสําหรับการประยุกตเพื่อสรางผลิตภัณฑหรือกระบวนการใหม ซ่ึงเปนคุณสมบัติที่สําคัญของนักวิจัย นักวิชาการ และควรตองดําเนินการอยางตอเนื่อง

6.4. การวิจัยตองเริ่มมีลักษณะบูรณาการโดยใหเกิดความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ และตองคํานึงถึงความสําคัญของทุก ๆ ฝาย

6.5. การลงทุนด านการวิจัยตองมีการตรวจสอบเพื่อประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเชนเดียวกับการลงทุนดานอื่น ๆ

7. การปรับกระบวนทัศนไดชวยเสริมใหยุทธศาสตรการสรางความรวมมือและเครือขายการวิจัย เกิดขึ้นในระดับองคกรมากขึ้นดวย และยังนําไปสูความเปนหุนสวน (Partner) ระหวางสถาบันการศึกษากับภาคอุตสาหกรรม ระหวางภาครัฐกับเอกชน ระหวางเอกชนกับเอกชน ในหนวยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาในหลาย ๆ ดาน การบูรณาการตั้งแตแนวคิดในการวิจัยและพัฒนาที่อิงความรูใหมผนวกกับความตองการของตลาดสินคาและบริการ บูรณาการความรวมมือระหวางนักวิชาการและนักอุตสาหกรรม หรือ นักธุรกิจ บูรณาการระหวางสถาบันการศึกษากับหนวยงานระดับปฏิบัติงาน

8. การแสวงหาพันธมิตรจากภายนอกประเทศ โดยการเปดกวางใหนักวิจัยนักวิชาการประเทศอื่นสามารถขอรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากประเทศสหรัฐอเมริกาได แตมีขอนาสังเกตวาโครงการที่มีความรวมมือระหวางนักวิจัยตางชาติกับนักวิจัยนักวิชาการของสหรัฐอเมริกามีโอกาสไดรับการสนับสนุนสูงกวาโครงการเดี่ยวที่ไมมีความรวมมือ นอกจากนั้นยังพบวากระแสโลกาภิวัฒนทําใหปญหาหลายอยางเปนปญหาของโลก เชนกรณีไขหวัดนก ที่อาจแพรกระจายไปทั่วโลก หรือมีผลกระทบตอสหรัฐอเมริกา ดังนั้นแมยังไมเกิดปญหาในสหรัฐอเมริกา การวิจัยในเร่ืองนี้ก็นับวามีความสําคัญ และตองการความรวมมือจากนักวิจัยในประเทศที่เกิดปญหา และดวยความแข็งแกรงในดานพื้นฐานการวิจัยที่เหนือกวา ประเทศสหรัฐอเมริกานาจะไดเปรียบ เปนอีกลักษณะหนึ่งของการพัฒนาดานการวิจัยที่อาศัยพันธมิตรจากภายนอกประเทศ ดังที่ไดเคยประสบความสําเร็จมาแลวในการเปดกวางใหผูมีความรูความสามารถตางชาติเขาไปศึกษาวิจัยและทําปริญญาขั้นสูงในสหรัฐอเมริกา และสวนหนึ่งก็ยังคงทําการวิจัยหรือปฏิบัติงานอยูในสหรัฐอเมริกา สรางประโยชนใหประเทศสหรัฐอเมริกาอยางมาก

ยุทธศาสตรและรูปแบบการบริหารจัดการดานการวิจัยของประเทศอังกฤษ

Page 52: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

แมวาประเทศอังกฤษจะไมถูกจัดวาอยูใน 10 อันดับแรก สําหรับความสามารถในการแขงขันโดยรวมของประเทศตาง ๆ ในชวง 2-3 ป ที่ผานมา แตเมื่อพิจารณาถึงอันดับความสามารถในการแขงขันดานโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตรและโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยีอยูในอันดับตน ๆ จึงเปนกรณีตัวอยางที่นาสนใจสําหรับการศึกษาสําหรับประเทศในทวีปยุโรปซึ่งมีรากฐานการเจริญเติบโตมานาน และเคยรุงเรืองมากในอดีต

ลักษณะที่วิเคราะหแลวเห็นวานาสนใจสําหรับประเทศอังกฤษไดแก (Science and Technology Policy, online : 2009)

1. กลไกการบริหารจัดการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซ่ึงอิงหนวยงานภาครัฐ โดยเนนการบูรณาการในหลายระดับ สภาวิจัย (Research Council) ทําหนาที่กํากับดูแลดานนโยบายการศึกษาวิจัยในทุกสาขาและประสานกับสภาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Council for Science and Technology) ทั้งสองเปนหนวยงานหลักที่ทําหนาที่วางนโยบาย และบริหารนโยบายกับติดตามผลการดําเนินงาน ประเมินการปฏิบัติเทียบกับนโยบาย อยูภายใตการดูแลของคณะรัฐมนตรี โดยมีองคการระดับกระทรวงที่เกี่ยวของโดยตรงที่ดําเนินการประสานกันไดแก กระทรวง Trade and Industry กระทรวง Education and Skills กระทรวง Environment, Food and Rural Affairs กระทรวง Defense รวมทั้งประสานกับ Office of the Deputy Prime Minister การดําเนินงานที่ผานมาประสบปญหาในเชิงประสานงานระหวางหนวยงานมาก รวมถึงสํานักงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Office of Science and Technology–OST) ที่เดิมก็สังกัดคณะรัฐมนตรีก็ไมคลองตัว ในระยะตอมาจึงไดปรับกลไกดานบริหารจัดการใหม โดยให OST เปนองคกรประสานงานหลักระหวางหนวยงานและเปนฝายเลขานุการของสภาวิจัย และสภาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและยายจาก Cabinet Office ไปสังกัดกระทรวง Trade and Industry ประสานงานและพัฒนานโยบายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กําหนดกลยุทธที่สอดคลองกับการพัฒนาในเชิงการคาและอุตสาหกรรมมากขึ้นใหทันตอการปรับเปล่ียนนโยบายของประเทศที่มุงใชการพัฒนาดานการวิจัยและวิทยาศาสตรเทคโนโลยีในเชิงพาณิชย สรางความเขมแข็งและนํารายไดใหแกประเทศ

2. การจัดตั้ง Chief Scientific Advisor ในแตละกระทรวงเปนผูรับผิดชอบโดยตรงเกี่ ยวกับการพัฒนาดานวิจัยและวิทยาศาสตร เทคโนโลยีที่ เกี่ ยวของกับกระทรวงนั้น ๆ นอกเหนือจากการปรับเปลี่ยนกลไกบริหารจัดการดังกลาวมาแลว และอยูในคณะกรรมการผูบริหารวิทยาศาสตรระดับสูง (Chief Scientific Advisor’s Committee –CSAC) ซ่ึงทํางานประสานกับ OST. ดังแสดงในแผนภาพที่ 4 CSAC เปนที่ประชุมประสานงานและหารืออยางเปนทางการรวมกัน และมีบทบาทสําคัญในการใหคําปรึกษาตอนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี (ไพรัช ธัชยพงษ 2548)

แผนภาพที่ 1 กลไกการบริหารจัดการงานวจิัยของประเทศอังกฤษ

Page 53: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ที่มา : Science and Technology Policy, online : 2009

3. กลยุทธในการหาพันธมิตรรวมวิจัยจากภายนอกประเทศ ในชวงระยะ 5 ปหลัง

ประเทศอังกฤษไดใชวิธีการเสาะแสวงหานักวิจัย นักวิชาการ จากประเทศตาง ๆ มาดําเนินการวิจัยรวมกับนักวิจัยของประเทศอังกฤษ ซ่ึงนอกจากจะไดผูที่มีความสามารถสูงมารวมวิจัยแลว ยังเปนการเริ่มสรางอิทธิพลภายนอกประเทศในอีกรูปแบบหนึ่งทําใหไดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณคาจากประเทศอื่นไปชวยเสริมพลังภายในประเทศ ลักษณะเชนเดียวกับการแผอิทธิพลในยุคลาอาณานิคมในอดีต และไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและอื่น ๆ จากประเทศที่เปนอาณานิคมของประเทศอังกฤษ ตัวอยางเชน UK-South East Asia : Partners in Science ที่ดําเนินการอยูในประเทศภูมิภาคตะวันออกเฉียงใตที่มีสํานักงานอยูในประเทศสิงคโปร ที่ไดรับมอบหมายใหดําเนินการหาพันธมิตรในลักษณะดังกลาวโดยยึดหลักการไดประโยชนรวมกัน จากการใหการสนับสนุนนักวิจัย นักวิชาการจากประเทศอังกฤษมารวมเสวนากับนักวิชาการนักวิจัยของประเทศในแถบภูมิภาคนี้ และสนับสนุนตอเนื่องใหทําวิจัยรวมกับนักวิจัย นักวิชาการของประเทศอังกฤษในหัวขอที่มีความสนใจรวมกัน

ยุทธศาสตรและรูปแบบการบริหารจัดการดานการวิจัยของประเทศออสเตรเลีย

Page 54: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ประเทศออสเตรเลียเปนตัวอยางของอีกประเทศที่ประสบความสําเร็จดานการบริหารจัดการวิจัย และการเชื่อมโยงกับภาคธุรกิจอุตสาหกรรม จึงนาสนใจที่จะนํามาวิเคราะหการดําเนินงานและปจจัยความสําเร็จ (สภาวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย 2547)

1. โครงสรางองคกรบริหารจัดการวิจัย ประเทศออสเตรเลีย ไดจัดใหสภาที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีดานวิทยาศาสตร วิศวกรรมและนวัตกรรม (Prime Minister’s Science, Engineering and Innovation Council – PMSEIC) เปนองคกรหลักในการใหคําปรึกษาแกรัฐบาล เนนเรื่องการพัฒนาดานวิทยาศาสตร วิศวกรรม นวัตกรรม รวมถึงการศึกษาและฝกอบรม รวมไปถึงการประเมินโครงสรางพื้นฐาน ทรัพยากร บุคลากรและอัตรากําลัง และการสรางความตระหนักในดานนี้ในระดับประเทศ เพื่อสนับสนุนคณะรัฐมนตรีในการวางกรอบการพัฒนากําลังคน และการลงทุนของรัฐกับจัดทํานโยบายดานนี้ ใหสอดคลองกับประเด็นการพัฒนาที่สําคัญของประเทศ และเชื่อมโยงระหวางรัฐกับกลุมอุตสาหกรรม

2. ในขณะเดียวกันก็มีคณะกรรมการประสานงานเกี่ยวกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Coordination Committee on Science and Technology – CCST) โดยเฉพาะที่เปนองคกรบูรณาการระหวางหนวยงานตางๆ มีกลไกประสานงานในหลายระดับ ประกอบดวย

2.1 ระดับกระทรวงที่ เกี่ยวของโดยกระทรวงหลักไดแก กระทรวงศึกษาวิทยาศาสตรและฝกอบรม (Education Science and Training) กระทรวงการเกษตร การประมง และปาไม (Agriculture, Fisheries and Forestry) กระทรวงกลาโหม (Defense) กระทรวงอุตสาหกรรม การทองเที่ยวและทรัพยากร (Industry, Tourism and Resources) กระทรวงสุขภาพ (Health Affairs)

2.2 หนวยงานที่เปนผูใหทุนวิจัย คือ Australian Research Council (ARC), Cooperative Research Centers Committee (CRCS), Aus Industry, National Health and Medical Research Council, Rural Industries Research and Development Committee (RIRDC)

2.3 หนวยปฏิบัติการวิจัย ขนาดใหญ เชน Commonwealth Scientific and Industrial Research Organization (CSIRO), Australian Institute of Marine Science (AIMS), Australian Nuclear Science and Technology Organization (ANSTO), Defense Science and Technology Organization (DSTO) เปนตน

คณะกรรมการประสานงาน CCST มีบทบาทในการสํารวจปญหาการดําเนินงานขององคกรแตละระดับ และชวยประสานงานระหวางองคกรนั้น เปนตัวกลางใหเกิดความรวมมือระหวางหนวยงาน โดยมีการตั้ง Chief Officer ของแตละหนวยงานที่ทั้งประสานภายในและระหวางหนวยงาน ลักษณะเหมือนประเทศอังกฤษ แลวประมวลปญหาอุปสรรคกับผลการดําเนินงานมาเปนขอมูลอภิปราย เพื่อใหมีการแกไขปญหากําจัดอุปสรรคตาง ๆ รวมถึงรวบรวมขอมูลนําเสนอ

Page 55: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

3. ตัวอยางองคกร CSIRO เปนโครงการเรือธงของหนวยงานวิจัยที่เชื่อมโยงสูการพัฒนาเชิงพาณิชยที่ไดรับความสําเร็จอยางมาก และทําใหประเทศเปนที่รูจักในดานนี้กับเปนตัวอยางใหกับหลายๆประเทศ จึงจะไดนําเสนอรายละเอียดของ CSIRO เพื่อที่จะสามารถใชเปนขอมลูในการสังเคราะหขั้นตอไป

The Commonwealth Scientific and Industrial Research Organisation: CSIRO เปนหนวยงานที่เนนการสงเสริมหรือการเพิ่มคุณภาพทางดานวิทยาศาสตรเพื่อเพื่อใหคุณภาพชีวิตดีขึ้น โดยที่สรางความรวมมือทางดานวิทยาศาสตรนานาชาติ และเพิ่มความเข็มแข็งขององคกรจากความรวมมือของมหาวิทยาลัยช้ันนํา หนวยงานอื่นๆทางดานวิทยาศาสตรรวมทั้ง หนวยงานทางดานอุตสาหกรรมเพื่อนําไปสูการพัฒนา การคนควาทางดานเทคโนโลยี สภาพสังคม เศรษฐกิจและส่ิงแวดลอมในออสเตรเลีย (National Research Flagships, Australia, online: 2009)

CSIRO จัดตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2469 เปนหนวยงานบริหารงานการวิจัยภายในประเทศออสเตรเลีย และทั่วโลก กวา 80 ประเทศ ทั้งหนวยงานของรัฐบาล บริษัทขนาดเล็ก-ใหญ มูลนิธิภายในประเทศและนานาชาติ ครอบคลุมกิจกรรมงานวิจัยมากกวา 740 กิจกรรม โดยที่หนวยงานดังกลาวเปนหนวยงานอิสระที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย และบริหารงานภายใตขอกําหนดของงานวิจัยทางดานวิทยาศาสตรและอุตสาหกรรม โดยทําหนาที่หลักในการหาแนวทางในการแกปญหาหรือการจัดการทางดานวิทยาศาสตร เพื่อตอบสนองทางดานอุตสาหกรรม หนวยงานรัฐบาล และ ความตองการของประชาชน CSIRO ถูกตั้งขึ้นโดยมีจุดประสงคหลัก และบทบาทหนาที่ดังนี้

บทบาทหลัก ของ CSIRO ไดแก

1. การจัดการงานวิจัยทางดานวิทยาศาสตร

2. ชวยเหลือสงเสริมทางดาน อุตสาหกรรม และ สงเสริมดานอื่นๆที่เปนที่สนใจ

3. ใหเงินชวยเหลือสนับสนุนการวิจัยที่ เปนประเด็นสําคัญของประเทศ และนานาชาติ

4. สนับสนุนหรือจัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อใหเกิดการประยุกตใชผลงานวิจัยที่สรางขึ้นมา

5. ประสานใหเกิดความรวมมือระหวางศูนยวิจัยตางๆ (Cooperation Research)

6. สนับสนุนและแสวงหาหนทางใหมีผูสนใจเขามารวมลงทุน (Joint venture) และใชเทคโนโลยีใหมๆในการผลิตสินคาและบริการ

บทบาทรองของ CSIRO

1. ติดตอกับหนวยงานทางดานวิทยาศาสตรของนานาชาติ

2. อบรมเจาหนาที่หรือบุคลากรดานการวิจัย

3. เผยแพรผลงานการวิจัย

Page 56: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

4. กระจายความรูและขอมูลเกี่ยวกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปจจุบัน CSIRO มุงเนนการวิจัยภายในประเทศทั้งหมด 9 หัวขอ อันประกอบไปดวย

1.การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวของสภาพภูมิอากาศ (Climate adaptation) 2. พลังงานทดแทน (Energy Transformed) 3. อาหาร (Food Futures) 4. อุตสาหกรรมในอนาคต (Future Manufacturing) 5. โลหะเบา (Light Metals) 6. ปรับปรุงเทคโนโลยีในการนําวัตถุดิบมาใชงาน (Minerals Down Under) 7. สุขภาพเชิงการปองกัน (Preventative Health) 8. น้ําสําหรับประเทศแหงสุขภาพดี (Water for a Healthy Country) 9. ความมั่งคั่งจากทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล (Wealth from Oceans)

ยุทธศาสตรและรูปแบบการบริหารจัดการดานการวิจัยของประเทศสิงคโปร

โครงสรางการบริหารงานวิจัยของประเทศสิงคโปร ประกอบดวย ฝายนโยบายไดแก หนวยงานสนับสนุนงานวิจัย สงเสริมนวัตกรรม และการลงทุน (Research, Innovation and Enterprise Council: RIEC) เปนผูกํากับนโยบายและทิศทางการวิจัยของประเทศ โดยมีองคกรการจัดการดานงานวิจัยที่จัดตั้งขึ้นเพื่อดูแลงานวิจัยเปนผูรับนโยบายและสงเสริมใหเกิดแนวทางและทิศทางการวิจัยของประเทศ ไดแก National Research Foundation: NRF (National Research Foundation, Singapore, online: 2009)

NRF กอตั้งขี้นเมื่อป ค.ศ. 2006 โดยจัดตั้งขึ้นเปนหนวยงานหนึ่งภายใตการควบคุมดแูลของสํานักนายกรัฐมนตรี โดยมีวัตถุประสงคในการจัดตั้งดังนี้

1. ทําหนาที่เปนเลขาธิการใหแก หนวยงานสนับสนุนงานวิจัย สงเสริมนวัตกรรม และการลงทุน (Research, Innovation and Enterprise Council : RIEC) ซ่ึงเปนหนวยงานที่กํากับโดย นายกรัฐมนตรี

2. ทําหนาที่ประสานงานการวิจัยระหวางหนวยงานวิจัยตางๆ ภายใตโครงสรางการวิจัยระดับชาติ เพื่อใหการวิจัยมีแนวทางที่ชัดเจนและไปในทิศทางเดียวกัน

3. พัฒนานโยบาย และวางแผนยุทธศาสตรและจัดทํานโยบายการวิจัยและการพัฒนา 4. สนับสนุนงานวิจัยระดับประเทศ,นวัตกรรม และสนับสนุนยุทธศาสตร ที่ผานการ

เห็นชอบจาก RIEC รวมทั้งใหการสนับสนุนงานวิจัยที่สอดคลองกับแนวทางการวิจัยของ NRF ภายใตกรอบแนวคิดนโยบายทางดานงานวิจัยและการพัฒนา เพื่อใหเกิดการผลักดันให

เกิดการสงเสริมการวิจัยจึงมีนโยบายในการบริหารจัดการและดําเนินงานดังนี้

Page 57: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

1. สนับสนุนใหมีการสงเสริมการวิจัยและการพัฒนาโดยกําหนดใหเพิ่มงบประมาณการวิจัยจาก 2.36% ของ GDP ในป ค.ศ. 2005 ใหเปนอยางนอย 3%ของ GDP ในป ค.ศ. 2010 เชนเดียวกับประเทศพัฒนา เชน ประเทศฟนแลนด และสวีเดนที่มีงบประมาณดานการวิจัยมากกวา 3% ของ GDP

2. กําหนดและศึกษาในเรื่องแนวทางการวิจัย โดยเนนการวิจัยบนพื้นฐานทางดานเศรษฐกิจเพื่อประเทศสิงคโปรใหสามารถแขงขันกับนานาชาติได เนื่องจากสิงคโปรเปนประเทศขนาดเล็ก ถูกจํากัดดานทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้นแนวทางการวิจัยดังกลาวจะเปนแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยืน ทั้งทางดานเศรษฐกิจและนาจะสงผลในระยะยาว

3. ใหเกิดความสมดุลของงานวิจัยระดับพื้นฐาน และระดับประยุกต และใหเปนไปตามแนวทางการวิจัยที่กําหนดไว ในอดีตสิงคโปรไดเนนการวิจัยทางดานประยุกตมากกวาระดับพื้นฐานเพื่อพัฒนาประเทศ แตปจจุบันไดเล็งเห็นวาการศึกษาวิจัยทางดานพื้นฐานจะชวยใหเกิดการพัฒนาความเปนเลิศทางวิทยาศาสตรและเปนรากฐานที่แข็งแกรงในการพัฒนาอยางตอเนื่อง

4. จัดหาแหลงทรัพยากรที่ใชในการวิจัย สนับสนุน และสงเสริม การทํางานวิจัยและการพัฒนาสวนบุคคล

5. ลดชองวางระหวางหนวยงานสาธารณะและหนวยงานสวนบุคคล พบวางานวิจัยสวนใหญเปนงานวิจัยที่เกี่ยวของกับทางดานอุตสาหกรรม ซ่ึงหากมีการรวมมือระหวางหนวยงานทั้งสองก็จะทําใหเกิดความเข็มแข็งของการสรางนวัตกรรม และการยกระดับของอุตสาหกรรม

กลยุทธเพื่อขับเคลื่อนสงเสริมงานวิจัยของ NRF ของประเทศสิงคโปรนั้นใช กลยุทธที่เรียกวา “The top down combined with the bottom up” ดังแผนภาพที่ 5

Top down เปนกลยุทธที่กําหนดแนวทางการวิจัยเพื่อใหการวิจัยทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่องานการวิจัยและพัฒนาเพื่อเปนการสรางฐานความรู นวัตกรรม และเศรษฐกิจ ในปจจุบันไดแบงงานวิจัยออกเปน 3 หัวขอ ซ่ึงครอบคลุมเกี่ยวกับงานวิจัยในภาพรวม ไดแก

1. เทคโนโลยีทางดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรน้ํา Environmental and water Technologies (EWT)

2. Biomedical Sciences Phrase II (BMS) 3. Interactive and digital Media (IDM)

Bottom up เปนกลยุทธที่ใชในการสนับสนุน เพิ่มเตมิตอจากการวิจัย โดยทาง NRF จะจดัเพิ่มโครงการที่จะชวยสนับสุนน พัฒนาใหงานวจิัยมีประสิทธิภาพ มีความเปนเลิศ และสามารถที่จะมีการตอยอดของงานวิจยัในระยะยาวโดยมีโครงการดังตอไปนี ้

1. Competitive Research Programmer (CRP) Funding Scheme เปนโครงการที่สนับสนุนเงินทุนวิจัยแกโครงการวิจัยที่มีทิศทางการวิจัยสอดคลองกับการพัฒนาและมีศักยภาพในการเพิ่มพูนทักษะทางดานการวิจัย

Page 58: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

2. Campus for Research Excellence and Technological Enterprise (CREATE) เปนโครงการความรวมมือกับมหาวิทยาลัยระดับชั้นนําของโลก และสถาบันงานวิจัยวิทยาศาสตรพื้นฐานเพื่อนําไปสูงานวิจัยที่มีคุณภาพที่สามารถสรางโอกาสการแขงขันได

3. Research Centres of Excellence (RCEs) เปนโครงการระยะยาวเพื่อที่จะพัฒนาระดับงานวิจัยใหสูความเปนเลิศระดับโลก ซ่ึงจะตองสงเสริมใหมีความเขมแข็งทางดานวิชาการของมหาวิทยาลัยตางๆในสิงคโปร

แผนภาพที่ 2 กลยุทธเพื่อขับเคลื่อนงานวิจยัของประเทศสิงคโปร

ที่มา : National Research Foundation, Singapore, online: 2009

ยุทธศาสตรและรูปแบบการบริหารจัดการดานการวิจัยของประเทศญี่ปุน

ญ่ีปุนเปนประเทศที่มีงานวิจัยทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีความชัดเจนในระดับโลก ทั้งยังเปนประเทศที่งานวิจัยเฉพาะทางที่มีความเปนเลิศระดับโลกในหลากหลายสาขา

ระบบการจัดการงานวิจัยในญี่ปุนมีแนวทางและเปาหมายที่ชัดเจน มีการวิจัยทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต โดยแนวทางการวิจัยระดับประเทศนั้นเปนการวางแผนในระดับของรัฐบาล ซ่ึงมีสํานักวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Council for Science and

Page 59: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

Technology Policy : CSTP) เปนหนวยงานรับผิดชอบดูแล จากแผนพัฒนา 5 ป (2001-2005) แสดงใหเห็นวา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีมีความจําเปนตอการพัฒนาประเทศในอนาคตเพื่อสงเสริมใหคุณภาพชีวิตดีขึ้น ในชวงป ค.ศ. 2001 – 2005 ประเทศญี่ปุนจึงไดใชเงินสนับสนุนทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนจํานวนเงินถึง สองแสนสี่หมื่นลานเยน หรือคิดเปน 3.5 % ของ GDP โดยเปนการสนับสนุน ทั้งทางดานวิทยาศาสตรพื้นฐาน วิทยาศาสตรกายภาพ และเทคโนโลยี รวมทั้งสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร (Social Science and Humanities) ซ่ึงไดมีแนวทางในการสนับสนุนทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4 แนวทาง ดังนี้

1. การจัดอันดับความสําคัญในการจัดสรรทรัพยากรไปยังโครงการที่เห็นวาจะเกิดประโยชนเพื่อใหโครงการนั้นมีประสิทธิภาพดีขึ้น

2. ปรังปรุงระบบพื้นฐานการวิจัย 3. พิจารณาการลงทุนในโครงการที่สามารถจะนํากลับไปพัฒนาสังคมและ

อุตสาหกรรมอยางเปนรูปธรรม 4. ยกระดับงานวิจัยทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศใหสูระดับโลก ประเทศญี่ปุนมีกลยุทธท่ีสําคัญดังนี้ 1. สนับสนุนงานวิจัยพื้นฐาน และยกระดับคุณภาพกลไกการประเมินโครงการ

งานวิจัยใหเทาเทียม และโปรงใส 2. งานวิจัยหลัก 4 ประเด็น ไดแก วิทยาศาสตรกับสิ่งมีชีวิต (life science) ดานขอมูล

และเทคโนโลยีการสื่อสาร (information and telecommunication) วิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม (environmental sciences) กับ นาโนเทคโนโลยี และวัสดุศาสตร (Nanotechnology and material)

งานวิจัยรอง 4 ประเด็นไดแก ดานพลังงาน (Energy) เทคโนโลยีการผลิต (Manufacturing technology) โครงสรางพื้นฐาน (infrastructure) ดาราศาสตรและสมุทรศาสตร (frontier: outer space and ocean)

3. สนับสนุนการวิจัยที่มีการมองการณไกลในการศึกษา และโครงการที่เนนการสนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัยดวยกัน

การปฎิรูปแนวทางการวิจัย เปนสวนหนึ่งของการปฏิรูปโครงสรางของรัฐบาลญี่ปุน ซ่ึงจะเนนไปในการยืดระยะเวลาการตกต่ําของเศรษฐกิจ โดยนโยบายหลักในหลายสวนซึ่งสวนใหญใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบงานวิจัย ซ่ึงมีการปฏิรูปโครงสราง 7 จุด ไดแก

1. ใชประโยชนจากการบริหารจัดการแบบภาคเอกชนใหเต็มที่ โดยการแปรรูปองคกรของรัฐ หรือปฏิรูประบบบริหารจัดการ

2. จัดหาระบบสังคมที่จะชวยสนับสนุนดานสิทธิสวนบุคคล 3. สงเสริมระบบสวัสดิภาพและระบบประกันใหมีความแข็งแรง เพื่อใหประชาชน

รูสึกถึงความปลอดภัย และมั่นคง

Page 60: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

4. พัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีคุณภาพ 5. สรางโครงสรางพื้นฐานใหประชาชนไดอยูอาศัย ทํางานตามความตองการ 6. กระจายอํานาจการปกครองสูทองถ่ิน 7. ปฏิรูประบบการเงิน หนวยงานหลักที่ทําหนาที่สนับสนุนงานวิจัย โดยเฉพาะงานวิจัยพื้นฐานของประเทศ

ญ่ีปุนนั้น ไดแก กระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Ministry of Educational, Culture, Sport, Science and Technology-Japan: MEXT)

MEXT เปนหนวยงานที่ทําหนาที่รับผิดชอบการวางแผนนโยบาย ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศญี่ปุน รวมทั้งการกําหนดแนวทางและการสงเสริมการวิจัย การอบรมนักวิจัย การเพิ่มความรูความเขาใจทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมถึงการสนับสนุนการแลกเปลี่ยนการวิจัยนานาชาติ

ตามแผนพัฒนาแหงชาติ 5 ป ชวงป ค.ศ. 2001 (ปงบประมาณ ค.ศ. 2001-2005) MEXT ไดสงเสริมใหมีการวิจัยทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีโดยเฉพาะทางดานงานวิจัยพื้นฐาน โดยมีแนวทางในการสนับสนุนงานวิจัยดังนี้

1. สนับสนุนงานวิจัยวิทยาศาสตรที่สรางสรรค และหรืองานวิจัยที่นาสนใจเปนอยางมาก เชน การศึกษาดาน อนุภาค วิวัฒนาการของจักรวาล นิวเคลียรฟวช่ัน ส่ิงแวดลอมโลก

2. สนับสนุนงานวิจัยเพื่อการแขงขัน เปนการวิจัยที่เนนวิทยาศาสตรการพัฒนา โดยอาศัยพื้นฐานความรู เพื่อการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรสังคม

3. ใหการสนับสนุนการศึกษาวิจัยของสถาบันวิจัยซ่ึงเปนไปตามวัตถุประสงคของแตละสถาบัน

นอกจาก 4 ประเทศที่ไดกลาวมาแลว ประเทศที่ประสบความสําเร็จบางประเทศ เชน เกาหลีใต ไตหวัน มีกลยุทธในการพัฒนาที่นาสนใจ ไดแกการชักจูงใหผูมีความรูความสามารถระดับยอดเยี่ยม เชื้อชาติเกาหลี หรือ ไตหวันที่ทํางานอยูในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ใหกลับเขาไปบุกเบิกลพัฒนางานวิจัยโดยมุงเนนเชิงพาณิชย ซ่ึงแมจะมีจํานวนไมมาก แตก็ทําใหเกิดผลสําเร็จที่นาชื่นชม ทั้งนี้ประกอบกับนโยบายและแรงสนับสนุนอยางเต็มที่และตอเนื่องจากผูบริหารประเทศในระดับสูงสุด ซ่ึงในขณะนี้ประเทศจีนก็ไดเร่ิมใชกลยุทธนี้แลวเชนกัน

ประเทศตาง ๆ ที่ไดทําการศึกษาและยกมาเปนกรณีตัวอยางลวนแลวแตเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาดานการวิจัย และการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาพัฒนาใหเกิดนวัตกรรม ไมวาจะใชในกระบวนการผลิต พัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑเดิม พัฒนาผลิตภัณฑรูปแบบใหม หรือแมแตการบริการ แตก็มีจุดเดนของแตละประเทศที่นาสนใจ ซ่ึงสามารถนํามาประยุกตใชในสภาพแวดลอมและบริบทของประเทศไทย ดังจะไดใชเปนขอมูลหนึ่งสําหรับประกอบในขั้นตอนการสังเคราะหยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศไทย

Page 61: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

บทที่ 5

การวิเคราะหยุทธศาสตรการพัฒนาดานการวิจยัและพัฒนา

ยุทธศาสตรดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและดานอื่นๆที่เก่ียวของเพื่อสรางความเขมแข็งใหแกประเทศ

การวิจัยและพัฒนา มีความหมายครอบคลุมกวางขวาง ตั้งแต การวิจัยพื้นฐาน เพื่อ

คนหาความรูใหม ๆ หรือพิสูจนความรูเกาที่เปนพื้นฐานความรู อธิบายปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดขึ้น การวิจัยประยุกต เพื่อแสวงหาความรูมาใชโดยมีจุดหมายเฉพาะสําหรับกระบวนการใดกระบวนการหนึ่ง มักจะเริ่มตนจากพื้นความรูที่ไดจากการวิจัยพื้นฐาน การวิจัยและพัฒนา เปนการวิจัยเพื่อนําความรูไปพัฒนาหรือแกไขปญหาสําหรับการผลิตสินคาและบริการ ซ่ึงอาจจะเปนขั้นตอนใดก็ไดในกระบวนการผลิตสินคาและการใหบริการนั้น ๆ การวิจัยนี้มิใชเฉพาะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เทานั้น แตยังครอบคลุมไปทุกสาขาวิชา เชน สังคมศาสตร มนุษยศาสตร เปนตน โดยจุดมุงหมายก็คือการศึกษาคนควาอยางเปนระบบ ตามระเบียบการวิจัย เพื่อใหไดคําตอบที่มีความแมนตรงเชื่อถือได เพื่อนํามาใชในสวนที่เกี่ยวของ การแกปญหาหรือการหาหนทางในการพัฒนายังตองคํานึงถึงความเชื่อมโยงระหวางการวิจัยในสาขาตาง ๆ ที่เกี่ยวของดวย มิฉะนั้นก็อาจไมสามารถแกไขปญหาไดทั้งหมดในภาพรวม เชน การวิจัยเพื่อแกไขปญหาทรัพยากรน้ําในพื้นที่หนึ่ง ๆ ไมสามารถใชเฉพาะผลการวิจัยในเชิงวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาการจัดเก็บใหมีปริมาณพอเพียง คุณภาพดี แตยังตองวิจัยในเชิงสังคม ถึงถ่ินฐานที่อยู การดํารงชีวิต และสภาพความเปนอยูของประชาชนในพื้นที่นั้น ๆ เพราะมีสวนเกี่ยวของกับทรัพยากรน้ํา เปนตน

การวิเคราะหยุทธศาสตรดานการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยจะทําใหไดรับขอมูลพื้นฐานความเปนมาในอดีต สถานะในปจจุบันและแนวโนมในอนาคต เพื่อนําไปสูการสังเคราะหยุทธศาสตรเชิงรุก ประกอบดวย การศึกษาวิวัฒนาการขององคกรวิจัยในประเทศไทย การศึกษาวิเคราะหนโยบายและแนวทางการวิจัยและพัฒนาของชาติที่จัดทําโดยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ กลไกและองคกรหลักที่เกี่ยวของในระบบการวิจัยของประเทศในปจจุบัน และทายสุดการวิเคราะหยุทธศาสตรการพัฒนาดานตาง ๆ ของกระทรวงหรือองคกรที่เกี่ยวของหรือใชการวิจัยเปน

Page 62: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

พลังหนึ่งในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรนั้นๆ และทายสุดนําไปสูการวิเคราะห ระบบการวิจัยของประเทศไทยในปจจุบัน

วิวัฒนาการขององคกรที่เก่ียวของกับการจัดทํานโยบายและการพัฒนาดานการวิจัย

จากการศึกษาขอมูล พบวาประเทศไทยเริ่มใหความสําคัญของการวางนโยบายเพื่อการพัฒนาประเทศตั้งแตชวงประมาณ 50 ปที่ผานมา โดยเห็นเปนรูปธรรมไดแก การจัดตั้งหนวยงานระดับนโยบายขึ้นในเวลาใกลเคียงกัน ไดแก สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ และรวมถึงสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ซ่ึงจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2499 และหลังจากนั้นมีการจัดตั้งสภาวิจัยแหงชาติตามมา แสดงใหเห็นวาไดใหความสําคัญที่จะนําการวิจัยมาใชเพื่อการพัฒนาประเทศ (สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 2547)

ในระยะแรกนั้น ยังไมมีแผนและนโยบายดานการวิจัยของชาติอยางชัดเจน แตมีการจัดกิจกรรมหลายอยางที่กระตุนใหมีการดําเนินการวิจัย เพื่อหาความรูใหม ๆ ในทุกสาขาวิชา และใหนําผลการวิจัยไปใชใหเกิดประโยชน แตพบวายังเนนการใชผลเพื่อแกไขปญหาของหนวยงานภาครัฐ อยางไรก็ตาม การจัดตั้งหนวยงานระดับนโยบายนี้ไดรับอิทธิพลหรือแรงผลักดันจากภายนอกมากกวาแรงผลักดันจากภายใน อิทธิพลจากภายนอกก็คือจากประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งหวังจะใหประเทศไทยวางแนวทางการพัฒนาตามแบบอยางของตะวันตก และหวังจะเห็นประเทศไทยพัฒนาขึ้นจนเปนตัวแทนของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเปนหนึ่งในฐานอํานาจของสหรัฐอเมริกาในภูมิภาคนี้ สภาพของประเทศในขณะนั้นก็ยังอยูในระดับของประเทศดอยพัฒนา ยากจน อีกทั้งมีความไมมั่นคงทางการเมือง ทําใหขาดเปาหมายที่ชัดเจนของการวิจัยที่จะนําไปสูการพัฒนาประเทศตามความตองการที่แทจริง ดังนั้นจึงนาจะกลาวไดวา นโยบายการวิจัยไมมีรูปธรรมที่ชัดเจน และไมเกิดผลอยางแทจริง อยางไรก็ตามในสวนขององคกรที่เกี่ยวของก็ไดสานรับกับแนวคิดการพัฒนาที่อาศัยการวิจัย โดยการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัย ข้ึนหลายแหงในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อหวังจะผลิตบุคลากรขึ้นมารองรับการวิจัยและพัฒนาของประเทศดังกลาวมาแลว

ในระยะตอมา ประเทศไดเล็งเห็นความสําคัญของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีวาจะเปนกลไกสําคัญในการพัฒนาดานวิทยาศาสตร อุตสาหกรรม และภาคการผลิต จึงมีการกําหนดนโยบายดานนี้ขึ้นและตามมาดวยการจัดตั้งกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ การพลังงานขึ้นในป พ.ศ. 2522 และมีการรวบรวมหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยทั้งหมดไวในกระทรวงดังกลาว

Page 63: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ดวย เชน สํานักงานพลังงานแหงชาติ สํานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ สํานักงานคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ กรมวิทยาศาสตรบริการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว . เดิมชื่อสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรประยุกตแหงประเทศไทย) รวมถึง สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติดวย

ตอมาก็มีการปฏิรูปกระทรวงทบวงกรมทั้งหลาย และมีการตั้งกระทรวงพลังงาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แยกออกไป คงเหลือเปนกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นอกจากนั้นจากแนวโนมการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เสนอโดยองคการสหประชาชาติและคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศ รวมถึงการสนับสนุนชวยเหลือจากสหรัฐอเมริกา ทําใหมีการจัดตั้งศูนยวิจัยเฉพาะทางแหงชาติขึ้น 3 ศูนย เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเฉพาะทาง ไดแก ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ (BIOTEC) ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC) และ ศูนยเทคโนโลยีอิเล็คทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) และตอมาอีกหลายปไดตั้งศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ (NANOTEC) ขึ้นตามพัฒนาการของเทคโนโลยี

ในชวงป พ.ศ. 2534 ไดมีการปรับรูปแบบองคกรของรัฐใหมีลักษณะที่มิใชระบบราชการเพื่อใหเกิดความคลองตัวในการบริหารจัดการ จึงไดมีการจัดตั้งองคกรอิสระภายใตกํากับที่เกี่ยวของกับการวิจัย เพื่อเปนหนวยสนับสนุนการวิจัยและใหทุนขึ้น ไดแก สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.- ป พ.ศ.2534) ซ่ึงไดรวมศูนยวิจัยเฉพาะทางแหงชาติ 3 ศูนยมาไวในสังกัดดวย กับสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว. – ป พ.ศ. 2535) เปนแนวคิดใหมเกี่ยวกับการพยายามปรับระบบบริหารจัดการงานวิจัยใหม เพื่อใหเกิดความคลองตัว มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตอมาก็มีการจัดตั้ง สํานักงานวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) ซ่ึงทั้งหมดเปนหนวยงานอิสระที่มีพระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งหนวยงานโดยเฉพาะ

นโยบายและแนวทางการวิจัยและพัฒนาของชาติและนโยบายดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

แมวาจะมีการจัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติขึ้นและไดมีการดําเนินการเชิงรุกใหเกิดการพัฒนาการวิจัยขึ้นอยางมาก แตก็ยังอิงนโยบายและแผนพัฒนาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สวนนโยบายและแผนงานวิจัยของสภาวิจัยแหงชาติฉบับที่ 1 เร่ิมขึ้นเปนครั้งแรกสําหรับป พ.ศ.2520-2524 และไดจัดทําตอมาอีก 2 ฉบับ สําหรับเปนแผนงานวิจัย ป พ.ศ. 2525-2529 และ ป พ.ศ. 2530-2534 โดยใหถือเปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

Page 64: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

สังคมแหงชาติ ซ่ึงมีผูวิเคราะหวายังไมสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ในขณะนั้นมากนัก และองคกรภาครัฐอื่น ๆ ที่แมวาจะไดใชการวิจัยเปนกรอบในการพัฒนาประเทศที่ชัดเจนขึ้น ทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคสาธารณสุข และส่ิงแวดลอม เพื่อมุงเนนการปรับปรุงโครงสรางอุตสาหกรรม การเพิ่มผลผลิตทางการเษตร การพัฒนาและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ แตก็อยูในสภาพตางคนตางทํา ขาดความประสานสอดคลอง (คณะอนุกรรมการการจัดการเทคโนโลยี 2550), (สํานักงานนโยบายและยุทธศาสตร, สํานักปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2551), (สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2551)

นโยบายและแนวทางการวิจัยของชาติ 3 ฉบับดังกลาวจัดทําขึ้นเพื่อวางแนวทางการวิจัยแบบครอบคลุมในวงกวาง จึงไมสามารถแสดงใหเห็นผลในทางปฏิบัติได และทําใหบทบาทของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติที่เปนองคกรหลักในการกําหนดและเสนอแนะนโยบายดานการวิจัยไมเดนชัด ในขณะที่กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีบทบาทเดนขึ้น แตก็มสีวนที่คาบเกี่ยวกับการวิจัยมิใชนอย

นโยบายและแนวทางการวิจัยและพัฒนาของชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2535-2539) ที่จัดทําโดยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติมีรูปแบบที่แตกตางไปจาก 3 ฉบับกอนโดยเปนผลจากกระบวนการในการประเมินสถานการณ แนวโนมดานตาง ๆ ของประเทศกอนจะนํามากําหนดกรอบนโยบายและแผนการวิจัย และมุงตอบสนองหรือสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) รวมทั้งไดกําหนดแนวทางในการปรับปรุงระบบ กลไก ของการวิจัยและพัฒนา การประสานงานและการสรางความรวมมือดานการวิจัยกับตางประเทศ การประสานและรวมมือกับภาคเอกชน

อยางไรก็ตาม ในชวงขณะเดียวกันนั้นมีการจัดตั้งองคกรอิสระระดับชาติ เชน สวทช. สกว. ขึ้น ซ่ึงตางก็มีพันธกิจและภารกิจที่ตั้งขึ้นของแตละองคกร มีการจัดทํานโยบายของแตละองคกร แตขาดการประสานและการกํากับใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงขาดการมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายจากองคกรดานวิจัยที่เกี่ยวของ หรือผูที่มีสวนไดสวนเสียจากหลาย ๆ ฝาย ทาํใหนโยบายและแนวทางการวิจัยของชาติ ฉบับที่ 4 และฉบับที่ 5 (พ.ศ.2540-2544) รวมถึงนโยบายและแนวทางการวิจัยฉบับที่ 6 (พ.ศ.2545-2549) ไมสามารถบรรลุผลไดอยางเต็มที่ และฉบับที่ 7 ที่หันมาเนนแนวคิดการจัดทํานโยบายแบบเฉพาะเจาะจงที่ขาดการมีสวนรวมจากทุกฝายที่เกี่ยวของ จึงดูเสมือนเปนนโยบายและแนวทางการวิจัยของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติเทานั้น โดยที่ก็มีนโยบายและแนวทางการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นโยบายและแนวทางการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และอื่น ๆ ที่มีหลายสวนเกี่ยวของกับการวิจัย แยก

Page 65: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ตางหากออกไปโดยไมมีการเชื่อมโยง และสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติที่แมจะไดรับมอบหมายใหเปนองคกรที่กําหนดนโยบายและแผนในการพัฒนาดานวิจัยในภาพรวมของประเทศจากรัฐ ไมสามารถแสดงบทบาทนั้นได

กลไกและองคกรหลักในระบบการวิจัยของประเทศ

เมื่อวิเคราะหจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ออนไลน 2552) พบวามีลักษณะที่แบงระดับการแปลงและกระจายแผน (deploy) แผนจากแผนระดับชาติไปจัดทําแผนยุทธศาสตรระดับกระทรวงลงไปสูการบริหารจัดการและปฏิบัติการ โดยตีเปาหมายที่ตอบสนองตอผูใชประโยชน ทั้งนี้สวนมากหนวยงานที่ดําเนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ คือหนวยงานภาครัฐ ในดานการวิจัยหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยในประเทศไทย มีหนวยงานภาครัฐเปนหลักเชนกันโดยมีภาคเอกชนเขามามีสวนรวมบาง มีลักษณะการกระจายงานลงไปเปนระดับตาง ๆ ของงานวิจัย 4 ระดับ ดังนั้นจะไดจําแนกหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยในประเทศไทย มีทั้งหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน แบงออกไดเปน 4 ระดับเชนเดียวกันดังนี้ 1. ระดับนโยบาย 2. ระดับหนวยบริหารจัดการทุนวิจัย 3. ระดับหนวยงานวิจัยหรือระดับปฏิบัติงาน และ 4. ระดับผูใชประโยชน

แนวทางหรือทิศทางการวิจัยของประเทศที่จะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนและเสริมความเขมแข็งของประเทศนั้น หนวยงานระดับนโยบายของประเทศควรจะเปนผูวางแนวทางการวิจัยใหเปนไปในทิศทางเดียวกันเพื่อเพิ่มศักยภาพของงานวิจัยเพื่อตอบสนองกับความตองการของสังคม และกาวทันการเปลี่ยนแปลงของประเทศและของโลก รวมทั้งยังเปนการตอบสนองตอการพัฒนาของประเทศอยางเปนระบบ ดังไดกลาวมาแลวในตอนตนวา สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ(วช.) เปนองคกรที่ไดรับมอบหมายจากรัฐบาลใหเปนหนวยงานในการวางนโยบายและแนวทางการวิจัยแหงชาติ ซ่ึงก็ไดดําเนินการจัดทํานโยบายและแนวทางการวิจัยของชาติมาแลวรวมทั้งสิ้น 7 ฉบับ โดยที่ปจจุบันไดใชนโยบายและแนวทางการวิจัยฉบับที่ 7 (พ.ศ.2551-2553) เพื่อเปนแนวทางในการวิจัยโดยพยายามใหสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐบาลตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) รวมกับยุทธศาสตรและนโยบายของกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวของ

Page 66: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ระดับนโยบาย จากการวิเคราะหยุทธศาสตรและนโยบายหลักของกระทรวงตาง ๆ ที่จะนําไปสูการ

พัฒนาประเทศ พบวา ในกระทรวงที่ เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อาทิ เชน กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงสาธารณสุข เปนหนวยงานที่มียุทธศาสตรและนโยบายในการสงเสริมการสงเสริมการวิจัยอยางเดนชัด อันเนื่องมาจากมีหนวยงานวิจัยภายใตการกํากับดูแลหรือหนวยงานที่สามารถสนับสนุนงานดานวิจัยใหกับหนวยงานได ซ่ึงเปนขอดีในการมีแนวทางการวิจัยเพื่อตอบรับโดยตรงตอหนวยงาน แตการวิจัยยังเปนการวิจัยที่ เกี่ยวของกับหนวยงานเดียวไมไดมีการเชื่อมโยงกับกระทรวงอื่นๆที่มียุทธศาสตรการพัฒนารวมกัน

นอกจากนั้นบางยุทธศาสตรที่มีความสําคัญกับประเทศ และมีสวนของการศึกษาวิจัยรวมอยูดวย แตก็ยังเปนการวิจัยที่ไมไดมีการเชื่อมโยงกันระหวางกระทรวงตาง ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของ เพื่อจะนําไปสูแนวทางการพัฒนาประเทศตามแผนการพัฒนาเศรษฐกิจฯ อยางมีประสิทธิภาพ อาทิเชน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพลังงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย เปนตน

ระดับหนวยบริหารการจัดการทุนวิจัย ระดับหนวยบริหารการจัดการทุนวิจัยในประเทศไทย ประกอบดวย 4 หนวยงาน ทีเ่ปน

อิสระไมขึ้นตรงกับหนวยงานใด ไดแก 1. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2.สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ(สวทช.) 3.สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร(สวก.) และ 4.สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ซ่ึงหนวยงานดังกลาวนี้เปนหนวยงานที่สนับสนุนการสรางความรู และระบบงานวิจัย ใหเกิดความเขมแข็งและมีประสิทธิภาพ ทั้งทางดานสังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร เทคโนโลยี การเกษตร รวมทั้งระบบสาธารณสุข ในชวงป พ.ศ. 2550 สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการไดจัดทําโครงการในลักษณะเมกะโปรเจ็ค มีการสรางกลุมเชี่ยวชาญเฉพาะทางโดยการสรางเครือขายระหวางสถาบันอุดมศึกษา มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาบุคลาการ ทุนปริญญาเอก รวมถึงมีการจัดสรรเงินงบประมาณเพื่อการวิจัยในแตละสาขาดวย ซ่ึงอาจมองไดวาอาจกลายเปนหนวยบริหารการจัดการทุนวิจัยอีกหนวยงานหนึ่งยิ่งทําใหมีปญหามากขึ้น

หนวยงานในระดับการจัดการทุนวิจัยมีหนาที่หลักในการจัดสรรทุนวิจัย ตามโครงการวิจัยที่มีความเหมาะสมตอเปาหมายในระดับยุทธศาสตรของประเทศและทําหนาที่

Page 67: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

เชื่อมโยงประสานหนวยกําหนดนโยบายและหนวยวิจัยระดับปฏิบัติเพื่อใหไดมาซึ่งงานวิจัยที่มีคุณภาพและตอบสนองความตองการตามยุทธศาสตรแหงชาติ ซ่ึงการที่จะใหไดมาซึ่งงานวิจัยที่มีคุณภาพนั้นตองมีแนวทางในการปฏิบัติ เชนการวิเคราะหโครงการ การเชื่อมโยงความสัมพันธของแตละโครงการ การทําหนาที่รวมมือประสานงานเพื่อใหเกิดงานวิจัยที่เกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งการผลักดันใหเกิดการใชประโยชนจากงานวิจัย ซ่ึงแตละหนวยงานระดับการบริหารจัดการทุนวิจัย ก็มีนโยบาย หรือยุทธศาสตรในการดําเนินงานของแตละหนวยงาน

ระดับหนวยงานวิจัยหรือหนวยปฏิบัติ

การดําเนินการวิจัยในหนวยงานวิจัย โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย หรือสถาบันวิจัยตางๆ ในประเทศ ยังคงมุงเนนงานวิจัยเพื่อตอบสนองตอความตองการของผูวิจัยเปนหลัก โดยไมไดคํานึงถึงแนวทางการวิจัยในการพัฒนาประเทศ หรืองานวิจัยที่คํานึงถึงการใชประโยชนของงานวิจัย แตสวนใหญจะเปนการวิจัยที่มุงเนนไปเพื่อการสรางองคความรู เพื่อการตีพิมพ และ ไมมีการตอยอดงานวิจัยเพื่อใหเกิดประโยชน หรือไมสามารถนํางานวิจัยไปปรับปรุงเพื่อนํามาใชประโยชนไดอยางแทจริง นอกจากนั้นประเด็นการวิจัยสวนใหญก็จะเปนไปตามความถนัด หรือ ความเชี่ยวชาญเฉพาะของนักวิจัย ทําใหการวิจัยของสถาบันการศึกษาหรือสถาบันวิจัย ขาดทิศทางและแนวทางการวิจัยที่ชัดเจน (สํานักงานนโยบายและยุทธศาสตร 2550)

นอกจากงานวิจัยที่ไมมีทิศทางการวิจัยใหเปนไปตามแนวทางการวิจัยของประเทศแลวนั้น ปจจัยสําคัญอีกอยางที่ทําใหงานวิจัยที่เกิดขึ้นในระดับหนวยงานวิจัยไมเกิดประโยชนสูงสุด เนื่องจาก งานวิจัยเปนการวิจัยในลักษณะงานวิจัยโครงการเดี่ยว คือวิจัยในสวนที่ผูวิจัยชํานาญโดยไมไดคํานึงถึงปญหารอบดาน หรือการวิจัยแบบขาดความเชื่อมโยงประสานกันอยางมีเปาหมายที่ชัดเจน หรือการวิจัยแบบมีสวนรวมใหครบวงจร เชนการพัฒนาทางดานการเกษตร ไมได มีการศึกษาเกี่ยวกับดานการตลาด เปนตนทําใหงานวิจัยที่ดีมากบางสวนไมสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนไดอยางแทจริง

ปญหาที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือ ผูวิจัยสวนใหญมิไดเปนผูใชงานวิจัยนั้น คือ ระดับวิจัยหรือระดับปฏิบัติ ไมไดมีการเขาถึงระดับของผูใชประโยชน ทําใหไมสามารถที่จะดําเนินการวิจัยที่ตอบสนองตอความตองการของผูใชประโยชนไดจริง

ระดับผูใชงานวิจัย

เนื่องจากระดับผูใชประโยชนมิไดเปนผูรวมกําหนดทิศทางการวิจัยหรือมิไดเปนผูวิจัยโดยตรง ดังนั้นจึงเปนประเด็นใหญในการเชื่อโยงความตองการของผูใชประโยชน กับแนวทางการ

Page 68: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

วิจัย หรือ การเชื่อมโยงความตองการของผูใชประโยชนสูผูวิจัย ความตองการของผูใช จึงมิไดรับการตอบสนองจากงานวิจัยเทาที่ควร ทําให เกิดการใชประโยชนจากงานวิจัยที่มีเปาหมายางกันใหเกิดประโยชนได

นอกจากนั้นปญหาหนึ่งของผูใชงานวิจัย คือ ไมมีการรวมกลุมเพื่อเสนอความตองการในภาพรวม หรือแนวทางการวิจัยที่เปนรูปธรรมเพื่อที่จะใหภาครัฐเขามามีสวนชวยเหลือ หรือสนับสนุนใหเปนแนวทางการวิจัยของประเทศ เนื่องจากงานวิจัยไมสามารถที่จะทําขึ้นเพื่อตอบสนองบุคคลใน หรือกลุมคนขนาดเล็กไดทั้งหมด หากมีการรวมกลุมเพื่อเสนอความตองการอยางเปนรูปธรรม และสามารถนํางานวิจัยที่ไดนั้นก็จะสามารถนําไปไปตอยอดตามความตองการของแตละกลุมยอยได

การรวมกลุมของผูใชงานยังสามารถที่จะแกปญหาการดําเนินการวิจัยที่มีปญหาเรื่องเงินทุนวิจัยไดดวย เนื่องจากเมื่อมีการรวมกลุม โดยเฉพาะการรวมกลุมในเชิง ธุรกิจ หรืออุตสาหกรรม เพื่อเปนแนวทางในการสนับสนุนเงินทุนในการวิจัยกับองคกรวิจัยเพื่อตอบสนองตอความตองการไดโดยตรง

ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการวิจัยและยุทธศาสตรการพัฒนาของหนวยงานที่เกี่ยวของ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) จัดทําขึ้นเพื่อเปนหลักในการวางแผนพัฒนาของประเทศ โดยมีสาระสําคัญในชวงแผนนี้ใหมีการพัฒนา โดยใหมีคนเปนจุดศูนยกลางและพัฒนาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยไดมีการกําหนดยุทธศาสตร 5 ยุทธศาสตรดังนี้ (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2552), (สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2548)

1. ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู

2. ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานที่มั่นคงของประเทศ

3. ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและการสรางความ

มั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 5. ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ

Page 69: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ทั้งนี้ไดเสนอแนวทางการขับเคล่ือนยุทธศาสตรใหเปนไปอยางสัมฤทธ์ิผลตามแผนพัฒนาฯ โดยใหความสําคัญกับ การมีสวนรวมของทุกภาคสวน การปรับระบบการจัดสรรทรัพยากร การปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบ รวมทั้ง การวิจัยสรางองคความรู โดยเฉพาะการวิจัยดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของจะเปนกลไกสําคัญที่จะสรางความเขมแข็งใหแกประเทศ

จากการวิเคราะหยุทธศาสตรและนโยบายหลักของกระทรวงตาง ๆ ที่จะนําไปสูการพัฒนาประเทศ พบวา ในกระทรวงที่ เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อาทิ เชน กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงสาธารณสุข เปนหนวยงานที่มียุทธศาสตรและนโยบายในการสงเสริมการสงเสริมการวิจัยอยางเดนชัด อันเนื่องมาจากมีหนวยงานวิจัยภายใตการกํากับดูแลหรือหนวยงานที่สามารถสนับสนุนงานดานวิจัยใหกับหนวยงานได ซ่ึงเปนขอดีในการมีแนวทางการวิจัยเพื่อตอบสนองโดยตรงตอความตองการของหนวยงาน แตการวิจัยยังเปนการวิจัยที่ทําอยูภายในหนวยงานเดียวไมไดมีการเชื่อมโยงกับกระทรวงอื่นๆ ที่อาจมียุทธศาสตรการพัฒนารวมกัน (ตารางที่ 10)

นอกจากนั้นบางยุทธศาสตรที่มีความสําคัญกับประเทศและคาบเกี่ยวกับขอมูลความรูหลากหลายสาขา หลากหลายหนวยงาน ก็ยังมีลักษณะเปนการวิจัยที่ไมไดมีการเชื่อมโยงกันระหวางกระทรวงตาง ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของ เพื่อจะนําไปสูแนวทางการพัฒนาประเทศตามแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม อยางมีประสิทธิภาพ อาทิเชน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพลังงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย เปนตน

จากการวิเคราะหขอมูลยุทธศาสตรของกระทรวงตาง ๆ สามารถแบงออกอยางกวางๆไดเปน 5 แนวทางคือ 1.แนวทางการพัฒนาทางเศรษฐกิจของชุมชนรากหญา ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และการ แขงขันในตลาดโลก 2.แนวทางการสรางความสามารถเพื่อการพัฒนาทางสังคมเพื่อความเขมแข็ง และพัฒนาทองถ่ินใหมีความยั่งยืน 3.แนวทางการพัฒนาทางวิทยาการการจัดการ การบริหาร และพัฒนาทรัพยากรบุคคล 4.แนวทางการพัฒนา ศึกษา วิจัย ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอมในรูปแบบการบูรณาการและการใชประโยชนสูงสุด 5.แนวทางการบริหารจัดการองคความรู ผลงานวิจัย ทรัพยากร และภูมิปญญาของประเทศ

หนวยงานที่ สํ าคัญในการวางแนวทางการวิจั ยของประเทศ คือ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ผูที่ทําหนาที่วางแนวทางการพัฒนาของประเทศ ไดจัดทําแนวทางการวิจัยของประเทศ และไดสรุปกลุมเรื่องที่ควรวิจัยเรงดวนทั้งหมด 10 กลุมเรื่องไดแก

Page 70: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ตารางที่ 1 ขอสรุปยุทธศาสตรของกระทรวงตาง ๆ ทางดานวิทยาศาสตร และกระทรวงตาง ๆ ที่เกี่ยวของ (คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2547)

ยุทธศาสตร

วิทยาศาสต

รและ

ทคโน

เทคโนโ

ลยีสารส

นเทศ

เกษตรแล

ะสหก

รณ

ทรัพย

ากรธรรมช

าติฯ

สาธารณ

สุข

พลังงาน

อุตสาหก

รรม

พาณิช

ศึกษาธิก

าร

มหาดไท

พัฒนาปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน ทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สาธารณสุข และดานอื่นๆ X X X

พัฒนาทรัพยากรมนุษย X X X X ปรับปรุงการเรียนการสอนวิทยาศาสตร X พัฒนาคุณภาพการเรียนรูและการใหโอกาสทางดานการศึกษา X X

วิจัย พัฒนา สงเสริม ทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สารสนเทศ การสื่อสาร และการสรางสรรคนวัตกรรม X X X X

ถายทอดเทคโนโลยี นําผลงานวิจัย ผลงานนวัตกรรมมาใช X X อนุรักษ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน X X X

การบริหารทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการ X การจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม X การเพิ่มประสิทธิภาพและการพัฒนา รวมทั้งความมั่นคงดานพลังงาน X

พัฒนาขอมูลและองคกรของรัฐ X X สงเสริมและพัฒนาภาคอุตสาหกรรม X X พัฒนาระบบมาตรฐานและการนําเทคโนโลยีมาใชในการจัดการ X X X

สงเสริมดานการผลิตทั้งภาคเกษตร และอุตสาหกรรม X X X สงเสริมศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม X X สงเสริมพัฒนาปจจัยใหเอื้อตอการลงทุน และเพิ่มสวนแบงทางตลาด X X

พัฒนาตลาดสินคาและสรางมูลคาเพิ่ม รวมทั้งผลิตสินคาตามความตองการของตลาดทั้งในและนอกประเทศ X X X

สงเสริมธุรกิจไทยสูสากล X พัฒนาระบบโลจิสติคส X สงเสริมธุรกิจบริการ X การบริหารจัดการความรูและภูมิปญญา X การสรางและสงเสริมระบบสุขภาพ และหลักประกันการเขาถึงบริการ X

สรางความเขมแข็ง และพัฒนาทองถิ่นใหมีความยั่งยืน X X X X เสริมสรางสภาพแวดลอมและคุณภาพชีวิตประชาชน X X

Page 71: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

1. การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง 2. ความมั่นคงของรัฐและการเสริมสรางธรรมาภิบาล 3. การปฏิรูปการศึกษา 4. การจัดการน้ํา 5. การพัฒนาพลังงานทดแทน 6. การเพิ่มมูลคาสินคาเกษตรเพื่อการสงออกและลดการนําเขา 7. การปองกันโรคและการรักษาสุขภาพ 8. การบริหารจัดการส่ิงแวดลอม และการพัฒนาคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพ 9. เทคโนโลยีใหมและเทคโนโลยีที่สําคัญเพื่ออุตสาหกรรม และ 10. การบริหารจัดการการทองเที่ยว จะเห็นไดวากลุมงานวิจัยเรงดวนเปนกลุมงานวิจัยที่รวบรวมจากยุทธศาสตร และนโยบายของกระทรวงตางๆ ที่จําเปนในการสงเสริมการพัฒนาประเทศใหมีความเขมแข็ง แตงานวิจัยดังกลาวขางตนเปนงานวิจัยที่ตองรวมมือจากหลายฝายที่เกี่ยวของ เชนการเพิ่มมูลคาสินคาการเกษตรเพื่อการสงออก เปนยุทธศาสตรของทั้งกระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงพาณิชย ซ่ึงกระทรวงที่มียุทธศาสตรที่เกี่ยวของมีการวิจัยที่เปนเอกเทศ คือไมมีการรวมมือกันทํางานวิจัยอยางบูรณาการ เชนแตละหนวยงานทํางานวิจัยขึ้นเอง ซ่ึงอาจมีงานวิจัยที่เหมือนกัน หรือซํ้าซอนกันไดในแตละหนวยงาน และทําใหงานวิจัยอยูในวงแคบไมสามารถนําไปใชครอบคลุมกับยุทธศาสตรในภาพรวมได

การวิเคราะหยุทธศาสตรของหนวยงานที่ทําหนาที่บริหารจัดการทุนวิจัย

เมื่อพิจารณายุทธศาสตรของแตละหนวยงานในระดับนี้ พบวากรอบยุทธศาสตรยังเปนกรอบที่กวางมากที่จะตอบสนองตอแนวยุทธศาสตรของประเทศ พิจารณาจากรายงานแผนยุทธศาสตรของกระทรวงตางๆ และ ยุทธศาสตรของ วช. (แผนภาพที่ 6) จะเห็นไดวา ยุทธศาสตรการวิจัยบางยุทธศาสตร ไมไดมีหนวยงานดานการวิจัยเฉพาะเพื่อตอบสนองงานวิจัย ซ่ึงแสดงใหเห็นวา ยุทธศาสตรหรือแนวทางการวิจัยที่สําคัญใหการพัฒนาใหประเทศมีความเขมแข็ง ยังไมไดมีการวางแผนหรือหนวยงานที่เขามารับผิดชอบอยางแทจริง ดังนั้นหนวยงานที่จะเขามามีบทบาทใหการพัฒนาการวิจัยครอบคลุมตามยุทธศาสตร ไดแก สกว. ซ่ึงมีหนาที่ในการสนับสนุนงานวิจัยตามความตองการของประเทศ จะเขามามีบทบาทในการเติมเต็มงานวิจัยที่เกี่ยวของ (ตารางที่ 11)

การดําเนินการใหทุนของ สกว.ถึงแมจะตอบสนองตอการพัฒนาประเทศได แตยังมีการทํางานซ้ําซอนกับหนวยงานที่มีหนาที่หลักในการดูแลงานวิจัย เฉพาะเรื่อง จึงทําใหเกิดการซํ้าซอนของงานวิจัย

นอกจากนั้นงานวิจัยที่ไดจากระดับการจัดการทุนเฉพาะยังเปนงานวิจัยที่ไมไดเกิดจากการเชื่อมโยงของหนวยงานที่เกี่ยวของ เนื่องจากเปนงานวิจัยเฉพาะ ถึงแมจะมีแนวทางการวิจัย

Page 72: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ชัดเจน และมีทิศทางเดียวกับการพัฒนาประเทศ แตก็มีการนําไปใชประโยชนใหครอบคลุมกับทุกหนวยงานไดยาก

ตารางที่ 2 ยุทธศาสตรดานตางๆของหนวยงานที่จัดสรรทุนวิจยั

ยุทธศาสตร หนวยงานจัดสรร

ทุนวิจัย พัฒนาปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน ทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สาธารณสุข และดานอื่นๆ

สกว., สวทช.,สวรส.

พัฒนาทรัพยากรมนุษย สกว. ปรับปรุงการเรียนการสอนวิทยาศาสตร สกว. พัฒนาคุณภาพการเรียนรูและการใหโอกาสทางดานการศึกษา สกว. วิจัย พัฒนา สงเสริม ทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สารสนเทศ การสื่อสาร และการสรางสรรคนวัตกรรม

สกว., สวทช.

ถายทอดเทคโนโลยี นําผลงานวิจัย และผลงานนวัตกรรมมาใช สกว., สวทช. อนุรักษ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน

สกว.

การบริหารทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการ สกว. การจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม สกว. การเพิ่มประสิทธิภาพและการพัฒนา รวมทั้งความมั่นคงดานพลังงาน สกว. พัฒนาขอมูลและองคกรของรัฐ สกว., สวทช. สงเสริมและพัฒนาภาคอุตสาหกรรม สกว. พัฒนาระบบมาตรฐานและการนําเทคโนโลยีมาใชในการจัดการ สกว. สงเสริมดานการผลิตทั้งภาคเกษตร และอุตสาหกรรม สวก. สงเสริมศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม สกว. สงเสริมพัฒนาปจจัยใหเอื้อตอการลงทุน และเพิ่มสวนแบงทางตลาด สกว., สวก. พัฒนาตลาดสินคาและสรางมูลคาเพิ่ม รวมทั้งผลิตสินคาตามความตองการของตลาดทั้งในและนอกประเทศ

สกว., สวก.

สงเสริมธุรกิจไทยสูสากล สกว. พัฒนาระบบโลจิสติคส สกว. สงเสริมธุรกิจบริการ สกว. การบริหารจัดการความรูและภูมิปญญา สกว., สวทช.,สวรส. การสรางและสงเสริมระบบสุขภาพ และหลักประกันการเขาถึงบริการ สกว., สวรส. สรางความเขมแข็ง และพัฒนาทองถิ่นใหมีความยั่งยืน สวก.

Page 73: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ยุทธศาสตร หนวยงานจัดสรร

ทุนวิจัย เสริมสรางสภาพแวดลอมและคุณภาพชีวิตประชาชน สวรส.

จะเห็นไดวางานวิจัยของประเทศยังไมสามารถที่จะกําหนดทิศทาง หรือแนวทางใน

การวิจัยอยางชัดเจนได เนื่องจากระบบโครงสรางการทํางานทางดานการวิจัย ไมไดมีการรวมมือกันอยางเปนรูปธรรม กลาวคือ หนวยงานในระดับตางๆ ทํางานกันแบบแยกสวน และไมไดตอบสนองความตองการตอกัน รวมทั้งยังไมเกิดการบูรณาการกันอยางแทจริง ทําใหงานวิจัยของประเทศยังไมสามารถพัฒนาไปไดอยางเปนระบบที่จะสรางองคความรูจากการวิจัย เพื่อที่จะสงเสริม หรือขับเคลื่อนให แนวทางการพัฒนาประเทศ ปสูความเขมแข็ง นอกจากนั้นการบริหารจัดการงานวิจัยของประเทศ ยังไมมีการบริหารจัดการที่ดี ไมมีหนวยงานที่จะเขามากําหนดทิศทางการวิจัยและเปาหมายรวมกันที่ชัดเจนใหเกิดไปตามแนวทางการวิจัยของประเทศ ซ่ึงการวิจัยที่จะไดประโยชนอยางแทจริง ตองเกิดจากความรวมมือเชื่อมโยงของหนวยงานตั้งแตระดับนโยบาย โดยมีการกําหนดทิศทางการวิจัยอยางชัดเจน มีแนวทางการวิจัยที่เนนการศึกษาแบบบูรณาการระหวางกระทรวงหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ ใหมีความชัดเจน และสามารถดําเนินงานการวิจัยใหเปนไปตามยุทธศาสตรของชาติ รวมทั้งการจัดการหนวยงานบริหารทุนวิจัยใหมีแนวทางและทิศทางไปในแนวเดียวกัน นอกจากนั้นยังตองทําหนาที่ประสานเชื่อมโยงหนวยงานนโยบาย และหนวยงานระดับปฏิบัติ เพื่อใหไดงานวิจัยที่ตอบสนองตอยุทธศาสตรของประเทศ รวมทั้งผลักดันใหเกิดงานวิจัยเชิงบูรณาการ คือเชื่อมโยงนักวิจัยจากหลากหลายสาขา หลายสถาบัน รวมทั้งสนับสนุนใหระดับผูใชประโยชนไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินการวิจัยดวย

Page 74: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

14

แผนภาพที่ 1 สรุปยุทธศาสตร ของกระทรวงตางๆ ที่เกีย่วของ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู 2. ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชนและสงัคมใหเปนรากฐานที่มั่นคงของประเทศ 3. ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและการสรางความมั่นคงของฐานทรพัยากรและสิ่งแวดลอม 5.ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ 2. พัฒนาระบบมาตรฐานเพื่อการบริหารจัดการและบูรณาการขอมูลรัฐ 3. สงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมแลผูประกอบการใหมีศักยภาพ และสามารถแขงขันไดในเวทีโลก 4. พัฒนาบุคลากร และสงเสริมความรู ความเขาใจดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5. วิจัยและพัฒนาดานนโยบาย แผน กฎหมาย ระเบียบ มาตรการ และนวัตกรรม 6. สงเสริม และสนบัสนุน การนําเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนาระบบบริหารจัดการและบริการ

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี1. พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบสนับสนุนใหมีศักยภาพและมาตรฐานรวมทั้งสงเสริมความรวมมือกับตางประเทศ 2. สงเสริมและเรงรัดการพัฒนากําลังคนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3.ปรับปรุงการเรียนการสอนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเปนสังคมฐานความรู 4. ใหมีการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมสรางฐานความรูและเพิ่มผลิตภาพของประเทศ 5. ใหมีการถายทอดเทคโนโลยี ที่สอดคลองกับเศรษฐกิจพอเพียง และ มีการนําผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใชในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชย

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1.อนุรักษจัดการการใชประโยชนทรัพยากร ธรรมชาติอยางสมดุลและสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน 2.บริหารจัดการเพื่อใหมีการใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนและเปนธรรม 3.บริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการเปนระบบลุมน้ํา 4.บริหารจัดการการพัฒนาศักยภาพทรัพยากร ธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอมโดยการมีสวนรวมและมีบูรณาการในทุกระดับ 5.การปองกันและควบคุมมลพิษจาก ขยะ น้ําเสีย ฝุนละออง กาซ กลิ่น และเสียง ใหอยูในระดับมาตรฐาน 6.การพัฒนาระบบบริหารจัดการไปสูความเปนเลิศ

กระทรวงอุตสาหกรรม 1.การปรับโครงสรางการผลิตและยกระดับเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลิตภาพภาคอุตสาหกรรม 2.การพัฒนาปจจัยแวดลอมใหเอื้อตอการพัฒนาและประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม 3.การเสริมสรางศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมและวิสาหกิจชุมชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 4.การบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอมภาคอุตสาหกรรมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน 5.สงเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน 6.การพัฒนาสมรรถนะและประสิทธิภาพองคกรฯ

กระทรวงพาณชิยฯ 1.ขับเคลื่อนเศรษฐกิจดวยการเพิ่มสวนแบงตลาด และมุงสงเสรมิธุรกิจบริการ 2.ผลิตสินคาและบริการตามความตองการของตลาด 3.พัฒนา SMEs/สินคา OTOP อยางครบวงจร 4.สงเสริมธุรกิจไทยสูสากล มุงสราง Supply Chain และ Value Creation 5.พัฒนาและเสริมสรางตลาดในประเทศใหมีประสิทธิภาพ เสรี และเปนธรรม 6.มุงพัฒนาตลาดสินคาเกษตรและเพิ่มมูลคาทางการคา 7.ใชขอตกลงทางการคาใหเกิดประโยชนสูงสุด และเปนการเพิ่มทางเลือก 8.พัฒนาระบบโลจิสติกสใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

กระทรวงเกษตรและสหกรณฯ 1. การผลิตที่มีประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถการแขงขัน 2. สรางมูลคาเพิ่มจากโซการผลิต 3. การสรางเขมแข็งใหเศรษฐกิจรากหญา 4. วิจัยและพัฒนา (R&D) พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) และ พัฒนาทรัพยากรมนุษย (HRD) 5. การกระจายอํานาจและสงเสริมธรรมาภิบาล (Empowernent and Good Governance)

กระทรวงพลังงาน 1.ประสิทธิภาพการใชพลังงานของประเทศ 2.ความมั่นคง ดานพลังงาน 3.พัฒนาพลังงานอยางมีดุลยภาพควบคูกับการอนุรักษสิ่งแวดลอม และการมีสวนรวมของประชาชน 4.กระทรวงพลังงานเปนกระทรวงสมรรถนะสูง

กระทรวงศึกษาธิการ 1. การสรางโอกาสทางการศึกษา 2. การพัฒนาการจัดการและพัฒนาคุณภาพการเรียนรู 3. การเพิ่มมาตรฐานและเพิ่มความสามารถการแขงขันของประเทศ

กระทรวงสาธารณสุข 1. เรงการสรางสุขภาพเชิงรุก 2. การสรางหลักประกันการเขาถึงบริการสุขภาพถวนหนา 3. ปฏิรูประบบ โครงสราง และกลไกการบริหารจัดการระบบสุขภาพ 4. การสรางความเขมแข็งของภาคประชาสังคมเพื่อสุขภาพ 5. การบริหารจัดการความรูและภูมิปญญาเพื่อสุขภาพ 6. การพัฒนากําลังคนดานสุขภาพเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและระบบสุขภาพใหม

กระทรวงมหาดไทย 1. ฟนฟูความเชื่อมั่นของประเทศ 2. เสริมสรางสภาพแวดลอมและคุณภาพชีวิตประชาชน 3. เสริมสรางและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4. เรงรัดการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 5. เ สริมสรางความสมัพันธกับประเทศเพื่อนบาน 6. เสริมสรางความมั่นคงภายใน ความสงบเรียบรอยภายในประเทศ 7. เสริมสรางระบบการบริหารจัดการที่ดี

68

Page 75: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

15

แผนภาพที่ 2 สรุปยุทธศาสตร ของหนวยงานบริหารจัดการทุนวจิัยของประเทศ

คณะกรรมการวิจัยแหงชาต ิ(วช.) 1. การสรางศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 2. การสรางศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางสังคม 3. การสรางศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางวิทยาการและทรัพยากรบุคคล 4. การเสริมสรางและพัฒนาทนุทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5. การบริหารจัดการความรู ผลงานวิจยั ทรัพยากร และภูมิปญญาของประเทศสูการใชประโยชนดวยยุทธวิธีที่เหมาะสม

กลุมเรื่องที่ควรวิจัยเรงดวนทั้งหมด 10 กลุมเรื่อง ไดแก การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง ความมันคงของรัฐและ การเสริมสรางธรรมาภบิาล การปฏริูปการศึกษา การจัดการน้าํ การพัฒนาพลังงานทดแทน การเพิ่มมูลคาสินคาเกษตรเพื่อการสงออกและลดการนําเขา การปองกันโรคและการรักษาสขุภาพ การบริหารจัดการสิ่งแวดลอมและการพัฒนาคุณคาความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีใหมและเทคโนโลยีที่สําคัญเพื่ออุตสาหกรรม และการบริหารจัดการการทองเที่ยว

สวรส. 1.การพัฒนาความรู เนนการคนหาและพัฒนาความรูเพื่อตอบสนองตอปญหาสําคัญของระบบสุขภาพปจจุบัน และเตรียมความพรอมในการจัดการกับปญหาสุขภาพในอนาคต 2. เชื่อมโยงความรูสูการพัฒนาระบบสุขภาพ เนนการประสานเชื่อมโยงการพัฒนาความรูกับการพัฒนาระบบสุขภาพ โดยพัฒนา “กลไกเชื่อมโยง” ตาง ๆ 3.การเสริมสรางความเขมแข็งระบบการจัดการความรู 4. การขยายพันธมิตรทางยุทธศาสตร ครอบคลุมพันธมิตรทางดานวิชาการในประเด็นความรูที่จําเปนสําหรับการพัฒนาระบบสุขภาพในปจจุบันและอนาคต

สวทช 1.พัฒนาการเรียนรูดานวิทยาศาสตรทุกระดับการ ศึกษาเพื่อสรางนักวิจัยใหเปนกําลังคนระดับกลางและระดับสูงเพื่อสงผลใหเกิดการสรางนวตกรรมและพัฒนาความเปนเลิศ 2.สนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาทุกสาขา ใหการสรางองคความรูและเทคโนโลยีที่สอดคลองกับศักยภาพของประเทศและพัฒนานวัตกรรมที่นําไปสูการพึ่งพาตัวเองและลดการนําเขาเทคโลยี 3.สงเสริมการตอยอดภูมิปญญาและความเปนไทยที่สอดคลองกับความตองการ 4.สนับสนุนการถายทอดเทคโนโลยีและขับเคลื่อนนวัตกรรมของประเทศทั้งระบบ สงเสริมการบริการวิชาการ และการวิจัยเชิงปฏิบัติแบบมีสวนรวมกับนักวิจัยทองถิ่น 5.พัฒนาโครงสรางพืน้ฐานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร(GIS) และขอมูลดาวเทียมเพื่อการพัฒนาประเทศแบบบูรณาการ 6.ผลักดันใหมีการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา และสงเสริมกลไกลในการนําไปใชประโยชน

สวก. 1. การวิจัยดานการเพิ่มผลผลิต 2. การวิจัยดานการสรางมูลคาเพิ่ม 3. การวิจัยดานการเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันสินคาเกษตรและอาหารสูตลาดโลก 4. การพัฒนาการเพิ่มศักยภาพและความเขมแข็งของคน/องคกรในภาคเกษตร

สกว. 1.ยุทธศาสตรการสนับสนุนการวิจัย ในประเด็นความตองการของพัฒนาประเทศ 2. การวิจัยตามความตองการของพื้นที่ (area-based collaborative research) งานวิจัยตามความตองการระดับจังหวัด 3. การจัดการงานวิจัย (กลไกสนับสนุน)

69

Page 76: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

16

การวิเคราะหระบบการวิจัยของไทย

ประเทศไทยไดมีพัฒนาการในดานการบริหารจัดการเกี่ยวกับยุทธศาสตรในระดับประเทศมาเปนเวลานานประมาณ เกือบหาสิบป โดยเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคม การศึกษา การวิจัย มีการจัดตั้งสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สภาการศึกษาแหงชาติ สภาวิจัยแหงชาติ และใหมีการจัดทําแผนพัฒนาในดานตาง ๆ เหลานั้น โดยมีสํานักงานคณะกรรมการฯ เปนหนวยหลักในการขับเคลื่อน ตอมาก็มีการจัดตั้งอีกหลายหนวยงานเพิ่มเติมเพื่อจัดทํายุทธศาสตร หรือแผนพัฒนาในแตละดานที่สําคัญ เชน ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนตน โดยที่สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติดําเนินการในการวางแผนและจัดทํายุทธศาสตรอยางไดผล ทําใหแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดรับการยอมรับและถูกนํามาใชเปนตนแบบในการนําไปกําหนดยุทธศาสตรในดานอื่น ๆ อีกตอเนื่องเปนลําดับ รวมถึงใชเปนแมแบบในการจัดสรรงบประมาณดวย จนถึงปจจุบันเปนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 สําหรับระยะเวลาป พ.ศ. 2550 – 2554 ในสวนของสภาวิจัยแหงชาติก็ไดมีการดําเนินการในลักษณะเดียวกัน มีการจัดทําแผนพัฒนาวิจัยแหงชาติตอเนื่องมาเปนลําดับเชนเดียวกัน

จากการศึกษายุทธศาสตรการวิจัยของประเทศไทยในระยะหลัง พบวามีลักษณะที่นาสนใจคือ การจัดทํายุทธศาสตรที่อิงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ การจัดทํายุทธศาสตรดานการวิจัยของชาติโดยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) การจัดทํายุทธศาสตรของหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยซ่ึงมีตั้งแตระดับระดับหนวยงานผูใหทุนวิจัยไดแก กองทุนสนับสนุนสงเสริมการวิจัย (สกว.) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) สํานักงานสงเสริมการวิจัยดานการเกษตร (สวก.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) หนวยงานที่ทําหนาที่วิจัย ไดแก มหาวิทยาลัย หนวยงานที่ทําหนาที่ทั้งสองดานไดแก กระทรวง รัฐวิสาหกิจ เปนตน ยุทธศาสตรดานการวิจัยนั้นก็พบวามีทั้งงานประจําและงานบุกเบิกพัฒนาควบคูกันไป และเมื่อมีการจัดตั้งกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ก็มีการจัดทํายุทธศาสตรในการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซ่ึงมีสวนที่คาบเกี่ยวกันมากดวย ยุทธศาสตรทั้งหลายเหลานี้มีการจัดทําแบบกระจายศูนย และใชเปนหลักเพื่อการจัดทําคําของบประมาณ ยงัไมมีลักษณะของการรวมคิด ทําใหยุทธศาสตรที่สําคัญและนาจะเปนประโยชนกระจัดกระจายในความดูแลของหนวยงานหลากหลาย บางสวนปราศจากความเชื่อมโยง บางสวนเชื่อมโยงอยางไมแนบแนน และไมยั่งยืน ระบบการติดตามและรายงานผลก็แตกตางกันและไมมีการสรุปในภาพรวม

ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการวิจัยยังพบวาสวนหนึ่งยังจัดแบงตามประเด็นการวิจัยซ่ึงมักจะเนนใหสอดคลองกับนโยบายการพัฒนาประเทศ เชน การพัฒนาการวิจัยดานอาหารเพื่อนําไปสูการเปนครัวของโลก การวิจัยดานเครื่องยนตและยานยนตรเพื่อการเปนแหลงผลิตรถยนตร

Page 77: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

17

ในภูมิภาค การพัฒนาการวิจัยดานนาโนเทคโนโลยี การพัฒนาการวิจัยในสวนที่เกี่ยวของกับเสื้อผา เครื่องนุงหม เครื่องประดับ หนังสัตว เพื่อนําไปสูการเปนเมืองแฟชั่นของโลก เปนตน

ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการวิจัยนั้นไดมีการวางตัวช้ีวัดเปนเปนดัชนีในการบงบอกความสําเร็จ คือการพิจารณาจากผลผลิต อันไดแก ผลงานวิจัยที่ตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการ การเผยแพรผลการวิจัยในรูปแบบอื่น ๆ ในแวดวงวิชาการ สิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรที่ไดจากการวิจัย การพัฒนาเครื่องมือ ผลิตภัณฑ หรือวัสดุ ขึ้นใชภายในประเทศไปจนถึงการสงออกจําหนาย อันแสดงใหเห็นถึงความเขมแข็งในดานการผลิตที่อาศัยฐานการวิจัยเพื่อบุกเบิกพัฒนาสิ่งใหมเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนของประเทศ

โดยสรุปจากขอมูลและการวิเคราะหในหลายๆรูปแบบพบวาระหวางระบบวิจัยของไทยในปจจุบันมีลักษณะ ดังนี้ (จรัส สุวรรณเวลา 2545 และ ประเวศ วะสี 2546)

1. ระบบวิจัยของไทยที่ เปนอยูมีการคาบเกี่ยวในบทบาทหรือพันธกิจที่สําคัญ ตัวอยางเชน วช.ทําหนาที่ทั้งดานนโยบาย หรือยุทธศาสตรของชาติ และทําหนาที่จัดสรรทุนวิจัยดวย หรือ สวทช. ทําหนาที่จัดสรรทุน ในขณะเดียวกันหนวยงานในสังกัดทําหนาที่เปนหนวยวิจัยดวย หรือหนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัย บางหนวยงานก็ยังขาดความชัดเจนในบทบาทของตนเอง ดังแผนภาพที่ 7

2. จากลักษณะดังกลาวในขอที่ 1 ทําใหขาดบทบาทที่ เดนชัดในการกําหนดยุทธศาสตร การวิจัยในภาพรวมของประเทศที่เดนชัด และขาดทิศทางหรือเปาหมายการวิจัย

3. ขาดกลไกในการกํากับดูแลนโยบายการวิจัยในภาพรวมที่มีประสิทธิภาพ 4. ขาดกลไกลในการเชื่อมโยงระบบยอยของระบบวิจัย หรือหนวยงานในระบบวิจัย

เพื่อใหเสริมพลังซึ่งกันและกัน 5. มีสภาพของกลุมอํานาจหรือสายอํานาจที่ตางคนตางมีทั้งในระดับหนวยงาน

ภาครัฐและหนวยงานอิสระที่จัดตั้งขึ้นเพื่อความคลองตัวและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 6. ขาดกลไกการประเมินผลที่ดีเพื่อนํามาปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่องใหทันตอการ

เปลี่ยนแปลงของโลกและสภาพที่เปลี่ยนแปลงของประเทศ 7. ระบบวิจัยของประเทศไมครบวงจร ไมตอเชื่อม มีลักษณะเปนสวนเสี้ยว 8. ระบบการวิจัยของประเทศไมรวมทุกภาคสวนที่มีสวนได เสียเขามา เชน

ภาคเอกชน ภาคสังคม ดูเสมือนระบบการวิจัยเปนของภาครัฐเทานั้น

แผนภาพที่ 3 แผนภาพแสดงระบบบริหารการวิจยัของประเทศ

Page 78: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

18

ที่มา : กิตติ ล่ิมสกุล 2550

9. การลงทุนเพื่อการวิจัยของประเทศไทยอยูในระดับต่ําเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลวหรือประเทศที่มีระดับการพัฒนาใกลเคียงกัน

10. งบประมาณที่จัดสรรเพื่อการวิจัยมีหลากหลายรูปแบบและบางสวนขาดการแขงขันเพื่อรับการสนับสนุนอีกทั้งงบประมาณเกือบทั้งหมดอยูเฉพาะในภาครัฐ

11. การลงทุน การจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัยไมสอดคลองกับแผนงานวิจัยและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

12. โครงสรางพื้นฐานทางดานวิทยาศาสตร ดานเทคโนโลยีของประเทศยังไมไดรับการพัฒนาอยางพอเพียง

13. การบริหารจัดการและการติดตามผลของการพัฒนาดานวิจัย วิทยาศาสตรและเทคโนโลยียังไมดีเทาที่ควร (วิจารณ พานิช, 2546)

14. การใชทรัพยากรที่มีนอยอยูแลวอยางไมคุมคา ไมสนองตอบตอความจําเปน 15. การวิจัยไมครอบคลุมและไมสมดุลส่ิงที่นาจะวิจัยเพื่อนํามาใชประโยชนไมไดทํา

และทําในสิ่งที่มักไมเกิดผลตามที่ผูใชตองการกับวิจัยในเรื่องของความสนใจเฉพาะบุคคล 16. คุณภาพของผลงานวิจัยไมดีเทาที่ควร ทั้งในเชิงวิชาการที่พบวาสัดสวนของการ

ตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการระดับนานาชาติยังต่ํา ขาดการคัดกรองในเชิงคุณภาพกอนเผยแพร ขาดการวิพากษวิจารณและอภิปรายเพื่อพัฒนาผลการวิจัย

หนวยวิจัยพิเศษในองคกร เชน วว.

สวรส. สกว. สวก.

สกอ.

Page 79: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

19

17. การวิจัยและพัฒนาเพื่อประโยชนเชิงพาณิชย ไมสอดคลองประสานกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ เนื่องจากภาครัฐมักเปนผูริเร่ิมโดยขาดสวนรวมจากภาคเอกชน

18. มาตรการหรือการสนับสนุนจากองคกรในระดับเดียวกัน ขาดการประสาน ทําใหมีโอกาสซ้ําซอนและสับสนในขอบเขตภาระหนาที่รับผิดชอบ

19. การเสนอขอรับการสนับสนุนเพื่องานวิจัยสวนมากเปนแบบทางเดียว เปนการขับเคลื่อนจากความตองการของผูวิจัยเปนสวนมาก มีสวนนอยเทานั้นที่เกิดจากความตองการของผูใชงานหรือขับเคลื่อนโดยอุปสงค

20. การดําเนินการวิจัยสวนมากขาดประสิทธิภาพ ลาชา ตองผานขั้นตอนการบริหารจัดการหลายขั้นตอน

21. มีความคลาดเกลื่อนในการรวบรวมปริมาณเงินทุนที่ใช เพื่อการวิจัยทุกรูปแบบอยางถูกตอง

22. ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรูความสามารถในทุกระดับทุกขั้นตอนเนื่องจากไมมีแรงจูงใจที่ดีพอ ความกาวหนาในสายอาชีพไมชัดเจน และคาตอบแทนต่ํา

23. ขาดการพัฒนาตอยอดไปจนถึงขั้นเกิดนวัตกรรมและนําไปใชจริงในการปรับปรุงกระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ เพราะตองอาศัยการเชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรมที่เปนรูปธรรม และอาจตองผานประบวนการบมเพาะและฟกตัวของเทคโนโลยี

24. ขาดการมีสวนรวมทั้งในดานการดําเนินงานการลงทุนในการวิจัยจากภาคเอกชน 25. ขาดฐานขอมูลงานวิจัยในภาพรวมทั้งหมด และจําแนกหมวดหมู เพื่อการสืบคนได

อยางมีประสิทธิภาพ 26. ขาดการบริหารจัดการดานทรัพยสินทางปญญาที่จะชวยทั้งการไปลวงละเมิดผูอ่ืน

หรือปกปองทรัพยสินทางปญญาของตน 27. ระบบวิจัยของไทยขาดการบูรณาการในแงขององคประกอบการวิจัย ไดแก การ

สรางความรู การจัดการความรูและการใชความรูเพื่อสรางพลัง 28. ระบบวิจัยไทยขาดการบูรณาการระหวางองคกรที่มีบทบาทและพันธกิจในดาน

การกําหนดนโยบายการบริหารจัดการ การดําเนินการวิจัย และหนวยงานที่ใชประโยชนจากงานวิจัย

29. ระบบวิจัยไทยขาดการบูรณาการระหวางมิติของการสนับสนุนหารปฏิบัติการวิจัย และการเผยแพรผลงาน

30. ระบบวิจัยไทยขาดการบูรณาการในดานขอบเขตของการวิจัยที่ตองอิงทั้งหนวยปฏิบัติ หัวขอหรือประเด็นการวิจัย และผลผลิตการวิจัยที่สอดคลองกัน

Page 80: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

20

ขอมูลและการวิเคราะหดังไดแสดงในบทนี้ แสดงใหเห็นถึงสถานภาพของระบบการวิจัยของไทย และยุทธศาสตรดานการวิจัยของหนวยงานตางๆของไทย ซ่ึงมีลักษณะแยกสวน แตก็ยังอิงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนหลัก ขอนาสังเกต คือ การขาดการประสานและเชื่อมโยงที่ดีระหวางองคกรตางๆเหลานี้

Page 81: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

บทที่ 6 ขอมูลและการวิเคราะหปจจัยสนับสนุนและปญหาอุปสรรค

การพัฒนาดานการวิจัยของหนวยงานตาง ๆ

จากการศึกษาถึงสภาพแวดลอมทั้งภายในภายนอก และการดําเนินงานดานการพัฒนาการวิจัย กับการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทยและตางประเทศกับขอมูลที่ไดรับจากหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการวิจัยที่ใหแกคณะอนุกรรมการจัดการเทคโนโลยีในคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สภานิติบัญญัติแหงชาติ ไดทําการออกแบบสอบถามเบื้องตนและใหผูเชี่ยวชาญในดานการศึกษาและวิจัยของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทั้ง 4 สาขาคือ สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร กับผูบริหารระดับสูงของกระทรวง กรม และหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทั้งภาครัฐ เอกชน ในคณะอนุกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในคณะนักศึกษา วปอ. 2551 ไดรวมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ

ประเด็นที่เปนโอกาสและภัยคุกคามตอการพัฒนาดานการวิจัย ประเด็นที่เปนจุดออนและจุดแข็งของการพัฒนาดานการวิจัย ปจจัยที่จะเอื้อตอการสนับสนุนการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศ

ซ่ึงไดนําไปจัดทําแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ โดยใหผูตอบตอบตามสถานของหนวยงานวาเปนหนวยงานที่มีพันธกิจหลักดานการดําเนินการวิจัย หรือใชผลผลิตจากงานวิจัย โดยแบบสอบถามในขั้นตนมีหัวขอที่สอบถามหนวยงานที่มีพันธกิจหลักดานการจัดสรรทุนวิจัยดวย แตมิไดสงแบบสอบถามใหหนวยงานดังกลาว เนื่องจากขอมูลที่รวบรวมไดจากหนวยงานที่จัดสรรทุนวิจัยนั้น สามารถตอบคําถามที่ออกแบบไวได

ขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม

ผูวิจัยไดสงแบบสอบถามทางไปรษณียตอบรับจํานวนรวม 208 ฉบับ แบงเปนการสงใหแก ผูบริหารระดับสูงหนวยงานที่มีพันธกิจหลักดานการดําเนินการวิจัย ทั้งสถาบันการศึกษา ตารางที่ 1 ปจจัยทีจ่ะชวยสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาดานการวิจัย (หนวยงานดําเนินการวิจัยจากแบบสอบถาม 91 ชุด และ หนวยงานใชผลผลิตจากแบบสอบถาม 82 ชุด)

เปรียบเทียบน้ําหนักรวม น้ําหนักแตละกลุมพันธกิจ ปจจัยท่ีจะชวยสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาดานการวิจัย คะแนน รอยละ คะแนน รอยละ

Page 82: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

นโยบายชาติที่สอดคลองเปนอันหนึ่งอนัเดียว เปาหมายทีช่ัดเจน 140/145 96.55 งบประมาณสนับสนุนการวิจัยตามนโยบายที่เหมาะสม 145/145 100 งบประมาณเพื่อการวิจัยในภาพรวมตองมากขึ้นเทียบเคยีงกับประเทศพัฒนาแลว

145/145 100

มีองคกรระดับประเทศในการกําหนดนโยบาย/ยุทธศาสตรชาติ 130/145 89.65 นโยบายและเปาหมายตรงกับความตองการของภาคสวนที่จะนําไปใช (อุปสงค/อุปทาน) ตรงกัน

142/145 97.93

มีการแขงขันเพื่อทนุวิจัยที่เปนธรรม ตามศักยภาพโดยไมแบงแยกสังกัด 95/145 65.51 มีการวัดผลประเมินที่เที่ยงตรง 128/145 88.27 มีการสรางแรงจูงใจทุกรูปแบบ 132/145 91.03 แบงแยกหนาที่หนวยงาน/องคกร ชัดเจน ผูกําหนดนโยบาย ผูจัดสรรทุน ผูดําเนินการวิจัย

135/145 93.10

การกําหนดนโยบายหรือยุทธศาสตรควรระดมความคิดเห็นจากผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders) ทั้งหมด

142/145 97.93

นโยบายและยุทธศาสตรมีทั้งระยะสั้นระยะยาว และมีความมั่นคงไม เปลี่ยนแปลงบอย (ตามรัฐบาล)

140/145 96.55

ระบบบริหารจัดการงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพ 130/145 89.65 จัดทําระบบและกฎเกณฑที่ชัดเจนในการนําความรูจากงานวิจัยไป พัฒนาตอยอด/ใชประโยชน

97/145 66.89

พัฒนาคนตั้งแตระดับเด็กนักเรียน ปลกูฝงใหรักการอาน การคนควา 80/91 87.91 พัฒนาระบบการศึกษาที่เอื้อใหมีการคิดวิเคราะหมากกวาทองและจํา 85/91 93.40 มีการขยายการใหการศึกษาไปถึงระดับ ปริญญาโท – เอก มากขึ้น 84/91 92.30 มีการบูรณาการงานวิจัยรวมกันระหวางหนวยวิจัยกับหนวยงานที่ปฏิบัติการอยูในประเด็นเดียวกัน

67/91 73.62

การพัฒนาเครือขายวิจัยสหสถาบันใหเขมแข็ง เพื่อแบงปนบุคลากร/ทรัพยากร พัฒนาบุคลากร

70/91 76.92

มีการลงทุนในดานเครื่องมืออุปกรณ Infrastructure และสิ่งอํานวยความสะดวก 85/91 93.40 ผลผลิตงานวิจัยไดรับการยอมรับในระดับนานาชาติมากพอสมควร เชนการไดรับการนําเสนอ หากไดรับการสนับสนุนที่ดีจะสามารถเผยแพรในวงกวางขึ้น หรือขอขึ้นทะเบยีนทรัพยสินทางปญญาไดมากขึ้น

80/91 87.91

สนับสนุนการตอยอดงานวิจัยเพือ่เขาสูเชิงพาณิชยอยางจริงจังและเปนรูปธรรม 80/82 97.56 ใหความสําคัญและใหน้ําหนักในการพัฒนางานวิจัยประยกุตที่นําไปพัฒนาเชิงพาณิชย

70/82 85.36

การเผยแพรประชาสัมพันธผลจากการวิจัยในวงกวางและใหเกิดการรับรู ผูใชสามารถเขาถึงไดงาย

80/82 97.56

ประเทศไทยเปนแหลงผลิตของวงการอุตสาหกรรม งานวิจัย และพัฒนาจะสรางมูลคาเพิ่มได

62/82 75.60

ผลดีจากสภาพภูมิประเทศ/ที่ตั้งของไทยที่เปนศูนยกลางของภูมิภาค 75/82 91.46 ปจจัยของการมีทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย 80/82 97.56 การมีภูมิปญญาไทยและภูมิปญญาทองถิ่นที่รอการพิสูจน/ตอยอด 50/82 60.97 การสงเสริมงานดานทรัพยสินทางปญญาเพื่อชวยสนับสนุนงานวิจัยของคนไทย 48/82 58.53 ฝมือและความสามารถเฉพาะตัวของคนไทยที่เปนที่ยอมรับ 60/82 73.17 การมีตนทุนการวิจัยและพัฒนาที่ดําเนนิการในไทยต่ํา 65/82 79.26

ตารางที่ 2 ปญหาและอุปสรรคตอการพัฒนาดานการวิจยั

(หนวยงานดําเนินการวิจัยจากแบบ สอบถาม 91 ชุด และ หนวยงานใชผลผลิตจากแบบสอบถาม 82 ชุด)

เปรียบเทียบน้ําหนัก รวม น้ําหนักแตละกลุมพันธกิจ ปญหา/อุปสรรคตอการพัฒนาดานการวิจัย คะแนน รอยละ คะแนน รอยละ

ประเทศไทยยงัไมมีนโยบายและแผนในการวิจัยที่ชัดเจน 111/145 76.55

Page 83: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

เปรียบเทียบน้ําหนัก รวม น้ําหนักแตละกลุมพันธกิจ ปญหา/อุปสรรคตอการพัฒนาดานการวิจัย คะแนน รอยละ คะแนน รอยละ

งบประมาณที่จัดไวเพื่อการวิจัยไมพอเพียง 145/145 100

การจัดสรรทุนวิจัยจากงบประมาณแผนดิน ไมสอดคลองกับการพัฒนาของหนวยงาน

140/145 96.55

ระบบและวิธีกา อรพิจารณาในการจัดสรรทุนในปจจุบันไมเหมาะสม 78/91 85.71

การจัดสรรทุนวิจัยของหนวยงานที่ทําหนาที่นี้มีความซ้ําซอน 85/91 93.40

หนวยงานที่จัดสรรทุนแตละหนวยงานขาดความสัมพันธเชื่อมโยงและประสานกัน

88/91 96.70

ผูวิจัยมีภาระงานอืน่ เชน งานสอนเปนงานหลัก ทําใหผลผลิตงานวิจัยนอย 85/91 93.40

การจัดสรรทุนวิจัยจากงบประมาณแผนดินไมตอบสนองความคิดเห็นขององคกรที่ประเมินโครงการวิจัย แตจัดสรรโดยยึดหลักงบประมาณรวมของหนวยงานนั้น ๆ มากกวา

82/91 90.11

หนวยงานตอๆปนี้ทําหนาที่จัดสรรทุนยังไมมีนโยบายและหลักการในการจัดสรรทุนที่เดนชัดและเปดโอกาสใหแขงขันโดยเทาเทยีม

• วช. • สกว. • สวทช. • สวก. • สวรส. • สกว.

80/91 22/91 31/91 28/91 12/81 70/91

87.91 24.17 34.06 30.77 13.18 76.92

การบริหารจัดการดานการเงินสนับสนุนการวิจัยลาชา มีขั้นตอนและ กระบวนการมาก

75/91 82.41

หนวยงานจัดสรรทุนบางหนวยงานขาดความโปรงใสในการใหทุน เพราะมีบทบาทคาบเกี่ยว หรือไปเกี่ยวของโดยตรง เชน สวทช. สกอ.

78/91 85.71

การจัดสรรทุนไมกระจาย เนนใหกับกลุมหรือนักวิจัยหนึ่ง ๆ 54/91 59.34 มาตรการสนับสนุนหนวยงานเอกชนที่ใชจายลงทุนเพื่อการวิจัยของตนเองไมชัดเจน มีปญหาทางการปฏิบัติ

70/82 85.36

ภาคเอกชนไมมีทุนสะสมมากเพียงพอที่จะลงทุนเพื่อการวิจัยเองได 80/82 97.56 ผลผลิตงานวิจัยที่จะตอยอดมีนอย 70/82 85.36 ผลผลิตเชิงวิชาการคุณภาพสูง (ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ) มีนอย

78/91 85.71

ผลผลิตงานวิจัยมีมากพอสมควร บางสวนดี (แตยังตองการตอยอด) 82/91 90.11 หนวยงานที่ใชผลผลิตงานวิจัยและหนวยวิจัยเห็นวาผลผลิตงานวิจัยเปนสวนสําคัญในการแกปญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑหรือบริการเพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศได

85/91 93.40

มีบุคลากรที่มีความรู ความเชี่ยวชาญจาํนวนมากเพียงพอในสถาบันการศึกษา แตภาระงานดานอื่นมากเกินไป

80/91 87.91

ภาคเอกชนยังเห็นวา การลงทุนวิจัยดวยตนเองใชงบสูง อาจไมคุมคา เสี่ยงตอความลมเหลว

75/82 91.46

ระบบการทํางานวิจัยของนักวิชาการไทยไมเครงครัดเร่ืองเวลา 80/82 97.56 ตางชาติตั้งมาตรฐานคุณภาพสินคาและบริการสูงขึ้น ๆ และครอบคลุมชนิดสินคาและปริมาณมากขึ้น

68/82 82.92

ยังไมมีการจัดตั้งหนวยงานที่เปนผูจัดสรรทุนวิจัยหลากหลายและครอบคลุม 70/82 85.36

สถาบันวิจัย กรมตาง ๆ ของกระทรวงที่เกี่ยวของจํานวน 102 ฉบับ และการสงใหหนวยงานที่มีพันธกิจหลักดานการใชผลผลิตจากการวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชน จํานวน 106 ฉบับ ไดรับการตอบรับกลับมาจํานวน 145 ฉบับ คิดเปน 69.71% โดยเปนหนวยงานที่มีพันธกิจหลักดานการดําเนินการวิจัย 91 ฉบับ และหนวยงานที่ใชผลผลิตการวิจัย 82 ฉบับ (มี 28 หนวยงานที่ระบุภารกิจทั้ง 2 ดาน)

Page 84: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ขอมูลที่ไดรับจากแบบสอบถามทั้งคําถามแบบปลายปด และคําถามปลายเปด ไดถูกนํามาจัดแบงตามกลุมของขอมูลสําหรับการศึกษาวิจัยที่ตั้งไวเพื่อประเมินผลเกี่ยวกับ นโยบายหรือยุทธศาสตร และการดําเนินงาน กับผลที่ไดรับจากการพัฒนางานวิจัยของประเทศไทย และขอเสนอยุทธศาสตรเชิงรุกไดแก ปจจัยที่ชวยสงเสริมสนับสนุนการพัฒนา และปญหาหรืออุปสรรคที่ตองปรับปรุงแกไข ซ่ึงไดแสดงคาน้ําหนักเปนรอยละของผูใหความเห็นในประเด็นยอยตาง ๆ เมื่อเทียบกับผูใหความเห็นทั้งหมด ในกลุมหนวยงานที่มีพันธกิจหลัก เชนเดียวกัน (91 ความเห็นสําหรับหนวยงานที่ดําเนินการวิจัย และ 82 ความเห็นสําหรับหนวยงานที่ใชผลผลิตการวิจัย) รวมถึงการแสดงคาน้ําหนักเปนรอยละของผูใหความเห็นทั้งหมด 145 ความเห็นเฉพาะในบางประเด็นที่ ผูตอบแบบสอบถามไมวาเปนกลุมหนวยงานใดถูกถามดวยคําถามเดียวกัน ดังมีรายละเอียด ดังตารางที่ 12 และ 13

ขอมูลจากการสัมภาษณ

ขอมูลไดจากการสัมภาษณประกอบดวยขอมูลการสัมภาษณผูบริหารระดับสูงที่ไดรับเชิญมาใหขอมูล ขอเท็จจริง และแสดงความคิดเห็น ตลอดจนใหขอเสนอแนะ ในการศึกษาแนวทางการพัฒนาดานการวิจัย และการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมถึงดานการวิจัยของประเทศไทย ทั้งนี้ผูวิจัยไดใชขอมูลเดิมที่ไดรับในชวงป พ.ศ. 2549-2550 ซ่ึงผูวิจัยไดรวมสัมภาษณและเก็บขอมูลในประเด็นนี้ระหวางทําหนาที่เปนที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการการจัดการเทคโนโลยี ในคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร

และขอมูลจากการสัมภาษณกลุมที่เจาะจง (Purposive sampling) ไดแก ผูบริหารระดับสูงของหนวยงานที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศไทย ผูบริหารในสถาบันอุดมศึกษาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการวิจัย ผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ

การสัมภาษณเพื่อสอบถามความคิดเห็นจากผูทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณในการบริหารงานวิจัยของหนวยงานระดับสูง โดยมีคําถามปลายเปดสําหรับประเด็นหัวขอยอยที่เกี่ยวของกับขอมูลที่ไดรับจากแบบสอบถาม ซ่ึงไดรับขอมูลที่พอจะสรุปเปนประเด็นหัวขอยอยไดดังนี้

1. แนวทางในการพัฒนาดานการวิจัยของหนวยงานหรือจากประสบการณ ประกอบดวย การสรางนักวิจัยหนาใหม สงเสริมนักวิจัยเกา การสรางความกระจางเกี่ยวกับภาระงานดานการวิจัยของบุคลากรสายงานตาง ๆ การสรางความเขาใจใหบุคลากรเห็นความสําคัญของการวิจัย การวิจัยในสิ่งที่สามารถกอใหเกิดประโยชนอยางเปนรูปธรรม การกําหนดหัวขอหลักของการวิจัยที่เปนอัตลักษณ การวิจัยในสิ่งที่ภาคอุตสาหกรรมมีความตองการสูง การตอยอดงานวิจัยที่มีผูศึกษาวิจัยไวเปนพื้นที่ดีอยูแลว

Page 85: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

2. แนวทางในการพัฒนาดานการวิจัยในภาพรวม ตองรุกในเชิงการปรับความคิดของบุคลากรในทุกระดับที่เกี่ยวของกับการวิจัย ไดแก บุคลากรระดับนโยบายของทุกระดับองคกร ตองเห็นความสําคัญ สนับสนุนในทุกดานรวมถึงงบประมาณ กําหนดความสําคัญในระดับตน ๆ บุคลากรระดับบริหาร ตองกําหนดแผนใหสอดคลองและสงเสริมใหเกิดการวิจัยในสวนที่รับผิดชอบ บุคลากรในระดับปฏิบัติการตองเห็นวาการวิจัยเปนการแกปญหาอยางเปนระบบ หรือ หาหนทางพัฒนาโดยมีเปาหมายที่ชัดเจน ตองดําเนินการวิจัยแบบมืออาชีพ เปนงานที่มีความสําคัญในลําดับตน ไมใชเพียงงานอดิเรก

3. แนวทางการพัฒนาการวิจัยในเชิงรุกตองเริ่มจากการมีนโยบายและแผนระดับชาติที่ทุกฝายทุกองคกรใหการยอมรับ และตางใชแผนและนโยบายนี้เปนแกนในการดําเนินการวิจัย และมีการจัดสรรงบประมาณที่สอดคลอง เปนไปตามแผนที่กําหนดไว

4. แนวทางการพัฒนาการวิจัยในเชิงรุกตองชักนําใหภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม เขามามีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและแผน เพื่อสรางคุณคาและสรางศักยภาพในการแขงขันของภาคอุตสาหกรรมของประเทศ

นอกจากนั้นไดใหขอมูลซ่ึงไดนํามารวบรวมและวิเคราะห ตามหลัก SWOT analysis ซ่ึงสรุปไดดังนี้

ผลการวิเคราะหตามหลัก SWOT Analysis

โดยการวิเคราะหขอมูล การรวบรวมจากแบบสอบถามและการสัมภาษณ

จุดแข็ง

1. หนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยหลายหนวยมีพัฒนาการดีขึ้นตามลําดับ มีนโยบายและกลยุทธ รวมทั้งแผนงานที่ดี

2. จากพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทําใหมีคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีขึ้นมารับผิดชอบผลักดันเต็มที่

3. ประเทศไทยมีทรัพยากรทั้งทรัพยากรธรรมชาติและวัตถุดิบธรรมชาติที่สมบูรณและหลากหลาย

4. คนไทยและชาวตางประเทศในปจจุบันมีแนวโนมจะใชผลิตภัณฑที่ทําจากธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น

5. มีภูมิปญญาไทย ที่เกี่ยวของกับความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ที่มีศักยภาพในการพัฒนานวัตกรรม ตัวอยางเชน ภูมิปญญาแพทยแผนไทย ภูมิปญญาเกี่ยวกับการใชสมุนไพรเพื่อรักษาโรค

Page 86: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

6. รัฐบาลมีนโยบายและการดําเนินการดานการสนับสนุนสงเสริมดานการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และ คอมพิวเตอรซอฟทแวรมาเปนระยะเวลาหนึ่งแลว

7. ประเทศไทยเปนแหลงผลิตสินคาหลายชนิดปอนสูตลาดโลกในสัดสวนการตลาดที่สูง แมจะเปนบริษัทขามชาติ แตก็มั่นคงและมีการพัฒนาเทคโนโลยีตอเนื่อง ซ่ึงนาจะสามารถรับการถายทอดเทคโนโลยีได หรือบุคลากรของไทยสามารถเรียนรูเพื่อนําไปพัฒนาเทคโนโลยีของไทยเองได

8. องคกรและสถาบันวิจัยหลายแหง มีโครงสรางพื้นฐาน เครื่องมือ อุปกรณในการวิจัยและพัฒนาที่ทันสมัยและสามารถใชประโยชนเพื่อการนี้ได

9. หนวยงานตางก็เห็นความสําคัญของการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 10. ขณะนี้ เร่ิมมีนโยบายและงบประมาณสนับสนุนเด็กและเยาวชนในการศึกษาดาน

วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม 11. บุคลากรของไทยมีโอกาสสัมผัสประสบการณดานเทคโนโลยี เพราะมีฐานการ

ผลิตสินคาหลายประเภทในไทย 12. เด็กและเยาวชนไทยจํานวนไมนอยที่มีความสามารถเฉพาะตัวสูงที่จะเรียนดาน

วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม เห็นไดจากความสามารถในการแขงขันดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรระดับโลก

13. ตนทุนในการทําวิจัยในประเทศไทยต่ํา เมื่อเทียบกบัประเทศแถบตะวันตก 14. หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนยังมีความตองการผลงานวิจัยมาก 15. มีการเรงดําเนินการยกระดับสินคาและบริการใหมีมาตรฐานสากล 16. ตางชาติเชื่อมั่นในคุณภาพและบริการของไทย 17. สินคาและบริการของไทยหลายอยางมีเอกลักษณซ่ึงสามารถใชวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีในการพัฒนาตอยอดได 18. การศึกษาพื้นฐานของประชาชนในอนาคตอันใกลจะอยูในระดับสูงขึ้น จาก

นโยบายการสนับสนุนการศึกษาขั้นพื้นฐานใหกับเด็กและเยาวชน 19. วิกฤตทางเศรษฐกิจ ทั้งของประเทศและของโลก เปนตัวกระตุนจิตสํานึก และ

เปนโอกาสในการรณรงคในการนิยมไทย ใชสินคาที่ผลิตในประเทศ 20. นโยบายดาน FTA (Free Trade Area) ที่เร่ิมมีผล ทําใหไมมีการกีดกันทางการคา

เปนโอกาสสําหรับการขยายการผลิตสินคา และจําหนายเพื่อนํารายไดเขาประเทศ 21. คนไทยมีจิตสํานึก ตระหนักและใหความสําคัญในดานทรัพยสินทางปญญา

เพิ่มขึ้น 22. เร่ิมมีการพัฒนาในดานตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยสินทางปญญา

Page 87: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

จุดออน

1. องคกรที่เกี่ยวของกับการวิจัย หลายองคกร มีบทบาทคาบเกี่ยวในหลายมิติ หลายระดับ ทําใหไมสามารถดําเนินการไปสูเปาหมายไดเต็มที่ และอาจมีผลประโยชนทับซอน (conflict of interest)

2. การวิจัยในปจจุบันสวนมากทําโดยนักวิชาการหรืออาจารยที่ไมใชนักวิจัยเต็มเวลา มีภารกิจดานอื่น เชน การสอน ทําใหการวิจัยใชเวลานาน ไมมีทีมงาน และสวนมากนักวิชาการทําการวิจัยเพื่อผลเชิงวิชาการและการศึกษา และถูกเห็นวาเปนการทํางานเพื่อสอนตน แมในหมูนักวิชาการดวยกัน

3. ผูปฏิบัติงานมักแกไขปญหาเฉพาะหนา และจากประสบการณ โดยไมไดอาศัยการคิดวิเคราะหและแกปญหาอยางเปนระบบ

4. ขาดการผลักดันงานวิจัยและพัฒนาสูผลผลิตเชิงพาณิชย เพราะภาคเอกชนในสวนอุตสาหกรรมหรือการผลิตตองมีความเห็นวา การลงทุนวิจัยไมมีความคุมคา สูการซื้อเทคโนโลยีจากตางประเทศแบบสําเร็จรูปไมได

5. การวิจัยและพัฒนาตองลงทุนสูง ทั้งภาครัฐและเอกชนตางความคิด ภาครัฐก็เห็นวาเพื่อจะวิจัยใหเกิดประโยชนแกเอกชน เอกชนควรการลงทุนเอง เอกชนก็ไมมั่นใจ

6. การลงทุนวิจัยและพัฒนา เพื่อนวัตกรรมไมสามารถหวังผล 100% ภาคเอกชนจึงไมกลาเสี่ยง และใชวิธีซ้ือเทคโนโลยีที่พิสูจนแลวแทน

7. การทํางานวิจัยรวมกับภาครัฐ มักไดรับผลชาไมทันตอการเคลื่อนไหวอยางรวดเร็วในภาคธุรกิจ การลงทุน จึงมีโอกาสสูญเสียสูงขึ้นไปอีก (สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย 2546)

8. ขาดกลไกเชื่อมโยงระหวางนักวิจัยกับภาคเอกชนที่เปนรูปธรรม เชน การใชเวลาทํางานสําหรับภาครัฐที่เปนเจาหนาที่หรือขาราชการ กับงานวิจัยรวมกับภาคเอกชน คาตอบแทนทั้งกับบุคคลและสถาบัน เปนตน

9. องคกรวิจัยขาดการยอมรับซึ่งกันและกัน และการประสานงานเพื่อลดความซํ้าซอน เพื่อเสริมซึ่งกันและกัน (ตัวอยางที่เห็นไดชัดเจนกรณีไขหวัดนกนั้น หนวยงานทั้ง สกว. สวทช. (Biotec) กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงสาธารณสุข ตางมุงวิจัยโดยไมมีการกําหนดขอบเขตและการวางแผนวิจัยในภาพรวมรวมกัน) เปนผลใหส้ินเปลืองงบประมาณ และทําใหการแกปญหาเปนไปอยางเชื่องชาไมทันการณ

10. หนวยงานที่ไดรับการมอบหมายใหเปนผูกําหนดนโยบายและแนวทางการวิจัยของชาติ คือ วช. ไมไดรับการยอมรับจากหนวยงานอื่น มีบทบาทจํากัด ไมสามารถทําหนาที่ไดตามพันธกิจ

11. การประสานเชื่อมโยงในสวนพันธกิจการวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี ในยุทธศาสตรการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยียังไมดี (ดํารงค วัฒนา 2548)

Page 88: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

12. องคกร หรือสถาบันวิจัยหลายแหงที่มีโครงสรางพื้นฐานที่ดี มีเครื่องมืออุปกรณที่ทันสมัย สําหรับหรับการวิจัยและพัฒนา ขาดระบบในการแบงสรร สรางเครือขาย ผนึกกําลัง เพื่อใชประโยชนสูงสุด กอนที่จะลาสมัย (ดํารงค วัฒนา 2548)

13. การจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัย ยังไมมีลักษณะของการแขงขันอยางเต็มที่ เพื่อให บุคคล หรือองคกรที่มีศักยภาพสูงสุดไดรับทุน

14. การจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัยแมจะมีหลายหลายรูปแบบ แตก็ยังไมประสานสอดคลองกับแผนวิจัย หรือยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศของสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ – สศช. (สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 2551)

15. งบประมาณเพื่อการวิจัยจากงบประมาณแผนดินมีทั้งจัดสรรตรงไปยังหนวยงานวิจัย เชน มหาวิทยาลัย กระทรวง กรม ซ่ึงบางหนวยงานโดยเฉพาะหนวยปฏิบัติ เชน หนวยงานของกระทรวง กรม มีการตั้งงบประมาณคาใชจายที่ปรึกษา ซ่ึงบางสวนเปนงบประมาณที่จัดใหมีการศึกษาคนควาเพื่อหาคําตอบหรือแนวทางสําหรับการดําเนินการที่ตองอาศัยขอมูลและการวิ เคราะห โดยที่หนวยงานอาจดํา เนินการเองหรือใชวิ ธีว าจ างผู เชี่ ยวชาญ ทั้ งจากสถาบันการศึกษาหรือภาคเอกชน งบประมาณสวนนี้ในบางมหาวิทยาลัยถือวาเปนสวนหนึ่งของการวิจัยประยุกต บางมหาวิทยาลัยถือเปนการใหบริการวิชาการ งบประมาณในลักษณะดังกลาวมีปริมาณไมนอยในแตละปซ่ึงประมาณวามีจํานวนครึ่งหนึ่ง สวนอีก 30% จัดสรรใหหนวยงานที่ทําหนาที่เปนแหลงทุนที่จะไปจัดสรรตอรวมถึงงบที่จัดสรรผานสภาวิจัยแหงชาติอีกประมาณ 20% โดยที่ตางฝายตางดําเนินการ ทําใหการวิจัยอาจไมสามารถจัดกลุม จัดทิศทาง และไมเกิดผลกระทบที่สําคัญตอการพัฒนา รวมทั้งอาจไมสามารถแสดงงบประมาณที่ใชจายเพื่อการวิจัยไดอยางแทจริง

16. การจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยมีลักษณะแยกสวนและไมสอดคลอง ตัวอยางที่เห็นไดชัดจากการวิเคราะหขอมูลคือ งบประมาณเพื่อการวิจัยที่จัดสรรใหหนวยงานที่มีพันธกิจแบบหลากหลายดังเชนมหาวิทยาลัย หรือกระทรวงที่ตองอิงวิชาการ ที่นักวิชาการบุคลากรของหนวยงานไดนําเสนอโครงการวิจัยผาน วช. เพื่อการพิจารณาถึงความเหมาะสมในการไดรับทุน ลําดับความสําคัญ แตเมื่อไดรับการพิจารณาตอบรับวาสมควรไดรับทุน จํานวนทุนวิจัยและปริมาณเงินทุนวิจัยตามโครงการที่ผานการพิจารณามาแลว มิไดเปนแนวทางใหสํานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณในสวนเพื่อการวิจัยใหกับหนวยงานตนสังกัดที่สอดคลองตองกัน โดยท่ีสํานักงบประมาณยึดการจัดสรรตามหนวยงานในภาพรวมของสังกัด เชน มหาวิทยาลัยที่ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดรับงบประมาณโดยรวมทั้งมหาวิทยาลัยจํานวนเทาใด มากขึ้นจากปกอนในสัดสวนเทาใด โดยดูจากกระทรวงที่สังกัดนั้นๆ วาไดรับงบประมาณในภาพรวมเทาใด งบประมาณที่มหาวิทยาลัยไดรับมาโดยมากก็นอยกวาที่ไดจัดทําคําขอไป เกิดการจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยภายในมหาวิทยาลัยที่แปรตามสัดสวนงบประมาณที่ไดรับกับงบประมาณที่

Page 89: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ขอไป ดังนั้นแมวาโครงการวิจัยที่ผานการพิจารณาของ วช. และอยูในลําดับความสําคัญสูงก็อาจไมไดรับงบประมาณ หรือไดรับนอยกวาที่ไดขอไป จนไมสามารถดําเนินการวิจัยได การจัดสรรงบประมาณใหกับสถาบันอุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัยในภาพรวม สวนมากไดรับงบประมาณเพิ่มขึ้น 3 – 5 % จากปกอนๆ ดังนั้นถึงแมสถาบันอุดมศึกษาจะมุงเปาพัฒนาดานการวิจัย มีการจัดทําโครงการและของบประมาณเพื่อการวิจัยที่มากขึ้นแบบกาวกระโดดเปนหลายเทาของปกอน ๆ แตสุดทายก็ไมไดรับการจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยแบบกาวกระโดดตามงานที่ขอไปแตอยางใด

17. แตละหนวยงานยังมีความเขาใจแตกตางกันเกี่ยวกับนิยามและความหมายของงบประมาณเพื่อการวิจัย บางหนวยงานนับเฉพาะที่ใชทําเปนการวิจัย เปนรายโครงการ บางหนวยงานรวมงบที่ใชในการพัฒนาระบบวิจัย บริหารจัดการวิจัย บางหนวยรวมคาใชจายเครื่องมืออุปกรณที่เปนงบลงทุน บางหนวยงานก็ยังสับสนวาควรนับรวมเปนงบวิจัยหรือไม เชน งบประมาณในการกอสรางหองปฏิบัติการสัตวทดลอง ทําใหไมมียอดตัวเลขรวมของเงินสนับสนุนการวิจัยที่แทจริง

18. การจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยโดยแหลงสนับสนุนทุน หรือองคกรที่กํากับการวิจัยเฉพาะดานหลายแหลงเปนเพียงยอดตัวเลขแตไมมีการจัดสรรเงินงบประมาณจริง ตัวอยางเชน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ที่แจงใหหนวยวิจัย เชน มหาวิทยาลัยจัดทําโครงการวิจัยที่สอดคลองกับนโยบายและเปาหมายของ วว. ตามที่ไดรับมอบหมายพันธกิจ แตเมื่อโครงการไดผานพิจารณาวาสมควรไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยนั้นจาก วว.ไดเพียงแตแจงให สกอ. ในฐานะตนสังกัดและสํานักงบประมาณใหพิจารณาโครงการนี้เปนพิเศษแกมหาวิทยาลัย แตการจัดสรรเงินโดยสํานักงบประมาณยังคงมิไดจัดสรรเงินเพื่อการวิจัยดังกลาวเพิ่มมากขึ้นกวางบประมาณปกติของหนวยงานแตอยางใด และเพื่อหนวยงาน เชน มหาวิทยาลัยคงไดรับงบประมาณโดยอิงจากแนวทางการจัดสรรแบบเดิม ซ่ึงก็จํากัดอยูก็ทําใหโอกาสที่โครงการนั้นไดรับงบก็นอย เพราะมิไดมาตามชองทางการของบประมาณเพื่อการวิจัยโดยปกติ หรือโครงการวิจัยบูรณาการที่พิจารณาโดย วช. แมจะไดรับการกลั่นกรองและคัดเลือกใหไดรับทุนสนับสนุนจาก วช.แลว แตงบประมาณไมไดรับการจัดสรรเพิ่มเติมในสวนของวิจัยบูรณาการโดยสํานักงบประมาณ ดังนั้น ทั้ง วช.และ วว. ก็ไมสามารถผลักดันการวิจัยใหเปนไปตามทิศทางและเปาหมายรวมในสวนพันธกิจขององคกรไดเลย

19. งบประมาณวิจัยตอเนื่องมักจะมีปญหาในดานการประเมินเพื่อใหทุนสนับสนุนตอ สวนหนึ่งเปนเพราะขาดระบบประเมินที่ดีพอที่จะเห็นวาสมควรสนับสนุนตอ หรือควรยุติ อีกสวนเปนเพราะระบบบริหารจัดการการเงินที่ลาชา การวิจัยจึงไมเปนไปตามเปา ทําใหตองลงทุนในการวิจัยตอเนื่องไปจํานวนมาก แตสุดทายอาจไมไดผลตามเปาหมาย

Page 90: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

20. หนวยงานที่ทําการวิจัย และหนวยงานที่ตองการใชผลผลิตจากการวิจัยขาดการเชื่อมโยงทําใหผลผลิตการวิจัยไมตรงกับความตองการ หรือไมทราบวาจะเขาถึงขอมูลไดอยางไร หรือใชกลไกการติดตอประสานไดอยางไร (พลศักดิ์ ปยะทัต 2548)

21. หนวยงานที่รับผิดชอบสนับสนุนสงเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมยังไมสามารถเชื่อมโยงใหผูประกอบการใชผลผลิตในวิสาหกิจของตนเพื่อสรางความแตกตางและสรางความเขมแข็งใหธุรกิจอยางยั่งยืน มีการบมเพาะทางธุรกิจ แตขาดการบมเพาะทางเทคโนโลยี (สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย 2546)

22. การใชงานวิจัยและพัฒนา เครื่องมือวิจัยในการใหบริการขององคกรภาครัฐแกภาคเอกชนยังคิดราคาสูง ใชเวลานาน ไมเอื้อตอการสนับสนุนธุรกิจขนาดเล็กและขนาดยอม

23. การสรางผลผลิตและการใชผลผลิตการวิจัยในเชิงพาณิชยไมมีระบบและทําแบบแยกสวนภาครัฐ (สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา 2550) ภาคเอกชน การใชประโยชนจึงอยูในวงจํากัดของแตละภาคสวน ซ่ึงตามธรรมชาติตองพึ่งหากันและกัน

24. มาตรฐานและสินคาบริการยังไมไดมาตรฐานระดับนานาชาติ 25. ขาดผูสนใจลงทุนในดานนี้อยางจริงจัง 26. บุคลากรของไทยสวนหนึ่งยังไมสามารถพัฒนาเทคโนโลยีดวยตนเองตั้งแตตน 27. บริษัทตางชาติสวนใหญที่ เปนเจาของเทคโนโลยี ไมถายทอดเทคโนโลยี

โดยเฉพาะเทคโนโลยีระดับสูง นอกจากนี้ในบางดานเชน อาวุธยุทโธปกรณ มีการปกปดขอมูลมาก 28. ผลิตภัณฑของไทยมีจุดออนที่ไมมีตราสัญลักษณหรือแบรนดสินคาเปนของตนเอง 29. คุณภาพในการผลิตสินคาจากภูมิปญญาสวนใหญยังผลิตไมไดตามมาตรฐาน

สินคานั้น ๆ 30. ระเบียบและกฎหมายหลายอยางไมเอื้อตอการลงทุนเพื่อการวิจัย หรือการผลิต

สินคาบางประเภท เชน เกี่ยวกับการผลิตอาวุธเปนตน ไมเอื้ออํานวยในการพัฒนาเชิงการคาใหเกิดผลประโยชนเพื่อนํามาพัฒนาตอเนื่อง

31. เด็กและเยาวชนไทยไมใหความสําคัญในการเรียนวิทยาศาสตร 32. ขาดแคลนครูดานวิทยาศาสตร รวมถึงครูที่สอนอยูในปจจุบันยังขาดความรูและ

ประสบการณ ยังไมมีความเปนมืออาชีพ 33. คานิยมของสังคมที่เด็กและเยาวชนมีแนวโนมไปศึกษาระดับอุดมศึกษาในสาขา

สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 34. ผลตอบแทนบุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีต่ําเมื่อเทียบกับอาชีพอ่ืน

(สํานักคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 2550) 35. ผลผลิตดานบุคลากรสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไมตรงกับความตองการของ

ตลาดแรงงานและไมสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและการวิจัยของประเทศ

Page 91: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

36. ไมมีระบบในการพัฒนาอาชีพนักวิทยาศาสตร นักวิจัยเฉพาะดานในระดับสูงเชิงลึก ทําใหบุคลากรไมมีความกาวหนาที่ชัดเจนในสายอาชีพ (สํานักคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 2550)

37. ไมมีการใหความรูแกประชาชนในวงกวาง เกี่ยวกับความกาวหนาดานวทิยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม

38. สถาบันวิจยัสวนมากมีการพัฒนางานวิจัยเฉพาะในสวนของสถาบัน ไมตอบสนองตอเปาหมายระดับชาติ

39. ขาดการวิจัยที่รวมมือกันระหวางหนวยงานวิจัยและผูประกอบการ ในเชิงพานิชย ผลงานวิจัยและพัฒนาจึงไมตรงกับความตองการของผูประกอบการ

40. รัฐบาลขาดนโยบายและมาตรการที่ชัดเจนเพื่อจูงใจใหภาคเอกชนลงทุนการวิจัยในประเทศ (สํานักเลขาธิการวุฒิสภา 2550)

41. ขาดองคกรหลักของประเทศ ในการบูรณาการการกําหนดทิศทางงานวิจัยของประเทศ

42. สัดสวนของนักวิจัยตอประชากรต่ํากวาประเทศที่พัฒนา หรือแมแตประเทศเพื่อนบานที่อยูในระดับการพัฒนาเดียวกัน

43. การวิจัยสวนหนึ่งเปนการวิจัยสรางภาพและเพื่อประโยชนสวนตัวของนักวิจัย 44. ขาดแคลนองคความรูและบุคลากรที่มีความรูดานมาตรฐานสากลของสินคาและ

บริการ และระบบสนับสนุนภาคการผลิตของไทยใหพัฒนาจนมีมาตรฐานสากล 45. ตางประเทศเริ่มมีกําหนดมาตรฐานสินคาและบริการสูงขึ้น ทําใหมีลักษณะของ

การกีดกันทางการคาทางออม 46. ขาดผูช้ีนําและการประชาสัมพันธ รณรงคใชสินคาไทยและขาดการปลูกฝงเด็ก

และเยาวชนในการรักชาติและนิยมบริโภคสินคาไทยอยางเปนรูปธรรมและตอเนื่อง 47. ขาดการสงเสริมยกยองเชิดชูสินคาและบริการไทยในสังคม ทําใหการวิจัยและ

พัฒนาสินคาไทย ไมไดรับผลตอบแทนที่คุมคา 48. ผูนําในรัฐบาลและในสังคม ดารา ผูมีอิทธิพลในระดับประเทศ สังคมครอบครัว

รวมถึงสังคมระดับชาติยังไมเปนตนแบบที่ดีแกเยาวชนและคนในชาติในการบริโภคสินคาไทย 49. ขาดการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่ทันสมัย ขอมูลงานวิจัยและ

พัฒนาระหวางรัฐ สังคม เอกชน ประชาชน และระหวางประเทศ (สํานักเลขาธิการวุฒิสภา 2550) 50. ขาดการกระจายโครงสรางพื้นฐานที่จําเปนไปสูทองถ่ิน 51. ผูบริหารในการปกครองสวนทองถ่ินยังไมเห็นความสําคัญของการวิจัย เพื่อ

แกปญหาชุมชน สังคม ทําใหงบประมาณเพื่อการพัฒนาทองถ่ินยังใชประโยชนเพียงเพื่อพัฒนาสาธารณูปโภค การพัฒนาสังคม และภาคประชาสังคม พัฒนาไมเทาเทียมกับการพัฒนาดานวัตถุ

Page 92: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

52. ขาดการบริหารจัดการแบบบูรณาการในและระหวางสถาบัน หรืองคกรวิจัย 53. คนไทยสวนหนึ่งยังชอบลอกเลียนแบบ ทั้งจากของตางชาติ หรือลอกเลียนแบบ

ผลงานคนไทยดวยกันกันเองโดยไมคํานึงถึงกฎระเบียบ 54. มีการลอกเลียนแบบและละเมิดทรัพยสินทางปญญาอยางแพรหลาย เนื่องจากมี

ราคาถูกกวามาก 55. กฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญาของไทยคุมครองเฉพาะ

ภายในประเทศ 56. ขาดการสนับสนุนทั้งดานทุนและดานบุคลากรเพื่อการจดสิทธิบัตรและทรัพยสิน

ทางปญญาเพื่อการคุมครองในตางประเทศ (พลศักดิ์ ปยะทัต 2548) 57. หนวยงานที่รับผิดชอบดานการจดสิทธิบัตรและทรัพยสินทางปญญายังขาด

ประสิทธิภาพที่ดีพอและลาชา รวมทั้งมีขั้นตอนที่ยุงยากซับซอน 58. ขาดการเผยแพรขอมูลสารสนเทศที่จะใหประชาชนเขาถึงและรับทราบ

โอกาส

1. มีตัวอยางความสําเร็จประเทศที่อาศัยงานวิจัยและพัฒนาสรางความมั่นคั่งจากนวัตกรรม ผลิตภัณฑ และการบริหารมากมาย ซ่ึงเปนแรงกระตุน

2. สถาบันการศึกษาอาศัยกระบวนการวิจัยผนวกเขากับการศึกษาในระดับปริญญาโทและเอก ทําใหเกิดงานวิจัยมากขึ้น มีบุคลากรรวมงานวิจัยมากขึ้น

3. ตัวอยางความสําเร็จของคนไทยที่วิจัยและพัฒนาจนไดรับการยอมรับจากบริษัทภาคเอกชนทั้งในประเทศและบริษัทขามชาติ แสดงใหเห็นวามีความรูความสามารถ

4. มูลคาของเทคโนโลยีเร่ิมสูงขึ้น ๆ และมีเงื่อนไขที่ทําใหภาคการผลิตไมไดเรียนรูเพิ่มเติม หรือมีการรับรูแตไมสามารถลอกเลียนไดจากกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญาที่เพิ่มขึ้น

5. ตัวอยางของประเทศที่ประสบความสําเร็จ เปนตนแบบของการพัฒนางานวิจัยและพัฒนาสูเชิงพาณิชย โดยใชผลประโยชนเปนแรงผลักสภาอุตสาหกรรม

6. มีการแบงแยกแขนงเพื่อใหดําเนินการจําเพาะไปในแตละธุรกิจ และยังมีสถาบันวิจัยและพัฒนาเพื่ออุตสาหกรรม ทําหนาที่เชื่อมโยงในการพัฒนาเทคโนโลยี แตก็ยังขาดกลไกในระดับนี้ สวนมากจึงเปนการเชื่อมโยงระดับทวิภาคี โดยตรงกับหนวยวิจัย

7. มีความคิดในการแปลงผลผลิตการวิจัยหรือทรัพยสินทางปญญาเปนทุนแตก็ยังไมมีมาตรการตอยอด

8. โอกาสสําหรับการพัฒนาในเรื่องการจัดงบประมาณเพื่อการวิจัยนี้ยังมีอยูมากจากขอมูลคือ

Page 93: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ระบุใหใชการศึกษาวิจัยสรางองคความรูและกระบวนการเรียนรู ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรของประเทศดานตาง ๆ

10. โอกาสที่ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม เอกชน เร่ิมตระหนักถึงความสําคัญของการมีความรู องคความรูและเทคโนโลยีที่คิดคนวิจัยและพัฒนาขึ้นมาเอง เพื่อเปนการสรางความเขมแข็งใหกับองคกร และมีการจัดสรรเงินเพื่อสนับสนุนการวิจัยที่ตรงกับความตองการของตน

11. โอกาสที่ภาครัฐและสวนที่ เกี่ยวของไดทํากระบวนการสรางแรงจูงใจใหภาคเอกชนลงทุนเพื่อการวิจัย โดยมาตรการทางภาษีที่นําคาใชจายเพื่อการวิจัยมาหักลดได 200% การไดรับการสนับสนุนจากสถาบันสงเสริมการลงทุน (BOI) เปนระยะเวลานานขึ้น

12. โอกาสที่มีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชกับระบบการเงินและงบประมาณทําใหตรวจสอบเพื่อการเงินที่ถูกตองและเปนปจจุบัน

13. โครงการตัวอยางระดับชาติที่ เปนโครงการใหญ ของตางประเทศที่ประสบความสําเร็จ เชน โครงการพัฒนาอุทยาน Software ที่ Bangalore ของอินเดีย อุทยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี Tsukuba ของญี่ปุน พิพิธภัณฑแรงงานเฉพาะทางที่ญ่ีปุน ทําใหรัฐบาลใหความสนใจที่จะดําเนินการในลักษณะเดียวกัน

14. ภาคอุตสาหกรรมขามชาติที่มีทั้งเทคโนโลยีช้ันสูงและเงินทุนสูง นาจะเปนสวนสําคัญที่จะชวยยกระดับการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยได แตตองหาประเด็นที่อุตสาหกรรมเหลานี้ใหความสนใจที่จะเปดโอกาสนี้

15. รัฐบาลใหความสนใจในการพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นฐาน และผูประกอบการรับดับฐานรากใหมีความเขมแข็งและพึ่งพาตนเองได ซ่ึงปจจัยแหงความสําเร็จที่สําคัญอยางหนึ่งก็คือการวิจัยและพัฒนา

16. เมื่อมีการปรับและกระจายอํานาจการปกครองสูทองถ่ิน จะทําใหสามารถพัฒนาทองถ่ินตามความตองการของพื้นที่ไดดีขึ้น ยิ่งถามีการอาศัยการวิจัยที่สามารถใชประโยชนกับภาคประชาชนและสังคมได จะเกิดการพัฒนาอยางรวดเร็ว

ภาวะคุกคาม

1. ในขณะที่ประเทศไทยกําลังพัฒนาอยูนั้น ประเทศอื่นทั้งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตดวยกัน เชน สิงคโปร มาเลเซีย หรือประเทศในภูมิภาคอื่น เชน จีน ก็พัฒนาเชนเดียวกันดวยอัตราการพัฒนาที่สูงกวา และไดใชกลยุทธหลายประการในการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา และการพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางเต็มที่

2. ประเทศดอยพัฒนาหลายประเทศเริ่มมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง และกาวเขามามีสวนแบงทั้งในเชิงสินคาการเกษตรที่ปอนเขาสูตลาดโลก สวนแบงในดานการเปนฐานการผลิต

Page 94: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

สินคาของบริษัทขามชาติดวยปจจัยคาแรงงานและวัตถุดิบที่ราคาถูกกวา และยังไดรับผลประโยชนอ่ืน ๆ เพิ่มเติมจากประเทศนั้น ๆ เพื่อเปนแรงจูงใจในการยายฐานการผลิต

3. ปริมาณและประสิทธิภาพของนักวิจัยไทยโดยทั่วไปนอกจากจะเปนจุดออนแลว ยังพบวาในขณะนี้ มีการชักจูง นักวิชาการนักวิจัยไทยที่มีคุณภาพใหไปปฏิบัติงานยังตางประเทศ ถือเปนภาวะคุกคามในดานบุคลากรอีกดวย

4. ในชวง 1-2 ปที่ผานมา ประเทศไทยประสบปญหาความผันผวนและความไมแนนอนทางการเมือง ทําใหการพัฒนาตาง ๆ เปนไปอยางไมตอเนื่อง และไมเพียงพอ ยากตอความสําเร็จ

5. ในชวงระยะเศรษฐกิจตกต่ําของประเทศ และทั่วโลก ทําใหประเทศไทยก็ประสบปญหาดานการเงินการงบประมาณ เปนภาวะคุกคามตอการพัฒนาดานการวิจัย ซ่ึงตองใชงบลงทนุจํานวนไมนอย

6. ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ ภาคเอกชนรวมถึงบริษัทขามชาติตางก็ตองปรับตัวกับสภาพที่ถดถอย การชะลอการผลิต การชะลอตัวในดานการพัฒนา ก็เปนภาวะคุกคามตอการวิจัยและพัฒนาเชนกัน เพราะเปนคาใชจายในสวนที่อาจเห็นวาไมใชลําดับความสําคัญอันดับตน ๆ

7. จากประวัติศาสตรการเริ่มตนการวิจัยและพัฒนาของประเทศหลายประเทศ เชน ญ่ีปุน เกาหลี ไตหวัน เร่ิมจากการเลียนแบบ และพัฒนาเทคโนโลยีจากระดับต่ําไปสูระดับสูง แลวตามดวยการสรางนวัตกรรมขึ้นเอง แตในยุคปจจุบันซึ่งมีกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญาที่เครงครัดโดยเฉพาะการบังคับใชในระดับนานาชาติ เปนภาวะคุกคามสําหรับประเทศไทยที่ไมสามารถใชกลยุทธที่เร่ิมจากการลอกเลียนแลวคอยเรียนรูเชนเดิมได

8. การพัฒนาดานการศึกษาของประเทศเปนผลใหมีการขยายตัวของอุดมศึกษาอยางมาก และทําใหบุคลากรของประเทศมุงเปาไปสูการศึกษาระดับปริญญา และเชิงทฤษฎี ฝมือแรงงานระดับสูง หรือแรงงานที่มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีลดนอยลงอยางมาก เปนภาวะคุกคามในดานบุคลากร

9. เนื่องจากมาตรการที่ภาครัฐบางสวนพยายามสงเสริมใหเอกชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาการวิจัย โดยสรางแรงจูงใจหลาย ๆ รูปแบบ แตภาครัฐบางสวนก็ไมมีมาตรฐานที่สอดคลองกัน เชน กรมสรรพากร กรมศุลกากร ทําใหเอกชนเสียความเชื่อมั่นในนโยบายภาครัฐมากขึ้น ๆ จนอาจนําไปสูความไมไววางใจและการไมใหความรวมมือ (พลศักดิ์ ปยะทัต 2548)

10. วัฒนธรรมองคกรสวนมากของประเทศ ยังไมยอมรับการประเมิน การวิพากษวิจารณ การสรางการเปลี่ยนแปลง วาเปนคุณคาที่ควรยอมรับสําหรับประเทศ สังคม และบุคคลที่รักในงานทาทาย เผชิญการแขงขันสูง และประสบกับการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง ไมคอยยอมรับในความคิดใหม การปฏิรูปหรือการปรับเปลี่ยนโดยเฉพาะที่เกรงวาจะมีผลกระทบถึงตนเอง

Page 95: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

11. ทัศนคติของบุคลากรของไทยยังไมไดรับการสงเสริมและสรางขึ้นอยางเต็มที่ในเร่ืองของความรับผิดชอบตอหนาที่ ตอความถูกตอง และการทํางานเปนทีมที่มีทั้งการแบงหนาที่ความรับผิดชอบ และ แบงรับความดีความชอบหรือผลประโยชนที่พึงไดรับ ซ่ึงเปนลักษณะเดนของไทยคือ เกงเฉพาะคนมากกวาเกงแบบทีม

ขอมูลจากการเสวนาผูทรงคุณวุฒิ

ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดรับทั้งจากการศึกษาเอกสาร ขอมูลจากแบบสอบถาม และขอมูลจากการสัมมนา และผลการวิเคราะหเบื้องตน รวมทั้งรางขอเสนอยุทธศาสตรที่สังเคราะหขึ้นจากขอมูลที่วิเคราะหดังกลาว นําเสนอตอกลุมผูทรงคุณวุฒิที่ไดเชิญมารวมใหความคิดเห็นในลักษณะของ Focus Group เพื่อวิพากษและใหขอคิดเห็นตอการวิจัยนี้ ผูทรงคุณวุฒิประกอบดวย ราชบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อดีตผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัย และผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยปจจุบัน อดีตผูบริหารสภาวิจัยแหงชาติ ( วช. ) อดีตผูบริหารระดับสูงของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว. ) ผูบริหารระดับสูงของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ( สวทช. ) อดีตผูบริหารระดับสูงของสํานักงานพัฒนาการวิจัยเกษตร ( สวก. ) ผูบริหารระดับสูงของวสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย ( วว. ) ผูบริหารระดับสูงของกระทรวงวิทยาศาสตร และกระทรวงอุตสาหกรรม ผูบริหารระดับสูงของสภากาชาดไทย ผูบริหารระดับสูงของสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และภาคเอกชนที่มีประสบการณดานการวิจัยและพัฒนาเพื่อประโยชนเชิงพาณิชย รวมถึงผูบริหารระดับสูงดานวิชาการของวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร

ผูทรงคุณวุฒิไดใหความคิดเห็นสนับสนุนขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห และรางขอเสนอยุทธศาสตร และไดใหขอคิดเห็นเพิ่มเติม ซ่ึงสรุปไดดังนี้

1. การจัดรูปแบบองคกรในการทําหนาที่กําหนดนโยบายวิจัยแหงชาติ เปนปจจัยสําคัญแหงความสําเร็จประการหนึ่ง ซ่ึงในอดีตมีรูปแบบของวิวัฒนาการที่พยายามปรับเปลี่ยนใหมีบทบาทมากขึ้นในเชิงนโยบาย ไดแก การวางโครงสรางให วช. ขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีเพื่อใหดําเนินงานไดบรรลุวัตถุประสงค แตเมื่อไมสามารถดําเนินงานได ควรจะไดทบทวนหาขอผิดพลาดเพื่อแกไข

2. สภาพความเปนจริงในปจจุบัน อยูในลักษณะของตางคนตางทํา และไมไดอิงยุทธศาสตรการวิจัยของประเทศ ดังนั้นหากตองการใหมีการนํายุทธศาสตรไปใชใหเกิดผลจําตองมีมุมมองดานการเมือง ที่จะผลักดันใหผูบริหารสูงสุดของประเทศใหการสนับสนุนและมีคํามั่นสัญญาในการสนับสนุนอยางตอเนื่อง โดยไมติดขัด หรือสะดุดชะงักจากสภาพความไมแนนอนทาง

Page 96: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

การเมือง หรือการเปลี่ยนขั้วอํานาจ หากเห็นวากลไกทางการเมืองไมมั่นคง อาจพิจารณาใชกลไกทางรัฐสภา

3. โครงสรางองคกรที่ผลการวิจัยแสดงใหเห็นบทบาทที่คาบเกี่ยวระหวางนโยบายและการบริหารจัดการนาจะมีการปรับใหเห็นบทบาทที่เดนชัดไปทางใดทางหนึ่ง

4. ระบบวิจัยของประเทศไทยไมครบวงจร และไมตอเนื่องจากภาควิชาการ สูภาคการผลิต การแกไขอาจตองใชกลไกหลายอยาง ทั้งกลไกภายในคือการสราง Research Cluster ที่มีการทํางานวิจัยรวมกันระหวางนักวิชาการกับผูผลิต กลไกภายนอกนาจะมีการแกไขกฎหมายที่เอื้อตอการนํางานวิจัยไปใชประโยชนเชิงพาณิชย เชน กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา

5. ในภาวะที่ทรัพยากรจํากัด วิธีการที่จะพัฒนางานวิจัยใหโดดเดน อาจจําเปนตองเลือก “ปกธง” เฉพาะในบางประเด็น ซ่ึงกําหนดไวเปนดัชนีช้ีวัด ความสําเร็จในการวิจัย เฉพาะในปจจัยใดปจจัยหนึ่งกอน และจัดทั้งงบประมาณ บุคลากร ระดมเขาในสวนนั้น ก็จะชวยขับเคลื่อนการทํางานใหเกิดผลที่ดีได ทั้งนี้ในแตละหนวยงานอาจพิจารณานําเสนอสวนที่เปน “Proactive” ที่โดดเดนของงาน

6. การพัฒนางานวิจัย ตองใชบุคลากรที่มีความรูความสามารถ ซ่ึงสวนหนึ่งอยูในมหาวิทยาลัย แตก็มีภาระหลายหนาที่ สวนหนึ่งเปนบุคลากรประเภทนักวิจัยอาชีพขณะนี้สวนใหญสังกัดอยูกับ สวทช. ที่มีมากกวา 400 คน หากมีกลไกที่จะสรางแรงจูงใจใหเรงสรางงาน จะเกิดความสําเร็จที่ดี นอกจากนั้นควรมีกระบวนการในการสนับสนุนนักวิจัยใหม

7. ผลผลิตของงานวิจัย มีหลายรูปแบบ จําเปนตองไดรับการยอมรับและวางแผนผลผลิตวาตองการรูปแบบใด ในปริมาณเทาใด เพราะผลผลิตในดานวิชาการคือจํานวนผลงานที่เผยแพรในวารสารวิชาการก็เปนดัชนีช้ีวัดความสําเร็จของหนวยงานวิชาการ ที่สําคัญตองพัฒนาใหมีคุณภาพที่ดีขึ้น อางอิงได รวมถึงมีปริมาณมากเมื่อเทียบกับการลงทุน ผลผลิตของงานวิจัยในเชิงพาณิชย ตองมีการกําหนดเปาหมายของการพัฒนารวมกันระหวางภาคอุตสาหกรรม ภาคการผลิต กับนักวิจัย ซ่ึงเชื่อวาถามีเปาหมายที่ชัดเจน คุณภาพบุคลากรของไทยที่มีอยูในระดับสูงนาจะดําเนินการใหบรรลุเปาหมายได

8. ผลผลิตของงานวิจัย จะมีคุณภาพที่ดี ยังขึ้นอยูกับงบประมาณเงินทุนเพื่อการวิจิย ซ่ึงการจัดสรรทุนวิจัยเปนรายปไมสามารถคาดหวังผลสูงได ผลผลิตการวิจัยในการพัฒนาผลิตภัณฑเชิงพาณิชยตองเล็งเปาหมายในการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชตอยอดงานวิจัยหรือตอยอดภูมิปญญา ที่มีเอกลักษณและคุณสมบัติจําเพาะที่ผลิตภัณฑนั้น มีความพิเศษโดดเดนดวย จึงจะสรางมูลคาเพิ่มที่แทจริงได ระบบและวิธีการงบประมาณของไทยที่ใชเวลานานก็ เปนอุปสรรคหนึ่งสําหรับการวิจัยและพัฒนา เพื่อการแขงขัน

9. การพัฒนากระบวนการวิจัยของไทยในปจจุบัน แสดงใหเห็นผลเพียงทําใหมีโอกาสไดรับทุนวิจัยสูงขึ้น บุคลากรมีการพัฒนาในเสนทางอาชีพที่ดีข้ึน แตยังไมสามารถพัฒนาให

Page 97: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

เห็นผลงานโดดเดนที่จะสรางผลกระทบที่ดีในการพัฒนาอุตสาหกรรมได ปจจัยแหงความสําเร็จมีหลายประการไดแก การมีผูนํา การมีกลุมวิจัยที่แข็งแรง การมีการบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพในทุกระดับ การกําหนดเปาหมายใดเปาหมายหนึ่งเปนการเฉพาะสําหรับการวิจัยและพัฒนา เพื่อใหสามารถทุมทรัพยากรไปใหพอเพียง นอกจากนั้นตองพัฒนาในดานกําหนดระยะเวลาการทํางานใหสําเร็จ และมีการประเมินผลอยางจริงจัง

10. ยุทธศาสตรการวิจัยของชาติ นาจะไดมีการจัดทํา “เปาหมาย” หรือ จินตนาการวาในอนาคตระยะตาง ๆ หวังจะเห็นผลอยางไรดวย รวมถึงอาจทําสถานการณจําลอง (Scenario) สําหรับจําลองอนาคตวาโลกหรือประเทศจะอยูในลักษณะใด ตองการความรู ตองการผลผลิตจากการวิจัยไปชวยแกไขปญหาหรือพัฒนาไดอยางไร

11. การบูรณาการดานการวิจัยในแตละระดับมีความจําเปน แตอาจมีรูปแบบที่แตกตางกันในการดําเนินงาน “ระยะสั้น” บูรณาการคือการทํางานรวมกัน โดยมีเปาหมายที่ชัดเจนสามารถปฏิบัติได แตในการดําเนินการ “ระยะยาว” บูรณาการนาจะเปนลักษณะของการสรางเครือขายสัมพันธระหวางกลุมวิจัยที่ตาง “ลงลึก” ในแตละศาสตร เพื่อใหมีความคลองตัว ยืดหยุน ใหเกิดงานวิจัยบางอยางที่เปนแนวสรางสรรคดวย โดยที่ไมจําเปนตองกําหนดเปาหมายไปทุกจุดทุกขั้นตอน อันเปนสภาพที่แทจริงของการวิจัย

12. “การบูรณาการ” ควรจะพัฒนาใหอยูในโครงสราง อยูในระบบ ระเบียบดวย เพราะหากอาศัยเพียงเปาหมายระยะสั้น หรืออาศัยความสัมพันธระหวางบุคคล จะไมเกิดบูรณาการที่ยั่งยืนได

13. ระบบการใหทุนวิจัย แมตามหลักทฤษฎีจะมุงเนนใหกลุมที่เขมแข็งมีโอกาสทํางานสําเร็จสูง เปนผูไดทุน จะทําใหสามารถพัฒนาไดดี แตในสภาพความเปนจริงของประเทศไทยในปจจุบัน มีกลุมวิจัยที่มีนอย สงผลใหงานลนมือ จนคุณภาพลด ดังนั้นควรมีระบบใหทุนวิจัยที่สนับสนุนกลุมนักวิจัยรุนใหมควบคูไปดวย เพื่อการสรางศักยภาพในการพัฒนาตอไปในอนาคต

14. การพัฒนาการวิจัยในปจจุบัน ประเทศไทยยังดําเนินการอยูในภาครัฐเพียงสวนเดียว ขาดการเชื่อมโยงสัมพันธกับภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม รวมถึงการสนับสนุนภาคเอกชนในทุก ๆ ดาน ทั้งดานการมีสวนรวมในงานวิจัย ทุนวิจัย มาตรการทางคา มาตรการในการกระตุนการลงทุนผลิตสินคาจากนวัตกรรมของไทย และมองภาพการพัฒนาใหมีนโยบายและการบริหารจัดการที่ครบวงจรไปจนถึงประโยชนที่จะเกิดแกประชาชน แกสังคม แกประเทศ

15. ในดานธุรกิจและอุตสาหกรรม ขอมูลผลงานวิจัย ขอมูลความเชี่ยวชาญของนักวิจัยกลุมวิจัย จะเปนสิ่งสําคัญที่ชวยใหเกิดการรวมมือไดงายขึ้น นอกจากนี้หากมีศูนยเชื่อมโยงหรือศูนยที่ทําหนาที่จับคูกลุมวิชาการกับภาคการผลิต จะชวยใหเกิดการวิจัยแบบบูรณาการ และไดผลงานตรงตามความตองการของภาคการผลิตมากขึ้น นอกจากนั้นตองปรับกระบวนทัศนของการวิจัยดวย

Page 98: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

วาเปนเพียงสวนหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจ เพราะสวนที่สําคัญหรือปจจัยแหงความสําเร็จยังขึ้นอยูกับการตลาด (Marketing) และการขายที่แขงขันได (Sale)

16. งานวิจัยทางดานสังคมศาสตรที่แมจะไมสงผลเชิงพาณิชย แตก็มีความสําคัญที่ตองไมละเลย และตองการบูรณาการในเชิงพื้นที่กับการพัฒนาบุคลากรในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการรวมวิจัย ทั้งนี้จะสงผลใหเกิดงานวิจัยที่สามารถแกปญหาหรือพัฒนาชุมชนทองที่ไดอยางแทจริง

17. ความรวมมือกับตางชาติ ทั้งในดานการวิจัย หรือการวางแผนพัฒนาใหเปนไปตามความตองการของตลาดโลก เปนกลไกที่มีประโยชน

18. ตองคํานึงถึงผลประโยชนรวมกัน และผลประโยชนเฉพาะสวนของนักวิจัย ภาคธุรกิจ ประชาชน และประเทศไทย เพื่อใหเกิดสมดุลยเพื่อสรางแรงจูงใจและชวยสนับสนุนการเจริญเติบโตของกันและกัน แนวคิดนี้ไดชวยใหเกิดธุรกิจใหม ๆ ในหลายประเทศที่เจริญแลว ที่พัฒนาจากนักวิจัยหรือภาคเอกชน

Page 99: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

บทที่ 7

ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพฒันาดานการวิจัย

ปจจัยและขอมูลสนับสนุนการจัดทํายุทธศาสตร

จากแผนภาพแสดงขั้นตอนการวิจัยในโครงการนี้ (แผนภาพที่ 1) โดยวิเคราะหปจจัยและขอมูลสนับสนุนการจัดทํายุทธศาสตร ผูวิจัยไดทําการศึกษาขอมูลแลtวิเคราะหประเด็นตาง ๆ ที่นําไปสูการกําหนดยุทธศาสตร ตามรูปแบบของการจัดทํายุทธศาสตรดังนี้

1. ขอมูลและการวิเคราะหสภาพแวดลอมทั้งภายนอกและภายใน ทั้งในปจจุบันและการคาดการณในอนาคตซึ่งสงผลใหเกิดความจําเปนในการเปลี่ยนแปลงสถานะและแนวทางการพัฒนาดานการวิจัยที่จะนําประเทศไปสูประเทศเศรษฐกิจฐานความรู กับขอมูลวิเคราะหสถานภาพในอดีตและปจจุบันถึงความสามารถในการแขงขันของประเทศจะเปนสวนหนึ่งในการชี้ใหเห็นโอกาสแหงการสําเร็จหรือลมเหลว ดังแสดงในบทที่ 2 และ 3

2. ขอมูลกรณีตัวอยางของประเทศตาง ๆ ที่ประสบความสําเร็จในการใชการวิจัยเปนเครื่องมือในการพัฒนาประเทศไปสูความมั่งคั่งและเติบโตดวยเศรษฐกิจฐานความรู จะเปนสวนประกอบเพื่อแสดงใหเห็นยุทธศาสตร หรือแผนกลยุทธที่อาจนํามาใช หรือนํามาปรับใชเปนยุทธศาสตรของประเทศไทยในการพัฒนาดานการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งใหประเทศ ดังแสดงในบทที่ 4

3. ขอมูลการวิเคราะหเปาหมายการพัฒนา วตัถุประสงค และยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศที่เกีย่วของกับการวจิัย ของหนวยงานระดับนโยบาย ระดับกระทรวงและหนวยงานที่มีสวนเกีย่วของ และการวิเคราะหผลของการดําเนินงาน และวิเคราะหความสอดคลองกับยุทธศาสตร โดยอาศัยขอมลูของหนวยงานที่ปรากฎในแผนยุทธศาสตร ที่ไดจากการสัมภาษณ สอบถามผูบริหารโดยตรง และแบบสอบถาม กับแบบสัมภาษณ เพือ่แสดงถึงสภาพความเปนจริงในการพัฒนาการวิจัยของหนวยงานทั้งหนวยงานที่มีพันธกิจหลักในการดําเนนิการวจิัย หนวยงานใหทนุ หนวยงานทีใ่ชผลผลิตการวิจัย ดังแสดงในบทที่ 5 และบทที่ 6

Page 100: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

การกําหนดยุทธศาสตรรูปแบบตาง ๆ โดยอิงการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภาวะคุกคาม

ผูวิจัยไดนําเอาขอมูลที่ทําการวิเคราะห และแสดงในบทที่ 2, 3, 5, และ 6 ที่ไดจากการศึกษาขอมูลประเภทตาง ๆ ที่กลาวมาแลว ทั้งโดยวิธีการวิจัยเอกสาร การออกแบบสอบถาม การสัมภาษณเจาะลึก นํามาประมวลและประเมินโดยหลัก SWOT analysis เพื่อประกอบการจัดทํายุทธศาสตร วามีโอกาส (Opportunity ) ภาวะคุกคาม (Threat) จุดแข็ง (Strength) และจุดออน หรือ ขอดอย (Weakness) แลวพล็อตลงในแผนภาพการกําหนดยุทธศาสตรที่อิงการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภาวะคุกคาม (แผนภาพที่ 9) ซ่ึงนําไปสูการกําหนดจุดหรือตําแหนงสภาพที่เปนอยูในปจจุบันของการพัฒนาดานการวิจัยของประเทศไทย เพื่อจะไดเลือกรูปแบบการกําหนดยุทธศาสตรโดยเฉพาะยุทธศาสตรเชิงรุก

จากแนวคิดในการนําเอา SWOT มาวิเคราะหตามแผนภาพขางตนและใชการประเมินน้ําหนักของปจจัยทั้งโอกาส ภาวะคุกคาม จุดแข็ง จุดออน มากําหนดตําแหนงของสภาพที่เปนอยูในปจจุบันวาอยูในตําแหนงหรือโซนใด ซ่ึงอาจอยูในสถานการณใดสถานการณหนี่งใน 4 รูปแบบคือ

แผนภาพที่ 1 แสดงยุทธศาสตรรูปแบบตาง ๆ จากปจจยัตามการวิเคราะห SWOT

Page 101: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

1. สถานการณที่อยูในชวงระหวางโอกาสและจุดแข็ง (Opportunity – Strength zone) แสดงวามีความเขมแข็งขององคกรพรอมกับโอกาสเอื้ออํานวย ยุทธศาสตรเชิงรุกเปนยุทธศาสตรท่ีเหมาะสม ทั้งการดําเนินการเชิงรุกดวยศักยภาพของหนวยงานกรณีที่มีจุดแข็งสูงมากกับการเรงขยายงานตอเนื่องโดยไมรอใหเสียโอกาสนั้นไป

2. สถานการณที่อยูระหวางชวงของโอกาสกับจุดออน (Opportunity–Weakness zone) ซ่ึงหมายความวา มีทั้งจุดออนแตก็มีโอกาส แลวแตวาปจจัยใดจะมากกวากัน ยุทธศาสตรสําหรับสถานการณที่มีโอกาสสูงแตมีจุดออนดอยไมมากนัก ก็ควรแสวงหาพันธมิตรเพื่อลดขอดอยหรือจุดออน แลวเรงดําเนินการเชิงรุก แตถาองคกรมีจุดออนมากแตก็มีโอกาสพัฒนาสูง ก็ควรใชการเรงปรับปรุงภายในองคกร ทั้งสองแบบยังอาจถือวาสามารถกําหนดเปนยุทธศาสตรเชิงรุกได

3. สถานการณอยูในชวงระหวางภาวะคุกคามและจุดแข็ง (Threat – Strength zone) หมายถึงการพัฒนามีภาวะคุกคามมากแตการมีจุดแข็งอยูจึงควรเลือกวิธีการปองกันตัวแลวคอยหาโอกาสรุกในภายหลังหรือหลบเล่ียงทั้งหมดเพื่อถนอมทรัพยากร

4. สถานการณในชวงระหวางภาวะคุกคามและจุดออน (Threat – Weakness zone) ยอมแสดงใหเห็นวาสถานการณอยูในภาวะอันตรายเพราะมีทั้งภาวะคุกคามในขณะที่องคกรก็ไมเข็มแข็ง ควรเลือกยุทธศาสตรวิธีถอย หรือ ปรับสถานการณเพียงเพื่อเอาตัวรอด

ผูวิจัยประเมินวาสถานการณในลักษณะรูปแบบที่ 1 และปจจัยที่เกื้อหนุนที่ดี 2 สวนคือโอกาสและจุดแข็งจะสามารถนํามาสังเคราะหเพื่อจัดทํายุทธศาสตรเชิงรุกไดเปนอยางดี แตขณะเดียวกันปจจัยสําหรับโอกาสและจุดออนปญหาที่ประสบในสถานการณรูปแบบที่ 2 นั้น หากไดลดจุดออนใหเกิดความพรอมที่จะบริหารจัดการเชิงรุกก็สามารถนํามาสังเคราะหเชิงยุทธศาสตรเชิงรุกไดเชนเดียวกัน ในการวิจัยนี้ จึงจะไดสังเคราะหยุทธศาสตรเชิงรุกจากขอมูลทั้ง 2 สวนดังกลาว

ยุทธศาสตรเชิงรุกยังหมายรวมไปถึงการกําหนดนโยบายและการวางแผนใหมีการดําเนินงานที่แตกตางออกไปจากงานประจําที่จะนําไปสูจุดหมายหรือเปาหมายที่ตองการ ในกรณีนี้ก็คือการสรางความเขมแข็งของประเทศ และนําประเทศไปสูความมั่งคั่ง มั่นคง บนเศรษฐกิจฐานความรู และสังคมอุดมปญญา

ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัย เพื่อสรางความเขมแข็งของประเทศที่สังเคราะหโดยวิธีที่ไดกลาวมาแลว จะไดกําหนดเปนยุทธศาสตรใหครอบคลุมกวางขวางทั้ง 3 องคประกอบหลัก โดยแตละองคประกอบมี 3 ระดับ 3 มิติ 3 ขอบเขต เพื่อใหเกิดภาพองครวมของการพัฒนา โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ คือ

Page 102: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

องคประกอบของการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็ง ไดแก 1. การสรางความรูใหม องคความรูใหม (Knowledge Creation) สรางความรู สราง

คน ครอบคลุมทุกสาขา ตอบสนองความตองการของประเทศ ทั้งภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคสังคม และภาคประชาชน

2. การจัดการความรูที่ไดรับ (Knowledge Management) เพื่อใหสามารถนําเอาความรูนั้นไปประยุกตใชประโยชนเชิงวิชาการ เพื่อประโยชนชุมชน สังคม เพื่อประโยชนเศรษฐกิจ และ เพื่อพัฒนากระบวนงานในทุกภาคสวน

3. การใชความรูเปนฐานสรางพลังในตนเอง (Empowerment) เพื่อลดการพึ่งพา มีภูมิคุมกันเสริมความแข็งแรงในตนเอง และการสรางความสามารถในการแขงขัน

ระดับการพัฒนาดานการวิจัย แบงไดเปน 3 ระดับ คือ 1. ระดับนโยบาย อํานวยการ กํากับ (Policy/Control) 2. ระดับบริหารจัดการ ประสาน สนับสนุนและตรวจสอบ ประเมิน (Administration) 3. ระดับปฏิบัติการ (Operation) มิติของการพัฒนาดานการวิจัย ไดแก 1. การสนับสนุนสงเสริมจัดสรรทรัพยากร (Supporting , Funding ) 2. การดําเนินการศึกษาคนควาวิจัย (Researching) 3. การเผยแพร และกระจายความรูในทุก ๆ ดานที่เกี่ยวกับวิจัยเพื่อการใชประโยชน

(Distribution /Dissemination) ขอบเขตของการพัฒนาดานการวิจัย ประกอบดวย 1. ขอบเขตที่ยึดหนวยงานรับผิดชอบเปนหลัก (Unit/Organization-based) 2. ขอบเขตที่ยึดประเด็นการวิจัยเปนหลัก (Theme-based) 3. ขอบเขตที่ยึดเปาหมายผลผลิตการวิจัยเปนหลัก (Products/Goods-based)

ยุทธศาสตรแตละองคประกอบที่มี 3 มิติ 3 ระดับ และ 3 ขอบเขต ที่เปนองครวมของ

81 กลองยุทธศาสตร รวมกันเปนเสมือนหนึ่งหอคอยยทุธศาสตร (Strategic tower) ซ่ึงแสดงไดดงัแผนภาพแมทริกซของยุทธศาสตรดังแผนภาพที่ 10 ทั้งนี้ตองมีบูรณาการและการมีสวนรวมของภาคีทุกภาคสวนในแตละกลองยุทธศาสตร

Page 103: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

แผนภาพที่ 2 แผนภาพแสดงแมทริกซของหอคอยยุทธศาสตร (Strategic tower)

ประกอบดวย 3 องคประกอบหลัก แตละองคประกอบมี 3 มิติ 3 ระดับ และ 3 ขอบเขต

COMPONENT DIMENSION LEVEL SCOPE C: Creation of knowledge S : Support P : Policy U: Unit/Organization M: Management of knowledge R : Research A : Administration T: Theme E: Empowerment D : Distribution/

Dissemination O : Operation G : Products / Goods

องคประกอบที่ 1 การสรางความรู C: Knowledge Creation

องคประกอบที่ 2 การจัดการความรู M:Knowledge Management

องคประกอบที่ 3 การสรางพลัง E:Empowerment

Page 104: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ขอเสนอยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานวิจัย

ยุทธศาสตร 1 การปรับกระบวนทัศนเก่ียวกับการวิจัยใหเห็นวาการวิจัยเปนปจจัยสําคัญตอการ

ดําเนินงานเพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง การวิจัยเปนการลงทุนของประเทศ

การวิจัยสามารถตอบสนองการพัฒนาประเทศไดทุกดานทั้งระดับ เศรษฐกิจ

สังคม และความมั่งคงของมนุษย เพื่อสรางความเปนอยูท่ีดีของประชาชน และ

ความมั่งคั่งของประเทศ และการวิจัยตองดําเนินงานแบบมืออาชีพ เพื่อใหไดผล

ตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพที่ดี และประสิทธิผลสูง ขอเสนอแนะและแนวคิดจากยุทธศาสตรเพื่อนําไปกําหนดมาตรการที่ตอบสนอง

นโยบายหรือยุทธศาสตร 1. การใชการวิจัยเพื่อใหมีสวนชวยในการปฏิบัติงานทั้งระดับการวางแผน การ

ดําเนินงานตามพันธกิจอยางเปนระบบระเบียบที่สามารถหวังผลไดสูง และนําไปสูการดําเนินงานในระยะยาว โดยมิใชการลองผิดลองถูก

2. ความยอมรับวาการวิจัยเปนการลงทุนของประเทศ ไมใชของภาคสวนใด ผลประโยชนที่หนวยงานไดรับไมวาจะเปนภาครัฐหรือภาคเอกชนลวนสรางความเปนอยูที่ดีของประชาชน สรางงานและรายไดทําใหเศรษฐกิจของประเทศดีขึ้น สรางความมั่นคั่งผลประโยชนที่ภาคเอกชนไดรับกลับมาเปนสวนสนับสนุนประเทศจากภาษี ผลประโยชนโดยตรงที่หนวยวิจัยไดรับจะมีสวนชวยสนับสนุนสงเสริมการวิจัยใหพัฒนาและแข็งแกรงขึ้นเปนลําดับ ตัวอยางประเทศสหรัฐอเมริกา สวีเดน สิงคโปร และญี่ปุน ตางก็ใชแนวคิดนี้

3. ความยอมรับวาการวิจัยตองอาศัยเวลา แตผูวิจัยก็ยังตองดําเนินการใหสําเร็จโดยเร็วที่สุด เพื่อผลในเชิงการแขงขัน ทั้งดานวิชาการที่ตีพิมพเผยแพรความรูที่พบกอน หรือในเชิงธุรกิจที่เงื่อนเวลาเปนสิ่งสําคัญมากอยางหนึ่ง

4. การดําเนินการวิจัยตองทําแบบมืออาชีพ สรางแรงจูงใจในงานวิจัย พัฒนาอาชีพนักวิจัย และสรางเสริมทางความกาวหนาในอาชีพนักวิจัย

5. การวิจัยที่ดีเกิดจากขอมูลที่ดี มีมาตรฐาน เชื่อถือได การพัฒนาระบบมาตรฐานขอมูลและฐานขอมูลสารสนเทศเพื่อการวิจัยแบบเชื่อมโยงสัมพันธตอเนื่องสอดคลองกัน จะชวยใหการวิจัยมีความแมนตรง และลดเวลาในการสืบคนขอมูล ทําใหไดผลการวิจัยที่รวดเร็ว

6. การวิจัยนั้นครอบคลุมทุกสาขา ทั้งวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปวัฒนธรรม แมการวิจัยในดานสังคมศาสตรอาจไมชวยในการสรางเศรษฐกิจหรือ

Page 105: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ความมั่งคั่ง แตจะชวยในดานการดูแลชุมชน สังคม และการพัฒนาจิตวิญญาณ กับการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมของประเทศ ซ่ึงตองไมถูกละเลยเชนเดียวกัน

7. การวิจัยที่ตองมีเปาหมายที่ตอบสนองตอความตองการของประเทศในภาคสวนตางๆมิใชมุงประโยชนในเชิงวิชาการตอผูวิจัยเทานั้น

8. การสรางทัศนคติดานความรับผิดชอบตอหนาที่ในฐานะนักวิจัย การทํางานเปนทีม ความกาวหนาในการแสดงผลที่แตกตาง การยอมรับการวิพากษวิจารณ และการประเมิน

9. การวิจัยแบบบูรณาการในเชิงพื้นที่และชุมชน ยังใชประโยชนอยางมากในการพัฒนาประเทศระดับรากหญาและชุมชน ซ่ึงเปนสิ่งสําคัญไมนอยไปกวาการวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

10. การวิจัยเชิงสาธารณะและการวิจัยสถาบันก็เปนประโยชนอยางมาก สําหรับการวางนโยบาย วางแผน ปรับโครงสรางองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององคกรระดับตาง ๆ ของประเทศ

11. การวิจัยตองมีกลไกในการประเมินผลที่มีประสิทธิภาพทั้งในระดับโครงการและในระดับผลลัพธ หรือ outcome ของทั้งสองระบบ

ยุทธศาสตร 2 การปรับปรุงระบบวิจัยของประเทศ ปรับองคกรและการกําหนดบทบาทหนาท่ีท่ีมี

การบูรณาการงานวิจัย ท้ังระดับโครงการวิจัยบุคลากรรวมวิจัย หนวยงานรวมวิจัย

หนวยงานบริหารจัดการ และหนวยงานนโยบาย นําไปสูการจัดทํายุทธศาสตร

นโยบายและแผนวิจัยของชาติแบบบูรณาการ ซ่ึงมีการกํากับ ติดตามการ

ดําเนินงาน และมีการประเมินผลเพื่อนํามาใชในการปรับแผนใหเหมาะสมอยาง

ตอเนื่อง

ขอเสนอแนะและแนวคิดจากยุทธศาสตรเพื่อนําไปกําหนดมาตรการที่ตอบสนอง

นโยบายหรือยุทธศาสตร 1. ระบบวิจัยของประเทศควรมีการออกแบบใหครบขั้นตอนตั้งแตขั้นตอนนโยบาย

ขั้นตอนแผนงานวิจัยระดับชาติ ขั้นตอนการกําหนดและการจัดสรรงบประมาณ (allocation and distribution) และทุนสนับสนุนการวิจัย ขั้นตอนการบริหารจัดการ ขั้นตอนการทําวิจัย ขั้นตอนการประเมินผล

2. ระบบวิจัยของประเทศตองมีการกําหนทิศทางหลัก และเปาหมายซึ่งตอบสนองตอความตองการในการพัฒนาประเทศอยางสมดุลทั้งดานวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง

Page 106: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ของมนุษย แตก็เปดโอกาสสําหรับความคิดริเร่ิม และความหลากหลายอันเปนธรรมชาติของงานวิจัยแบบสรางสรรค

3. มีการกําหนดบทบาทขององคกรตางๆที่เกี่ยวของกับงานวิจัยตามระบบวิจัยอยางเหมาะสม

4. มีกลไกเชื่อมโยงของแตละขั้นตอน แตละองคกร และแตละระดับ 5. องคกรที่ไดรับมอบหมายในบทบาทหนาที่ ตองดําเนินการใหไดรับการยอมรับ

และปฏิบัติใหไดผลตามพันธกิจ โดยอาจตองมีการปรับการบริหารจัดการเพื่อแกปญหาการจัดทํานโยบาย และแผนวิจัยระดับชาติแบบบูรณาการใหเปนแผนที่สมบูรณ เพราะจะมีผลตอเนื่องถึงการจัดสรรงบประมาณ และปรับบทบาทจากผูคุมอํานาจเปนผูประสาน อํานวยความสะดวกและสงเสริมสนับสนุน

6. องคกรที่ทําหนาที่แบบคาบเกี่ยวหลายพันธกิจ ตองมีการปรับบทบาทหรืออาศัยการปรับการบริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาล สรางความยอมรับในบทบาทที่ไดรับมอบหมาย สรางความโดดเดนในพันธกิจนั้น และลดปญหาประโยชนทับซอน

7. นโยบายและแผนวิจัยของชาตินั้นตองมีกลไกที่ประสานเชื่อมตอกับหนวยงานระดับนโยบายดานอื่น ๆ ที่ เกี่ยวของ เชน คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ คณะกรรมการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี เพื่อการขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันและสอดคลองโดยไมซํ้าซอน

ยุทธศาสตร 3 การกําหนดงบประมาณเพื่อการวิจัยอยางพอเพียงท่ัวกันและเกิดผลสัมฤทธิ์ท่ีดี

งบประมาณที่อิงแผนงานที่ครอบคลุมทุกภาคสวน มีหลากหลายมิติ มีการ

กําหนดหนวยงานที่รับผิดชอบงบประมาณนั้นๆ รวมท้ังสามารถแยกประเภท

งบประมาณเพื่อการบริหารจัดการที่ดี

ขอเสนอแนะและแนวคิดจากยุทธศาสตรเพื่อนําไปกําหนดมาตรการที่ตอบสนอง

นโยบายหรือยุทธศาสตร 1. กลยุทธของการจัดทําแผนวิจัยที่ดี มีการแบงแยกเปน Segment ตาง ๆ และมิติที่

หลากหลายและประมาณการหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งหมดในทุกภาคสวน ภาครัฐ องคกรอิสระในกํากับของรัฐ ภาคเอกชนในการจัดทํา

2. มีการกําหนดและจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยแบบอิงพันธกิจดานการวิจัยตามแผนงานวิจัยระดับชาติ

Page 107: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

2.1. กําหนดงบประมาณที่เหมาะสมในแตละ Segment แตละมิติ โดยอิงผลที่จะเกิดจากการวิจัยนั้น ๆ

2.2. งบประมาณที่จัดสรรลงไปนั้นมีการแบงแยกประเภทที่ชัดเจน ตามขอตกลงรวมกันวาจะใหรวมประเภทใดบาง ยกตัวอยางเชน ตามที่ IMD สํารวจและจัดอันดับความสามารถในการแขงขันนั้น ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศชั้นนําตางถือวาคาใชจายอาคารสิ่งกอสราง คาเครื่องมืออุปกรณ คาบํารุงรักษา ลวนเปนคาใชจายเพื่อการวิจัย โดยทั้งนี้ ใหมีการระบุแยกประเภทไว ทําใหสามารถรวบรวมและวิเคราะหเพื่อจําแนกหมวดหมูได

2.3. ระดมเงินงบประมาณที่จะใชการพัฒนาวิจัยนี้ จากภาคสวนอื่นดวยนอกเหนือจากการใชงบประมาณภาครัฐ เชน จากภาคเอกชน จากกองทุนวิจัยตางประเทศ

2.4. กําหนดหนวยงานที่จะเปนผูใชงบประมาณใน Segment ตาง ๆ ทุกภาคสวน รวมถึงหนวยงานภาคเอกชนดวย หนวยงานที่ไดรับจัดสรรงบประมาณแผนดินไปนี้ หากเปนหนวยงานที่บริหารจัดการทุนวิจัยก็สามารถนําไปจัดสรรเปนทุนวิจัยตอก็ไดในขอบเขตที่วางแผนวิจัยไวและตามพันธกิจของหนวยงาน

2.5. นําเสนอเพื่อการจัดสรรจากสํานักงบประมาณในสวนที่เปนงบประมาณแผนดิน หากไมไดรับการจัดสรรเต็มจํานวนก็นํามาปรับลดตามความสําคัญอีกครั้ง เมื่อไดตัวเลขที่แนนอน สํานักงบประมาณก็จะสามารถจัดสรรไปตามหนวยงานองคกรตาง ๆ ตามจํานวนที่ไดรับจัดสรรในพันธกิจการวิจัย สวนการจะจําแนกประเภทก็สามารถดําเนินการได

3. ผลกระทบจากการจัดงบประมาณแบบที่อิงพันธกิจนี้ ก็คือการจัดสรรงบประมาณแผนดินประจําปใหกับหนวยงานตางๆ ตองคํานึงถึงประเด็นนั้น เพื่อมิใหเกิดความซ้ําซอนในการจัดงบประมาณ

4. กําหนดวิธีการประเมินผลของการใชงบประมาณ ซ่ึงก็เปนไปตาม Segment เชน บางสวนตองการผลเชิงวิชาการเปนบทความตีพิมพเผยแพร บางสวนเปนสิทธิบัตร บางสวนเปนผลงานที่นําไปถายทดเทคโนโลยีสูภาคการผลิตภาคอุตสาหกรรม เปนตน

5. การกําหนดใหหนวยงานใด หนวยงานเดียวเปนผูตั้งงบประมาณหรือจัดสรรงบประมาณเกี่ยวกับการวิจัยทั้งหมด ดังเชน ขอเสนอของ วช. ไมสามารถแกไขปญหาได การรวมศูนยนาจะดอยกวาการชวยจัดทําแผนและงบประมาณ และกระจายความรับผิดชอบกับการตัดสินใจไปในระดับตาง ๆ ซ่ึงคลองตัว ตรวจสอบเปนขั้นตอนงายกวา

6. การจัดสรรงบประมาณใหกับโครงการวิจัยขนาดใหญหรือระยะยาวที่เปนไปตามแผนวิจัยชาติ ที่มีการประเมินอยางเหมาะสมวามีความกาวหนา ซ่ึงหากทําไดก็สนับสนุนใหไดรับ

Page 108: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

งบประมาณเพียงพอและตอเนื่อง ขณะเดียวกับที่โครงการที่ในลักษณะนี้ที่ไมเห็นศักยภาพหรือผลการประเมินไมเปนที่นาพอใจก็ไมสูญเสียทรัพยากรตอเนื่องไป โดยไมไดผลตามตองการ

7. การเปดโอกาสใหภาคเอกชน มีโอกาสไดใช “งบประมาณเพื่อการวิจัย” โดยการมีสวนรวมกับหนวยวิจัยภาครัฐ อันนํามาซึ่งการสรางผลิตภัณฑใหม เพิ่มผลผลิต เพิ่มรายไดและภาคเอกชน ซ่ึงสุดทายก็เสียภาษีจากรายไดที่เพิ่มขึ้นกลับคืนสูรัฐ

8. การเปดโอกาสใหหนวยงานวิจัยที่อยูในสวนภูมิภาคซึ่งมีศักยภาพที่มีจํานวนไมนอยใหสามารถเขาถึงแหลงทุนไดเทาเทียมกับหนวยงานวิจัยในกรุงเทพ ขจัดอุปสรรคจากสภาพภูมิประเทศอยูหางไกลสวนกลาง

ยุทธศาสตร 4 การพัฒนาคนใหมีศักยภาพในการปฏิบัติงานตามภาระกิจ ซ่ึงมีคุณลักษณะและ

วิธีการทํางานที่อาศัยขอมูลความรูและการคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผล รวมถึงการ

พัฒนาบุคลากรสายอาชีพนักวิจัย นักวิทยาศาสตรท่ียังขาดแคลน เพื่อใหเปนฐาน

กําลังสนับสนุนภาคสวนอื่น นอกจากนั้นใหพัฒนาการสรางกลุมวิจัยหรือเครือขาย

วิจัยเพื่อเสริมพลังซึ่งกันและกันและใชทรัพยากรอยางคุมคา

ขอเสนอแนะและแนวคิดจากยุทธศาสตรเพื่อนําไปกําหนดมาตรการที่ตอบสนอง

นโยบายหรือยุทธศาสตร 1. การพัฒนาคนตองเริ่มตั้งแตพื้นฐานการศึกษาที่เนนการทํางานที่มุงมั่น เอาใจใส

ซ่ือสัตยและใชเหตุผล ใชวิจารณญาณในการหาความรู สรางความรูและเผยแพรความรู 2. เนื่องจากวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนสวนสําคัญในการพัฒนาสูเศรษฐกิจ

ฐานความรู แตวิทยาศาสตร คณิตศาสตรเปนความรูพื้นฐานที่ยังไมเขมแข็งในระบบการศึกษาของไทย จึงตองใหความสําคัญเปนพิเศษในนโยบายและแผนการศึกษาของชาติ

3. จํานวนนักวิจัยเปนดัชนีวัดความสามารถในการแขงขันดัชนีหนึ่ง จึงตองมีการดําเนินการในการเพิ่มจํานวนนักวิจัยที่แทจริง รวมทั้งประเมินบทบาทของผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทและเอก วายังคงปฏิบัติหนาที่ในฐานะนักวิจัยหรือไมอยางไร สัดสวนของวิจัยในหนาที่การงานเทาใด เพื่อใหเห็น “กําลังคนดานวิจัย” ที่แทจริง ไมใชจากการอนุมาน เพื่อใหการพัฒนาคนไปสูเปาหมายไดอยางถูกตอง

4. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการทํางานของนักวิจัยเปนเรื่องที่ตองคํานึงดวย มิใชดูที่ปริมาณคน หรือปริมาณเงินทุนเพื่อการวิจัยเทานั้น ตองดูวาไดผลงานวิจัยที่นาํไปใชใหเกดิ

Page 109: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ประโยชนไดอยางไรมากนอยและมีผลกระทบสูงหรือไม ไมวาจะเปนผลกระทบดานวิชาการ หรือการสรางประโยชนเชิงพาณิชย

5. ฐานขอมูลกําลังคนของประเทศที่สามารถบงบอกสถานะของกําลังคนนั้น ๆ ทั้งในเชิงขอมูลทั่วไป อายุ เพศ สถานะครอบครัว ที่อยู กับที่สําคัญคือพื้นฐานการศึกษา ประสบการศึกษาและการทํางาน สาขาที่ศึกษา สาขาที่ปฏิบัติงาน ความสามารถในดานตาง ๆ จะเปนขอมูลที่สําคัญในการวางแผนกําลังคนของประเทศอันจะเปนประโยชนในการจัดการศึกษา การสนับสนุนสงเสริมในสาขาที่ประเทศชาติ หรือตลาดแรงงาน หรือภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรมมีความตองการกําลังคน

6. การสรางทัศนคติ ดังที่ไดกลาวแลวในยุทธศาสตรที่ 1 กับการสรางคุณลักษณะของคน กับคุณคาที่เปนที่ยอมรับของสังคม เปนสิ่งที่จะชวยพัฒนาคุณภาพของคน สังคมและเศรษฐกิจของผูคนที่ชอบงานทาทาย ไมกลัวความเหน็ดเหนื่อย ความตองการคนหาความรูใหมส่ิงใหม แกปญหาอยางเปนระบบ มีจิตวิจัย มี Critical Thinking มีการทํางานเปนทีมจะเปนสังคมที่มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงเร็ว ซ่ึงจะมีผลตอพลวัตทางเศรษฐกิจและการสรางนวัตกรรมของประเทศ

7. การพัฒนาอาชีพนักวิจัย นอกจากการพัฒนาใหมีตําแหนงงานในองคกร การกําหนดรายไดและการสรางความกาวหนาในเสนทางอาชีพ (Career Path) การเพิ่มโอกาสการจางงานและการเพิ่มแรงจูงใจ ยังตองสรางสภาวะแวดลอมที่เอื้อตอการวิจัยในลักษณะอุปสงคดึง (Supply Pull) – อุปทานดัน (Demand Push) ดวยการเพิ่มแรงจูงใจในแงของคาตอบแทนเพิ่ม กลาวคือ อุปทานหรือความตองการการวิจัยเพื่อพัฒนาหนวยงาน ทั้งรัฐและเอกชน เปนแรงผลักดันใหมีนักวิจัยเพิ่ม รวมถึงการกําหนดมาตรการทางภาษีที่ถือคาตอบแทนการวิจัยหรือประโยชนจากการถายทอดเทคโนโลยี หรือใหสิทธิในการใชทรัพยสินทางปญญาเปนรายไดจากอาชีพนักวิจัย ที่อาจตองมีการออกกฎระเบียบขึ้นมาใหม เพื่อใหถูกตองตามมาตรการภาษี โดยไมเปนภาระของนักวิจัย

8. การสรางวัฒนธรรมใหมีการเผยแพรผลงานวิจัยในวงกวาง และสะดวกในการเขาถึงขอมูล เพื่อการใชประโยชนสูงสุดจากงานวิจัยนั้นๆ

9. การพัฒนากลุมวิจัยที่มีทั้งบุคลากรหรือคน รวมกับเครื่องมืออุปกรณในลักษณะศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Center of Excellence) ซ่ึงเปนตนแบบที่ดีของการพัฒนาทั้งงานวิจัยแบบตอเนื่อง และการสรางกําลังคน โดยการถายทอดความรูและประสบการณในระหวางการทํางานวิจัยในกลุม ซ่ึงรวมถึงการใชงานวิจัยเพื่อการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาดวย

Page 110: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

10. การพัฒนา “นักวิจัย” ยังหมายถึงการจัด “ภาระงานดานการวิจัย” ที่ชัดเจนสําหรับบุคลากรในระบบที่มีอยูแลว ที่มีหลายหนาที่ใหสามารถเอื้อตอการทําวิจัยและประเมินทั้งเวลาการทํางานกับผลงานวิจัยอยางเปนรูปธรรม

11. มีการพัฒนาสมรรถนะและสงเสริมการศึกษาเกี่ยวกับระบบวิจัยอยางตอเนื่อง เพื่อใหมีความรูที่ทันสมัย มีความสามารถในการแกไขปญหา หรือหาหนทางพัฒนา อยางเปนระบบ รูจักใชขอมูลและเหตุผลในการตัดสินใจ สําหรับการดํารงชีวิตและการปฏิบัติงานตอไป

ยุทธศาสตร 5 การเนนสรางการทํางานแบบบูรณาการดานการวิจัยในทุกองคประกอบ ทุกระดับ

ทุกมิต ิ และครอบคลุมขอบเขตตาง ๆ ท่ีจําเปนใหเกิดบูรณาการตั้งแตสวนใหญ

ไปจนถึงสวนยอย ขอเสนอแนะและแนวคิดจากยุทธศาสตรเพื่อนําไปกําหนดมาตรการที่ตอบสนอง

นโยบายหรือยุทธศาสตร 1. การจัดตั้งคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงานที่ทําหนาที่ในการกําหนด

ทิศทางนโยบายการวิจัย รวมถึงจัดทํายุทธศาสตรทั้งระยะสั้น กลาง และระยะยาว 2. จัดทําแผนบูรณาการงานวิจัยที่กําหนดประเด็นการวิจัยจากภาคอุตสาหกรรม ภาค

ธุรกิจหรือภาคชุมชนและทองถ่ิน เพื่อใหผลผลิตนั้นตรงกับความตองการของผูที่จะใชประโยชนจากงานวิจัยนั้น ๆ

3. ประสานแหลงทุนวิจัย เพื่อรวมกันสรางความตระหนักวางานวิจัยโครงการใดที่เปนความตองการ(Needs) รวมกันทั้งฝายดําเนินการวิจัยและผูที่จะใชประโยชน ซ่ึงทําใหเกิดการนําไปจัดทําเปนนโยบายในการสนับสนุนสงเสริม

4. สถาบันการศึกษาพัฒนาการใหการศึกษาในระดับปริญญาโทและเอก และใชเปนกลยุทธในการสรางคน รวมกับการดําเนินการวิจัยใหสอดคลองเปนกระบวนการเดียวกัน

5. การสงเสริมและสนับสนุนใหมีการเชื่อมโยงเครือขายการวิจัยระดับตาง ๆ ไดแก ระดับหนวยงานที่มีพันธกิจเหมือนกับหรือใกลเคียง ระหวางหนวยงานภาครัฐและเอกชน

6. พัฒนาความสามารถในการบริหารจัดการงานวิจัยใหไดผลตรงตามเปาหมายและเงื่อนเวลาเพื่อใหทันตอการแขงขันเชิงธุรกิจ โดยเฉพาะงานวิจัยแบบบูรณาการยิ่งตองการประสิทธิภาพในการบริหารจัดการมากขึ้น

7. สงเสรมิการวิเคราะหวิจัยผลผลิตจากภูมิปญญาทองถ่ิน การตอยอดวิจัยและพัฒนา รวมถึงการใชประโยชนเพื่อการแกปญหาและหาหนทางพัฒนาสังคมและทองถ่ิน

Page 111: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

8. สงเสริมการใชเครือขายวิจัย เพื่อลดความสิ้นเปลืองของทรัพยากร การใชจุดแข็งของพันธมิตรในการเสริมจุดออน การพลิกวิกฤตเปนโอกาสโดยอาศัยเครือขายและพันธมิตร

9. สรางวัฒนธรรมและการยอมรับในการประเมินผล เพื่อนําไปปรับปรุงหรือพัฒนาการดําเนินการ โดยรูปแบบการประเมินตองคํานึงถึงการรวมแบงปนผลประโยชนในการดําเนินงานรวมกันแบบบูรณาการดวย มิฉะนั้นจะเกิดการสรางความเขมแข็งเฉพาะหนวยงานของตน เพื่อตอบรับการประเมินแบบแยกสวน

10. มีการสรางวัฒนธรรมการรวมมือ สนับสนุนสงเสริมกันและกันในระหวางหนวยงานทั้งในภาครัฐดวยกัน หรือในกลุมสถาบันการศึกษาในภาคธุรกิจดวยกัน หรือการเชื่อมโยงรวมมือระหวางกลุม การสรางเครือขายความรวมมือที่เปนรูปธรรม การสรางพันธมิตรการวิจัย จนถึงขั้นที่นําไปสูการเปนหุนสวนวิชาการและหุนสวนธุรกิจ

11. สงเสริมใหมีการผนึกกําลัง สนธิกําลัง ระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม และภาควิชาการ

12. การปรับองคกรและกําหนดบทบาทหนาที่ชัดเจน ชวยใหเกิดการทํางานเชิงบูรณาการที่ไมซํ้าซอน

13. มีการจัดทําวาระแหงชาติ ดานการวิจัยและวิจัยและพัฒนา เพื่อกําหนดประเด็นการวิจัยที่สําคัญ และ/หรือ มีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ และ/หรือ มีผลกระทบสูงเปนการวางแผนระยะสั้น กลาง ยาว ที่ใหความสําคัญตอเนื่องไมเปลี่ยนแปลงตามผูบริหารประเทศ โดยมีการกําหนดลําดับน้ําหนักความสําคัญ รวมถึงความเรงดวนระยะเวลาที่ตองการผล

14. มีการวาง Road map อยางครบถวน คลอบคลุมในแตละประเด็นการวิจัย ตามวาระแหงชาติ

15. ออกแบบกลไกการทํางานแบบบูรณาการ ที่ทุกภาครวมทั้งผูจัดทํานโยบาย ทั้งผูดําเนินการวิจัย ผูใชผลผลิต ผูมีหนาที่สงเสริมสนับสนุนดําเนินการในการพัฒนางานที่มีการวจิยัเขามาเกี่ยวของ

ยุทธศาสตร 6 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการวิจัยในภาพรวม โครงสรางพื้นฐาน

ดานวิทยาศาสตร โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยี โครงสรางพื้นฐานดาน

เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร เทคโนโลยีการเชื่อมตอระบบ และโครงสราง

การคมนาคมกับระบบโลจิสติคสซ่ึงเปนปจจัยสําคัญสงเสริม สนับสนุนการ

พัฒนาการวิจัยและการบูรณาการงานวิจัย อยางเหมาะสม พอเพียงในการ

Page 112: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ปฏิบัติงานและพอเพียงสําหรับการพัฒนาในอนาคต รวมถึงการบริหารจัดการ

เปนระบบตามมาตรฐานดวย ขอเสนอแนะและแนวคิดจากยุทธศาสตรเพื่อนําไปกําหนดมาตรการที่ตอบสนอง

นโยบายหรือยุทธศาสตร 1. การกําหนดบทบาทความรับผิดชอบขององคกรตองเสริมดวยการสรางโครงสราง

พื้นฐานที่สนับสนุนพันธกิจขององคกรนั้น ๆ 2. โครงสรางพื้นฐานการวิจัยตองเปนไปตามมาตรฐานสากล เพื่อผลในดาน

มาตรฐานของผลงานวิจัยที่เปนที่ยอมรับทั้งในเชิงวิชาการ และในเชิงธุรกิจ เชน การใชสัตวเพื่อการทดลองทางวิทยาศาสตร

3. โครงสรางพื้นฐานการวิจัย ตองเปนไปเพื่อการปกปองสภาวะแวดลอม 4. เมื่อมีการกําหนดบทบาท และ พันธกิจของหนวยงานหรือองคกรที่ชัดเจนแลว

การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนก็จะมีหลักเกณฑ ชวยลดความซ้ําซอน 5. สรางวัฒนธรรมของการทํางานเปนทีม การทํางานโดยยึดเปาหมาย ลดความเปน

ตัวตน และแบงปนทรัพยากรซึ่งก็เปนทรัพยกรของประเทศเพื่อใหไดมีการใชเพื่อประโยชนสูงสุด 6. พัฒนาหรือจัดตั้ง องคกรที่รับผิดชอบ ในการสรางมาตรฐานขององคประกอบ

พื้นฐานดานการวิจัยเชน การวิจัยที่ใชสัตวทดลอง การวิจัยในคนและที่เกี่ยวของกับคน หองปฏิบัติงานวิจัยที่มีสารเคมี/กัมมันตรังสี การวิจัยที่เกี่ยวของกับการตัดตอดัดแปลงพันธุกรรม

ยุทธศาสตร 7 การพัฒนาการวิจัยแบบกาวกระโดด โดยการรับถายทอดเทคโนโลยีจาก

ตางประเทศ ผานความรวมมือท่ีมีอยู หรือรับถายทอดโดยอาศัยทรัพยากรบุคคล

ชาวไทยที่มีศักยภาพในตางประเทศ ในการพัฒนาเฉพาะดานที่ถูกกําหนดโดย

ยุทธศาสตรใหมีลําดับความสําคัญในลําดับตน ๆ หรือท่ีประเทศมีความเขมแข็ง

เปนทุน หรือเปนฐานการผลิตขนาดใหญของโลกในปจจุบัน ขอเสนอแนะและแนวคิดจากยุทธศาสตรเพื่อนําไปกําหนดมาตรการที่ตอบสนอง

นโยบายหรือยุทธศาสตร 1. สรางความสัมพันธกับตางประเทศ ท้ังเพื่อการรับถายทอดความรู ประสบการณ

จากประเทศที่พัฒนาแลว หรือใหกับประเทศที่ดอยกวา เพื่อสรางการยอมรับอันจะนําไปสูการพัฒนาตลาดตางประเทศในอนาคต

Page 113: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

2. สรางแรงจูงใจในการดึงเอาบุคลากรชาวไทยที่มีความรูความสามารถกลับเขามารวมพัฒนาการวิจัยของประเทศ

3. อาศัยความกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศในการทํางานรวมกันสําหรับการทํางานตางสถานที่

4. สรางแรงจูงใจในการสรางพันธมิตรตางประเทศ ในลักษณะที่มีผลประโยชนรวมกันที่เปนที่พึงพอใจของทั้งสองฝาย

5. ความกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยเปนเครื่องมือในการสืบคนฐานขอมูลความรูและการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลและประสบการณ

6. สรางความไววางใจและเคารพในสิทธิ์ซ่ึงกันและกันกับเครือขายและพันธมิตรตางประเทศ

7. อาศัยความเชื่อมโยงของภาคอุตสาหกรรมสําหรับบริษัทขามชาติ ที่เปดโอกาสใหประเทศไทยไดมีสวนรวมในงานวิจัยและพัฒนาเพื่อนวัตกรรม โดยตอยอดฐานความรูและเทคโนโลยีเดิมของบริษัทขามชาติ

ยุทธศาสตร 8 การสรางมูลคาแกผลผลิตการวิจัย การกระจายความรูผลผลิตงานวิจัย พัฒนา

ตําแหนงหวงโซอุปทาน (Value Chain) ของผลผลิต และบริหารจัดการเพื่อให

ผลงานเปนท่ีรับรูโดยกวางขวาง ใหผูท่ีจะใชประโยชนเขาสืบคนขอมูลได ท้ังการ

นําไปใชในเชิงวิชาการ หรือการนําไปสรางนวัตกรรม พัฒนาผลิตภัณฑสินคาและ

บริการ ท่ีใหประโยชนเชิงพาณิชย มีเอกลักษณ จําหนายได แขงขันได รวมถึงมี

การบริหารจัดการการใชประโยชนในรูปแบบของทรัพยสินทางปญญาท่ีมีการจด

ทะเบียน คุมครอง แบงสรรผลประโยชนอยางยุติธรรม รวมถึงการปกปองสิทธิ

ของผูประดิษฐคิดคน

ขอเสนอแนะและแนวคิดจากยุทธศาสตรเพื่อนําไปกําหนดมาตรการที่ตอบสนองนโยบายหรือยุทธศาสตร

1. ผลผลิตงานวิจัยตองมีคุณภาพตามมาตรฐานที่ดี ถูกตอง แมนตรงในวิธีการวิจัย และดําเนินการตามถูกตองจริยธรรมการวิจัย มีระบบตรวจสอบที่ดี

2. การจัดทําฐานขอมูลและเครือขายฐานขอมูลผลการวิจัยที่เผยแพรในวงกวางจะทําใหผลผลิตการวิจัยถูกนําไปใช และมีคุณคาหรือมีศักยภาพในการประยุกต ทั้งนี้ใหมีระบบ มาตรฐานเพื่อการบริหารจัดการการวิจัยนี้ รวมถึงบูรณาการขอมูลที่เกี่ยวกับการวางแผนวิจัยชาติ

Page 114: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ในภาพรวม ทําใหการจัดหมวดหมูผลผลิตการวิจัยงายขึ้น แตก็ตองคํานึงถึงผลผลิตงานวิจัยในเชิงบูรณาการที่สงผลในหลายดาน หรือควรอยูในฐานขอมูลที่สามารถสืบคน หรือเขาถึงไดจากหลายชองทางในเชิงบูรณาการเชนกัน

3. การสรางวัฒนธรรมและสรางชองทางใหเกิดการถายทอดเทคโนโลยีที่ถูกตองและเหมาะสมแกประชาชนหรือ ผูประกอบการที่สามารถใชประโยชนตอตนเอง ชุมชน หรือธุรกิจที่จะนําไปสูความเปนอยูที่ดี หรือสรางความมั่งคั่งใหประเทศในเชิงเศรษฐกิจ

4. เนื่องจากภาคอุตสาหกรรมหรือภาคการผลิต มีทั้งสวนของธุรกิจขามชาติที่มีความเขมแข็งทั้งเงินทุนและเทคโนโลยีกับวิสาหกิจขนาดเล็กและกลาง ซ่ึงเปนอุตสาหกรรมหรือการผลิตของผูประกอบการฐานรากของประเทศที่ยังออนแอและตองการสนับสนุนรูปในเชิงเทคโนโลยี การนําผลผลิตจากการวิจัยถายทอดไปยังกลุมหลังจะชวยสรางความเขมแข็ง สรางความสามารถในการแขงขันเพิ่มผลิตภาพและปูพื้นฐานของการปรับกระบวนทัศนการวิจัยที่จะมีผลตอการพัฒนาธุรกิจ รวมถึงการเริ่มตนสรางชองทางใหวิสาหกิจขนาดเล็กและกลางไดส่ือสารใหระดับนโยบายทราบถึงความตองการในการพัฒนาผลิตภัณฑหรือธุรกิจของกลุมนี้ เพื่อจะไดวางนโยบายหรือวางแผนวิจัยระดับชาติที่ครอบคลุมและตอบสนองความตองการในภาคสวนนี้

5. สรางระบบประเมินคุณคาของเทคโนโลยีที่จะทําการวิจัยที่เห็นวาจะเปนประโยชนสูง เพื่อเปนขอมูลปอนกลับในการจัดลําดับความสําคัญ เนื่องจากทรัพยากรที่จํากัด

6. การสนับสนุนการดัดแปลง ปรับปรุงและตอยอดเทคโนโลยีที่มีอยูเพื่อสรางมูลคาสินคาและบริการ การสรางมูลคาของผลผลิตโดยเฉพาะในสวนของเทคโนโลยีใหม ตองอาศัยความรวมมือตั้งแตตน การประเมินคุณคาเชิงธุรกิจ การวิจัยและพัฒนาหลังจากไดความรูหรือเทคโนโลยีใหมในระดับหองปฏิบัติการ และยังอาจตองการกาารขยายขนาด (Scale – Up) ของการทดสอบเทคโนโลยี หรือทดสอบการผลิตระดับอุตสาหกรรม ซ่ึงอาจตองใชเครื่องมืออุปกรณในการผลิตระดับโรงงาน ความรวมมือจึงตองตอเนื่องเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการผลิตสินคานั้น ๆ ยกตัวอยางการพัฒนาผลิตภัณฑที่จะใชในมนุษย ผลิตภัณฑที่ไดจากการวิจัยและพัฒนาในหองปฏิบัติการก็ตองเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑที่จะใชในมนุษยตามแตประเภทผลิตภัณฑ มิฉะนั้นก็ไมสามารถนําไปทดสอบในคนหรือในมนุษยไดตามวิธีการมาตรฐานการทดสอบสินคาวาปลอดภัยกอนผลิตจําหนาย

7. สงเสริมและพัฒนาใหการวิจัยกาวไปสูขั้นการสรางนวัตกรรม โดยใชเทคโนโลยีที่มีอยู และตอยอดพัฒนาเทคโนโลยี

8. การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา ตองใชเงินลงทุนสูง การแกปญหาในการลดความเสี่ยงของภาคธุรกิจและแนวคิดของการเปดโอกาสใหภาคธุรกิจเขาถึงแหลงทุน อาจทําโดย

Page 115: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

จัดตั้งองคกรอิสระหรือกองทุนที่ทําหนาที่จัดสรรทุนวิจัยและพัฒนาที่นําไปใชประโยชนเชิงพาณิชยและนําสูนวัตกรรมโดยตรง เชนเดียวกับ สกว. สวรส. หรือ สวก. โดยในเบื้องตนรัฐลงทุนเปนสัดสวนสูง และภาคเอกชนรวมลงทุนในสัดสวนต่ํา แตกําหนดใหลดสัดสวนลงตามลําดับเวลา เมื่อองคกรนี้สามารถดําเนินการวิจัยและพัฒนาจนประสบความสําเร็จ ก็สามารถหารายไดเขาสูกองทุนและภาคเอกชนจัดสรรเงินเขาสูกองทุนในสัดสวนที่สูงขึ้น ในลักษณะที่รัฐลงทุนใหกอนเปนตน

9. การลงทุนในเชิงธุรกิจของอุตสาหกรรมหรือการผลิตโดยใชเทคโนโลยีใหมนั้น จําเปนตองอาศัยการสรางรูปแบบใหมของการลงทุนไดแก การสราง Venture Capital เพื่อลดความเสี่ยง และหลีกเลี่ยงการตองลงทุนเองในปริมาณสูง หรือลดปญหาการไมสามารถทําทุนจากระบบดั้งเดิมเชนการกูยืมจากธนาคาร จึงตองมีการพัฒนาชองทางการดําเนินธุรกิจแบบใหมนี้ รวมไปถึงการพัฒนาตลาดการลงทุนรูปแบบใหม เชน ตลาดการลงทุน เอ็ม เอ ไอ (Market for Alternative Investment – MAI) ดวย ซ่ึงถือเปนสวนปลายสุดของการวิจัยเพื่อสรางมูลคาเชิงธุรกิจ

10. ธุรกิจที่อิงเทคโนโลยีใหมหรือ New technology business ในรูปของ Venture Capital ดังไดกลาวถึงในขอที่ผานมานั้นพบวาไมสามารถใชวิธีการขอรับการสนับสนุนจากสถาบันการเงินในรูปแบบเกาได เพราะไมเอื้อตอแนวทางธุรกิจ อาจจําเปนตองอาศัยผูรวมทุนจากตางประเทศ ดังนั้นอาจตองศึกษาและพิจารณาวิธีสรางแรงจูงใจในการดึงนักลงทุนจากตางประเทศในลักษณะนี้

11. การแปลงคุณคาผลผลิตงานวิจัยเปนทุนเปนรูปแบบใหมอีกอยางในการเริ่มตนธุรกิจจากผลผลิตที่ไดจากงานวิจัย ชวยสงเสริมใหผูประดิษฐคิดคนมีโอกาสในการประกอบธุรกิจรวมโดยตีคาผลงานเปนทุน สวนหุนสวน ขณะเดียวกันลดภาระการจายคาเทคโนโลยีที่ก็มีความเสี่ยงในระดับหนึ่ง อีกทั้งผูประดิษฐ ผูวิจัย ยังคงผูกพันกับการพัฒนาตอเนื่องยิ่ง ๆ ขึ้น เพื่อผลประโยชนทางธุรกิจที่ตนเองมีสวนไดรับผลประโยชน หากประสบความสําเร็จ ตางจากการขายขาดเทคโนโลยี นอกจากนั้นการเปนหุนสวนทางธุรกิจยังตองสรางชองทางใหสําหรับหนวยงาน เชน มหาวิทยาลัย ดวย นอกเหนือจากตัวบุคคล

12. รูปแบบของอุทยานวิทยาศาสตร อุทยานวิจัย อุทยานเทคโนโลยี เปนแนวคิดที่เปดโอกาสใหภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมใชพื้นที่ในการวิจัยและพัฒนา (R&D) รวมกับภาคสวนอื่น เชน สถาบันการศึกษา ในการพัฒนาผลิตภัณฑใหม กระบวนการผลิตใหม หรือบริการใหม แบบบูรณาการ ซ่ึงภาครัฐใหการสนับสนุนบางสวน รวมถึงการจัดโครงสรางพื้นฐานและสาธารณูปโภค สาธารณูปการที่เพียบพรอมสมบูรณให ทําใหธุรกิจมีการพัฒนาตอเนื่อง ซ่ึงแม

Page 116: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ประเทศไทยมียุทธศาสตรดานนี้อยูแลว แตยังคงตองการพัฒนาดานการบริหารจัดการใหมีบูรณาการกับหนวยวิจัยในภาครัฐหรือพันธมิตรอื่น ๆ เพิ่มมากขึ้น

13. อุทยานวิทยาศาสตรซ่ึงมีแนวคิดในการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมกับวิชาการนั้นเพื่อใหสามารถพัฒนาผลิตภัณฑหรือบริการในสวนของภาคตางๆ ทั่วประเทศไทยได แตจะตองพยายามดึงเอาสวนวิชาการเขามาประสานเชื่อมตอ ตองดําเนินการใหไดครบวงจร ทั้งเรื่องของการถายทอดความรูและเทคโนโลยี รวมไปถึงการรวมวิจัยและพัฒนาในระดับที่สูงขึ้น และใชหนวยงานวิจัยจากทุกภาคสวน เชนจาก วว. จากมหาวิทยาลัยหรือหนวยวิจัยอ่ืน เพราะในปจจุบันภาคสวนอื่นมีสวนรวมนอย ไมตอบสนองตอวัตถุประสงค

14. จัดทํามาตรการที่ชัดเจนในการเรงภาคเอกชนภายในอุทยานวิทยาศาสตรใหมีการบุกเบิกดานวิจัยและพัฒนา รวมถึงการเชื่อมโยงกับนักวิจัยหรือหนวยวิจัยที่หลากหลายตรงกับความตองการของภาคเอกชน

15. ยุทธศาสตรดานนี้ยังตองเริ่มจากการใชเปาหมายเปนตัวตั้ง ( Target – Driven ) และเปนแรงผลักดัน เนื่องจากเปาหมายมักหลากหลายมาก ซ่ึงงบประมาณสนับสนุนสงเสริมจําเปนตองจํากัดวงใหแคบลง รวมถึงตองอาศัยกลไกความตองการของตลาด ( Market Need ) เปนเครื่องมือพิจารณาดวย

16. ประเด็นคุณภาพและมาตรฐานสินคาเปนเรื่องใหญ และเปนกลไกทางออมในการกีดกันทางการตลาด การพัฒนาระบบการตรวจสอบมาตรฐานระดับสากล สําหรับผลิตภัณฑสินคาและบริการจะชวยใหผลิตภัณฑหรือสินคาที่ผลิตจากการวิจัยและพัฒนามีความเขมแข็งในการแขงขันในตลาดโลก และตองมีกระบวนการสงเสริมสนับสนุนจากภาครัฐดวย มิใชทําหนาที่ตรวจสอบแตเพียงอยางเดียว

17. มูลคาของผลผลิตการวิจัยสามารถนําไปจัดสรรใหแกผูประดิษฐคิดคน ถึงแมจะรับทุนภาครัฐ เปนพนักงานของรัฐเปนขาราชการ หรือการแปลงเปนทุนซึ่งตองมีการปรับปรุงแกไขกฎหมาย กฎระเบียบใหรองรับ

18. ปรับปรุงแกไขงานวิจัยของไทยที่มีลักษณะกระจาย ไมมีการจับกลุมเพื่อนําไปสูนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีระดับสูงที่ตองการความรูทั้งเชิงลึกและบูรณาการ ทั้งความรูพื้นฐานและประยุกตสูความตองการของภาคอุตสาหกรรมและการผลิต เพื่อทําใหมีโอกาสสรางมูลคาสูงไดเพิ่มขึ้น

Page 117: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

แผนภาพที่ 3 แผนภาพแสดงแนวความคิด มาตรการแบบบูรณาการสําหรับการพัฒนางานวิจยั

รัฐสภา กําหนดระบบวจิัยของประเทศ

กําหนดโครงสรางองคกร และจัด/ปรับระบบองคกรตามโครงสรางใหม ที่มีการระบุพนัธกิจ ภารกิจ บทบาท หนาที่ ความรับผดิชอบ ใน 3

ระดับ ไดแก นโยบาย บริหารจดัการและปฏิบัติการ

การจัดเสวนาผูบริหารระดับสูงที่เกี่ยวของกับการวิจัย นําโดยนายกรัฐมนตรี

กําหนดระบบและวิธีการ งบประมาณ ดานการวิจัย

กําหนดกรอบงบประมาณทั้งระยะสั้นและระยะยาวสําหรับการลงทนุเพื่อการวิจัยเปนสัดสวนของ GDP ในลักษณะกาวหนาจนถึง

กรอบเปาหมาย กําหนดสัดสวนงบประมาณตามนโยบายและแผนวจิัยของชาต ิ

กําหนดมาตรการจูงใจภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรมลงทุน

เพื่อการวิจัย

งบประมาณเพื่อการวิจัย

การใชประโยชนในกระทรวง กรม การใชประโยชนในชุมชน/สังคม

การเชื่อมโยง ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม ในหนวยปฏิบัติการวิจัย และพัฒนารวมกับภาครฐั

มาตรการพัฒนาบุคลากร

(ศธ.)

แผนวิจัย

แหงชาติ

มาตรการดานทรพัยสินทางปญญา และการแบงสรร

ผลประโยชน

สกศ.

สศช. 112

Page 118: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

19. ปรับปรุงมาตรการในการสรางแรงจูงใจ เชน การใชเงินทุนวิจัยและพัฒนาเปนสวนรายจายสําหรับการเสียภาษี การไดสิทธิพิเศษจาก BOI ที่เปนรูปธรรมและสามารถใชจูงใจไดจริง

จากยุทธศาสตรเชิงรุกที่ไดสังเคราะหขึ้นขางตน รวมถึงไดแสดงใหเห็นถึงขอคิดเห็นหรือมาตรการที่จะดําเนินการใหบรรลุตามนโยบายและเปาหมายแลว ยังพบวามีประเด็นที่ตองดําเนินการจํานวนมากแมวาผูวิจัยจะไดพยายามจํากัดวงใหแคบลงแลวก็ตาม ดังนั้นใครนําเสนอมาตรการแบบบูรณาการที่จะนําไปสูการพัฒนาที่สมควรจัดทําเปนอับดับตนๆ ซ่ึงสอดคลองกับยุทธศาสตรหลายๆ ดานดังแสดงในแผนภาพที่ 11

ระบบวิจัยที่ปรับใหมใหสมบูรณและครบวงจร ยังตองอาศัยการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีเปาหมายที่ชัดเจน จะเปนจุดเริ่มตนที่ดีในการพัฒนาอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต

Page 119: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

บทที่ 8 สรุปและขอเสนอแนะ

สรุป

โครงการวิจัยนี้ไดดําเนินการตามกรอบแนวคิดเพื่อการพัฒนาการวิจัยของประเทศ โดยผสมผสานแนวทางสําหรับการจัดทํายุทธศาสตร ตั้งแตการกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมาย การศึกษาสภาวะแวดลอมที่มีผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ทําใหเห็นแรงผลัก แนวโนม ปญหา และโอกาส รวมกับกระบวนการวิจัยใหไดขอมูลมาสนับสนุนในการดําเนินการดังกลาว ซ่ึงมีทั้งการศึกษาจากหนังสือ เอกสาร ขอมูลบนสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดจนการหาขอมูลจากความคิดเห็น โดยรูปแบบแบบสอบถาม การสัมภาษณ และการเสวนา Focus group ทําใหสามารถวิเคราะหโอกาส จุดแข็ง จุดออน ภาวะคุกคาม ปจจัยสนับสนุนสงเสริม ปญหา และอุปสรรค ที่ตรงกับความเปนจริงของระบบการวิจัย องคกรและโครงสราง วิธีการดําเนินงานและผลงานการวิจัยของประเทศไทย ซ่ึงสามารถสังเคราะหเปนยุทธศาสตรที่ไดเลือกเฉพาะยุทธศาสตรเชิงรุกมานําเสนอจํานวน 8 ยุทธศาสตร ซ่ึงหลายยุทธศาสตรก็เกี่ยวของสัมพันธกัน

ผลจากการวิจัยยังแสดงใหเห็นขอมูลที่นาสนใจที่แสดงวาประเทศไทยมีศักยภาพในการพัฒนาดานการวิจัยใหเปนพลังขับเคลื่อนที่ สําคัญในการนําประเทศไปสูประเทศที่เจริญเติบโตดวยเศรษฐกิจ ฐานความรู และสังคมอุดมปญญา เพื่อใหเปนหนึ่งในประเทศผูนําของโลกได ตามเปาหมายการพัฒนาประเทศ

ขอเสนอแนะ

จากประสบการณการทํางานทั้งระดับปฏิบัติการ ระดับบริหารจัดการ และระดับนโยบายของผูวิจัย และของผูทรงคุณวุฒิที่ เปนกลุมตัวอยางที่ใหขอมูลและขอคิดเห็น มีขอเสนอแนะดังนี้

1. ยุทธศาสตรในการพัฒนาดานการวิจัย โดยเฉพาะอยางยิ่งยุทธศาสตรเชิงรุกมีความสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนา และมีผลสําคัญตอความเจริญกาวหนาของประเทศ เพื่อความมั่นคงและมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความเปนอยูที่ดีของประชาชน พัฒนาการของสังคมและชุมชน ผูนําและผูบริหารระดับสูงของประเทศ หลายสวนหลายองคกรที่มีสวนเกี่ยวของ ตองมีความเขาใจและใชความพยายามอยางเต็มที่ในการผลักดันใหดําเนินการตามยุทธศาสตรอยางจริงจังและ

Page 120: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ตอเนื่อง โดยอาศัยระบบทางการบริหารราชการแผนดินหรือระบบรัฐสภา เพื่อมิใหตองเปลี่ยนแปลงตามความไมมั่นคงและไมตอเนื่องทางการเมือง

2. การกําหนดยุทธศาสตร ในแตละดานของประเทศไทย แมจะพบวามีความสมบูรณ แตขาดการบูรณาการและความเชื่อมโยง สงผลใหเกิดความซ้ําซอน ส้ินเปลือง งบประมาณ การดําเนินงานแบบแยกสวนยังทําใหไมสามารถประมวลผลงานที่แทจริงได

3. ยุทธศาสตรเชิงรุกในการพัฒนาดานการวิจัยที่เสนอนี้ เมื่อนําลงไปดําเนินการพบวาเกี่ยวของกับองคกรทั้งของรัฐและเอกชน ดังนั้นจึงตองมีการกําหนดผูรับผิดชอบและบทบาทหนาที่ที่ชัดเจน รวมถึงกลไกการเชื่องโยงระหวางกันดวย

4. การจัดสรรงบประมาณ โดยการอิงนโยบายและแผนวิจัยของชาติ เปนปจจัยแหงความสําเร็จ ซ่ึงตองมีการปรับเปลี่ยนระบบจากการจัดสรรงบประมาณตามหนวยงานมาเปน การจัดสรรตามพันธกิจที่สอดคลองกับแนวทางหรือทิศทางการวิจัยของประเทศ รวมถึงการเพิ่มงบประมาณเพื่อการวิจัยซ่ึงสามารถอางอิงงบประมาณที่เหมาะสมจากขอมูลของประเทศตางๆ ที่ประสบความสําเร็จ

5. การดําเนินงานที่ประสานกันในลักษณะบูรณาการในทุกระดับ มีความจําเปนอยางยิ่ง ตั้งแตบูรณาการความคิด บูรณาการทรัพยากร บูรณาการดําเนินงาน มิฉะนั้นก็จะประสบปญหาเดิมในลักษณะตางคนตางทํา ไมสามารถสรางผลงานใหเกิดประโยชนที่ สําคัญได นอกจากนั้นยังเปนการสิ้นเปลืองทั้งบุคลากรและงบประมาณอีกดวย

6. ในการใชการวิจัยเปนพลังขับเคล่ือนสรางความรูเพื่อพัฒนาในเชิงอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ การมีสวนรวม รวมถึงการบูรณาการระหวางหนวยงาน โดยไมจํากัดวาเปนหนวยงานภาครัฐหรือเอกชน ซ่ึงเปนปจจัยแหงความสําเร็จที่สําคัญที่ตองดึงใหทั้ง 2 ภาคสวนเขามาทํางานรวมกัน ใชทรัพยากรทางการวิจัยรวมกัน รวมไปถึงการแบงผลประโยชนรวมกัน นอกจากนั้นยังตองมีการปรับแนวความคิดของภาคเอกชน เกี่ยวกับการมุงผลประโยชนเชิงธุรกิจ ใหมีสวนเอื้อประโยชนตอประเทศดวย ในแงของการสรางความเขมแข็งใหกับประเทศ ทั้งดานภาษีอากรที่สงกลบัมาพัฒนาประเทศ และการจางแรงงาน เปนตน

7. เมื่อมีการดําเนินงานตามแผนการแลว ยังจําเปนตองมีการกํากับ ดูแล สนับสนุน และสงเสริมใหสามารถดําเนินการไดอยางราบรื่น และสําคัญมากที่สุดที่เปนเรื่องที่ยังขาดอยูสําหรับวัฒนธรรมการทํางานของไทย คือ การตรวจสอบและประเมินอยางถูกตอง การนําผลที่ไดรับมาพัฒนา หรือปรับปรุงการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

8. สภาพแวดลอมและแนวโนมทั้งของโลกและของประเทศยังคงมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การวางยุทธศาสตรการพัฒนา แมจะกําหนดไดทั้งแผนระยะสั้น ระยะยาวแลวก็ตาม ยังคงตองมีการพิจารณาทบทวนยุทธศาสตรเปนระยะๆ ดวย เพื่อใหยุทธศาสตรนั้นทันสมัย ทันตอเหตุการณ

Page 121: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

9. ตามยุทธศาสตรเชิงรุกที่ไดนําเสนอ จําเปนตองมีการปรับเปลี่ยน พัฒนาระบบในหลายสวน ดังนั้น ถาผูที่รับผิดชอบจะสามารถปรับเปลี่ยนมโนทัศน และดําเนินการโดยยึดประโยชนสวนรวม ยึดความเจริญกาวหนาของประเทศเปนศูนยกลาง และปรับเปลี่ยนตนตามบทบาทหนาที่ที่ไดรับมอบและรับผิดชอบ ดําเนินงานใหเปนไปตามเปาหมาย ก็จะเปนเรื่องที่นายินดีอยางยิ่ง

สุดทายก็คือ ยุทธศาสตรในการพัฒนาดานการวิจัยเปนสวนหนึ่งที่เกี่ยวของกับกําลังอํานาจ ซ่ึงมีหลายสาขา เปนพลังขับเคลื่อนการพัฒนากําลังอํานาจในสาขานั้นๆ ไมวาจะเปนการเมือง เศรษฐกิจ การทหาร สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรเทคโนโลยี ส่ิงแวดลอมและพลังงาน ซ่ึงมุงประเด็นหลักแตละสาขา ดังนั้นหากนําไปใชอยางกลมกลืนสําหรับการพัฒนากําลังอํานาจของชาติแตละสาขาแลว ก็เชื่อวาจะชวยใหเกิดความมั่นคงของประเทศและชวยสรางความมั่งคั่งใหกับเศรษฐกิจของประเทศ สรางความเปนอยูที่ดีแกประชาชนชุมชนและสังคม ไดอยางแนนอนใหสมกับแนวคิดในการพัฒนาดานการวิจัยคือ

รวมพัฒนา “วิจัย”

เพื่อไทยกาวนาํในสากล บนเศรษฐกิจฐานความรู และสูสังคมอุดมปญญา ดวยปรัชญา “พอเพียง”

Enhancing research

Making Thailand be in the leading global arena

Towards the knowledge-based economy

And the wisdom-based society

With the self-sufficient philosophy

Page 122: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

บรรณานกุรม

ภาษาไทย หนังสือ กิตติ ล่ิมสกุล, รศ.ดร. บรรยายเรื่อง “ทิศทางการพัฒนางานวิจัยของประเทศไทย” การสัมมนา

คณาจารยคณะเศรษฐศาสตร ประจําป 2550 หัวขอ การพัฒนาศักยภาพงานวิจัยของคณะเศรษฐศาสตร. 16 – 18 มีนาคม 2550.

กรรมการนโยบายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, คณะ. แผนกลยุทธดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (พ.ศ. 2547 – 2556), กรุงเทพ : จีรวัฒนการพมิพ, มีนาคม 2547.

คณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํานักงาน. ทิศทางที่ทาทายแหงการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่10 : การเพิ่มมูลคาผลผลิตดวยฐานความรู. มิถุนายน 2548.

คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ภารกิจบริหารจัดการผลงานวิจัย, สํานักงาน. การพัฒนาอาชีพ นักวิจัย.กรุงเทพ : อรุณการพิมพ. 2550.

จรัส สุวรรณเวลา, ศ.นพ. ระบบวิจัยโลกกับระบบวิจัยไทย. กรุงเทพ : มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ. 2545.

ดํารงค วัฒนา, รศ.ดร. รายงานผลการวิจัยยุทธศาสตรการเชื่อมโยงเครือขายการวิจัยของประเทศ, 2548.

นโยบายและยุทธศาสตร, สํานักงาน, สํานักปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. แผนยุทธศาสตรกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ป 2551 – 2554.

นโยบายและวางแผนการวิจัย, กอง. การสํารวจคาใชจายและบุคลากรทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยประจําป 2548. กรุงเทพ : บริษัทอารตแอนดพารทอัพเดทจํากัด, มิถุนายน 2548.

ประเวศ วะสี, นพ. ระบบการวิจัยของประเทศ: ระบบสมองของประเทศ. กรุงเทพ : อุษาการพิมพ. กันยายน 2546.

ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, สํานักงาน. แผนปฏิบัติราชการ 4 ป พ.ศ. 2551 – 2554 กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย,ี เมษายน 2551.

พลศักดิ์ ปยะทัต. ปญหาและอุปสรรคของนักประดิษฐ. 2548. ไพรัช ธัชยพงษ, ศ.ดร. แนวทางการจัดตั้งผูบริหารวิทยาศาสตรระดับสูงของประเทศไทย. สิงหาคม

2548.

Page 123: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

วิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประทเศไทย, สภา. เอกสารประกอบคําบรรยายในการสัมมนาหัวขอ Investment strength in S&T Development. มีนาคม 2547.

วิจารณ พานิช, สถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม. จุดเปลี่ยนระบบการวิจัยไทย : วัฒนะหรือหายนะ. กรุงเทพ : อุษาการพิมพ. กันยายน 2546.

วุฒิสภา, สํานักเลขาธิการ. รายงานคณะทํางานการเขาถึงทุนสําหรับผูประกอบธุรกิจเทคโนโลยี เร่ือง แนวทางการเขาถึงทุนสําหรับธุรกิจเทคโนโลยี. 2550.

สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย, ดร. การปฏิรูประบบสนับสนุนการวิจัยพัฒนาเชิงพาณิชยและการสรางนวัตกรรมในภาคเอกชน, กรุงเทพฯ : มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ. 2546.

อนุกรรมาธิการการจัดการเทคโนโลยีในคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, คณะ, สภานิติบัญญัติแหงชาติ. รายงานผลการประชุมรวมกับหนวยงานถึงขอมูล ปญหา อุปสรรคในการดําเนินงานของหนวยงาน. 18 มกราคม 2550 – 17 พฤษภาคม 2550

อนุกรรมาธิการการจัดการเทคโนโลยีในคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, คณะ, สภานิติบัญญัติแหงชาติ, รายงานการพิจารณาศึกษา การพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย. สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา 2550.

ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํานักงาน. “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติ ฉบับที่ 10 (2550 - 2554)”. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://www.ldd.go.th/ Thai-html/05022007/PDF/PDF01/index.htm. 2552.

ภาษาตางประเทศ Books China, Ministry of Science and Technology of the People's Republic of China. National

guidelines for medium and long-term plans for Science and technology development (2006-2020). China, 2006.

Malaysia, Prime Minister’s Department. The Ninth Malaysia Plan 2006-2010. Malaysia, March 2006.

Tempittayapaisith, Arkhom. Office of the National Economic and Social Development Board, Thailand Government of Japan. “Thailand and Its Knowledge Economy”. The 3rd S&T Basic plan (FY 2006 – FY 2010) Japan. March 2006.

Page 124: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

Taiwan, National Science Council. National Science and technology development plan 2005 – 2008. Taiwan, June 2005.

Electronic Database “An Agenda for the Knowledge nation” (Online). Available : http://www.chifley.org.au/

publications/kn_report_020701.pdf. May 2009. IMD World Competitiveness Center. IMD World Competitiveness Yearbook 2004-2008.

(Online). Available : http://www.imd.ch/index.cfm?nav1=true. May 2008. Korea, Ministry of Science and technology. Vision 2025: Korea ‘s long - term plan for science

and technology development. (Online). Available : http://unpan1.un.org/intradoc/ groups/public/documents/APCITY/UNPAN008048.pdf, Korea. May 2008

“National Research Flahships”, Australia. (Online). Available : http://www.csiro.au/partnerships/ NRF.html

“Science and Technology Policy”, England. (Online). Available http://www.britishcouncil.org/ science-gost-science-and-technology-policy-2.htm . May 2009.

Singapore, Ministry of Trade and Industry. Science and Technology Plan 2010 (STP 2010). (Online). Available : http://app.mti.gov.sg/data/pages/885/doc/S&T%20Plan%202 010%20Report%20(Final%20as%20of%2010%20Mar%2006).pdf. May 2008.

Singapore, National Research Foundation, Prime Minister’s Office, Republic of Singapore. “Stratigy Research Programes” (Online). Available : http://www.nrf.gov.sg/nrf/ strategic.aspx?id=134. May 2009.

The national Research council. “The national academies” (Online). Available : http://sites. nationalacademies.org/nrc/index.htm. May 2009

Page 125: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

ประวัติยอผูวิจัย

ศาสตราจารย นายแพทยสุทธิพร จิตตมิตรภาพ

อายุ 54 ป การศึกษา

− แพทยศาสตรบัณฑิต จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย − วุฒิบัตรผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานศัลยศาสตรทั่วไป และ ดานกุมารศัลยศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย − Diploma in Paediatric and Neonatal Surgery มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศ

อังกฤษ − Certificate in Paediatric Hepatobiliary Surgery, King’s College School of

Medicine and Dentistry เมืองลอนดอน ประเทศอังกฤษ − Fellowship of the American College of Surgeons (FACS) − Mini MBA in Health จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย − นักศึกษาวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร พ.ศ. 2551

ตําแหนงปจจบุัน − ศาสตราจารย ภาควิชาศัลยศาสตร คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย

− ผูอํานวยการ ศูนยฝกอบรมปฐมพยาบาลและสุขภาพอนามัย สภากาชาดไทย − นายกสมาคมกุมารศัลยแพทยแหงประเทศไทย − President, Asian Association of Pediatric Surgeons − นายกสมาคมนักเรียนทุนบริติชเคานซิล − รองประธานราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย

หนาท่ีอ่ืนๆ ในปจจุบัน − กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ในการประเมินเพื่อเล่ือนตําแหนงดานศัลยศาสตรและกุมาร

ศัลยศาสตรของ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรมหาวิทยาลัยขอนแกน และ กระทรวงสาธารณสุข

ประสบการณวิชาชพี/บริหารวิชาการในอดีต − บรรจุเปนอาจารย ภาควิชาศลัยศาสตร เมื่ออายุ 27 ป

− ไดรับโปรดเกลาฯ แตงตั้งเปนศาสตราจารย (ระดับ 10) เมื่ออายุ 39 ป − รองอธิการบดี ดานวจิัย และวิรัชกิจ จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 126: 20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen

− ผูชวยอธิการบดี ดานวิชาการ − รองคณบดี ดานวิจยั คณะแพทยศาสตร − รองคณบดี บณัฑิตวิทยาลัย − ผูตรวจประเมนิคุณภาพสถาบัน Osaka University ประเทศญี่ปุน − บรรณาธิการ วารสารจดหมายเหตุทางการแพทย (ฐานขอมูล Medline) Thai Journal

of Surgery จุฬาลงกรณเวชสาร วารสารอุบัติเหตุ วารสารศัลยศาสตรจุฬา และ หนังสือดานการแพทย มากกวา 10 เลม

− ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สภานิตบิัญญัติแหงชาต ิ

− หัวหนาหนวยกุมารศัลยศาสตร − ประธานหนวยโสตทัศนศึกษาและโสตทศันูปกรณ คณะแพทยศาสตร − ประธานศูนยส่ือคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา คณะแพทยศาสตร

รางวัลท่ีไดรับ − รางวัลผลงานวิชาการ ผลงานวิจยัระดับประเทศ จากราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหง

ประเทศไทย และสมาคมตางๆ ตั้งแต ป พ.ศ. 2530-2540 รางวัลชนะเลศิ และ รางวัลรองชนะเลิศ รวม 15 รางวัล

− รางวัลผลงานวิจัยระดับนานาชาติ รางวัลชนะเลิศวิชาการ จาก Royal College of Surgeons of England พ.ศ. 2532 รางวัล Young Investigator Award จาก Japan Surgical Society พ.ศ 2537 รางวัล International Scholar Award จาก American College of Surgeons พ.ศ 2538 รางวัล BAPS Poster Award จากBritish Association of Pediatric Surgeons พ.ศ.2540 รางวัลผลงานวิจัยยอดเยีย่ม (ผูวิจยัรวม) จาก Asian Association of Pediatric Surgeons

− รางวัลชนะเลศิการประกวดตําราวิชาการ “ตําราศัลยศาสตร” จุฬาบุคแฟร พ.ศ. 2535 − แพทยดีเดน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ พ.ศ. 2539 − ทูตวิชาการ People to People “Ambassador” Award มูลนิธิ Dwight D. Eisenhower พ.ศ. 2545

− รางวัล International Award จาก UK.Council for Graduate Education พ.ศ. 2546 − รางวัลแพทยดเีดน รางวัลสมเด็จพระวันรัต แพทยสมาคมแหงประเทศไทย พ.ศ.2547