32
เอกภพ Univers โลกดาราศาสตร์ ดวงดาว และอวกาศ นายอดิพงศ์ ท่วมจอก

โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

เอกภพ Univers โลกดาราศาสตร์ ดวงดาว และอวกาศ

นายอดิพงศ์ ท่วมจอก

Page 2: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ความหมายของเอกภพ

เอกภพ (Universe) หมายถึง ระบบรวมของดาราจักรที่มีอาณาเขตกว้าง

ใหญ่ ไ พศ าลมาก เ ชื่ อ กั น ว่ า ใ น เ อกภพมี ด า ร าจั ก ร ร วมอยู่ ป ร ะมาณ

10,000,000,000 ดาราจักร(หมื่นล้านดาราจักร) ในแต่ละดาราจักรจะ

ประกอบด้วยระบบของ ดาวฤกษ์(Stars) กระจุกดาว (Star clusters) เนบิวลา

(Nebulae) หรือหมอกเพลิง ฝุ่นธุลีคอสมิก (Cosmic dust) ก๊าซ และที่ว่าง

รวมกันอยู่

Page 3: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ความเป็นมาของเอกภพ

นักปราชญ์ในสมัยก่อนมีความเชื่อเกี่ยวกับเอกภพโดยเชื่อว่ามีความสัมพันธ์

กับศาสนา จึงมีการสร้างแบบจ าลองของเอกภพเป็น 2 ส่วนโดยจินตนาการ

ด้วยการใช้โดมแบ่งเอกภพด้านนอกเป็นโลกของเทพและด้านในเป็นโลกของ

มนุษย์ และหลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ความรู้ทางดาราศาสตร์

ได้พัฒนาขึ้นจากการสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูล ของนักดาราศาสตร์

อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกตดาราศาสตร์ ซึ่งแต่เดิมแนวคิดส่วนใหญ่มาจากการ

จินตนาการ และการคาดเดาก็ปรากฏชัดขึ้นบนพื้นฐานของดาราศาสตร์และ

วิทยาศาสตร์

Page 4: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ก าเนิดเอกภพ

การก าเนิดเอกภพไม่มีใครรู้ว่าก าเนิดมาตั้งแต่เมื่อใดและเริ่มจากอะไร

จนกระทั่งศตวรรษที่ 20 หรือ ค.ศ.1927 ได้มีทฤษฎีใช้อธิบายการก าเนิดและ

ความเป็นมาของเอกภพที่มีความชัดเจนและน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น คือ ทฤษฎีการ

ระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ หรือ BigBang ทฤษฎีนี้ท าให้เอกภพมีการขยายตัวออก ซึ่ง

ทฤษฎีนี้กล่าวว่า ก่อนการเกิด BigBang เอกภพเป็นพลังงานล้วน ๆ ซึ่ง

แสดงออกโดยอุณหภูมิที่สูงยิ่ง จุด BigBang เป็นจุดที่พลังงานเริ่มเปลี่ยนเป็น

สสารครั้งแรก เป็นจุดเร่ิมต้นนของเวลาและเอกภพ

Page 5: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ก าเนิดเอกภพ

ปัจจุบันเอกภพประกอบด้วยกาแล็กซีจ านวนแสน

ล้านกาแล็กซีระหว่างกาแล็กซีเป็นอวกาศที่กว้างไกล

เอกภพจึงมีขนาดใหญ่มาก โดยมีรัศมีไม่น้อยกว่า

13,700 – 15,000 ล้านปีแสง และมีอายุประมาณ

1 3 ,700–1 5 , 000 ล้ า นปี ภ า ย ใ น ก าแล็ ก ซี

ประกอบด้วย ดาวฤกษ์ รวมทั้งแหล่งก าเนิดดาวฤกษ์

เรียกว่า เนบิวลา (Nebula) ซึ่งโลกของเราเป็นดาว

เคราะห์ ในระบบสุริยะ ซึ่ ง เป็นสมาชิกหนึ่ งของ

กาแล็กซี

Page 6: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

วิวัฒนาการของเอกภพ

วิวัฒนาการของเอกภพจึงควรเริ่มมาจากปริมาตรท่ีเล็กมากๆแต่มีสสารอยู่อย่าง อัดแน่น จู่ๆ ก็มี

การระเบิดออกอย่างรุนแรง ท าให้ปริมาตรเล็กๆ นั้นขยายตัวออกมาเป็นเอกภพดังเช่นในปัจจุบัน มี

ดังนี้

ขณะเกดิ Bigbang

มีสสารเกิดขึ้นในรูปของอนุภาคพื้นฐาน ชื่อ ควาร์ก (Quark) อิเล็กตรอน (Electron)

นิวทริโน และโฟตอน (Photon)

เมื่อเกิดอนุภาคก็มีการเกดิปฏอินุภาค ที่มีประจุไฟฟ้าตรงข้าม ยกเว้น นิวทริโน และ

แอนตินิวทริโนไม่มีประจุไฟฟ้า

เมื่อปฏิภาคกับอนุภาครวมกันเนื้อสารเกดิเป็นพลังงาน

หากอนุภาคเท่ากับปฏิภาคพอดี รวมกันจะไม่เกิดกาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ

Page 7: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
Page 8: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

หลังเกิด Bigbang เพียง 10 -6 วินาท ี

อุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็นสิบล้านล้านเควิน

ควาร์กเกิดการรวมตัว กลายเป็นโปรตอน (นิวเคลียสของไฮโดรเจน) ซึ่งมี ประจุไฟฟ้า

บวก 1 หน่วยและนิวตรอนซึ่งเป็นกลาง

Page 9: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

หลังเกิด Bigbang 3 นาท ี

อุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็นร้อยล้านเคลวิน

ท าให้โปรตอนและนิวตรอนเกิดการรวมตัวเป็นนวิเคลียสของฮีเลียม

ในช่วงแรก ๆ ท าให้เอกภพขยายตัวเร็วมาก

Page 10: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

หลังเกิด Bigbang 300,000 ปี

อุณหภูมลิดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียมดึงอิเล็กตรอน

เข้ามาสู่วงโคจร เกิดเป็นอะตอมไฮโดรเจนและฮีเลียม

Page 11: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

กาแล็กซีต่างๆเกิด Bigbang อย่างนอ้ย 1,000 ปี

ภายในกาแล็กซีมีธาตุไฮโดรเจน และฮีเลียมเป็นสารเบื้องต้น

ท าให้เกิดเป็นดาวฤกษร์ุ่นแรกๆ ส่วนธาตุที่มีนิวเคลียสใหญ่กว่าคาร์บอนเกิดจากดาว

ฤกษ์ขนาดใหญ ่

Page 12: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

บิกแบงและวิวัฒ

นาการขอ

งเอกภพ

Page 13: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ข้อสังเกตที่สนับสนุน Bigbang

ประการที่ 1: การขยายตัวของเอกภพ

เอ็ดวิน พ.ี ฮับเบิล นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษพบว่า กาแล็กซีที่

เคลื่อนที่ห่างออกไปด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้นตามระยะทาง

กาแล็กซีที่อยู่ไกลยิ่งเคลื่อนท่ีห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีที่อยู่ใกล้ นั่น

คือ เอกภพก าลังขยายตัว

ท าให้นักดาราศาสตร์ค านวณอายุของเอกภพได ้

Page 14: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

การเค

ลื่อนที่ของกาแล็กซ ี

Page 15: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ข้อสังเกตที่สนับสนุน Bigbang

ประการที่ 2 :อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพปัจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน

เป็นการค้นพบโดยบังเอิญของนักวิทยาศาสตร์ 2 คน คือ อาร์โน เพน

เซียส และโรเบิร์ต วิลสัน ทดลองระบบเครื่องสัญญาณของกล้อง

โทรทรรศน์วิทยุ ปรากฏว่ามีสัญญาณรบกวน ตลอดเวลา ทั้งกลางวัน

กลางคืน หรือฤดูต่างๆ ต่อมาจึงทราบว่าเป็นสัญญาณที่เหลืออยู่ใน

อวกาศ เทียบกับการแผ่รังสีของวัตถุด าที่มีอุณภูมิ 3 เคลวิน

โรเบิร์ต ดิกกี พี.เจ.อี.พีเบิลส์ เดวิด โรลล์ และเดวิด วิลคินสัน ได้

ท านายว่าการแผ่รังสีจากบิกแบงที่เหลืออยู่น่าจะตรวจสอบได้โดยกล้อง

โทรทรรศน์วิทยุ

Page 16: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ความหมายของกาแล็กซี

กาแลก็ซ ีคือ อาณาจักรหรือระบบของดาวฤกษ์จ านวนนับแสนล้านดวง อยู่รวมกันด้วย

แรงโน้มถ่วงระหว่างดวงดาวกับหลุมด าที่มีมวลมหาศาล ซึ่งอยู่ ณ ศูนย์กลางของกาแล็กซี

โดยมีเนบิวลาซึ่งเป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นละอองที่เกาะอยู่ในที่ว่างบางแห่งระหว่างดาวฤกษ์

Page 17: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ก าเนิดกาแล็กซี

กาแล็กซีก าเนิดขึ้นหลังจากบิกแบง 1,000

ล้านปีเกิดจากกลุ่มแก๊สซึ่งยึดเหนี่ยวด้วยแรงโน้ม

ถ่วงแยกเป็นกลุ่มๆ แต่ละกลุ่มก่อก าเนิดเป็นดาว

ฤกษ์จ านวนมากซึ่งเป็นสมาชิกของกาแล็กซี

กาแล็กซีที่ระบบสุริยะสังกัดอยู่ คือ กาแล็กซีทาง

ช้างเผือก นอกจากนี้ยังมีกาแล็กซีอื่น ๆ ได้แก่

กาแล็กซีเอนโดรเมดา กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่

และกาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก

Page 18: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

กาแล็กซีทางช้างเผอืก

กาแล็กซีทางช้างเผือก คือ ดาวฤกษ์จ านวนมากที่อยู่ไปทางเดียวกันโดยห่างจากโลก

ต่างกันนักดาราศาสตร์ทราบรูปร่างของทางช้างเผือก โดยศึกษาจากดาวฤกษ์ที่อยู่ใน

กาแล็กซี

Page 19: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

การสังเกตทางช้างเผือก

การสังเกตทางช้างเผือก จะสังเกตได้จะมี

ดาวฤกษ์บริเวณทางช้างเผือกและใกล้เคียง

ด้านซ้ายมือจะสังเกตเห็นกลุ่มดาวนายพราน

ขวามือบนของกลุ่มดาวนายพราน คือ กลุ่ม

ดาววัว ซึ่งมีดาวลูกไก่อยู่ในกลุ่มนี้ด้วย ด้าน

ซ้ายมือจะเห็นกาแล็กซีแอนโรเมดา เหนือ

กาแล็กซีแอนโดรเมดา คือ กลุ่มดาวค้างคาว

Page 20: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ อยู่ในกาแล็กซี

ทางช้างเผือก โดยระบบสุริยะอยู่ที่แขนของ

กาแล็กซีด้านกลุ่มดาวนายพราน อยู่ห่างจาก

ศูนย์กลางกาแล็กซีประมาณ 30,000 ปีแสง

ดังนั้น กาแล็กซีทางช้างเผือกจึงมีขนาดใหญ่ มี

รูปร่างคล้ายกังหัน มีบริเวณกลางสว่าง มีแขน

โค้งรอบนอกหลายแขน ระยะขอบหนึ่งผ่านจุด

ศูนย์กลางไปยังขอบหนึ่งยาว 100,000 ปีแสง

ถ้ามองจากด้านบน จะเห็นเมือกังหัน แต่ดูจาก

ด้านข้างจะคล้ายเลนส์นูนหรือจานข้าวประกบกัน

Page 21: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

กาลแล็กซีเพื่อนบ้าน

1. กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ : อยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกออกไปประมาณ

163,000 ปีแสง

Page 22: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

กาแล็กซีเพื่อนบ้าน

2. กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก

อยู่ห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกประมาณ

196,000 ปีแสง

ทั้งกาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ กาแล็กซีแมก

เจลแลนเล็ก เป็นชื่อที่ตั้ ง เป็นเกียรติแก่

เฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน นักส ารวจชาว

โปรตุเกส

กาแล็กซีทั้งสองมีลักษณะคล้ายเมฆ จัดเป็น

กาแล็กซีที่ไร้รูปร่าง อยู่ทางขอบฟ้าทางทิศใต ้

Page 23: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
Page 24: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

กาแล็กซีเพื่อนบ้าน 3. กาแลก็ซแีอนโดรเมดา

มีรูปร่างคล้ายก้นหอยหรือกังหัน

เส้นผ่าศูนย์กลาง 105 ปีแสง

มีดาวฤกษ์รวมกันอยู่ 400,000 ล้านดวง

กาแล็กซีแอนโรเมดามีลักษณะกลมขาวมัวๆใจกลางเป็นดาวสีแดง และดาว ที่มีอายุ

มาก

บริเวณมีนบิวลา สว่าง กลุ่มแก๊สและฝุ่น กระจุกดาวทรงกลมประกอบดว้ยดาวสีน้ า

เงิน

Page 25: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

กาแล็กซีแอนโดรเม

ดา

Page 26: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ประเภทของกาแล็กซี

นักดาราศาสตร์แบ่งกาแล็กซีเป็น 4 ประเภท คือ

1. กาแล็กซีกลมรีแบบรูปไข่

มีรูปร่างหลายแบบตั้งแต่เป็นจานจนถึงกลมรี

รูปร่างของกาแล็กซีแบนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการหมุนรอบตัวเอง

ถ้าหมุนช้ารูปร่างกลม ถ้าหมุนเร็วรูปร่างแบน

Page 27: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

กาแลก็ซีกลมรีแบบรูปไข่

กาแล็กซีกลมรีแบบรูปไข่

Page 28: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ประเภทของกาแล็กซี

2. กาแล็กซีก้นหอยหรือแบบกังหันธรรมดา

รูปทรงเป็นจานแบน ตรงกลางมีส่วนโป่ง มีดาวเป็นจ านวนมาก มีลักษณะตรง

กลางสว่างและมีแขนกังหัน แยกเป็น 3 ระดับ

จุดกลางสว่าง มีความหนาแน่นมาก มีแขนหลายแขน ใกล้ชิดกับศูนย์กลาง รูปร่าง

ชัดเจน เรียกว่า สไปรัลเอสเอ

จุดศูนย์กลางไม่สว่างมาก มีแขนหลวม ๆขยายออกเล็กน้อย เรียกว่า สไปรัลเอสบี

เช่น กาแล็กซีทางช้างเผือก และกาแล็กซีทางช้างเผือก

จุดกลางไม่เดนชัด ความสว่างและความหนาแน่นกระจายไปทั่วศูนย์กลาง มีแขน

กระจายชัดเจน เรียกว่า สไปรัลเอสซี

Page 29: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

กาแล็กซีกน้หอยหรือแบบกังหันธรรม

ดา

Page 30: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ประเภทของกาแล็กซี

3. กาแล็กซีก้นหอยคานหรือกังหันมีแกนหรือกังหันบาร์หรือบาร์สไปรัล

เป็นกาแล็กซีที่แกนหรือคาน เป็นศูนย์กลางและแกนสว่าง มีแขนที่อยู่ปลายทั้ง 2 ข้าง

แขนที่ต่อออกไปเป็นกังหัน แบ่งเป็น 3 ระดับ

แกนกลางสว่างชัดเจน มีคามหนาแน่นมาก แขนใกล้ชิดศูนย์กลาง การกระจายของ

แขนน้อย เรียกว่า เอสบีเอ

แกนกลางไม่สว่างมาก มีแขนหลวมๆขยายออกเล็กน้อย เรียกว่า เอสบีบี

แกนกลางไม่ชัด มีแขนหลวมๆที่แยกจากกันชัดเจน เรียกว่า เอสบีซ ี

Page 31: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

กังหันบาร์หรือบาร์สไปรัล

Page 32: โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ

ประเภทของกาแล็กซี

4. กาแล็กซีไร้รูปร่าง ไม่มีแกนกลาง ไม่มีแขนที่โค้งเป็นก้นหอย ไม่มีระนาบของความ

สมมาตร เช่น กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ กาแล็กซีแมเจลแลนเล็ก ที่มองเห็นด้วยตา

เปล่าทางซีกโลกใต้