68
รรรรรรรรรรร: รรร.1312-065 รรรรรรรรรรรรรรรรรร รรร รรร: / / .. 2559 โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ 1 โโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโ 1: โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ 1. โโโโโโโโโโโ 1.1 รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รร ( รรรรรรรรรรร ) รรรรรรรรรรรรรรรร 1.2 โโโโโโโโโโโโโ รรรรรร รรร: รรร.รรรรรรรรร รรร 3รรร. รร. รรร. 1.3 โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ รรรรรร 100 รรรรรร 4 รรรร/รรร - รรร - รรรรร/รรรร รรรร รรรรรร/รรร รรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรร 31170 รรรรรรรร รรรรรรรรรรร 081-9771027 รรรรรร Email [email protected] website 1.4 รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรร รรรรรรรร รรรร โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ : 75 รรรรรรรร โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ 1 รรรรรรร โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ : 13 รรรรรรรร โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ 30 รรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรร โโโโโโโโโโ

dekthaikamsai.com€¦ · Web viewโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

(สิ่งที่ส่งมาด้วย 4 - 1) (รหัสโครงการ: ศรร.1312-065สำหรับเจ้าหน้าที่วันที่: / / พ.ศ. 2559)แบบข้อเสนอโครงการ

ส่วนที่ 1: ข้อมูลพื้นฐานผู้เสนอโครงการ

1. ชื่อโครงการ

1.1 โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๒๖

(บ้านหนองหิน) จังหวัดบุรีรัมย์

1.2 ข้อมูลพื้นฐาน

สังกัดสพฐ: สพป.บุรีรัมย์ เขต3อปท.สช.กทม.

1.3 สถานที่ที่ตั้งโรงเรียนและการติดต่อ

เลขที่ 100 หมู่ที 4 ตรอก/ซอย-ถนน-

ตำบล/แขวง ถาวร อำเภอ/เขต เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ 31170

โทรศัพท์เบอร์มือถือ 081-9771027 โทรสาร

Email [email protected] website

1.4 โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่ลักษณะใด

ในเขตเมือง ชานเมือง ชนบท

ระยะทางจากโรงเรียนถึงจังหวัด : 75กิโลเมตรเดินทางโดยรถยนต์ประมาณ1ชั่วโมง

ระยะทางจากโรงเรียนถึงอำเภอ : 13กิโลเมตรเดินทางโดยรถยนต์ประมาณ 30นาที

รถยนต์สามารถเข้าถึงได้ทุกฤดูกาลหรือไม่ได้

1.5 ขนาดของพื้นที่ขนาดพื้นที่โรงเรียน : 31ไร่ 1งาน 96 ตรว. พื้นที่ทำเกษตรโรงเรียน : 10ไร่ -งาน -ตรว.1.6 จำนวนบุคลากรและขนาดโรงเรียนนักเรียน237 คน ครูและบุคลากร 18คน

กลุ่มเป้าหมายหลักที่เป็นนักเรียนแบ่งตามระดับใช้เรียน

อนุบาล

.........28.......... คน

ประถมศึกษา

.......116.......... คน

มัธยมศึกษา

..........91.......... คน

โรงเรียนขนาดเล็ก (ไม่เกิน 120 คน) โรงเรียนขนาดกลาง(ตั้งแต่ 121-300 คน)โรงเรียนขนาดใหญ่ (มากกว่า300 คนขึ้นไป)

1.7 โรงเรียนเคยดำเนินงานโครงการที่เกี่ยวข้องด้านอาหารและโภชนาการใดบ้าง (นับแต่ พ.ศ.2556 – ปัจจุบัน)

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับ.........ทอง...............

โครงการเด็กไทยสุขภาพดี

โครงการเด็กอ่อนหวาน

โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม

โรงเรียนอาหารปลอดภัย ปลอดโรค

โรงเรียน อย. น้อย

โครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการโภชนาการสมวัย

โครงการเด็กกินอิ่มเรายิ้มได้

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกาย ..................................

โครงการการส่งเสริมสุขภาพฟันและอนามัยช่องปาก .............................................................

อื่นๆ (โปรดระบุ)โครงการโรงเรียนลดภาวะโรคอ้วนต้นแบบด้วยหลัก 6 อ. ของ สสส.

อื่นๆ (โปรดระบุ)

อื่นๆ (โปรดระบุ)

อื่นๆ (โปรดระบุ)

2.ภาคี/องค์กร/ชุมชน/ผู้ปกครอง ที่ร่วมสนับสนุนการดำเนินงานด้านพัฒนาสุขภาพ

ลำดับที่

ชื่อหน่วยงาน/ชุมชน/ผู้ปกครอง

บทบาทหน้าที่

1.

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุตาพวง

- ดูแลสุขภาพพลานามัย น้ำหนัก ส่วนสูง

และภาวะทุพโภชนาการ

2.

เทศบาลตำบลถาวร

- อบรมนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพพลานามัย

3.

อสม. บ้านหนองหิน บ้านหนองปรือ

- ให้ความรู้ด้านโภชนาการ และดูแลสุขภาพพลานามัยนักเรียน และผู้ปกครอง

4.

สาธารณสุขอำเภอ เฉลิมพระเกียรติ

- ดูแล ส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

5.

สถานีตำรวจภูธรถาวร

- ให้ความรู้ด้านการป้องกันยาเสพติด ความปลอดภัยใน

สวัสดิภาพ และสวัสดิการต่าง ๆ

...

...

3. ผู้รับผิดชอบโครงการ

** ผู้รับผิดชอบโครงการ หมายถึงผู้ผู้บริหารโรงเรียน

1. ชื่อ-สกุล ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสนอง แก้วอำไพ

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก----

ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียน ไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน)

บทบาทหน้าที่ในโครงการอำนวยการและบริหารโครงการให้ประสบผลสำเร็จ

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก081-9771027ต่อ -*เบอร์มือถือ081-9771027

โทรสาร-* [email protected]

ที่อยู่ตามบัตรประจำตัวประชาชน

เลขที่ 299 หมู่ที่ 2ตรอก/ซอย-ถนน-

ตำบล/แขวงโคกว่านอำเภอ/เขต ละหานทรายจังหวัดบุรีรัมย์รหัสไปรษณีย์ 31170

ที่อยู่ปัจจุบัน : เหมือนที่อยู่ตามบัตรประชาชน (ไม่ต้องให้ข้อมูลแล้ว) ไม่เหมือน (ต้องให้ข้อมูล)

อาคาร/หมู่บ้าน

เลขที่หมู่ที่ตรอก/ซอยถนน

ตำบล/แขวงอำเภอ/เขตจังหวัดรหัสไปรษณีย์

2. ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยผู้รับผิดชอบโครงการนายสานิตย์ รณที

ตำแหน่งรองผู้อำนวยการโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26(บ้านหนองหิน)

บทบาทหน้าที่ในโครงการอำนวยความสะดวกและร่วมบริหารโครงการ

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก081-8773440ต่อ*เบอร์มือถือ081-8773440

โทรสาร-* Email-

4. รายชื่อผู้ดำเนินโครงการ/คณะทำงาน (ผู้รับผิดชอบหลักอย่างน้อย 2 คน)

บุคคลที่ 1

ชื่อ-สกุล นางวิภาพร เบียดกลาง

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก----

ตำแหน่ง ครู ชำนาญการพิเศษ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน)

บทบาทหน้าที่ในโครงการหัวหน้าโครงการ รับผิดชอบการดำเนินการตามโครงการทุกกิจกรรมโดยติดตาม ดูแลให้โครงการประสบผลสำเร็จ ตลอดจนดูแลระบบ ictของโครงการ และระบบการเงิน-การบัญชีของโครงการ

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก081-9665865ต่อ*เบอร์มือถือ098-1054875

โทรสาร* [email protected].......................................

บุคคลที่ 2

ชื่อ-สกุล นางกันยารัตน์ เข็มผะกา

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก----

ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้ดำเนินโครงการ

หน้าที่ในโครงการ ผู้ช่วยหัวหน้าโครงการ ครูอนามัยโรงเรียน ดูแลช่วยเหลือดำเนินการตามโครงการ และตามที่ได้รับมอบหมาย และทำหน้าที่ครูอนามัยโรงเรียน

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก 081-0732027ต่อ*เบอร์มือถือ081-0732027

บุคคลที่ 3

ชื่อ-สกุล นางแฉล้ม มากพูน

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก----

ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้ดำเนินโครงการ

หน้าที่ในโครงการครูอาหารกลางวัน ดูแลระบบ School Lunch

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก 089-5795817ต่อ*เบอร์มือถือ089-5795817

*บุคคลที่ 4-6 (ต้องมาจากองค์กรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่/ชุมชน เช่น รพ.สต/อปท./ผู้แทนชุมชน/ ผู้นำทางศาสนา/ สมาคมผู้ปกครอง/เอกชน หรือที่เรียกชื่ออย่างอื่นเป็นต้น)

ชื่อ-สกุล นางสาวศุลีมาศ ราชประโคน

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก 1-3198-00012-56-2

ตำแหน่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ปฏิบัติงาน

บทบาทหน้าที่ในโครงการสนับสนุนและช่วยเหลือเป็นที่ปรึกษา ด้านสุขภาพ อนามัยของนักเรียน

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวกต่อ*เบอร์มือถือ0956171271

โทรสาร* [email protected]

ชื่อ-สกุลนายทองสุข หล่อแหลม

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก3-310600422-50-1

ตำแหน่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ปฏิบัติงาน

บทบาทหน้าที่ในโครงการสนับสนุนและช่วยเหลือเป็นที่ปรึกษา ด้านสุขภาพ อนามัยของนักเรียน

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวกต่อ*เบอร์มือถือ081-3903036

ชื่อ-สกุลนางสาวศุลีมาศ ราชประโคน

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก 3-3106-00262-05-9

ตำแหน่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ปฏิบัติงาน

บทบาทหน้าที่ในโครงการสนับสนุนและช่วยเหลือเป็นที่ปรึกษา ด้านสุขภาพ อนามัยของนักเรียน

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวกต่อ*เบอร์มือถือ084-4304997

โครงสร้างการบริหารโครงการของโรงเรียน (โปรดระบุ)

(แสดงตัวอย่างแผนผังการทำงานและผู้รับผิดชอบ รวมทั้งฝ่ายการเงิน) สามารถปรับได้ตามความเหมาะสม

(ผู้รับผิดชอบโครงการนายสนอง แก้วอำไพ) (เจ้าหน้าที่รพ.สต.บุตาพวง)

(อสม.บ้านหนองหิน/บ้านหนองปรือ) (ผู้ช่วยผู้รับผิดชอบโครงการนายสานิตย์ รณที)

(กรรมารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานyhornho{ko)

(ฝ่ายการเงิน-การบัญชีนางวิภาพร เบียดกลาง) (นางแฉล้ม มากพูนกิจกรรม ครูอาหารกลางหิน) (นางกันยารัตน์ เข็มผะกากิจกรรม ครูอนามัย) (นางวิภาพร เบียดกลางกิจกรรม โครงการเด็กไทยแก้มใส)

ส่วนที่ 2: รายละเอียดข้อเสนอโครงการ

5. หลักการและเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ 8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544 พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น

จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน)จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้

ผลการดำเนินงานตามโครงการเด็กไทยแก้มใส

1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26(บ้านหนองหิน) ได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส ด้วยความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับหน่วยงานภาคีได้แก่กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ได้ดำเนินการจัดทำ “โครงการเด็กไทยแก้มใส” เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงาน ความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ไปปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อการแก้ไขปัญหาการขาดสารอาหารและการพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพในระยะยาวซึ่งได้ดำเนินการตามกรอบกลยุทธ์และแนวทางดำเนินการที่สำคัญ ได้แก่ ด้วยความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับหน่วยงานภาคีได้แก่กระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ได้ดำเนินการจัดทำ “โครงการเด็กไทยแก้มใส” เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงาน ความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ไปปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อการแก้ไขปัญหาการขาดสารอาหารและการพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพในระยะยาว 

1. การกำหนดแผนและการบริหารจัดการในโรงเรียน

2. เกษตรในโรงเรียน

2. การจัดบริการอาหารในโรงเรียน

3. การติดตามภาวะทุพโภชนาการ

4. การพัฒนาสุขนิสัยของโรงเรียน

5. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

6. การจัดบริการสุขภาพ

7. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านเกษตร โภชนาการและสุขภาพ

วัตถุประสงค์ มีดังนี้

1. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีในการทำเกษตรในโรงเรียน ไว้ใช้สำหรับโครงการอาหารกลางวันหมุนเวียน และเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตในอนาคต

2. เพื่อฝึกฝนนักเรียนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ 3. เพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการ และสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 4. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง 5. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพของตนเอง 6. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ และการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และยั่งยืน7. เพื่อให้นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

8. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ผลการดำเนินการ

จากการดำเนินงานตามองค์ประกอบของการประเมิน พบว่า

มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการสู่การเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ผลการประเมินอยู่ในระดับ 3.33 ระดับคุณภาพ ระดับ ดี

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ผลกาประเมินอยู่ในระดับ 3.40 ระดับคุณภาพ ระดับ ดี

มาตรฐานที่ 3 ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ผลการประเมินอยู่ในระดับ 3 ระดับคุณภาพ ระดับ ดี

เมื่อนำทั้งสามมาตรฐานมารวมกัน พบว่า ระดับคุณภาพในการดำเนินงานตามโครงการเด็กไทยแก้มใส อยู่ในระดับคุณภาพ ดี

ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญ

1. การดำเนินการเกี่ยวกับการเกษตร การปศุสัตว์ในโรงเรียน นักเรียนและครู ยังไม่มีความรู้

ความรับผิดชอบเพียงพอ

2. โรงเรียนพยายามจัดระบบสุขาภิบาลให้กับนักเรียนแต่ยังขาดความร่วมมือจากผู้ปกครองและ

ชุมชน

3.นักเรียนบางส่วนไม่ทานอาหารเช้ามาโรงเรียน เนื่องจากสาเหตุหลายประการ

4.ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินการ

ผลอื่นๆที่นอกเหนือจากเป้าหมาย/ที่คาดการณ์ไว้

จากการที่โรงเรียนได้ดำเนินการตามโครงการเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนมีความคาดหวังว่า จะพัฒนาต่อยอด ให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเกษตรเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน อีกทั้งสามารถจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่บุคคลทั่วไป โดยมีโครงการที่จะพัฒนาดังต่อไปนี้

1. โครงการเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนตามแนวพระราชดำริ

2. โครงการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร

3. โครงการผลิตสินค้าโอทอป

4. โครงการหารายได้ระหว่างเรียน

ทั้งนี้ เป้าหมายโดยรวม เพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กไทยให้มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของสังคมต่อไป

2. ตารางสรุปการดำเนินงานที่สำคัญเทียบกับตัวชี้วัด

ตัวชี้วัดโครงการ

การดำเนินงานที่สำคัญ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มาตรฐานที่ 1 : การบริหารจัดการสู่การเป็นโรงเรียนต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส

ตัวชี้วัดที่ 1.1 : โรงเรียนมีนโยบายและแผนปฏิบัติงานที่นำไปสู่เป้าหมายการเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

โรงเรียนจัดทำแผนปฏิบัติงานที่นำไปสู่เป้าหมายการเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

โรงเรียนมีนโยบายและแผนปฏิบัติงานที่นำไปสู่เป้าหมายการเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ตัวชี้วัดที่ 1.2 : มีความมุ่งมั่นตั้งใจและได้รับความร่วมมืออย่างดีจากเครือข่ายทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

จัดประชุมเครือข่ายทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ตัวชี้วัดที่ 1.3 : มีฐานข้อมูลด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียน ที่เป็นปัจจุบัน

จัดทำฐานข้อมูลด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียน ที่เป็นปัจจุบัน

มีฐานข้อมูลด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียน ที่เป็นปัจจุบัน

ตัวชี้วัดที่ 1.4 : มีแผนพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ

ได้ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมโครงการลดภาวะโรคอ้วนด้วยหลัก 6อ

ครูมีความรู้เรื่องการจัดการอาหารและโภชนาการ

ตัวชี้วัดที่ 1.5 : มีความพร้อมในการพัฒนาสู่การเป็นแหล่งเรียนรู้ “เด็กไทยแก้มใส” (ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร)

มีระบบจัดการอาหาร โภชนาการอย่างครบวงจร

มีระบบจัดการอาหาร โภชนาการอย่างครบวงจร

ตัวชี้วัดที่ 1.6: โรงเรียนมีระบบกำกับ ติดตาม และประเมินผล การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

โรงเรียนจัดทำระบบกำกับ ติดตาม และประเมินผล การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

โรงเรียนมีระบบกำกับ ติดตาม และประเมินผล การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

องค์ประกอบที่1:เกษตรในโรงเรียน

ตัวชี้วัดที่ 1.1 : โรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร และเลี้ยงสัตว์ หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่าย

โรงเรียนได้ดำเนินการปลูกผักบวบ ผักกาด ผักบุ้ง กล้วย มะนาว มะละกอ และเลี้ยงไก่ไข่

โรงเรียนมีผลิตผล จากการเกษตรและปศุสัตว์ในโรงเรียน เพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวันทุกสัปดาห์

ตัวชี้วัดที่ 1.2 : มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันนักเรียน

โรงเรียนมีการนำผลผลิตทางการเกษตร และ ปศุสัตว์ ไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันนักเรียน

มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันนักเรียน

องค์ประกอบที่2:สหกรณ์นักเรียน

ตัวชี้วัดที่ 2.1 : มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก

และดำเนินการโดยนักเรียน

โรงเรียนมีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก

และดำเนินการโดยนักเรียน

โรงเรียนมีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก

และดำเนินการโดยนักเรียน

องค์ประกอบที่ 3 :การจัดบริการอาหารนักเรียน

ตัวชี้วัดที่ 3.1 : มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียนหรือชุมชน

มีการจัดทำรายการอาหารไว้ทุกเดือน โดยใน 1 สัปดาห์อาหารไม่ซ้ำกัน ตามมาตรฐานโภชนาการสอดคล้องกับภาวะสุขภาพและผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียนหรือชุมชน

นักเรียนได้รับประทานอาหารครอบ 5 หมู่ทุกวัน ตามมาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียนหรือชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 3.2 : มีการปรุง ประกอบอาหาร ถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย

โรงเรียน จัดทำอาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม school lunchในการคำนวนสารอาหารและปริมาณอาหารให้เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัย และถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร

นักเรียนได้รับสารอาหารครบถ้วนถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย

ตัวชี้วัดที่ 3.3: มีการตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วนของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย และทันเวลา

โรงเรียนมีแม่ครัวตักอาหารให้กับนักเรียน โดยตักให้เหมาะสมกับวัยและทันเวลา

นักเรียนได้ปริมาณอาหารเหมาะสมตามวัยและทันเวลา

ตัวชี้วัดที่ 3.4 : มีการจัดอาหารว่าง ขนม และเครื่องดื่มที่ได้มาตรฐานโภชนาการ

โรงเรียนได้จัดอาหารว่างให้นักเรียนทุกวัน เช่นผลไม้ตามฤดูกาล ขนมไทย

นักเรียนได้รับอาหารว่างที่มีประโยชน์ทุกคน

องค์ประกอบที่ 4 :การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ตัวชี้วัดที่ 4.1 : มีระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพ

ทางกายของนักเรีย

โรงเรียนได้จัดทำสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวนักเรียน นักเรียนได้ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงทุกเดือนและมีการวัดสมรรถภาพทางภาคเรียนละ 1 ครั้ง

โรงเรียนมีข้อมูลเพื่อติดตามการเจริญเติบโตของนักเรียนเพื่อหาทางช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาวะได้

องค์ประกอบที่ 5 :การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

ตัวชี้วัดที่ 5.1 : มีกิจกรรมดำเนินการด้านพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนอย่างเป็นรูปธรรม

โรงเรียนมีโครงการลดภาวะโรคอ้วนและปัจจัยเสี่ยงด้วยหลัก 6 อ ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สสส. ซึ่งเป็นโครงการที่ส่งเสริมสุขภาพให้กับนักเรียนโดยเฉพาะกลุ่มนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์

นักเรียนมีสุขภาวะทางกายดีขึ้น กลุ่มนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลง อยู่ในภาวะปกติ ร้อยละ 50

องค์ประกอบที่ 6 : การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

ตัวชี้วัดที 6.1 : โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน และมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน

โรงเรียนผ่านการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองและน้ำดื่มที่ใช้ในโรงเรียนผ่านการตรวจคุณภาพน้ำของกรมทรัพยากรฯและได้ใบรับรองคุณภาพ

โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อมดี และมีน้ำบริโภคที่ได้มาตรฐาน

องค์ประกอบที่ 7 : การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ตัวชี้วัดที่ 7.1 : มีการให้บริการตรวจสุขภาพนักเรียน และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

โรงเรียนมีการให้บริการตรวจสุขภาพนักเรียนเป็นประจำทุกปี และมีห้องพยาบาลที่สามารถให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นกับนักเรียนอย่างเหมาะสม

นักเรียนสุขภาพแข็งแรง และถ้าเจ็บป่วยก็ได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นได้ทันท่วงที

องค์ประกอบที่ 8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ

ตัวชี้วัดที่ 8.1 : มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรม ที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส

โรงเรียนมีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรม ที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใสในทุกระดับชั้น

นักเรียนได้เรียนรู้กิจกรรม ที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส

ตัวชี้วัดที่ 8.2 : การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ

โรงเรียนได้นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพเช่น การเพาะเห็ดนางฟ้า ปลูกบวบ

นักเรียนและครูมีความรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพมากขึ้น

ตัวชี้วัดที่ 8.3 : มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ

โรงเรียนมีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ

นักเรียนได้เรียนรู้ ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพได้เข้าใจมากขึ้น

3. กิจกรรมการดำเนินงาน / แผนการดำเนินงานปีที่ 1 (ธันวาคม 2557 – พฤศจิกายน 2558)

ชื่อแผนงาน/กิจกรรม

ผลลัพธ์/ผลผลิต

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม

งบประมาณ

ธ.ค.57-มี.ค.58

เม.ย.-ก.ค.58

ส.ค.-พ.ย.58

งบดำเนินการ

1. การเกษตรในโรงเรียน

นักเรียนมีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีในการทำเกษตรในโรงเรียน

8,000

2. สหกรณ์นักเรียน

นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์

2,000

3. การจัดบริการอาหารของโรงเรียน

นักเรียนได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการ

5,000

4. การติดตามภาวะโภชนาการ

นักเรียนสามารถประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและสุขภาพได้ด้วยตนเอง

5,000

5. การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน

นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพของตนเอง

5,000

6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

นักเรียนมีทักษะในการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะและใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด

15,000

7. กาจัดบริการ

สุขภาพ

นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

5,000

8. การจัดการ

เรียนรู้บูรณา

การด้านเกษตร

โภชนาการ และ

สุขภาพ

มีสื่อ นวัตกรรม ชุดความรู้ และฐานการเรียนรู้ ของโรงเรียน ด้านเกษตรโภชนาการและสุขภาพ

5,000

ชื่อแผนงาน/กิจกรรม

ผลลัพธ์/ผลผลิต

ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม

งบ

ประมาณ

ธ.ค.57-มี.ค.58

เม.ย.-ก.ค.58

ส.ค.-พ.ย.58

งบบริหารจัดการ

- จัดประชุม

คณะกรรมการ/

คณะทำงาน ปีละ

3 ครั้ง

แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

3,000

- การจัดการข้อมูลสารสนเทศ

มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ครบถ้วนสมบูรณ์

1,000

- การติดตาม ประเมินผล

มีคณะกรรมการติดตามและประเมินผลที่เป็นรูปธรรม

1,000

- ค่าใช้สอยและวัสดุสำนักงาน

มีวัสดุเพียงพอ

4,000

- ค่าจัดทำรูปเล่ม

สรุปรายงาน

ความก้าวหน้าและ

รายงานฉบับ

สมบูรณ์ของ

โครงการฯ

มีเอกสารายงานฉบับสมบูรณ์สำหรับเป็นข้อมูลในการสืบค้นต่อไป

1,000

รวมงบประมาณที่ขอสนับสนุนจาก สสส. ภายในวงเงิน60,000 บาท หมายเหตุ : งบประมาณพิจารณาจากกิจกรรมการดำเนินงาน

4.สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน

กิจกรรมหลัก

งบประมาณ

1. ทำการเกษตรในโรงเรียน สำหรับโครงการอาหารกลางวัน และขายผ่านสหกรณ์โรงเรียนกิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้1.1 ปลูกผักสวนครัว เช่น พริก กระชาย ตะไคร้ โหระพา

กระเพรา บวบ มะนาว เป็นต้น1.2 ปลูกพืชผักพื้นบ้าน เช่น ชะอม มะเขือ ต้นกล้วย ต้นมะละกอ 1.3 เพาะเห็ดนางฟ้าในโรงเรือน1.4 ปลูกพืชสมุนไพร เช่นใบเตย และแก่นตะวัน สำหรับแปรรูป เป็นน้ำสมุนไพร

8,000

2. กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนกิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้2.1 การรวมหุ้นสหกรณ์ของครู และนักเรียน2.2 ประชุมเพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์โรงเรียน2.3 ประชุมคณะกรรมการสหกรณ์โรงเรียนเพื่อวางแผนการซื้อ ขาย การตลาด

2.4 ดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์ ซื้อ – ขาย ผ่านสหกรณ์ ได้แก่ กิจกรรมร้านค้า กิจกรรมออมทรัพย์ และกิจกรรมส่งเสริมการผลิต นำสินค้าในชุมชนฝากขายสหกรณ์2.5 จัดทำบัญชีสหกรณ์ ได้แก่ บัญชีสินค้า บัญชีรับ-จ่าย ประจำวัน บัญชีสมาชิก

2,000

3. กิจกรรมจัดบริการอาหาร กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้3.1โรงเรียนปรับปรุงพื้นที่ในการประกอบอาหารและรับประทานอาหาร ให้สะดวก สะอาด และปลอดภัย3.2 โรงเรียนจัดหาอุปกรณ์เครื่องครัวสำหรับการประกอบอาหาร และจัดเตรียมภาชนะสำหรับใส่อาหารสำหรับนักเรียน ให้เพียงพอ และเตรียมสถานที่ล้างภาชนะให้เหมาะสม3.3 ประชุมสร้างความเข้าใจกับผู้ประกอบอาหาร เกี่ยวกับการจัดทำอาหารให้ถูกสุขลักษณะโดยจัดเมนูสุขภาพถูกหลัก โภชนาการ เพิ่มปริมาณให้เพียงพอเหมาะสม จัดอาหารเสริมนมและผลไม้ตามฤดูกาล

5,000

4. กิจกรรมการติดตามภาวะโภชนาการ กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้4.1 จัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง สำหรับการติดตามภาวะโภชนาการ เป็นประจำทุกเดือน 4.2 แปลผล BMI และการนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนรายบุคคล

4.3 ให้ความร่วมมือกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลตรวจสุขภาพนักเรียน4.4 ครูตรวจความสะอาดร่างกายของนักเรียนอยู่เสมอ

5,000

5. กิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้5.1 จัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง “กินดีมีสุขนิสัย” 5.2 การกำหนดข้อตกลงในการรับประทานอาหาร ข้อปฏิบัติในการรับประทานอาหาร และข้อปฏิบัติหลังรับประทานอาหาร5.3 จัดกิจกรรมออกกำลังกายตอนเช้าหน้าเสาธงและในเวลาว่าง

5,000

6. กิจกรรมการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้6.1 ปรับปรุงอาคารเรียนและบริเวณโรงเรียนให้มั่นคงปลอดภัยสำหรับนักเรียน และสะดวก สะอาดน่าอยู่อาศัย โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด6.2 ปรับปรุงห้องน้ำ ให้สะดวก สะอาด ปลอดภัย และเพียงพอสำหรับนักเรียน6.3 ปรับปรุงห้องพยาบาล ให้สะดวก สะอาด ปลอดภัย และเพียงพอสำหรับนักเรียน6.4 จัดให้มีจุดบริการน้ำดื่มสะอาด (เสริมไอโอดีน)ให้สะดวก สะอาด ปลอดภัย และเพียงพอสำหรับนักเรียน6.5 จัดเตรียมแหล่งกำจัดขยะ น้ำเสีย ให้สะดวก และปลอดภัยสำหรับนักเรียน

15,000

7. กิจกรรมการจัดบริการสุขภาพ กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้7.1 จัดหายารักษาโรคเบื้องต้นเพื่อใช้บริการให้เพียงพอสำหรับนักเรียน7.2 จัดหาชุดปฐมพยาบาลเบื้องต้นเพื่อใช้บริการให้เพียงพอสำหรับนักเรียน7.3 จัดให้มีบริการสุขภาพ นำส่งนักเรียนไปสถานพยาบาลในกรณีที่เจ็บป่วย

5,000

8. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย

กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้- กำหนดให้มีการจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย และเศรษฐกิจพอเพียง โดยบูรณาการ 8 กลุ่มสาระในทุกชั้นเรียน

5,000

9. - จัดประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงาน ปีละ ..3... ครั้ง

3,000

- การจัดการข้อมูลสารสนเทศ

1,000

- การติดตาม ประเมินผล

1,000

- ค่าใช้สอยและวัสดุสำนักงาน

4,000

-ค่าใช้จ่ายทำรูปเล่มรายงานความก้าวหน้าและรายงานฉบับสมบูรณ์ของโครงการ

1,000

รวมงบประมาณที่ขอสนับสนุนจาก สสส.ภายในวงเงิน 60,000 บาท

5.สรุปผลการติดตามประเมินภายใน

สรุปผลการประเมิน “โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส”

เกณฑ์การประเมิน/

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงาน

ระดับการประเมิน

ดีมาก

ดี

พอ

ใช้

ยังไม่น่าพอใจ

ยังไม่ได้ดำเนินการ

4

3

2

1

0

มาตรฐานที่ 1 : การบริหารจัดการสู่การเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ตัวชี้วัดที่ 1.1:โรงเรียนมีนโยบายและแผนปฏิบัติงานที่นำไปสู่เป้าหมายการเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

ตัวชี้วัดที่ 1.2:มีความมุ่งมั่นตั้งใจและได้รับความร่วมมืออย่างดีจากเครือข่ายทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ตัวชี้วัดที่ 1.3:มีฐานข้อมูลด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียน ที่เป็นปัจจุบัน

ตัวชี้วัดที่ 1.4:มีแผนพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ

ตัวชี้วัดที่ 1.5 :มีความพร้อมในการพัฒนาสู่การเป็นแหล่งเรียนรู้ “เด็กไทยแก้มใส” (ด้านการจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร)

ตัวชี้วัดที่ 1.6:โรงเรียนมีระบบกำกับ ติดตาม และประเมินผล การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 =20

ดี

มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

องค์ประกอบที่1:เกษตรในโรงเรียน

ตัวชี้วัดที่ 1.1 : โรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร และเลี้ยงสัตว์หรือประมง โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ชุมชนและเครือข่าย

ตัวชี้วัดที่ 1.2:มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และประมงไปใช้ในโครงการอาหารกลางวันนักเรียน

รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 1 =8

องค์ประกอบที่2:สหกรณ์นักเรียน

ตัวชี้วัดที่ 2.1:มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก

และดำเนินการโดยนักเรียน

รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 2 =4

องค์ประกอบที่ 3 :การจัดบริการอาหารนักเรียน

ตัวชี้วัดที่ 3.1:มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียนหรือชุมชน

ตัวชี้วัดที่3.2:มีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย

ตัวชี้วัดที่ 3.3:มีการตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วนของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย และทันเวลา

ตัวชี้วัดที่ 3.4 :มีการจัดอาหารว่าง ขนม และเครื่องดื่มที่ได้มาตรฐานโภชนาการ

รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 3 =14

องค์ประกอบที่ 4 :การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ตัวชี้วัดที่ 4.1:มีระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียน

รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 4 =3

องค์ประกอบที่ 5 :การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

ตัวชี้วัดที่5.1:มีกิจกรรมดำเนินการด้านพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนอย่างเป็นรูปธรรม

รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 5 =3

องค์ประกอบที่ 6 : การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

ตัวชี้วัดที 6.1:โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน

รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 6 =3

องค์ประกอบที่ 7 : การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ตัวชี้วัดที่ 7.1:มีการให้บริการตรวจสุขภาพนักเรียน และให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างเหมาะสม

รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 7 =4

องค์ประกอบที่ 8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ

ตัวชี้วัดที่ 8.1:มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและกิจกรรมที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส

ตัวชี้วัดที่ 8.2:การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ

ตัวชี้วัดที่ 8.3:มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ

รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 8 =9

รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 =48

ดี

เกณฑ์การประเมิน/

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงาน

เป้าหมาย

(ร้อยละ)

ผลงาน

(ร้อยละ)

ระดับการประเมิน (ร้อยละ)

ระดับคะแนน

4

3

2

1

0

3.1ผลผลิต

ก. ด้านความรู้

ตัวชี้วัดที่ 3.1.1 : ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านเกษตร

ตั้งแต่ระดับดี – ดีมาก (คู่มือการเกษตร)

≥70

65

≥70

60-69

50-59

<50

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดที่ 3.1.2 : ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านสหกรณ์ตั้งแต่ระดับดี – ดีมาก (คู่มือสหกรณ์)

≥70

61

≥70

60-69

50-59

<50

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดที่ 3.1.3 : ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านโภชนาการและสุขภาพ ตั้งแต่ระดับดี – ดีมาก(ชุดเรียนรู้โภชนาการสมวัย เด็กไทยแก้มใส ชุดเรียนรู้ทันตสุขภาพ และแบบฟอร์มที่1)

≥70

68

≥70

60-69

50-59

<50

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

ข. ด้านทักษะ

ตัวชี้วัดที่ 3.1.4 : ร้อยละของนักเรียน ที่มีคะแนนการทดสอบทักษะด้านเกษตร ตั้งแต่ระดับดี – ดีมาก

≥70

72

≥70

60-69

50-59

<50

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดที่ 3.1.5 : ร้อยละของนักเรียน ที่มีคะแนนการทดสอบทักษะด้านสหกรณ์ ตั้งแต่ระดับดี – ดีมาก

≥70

68

≥70

60-69

50-59

<50

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดที่ 3.1.6 : ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนการทดสอบทักษะด้านโภชนาการและสุขภาพ(ธงโภชนาการ ผักผลไม้ และทันตสุขภาพ) ตั้งแต่ระดับดี–ดีมาก

≥70

64

≥70

60-69

50-59

<50

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

3.2ผลลัพธ์

ตัวชี้วัดที่ 3.2.1 : ร้อยละของนักเรียนที่มีคะแนนการประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและออกกำลังกาย ตั้งแต่ระดับดี – ดีมาก (แบบฟอร์มที่ 2)

≥80

85

≥80

70-79

60-69

<60

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดที่ 3.2.2 : ร้อยละของนักเรียน ที่มีคะแนนการประเมินสุขนิสัยตาม สุขบัญญัติแห่งชาติ ในระดับดี

(แบบฟอร์มที่ 3)

≥80

78

≥80

70-79

60-69

<60

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดที่ 3.2.3 : เหตุการณ์ระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ

(แบบฟอร์มที่ 4)

ไม่มีการระบาดหรือ มี 1ครั้ง/ปี

0

ไม่มีการระบาด หรือมี 1ครั้ง/ปี

2ครั้ง/ปี

3 ครั้ง/ปี

>3ครั้ง/ปี

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

3.3ผลกระทบ

ก. ด้านโภชนาการ

ตัวชี้วัดที่ 3.3.1 : ร้อยละของนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน(เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน : มากกว่าหรือเท่ากับ +2 S.D.ขึ้นไป)

(แบบฟอร์มที่ 5)

≤10หรือลดลงอย่างน้อย ร้อยละ0.5ต่อปีเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของร.ร.

ผลงานร้อยละ

3.61 สถาน การณ์เดิมของ ร.ร ร้อยละ

6.06

≤10หรือลดลงมากกว่าร้อยละ0.5ต่อเทียบกับสถานการณ์เด

ลดลงร้อยละ 0.4-0.5

เมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

ลดลงร้อยละ 0.1-0.3

เมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

≥10และไม่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

เกณฑ์การประเมิน/

ตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงาน

เป้าหมาย

(ร้อยละ)

ผลงาน

(ร้อยละ)

ระดับการประเมิน (ร้อยละ)

ระดับคะแนน

4

3

2

1

0

ตัวชี้วัดที่ 3.3.2 : ร้อยละของนักเรียนที่มีภาวะผอม(เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน : น้อยกว่าหรือเท่ากับ-2 S.D.)

(แบบฟอร์มที่ 5)

≤7

หรือลดลงอย่างน้อยร้อยละ0.5ต่อปีเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของร.ร.

ผลงาน0.4สถาน การณ์เดิม ของ ร.ร .

6.9

≤7

หรือลดลงมาก กว่าร้อยละ0.5ต่อปีเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิม

ลดลงร้อยละ 0.4-0.5

เมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

ลดลงร้อยละ 0.1-0.3

เมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

≥7 และไม่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดที่ 3.3.3 : ร้อยละของนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย(เด็กนักเรียนที่มีส่วนสูงต่ออายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน : น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D.)

(แบบฟอร์มที่ 5)

≤5

หรือลดลงอย่างน้อยร้อยละ 0.5ต่อปีเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของโรงเรียน

ผลงานร้อยละ0 สถาน การณ์เดิมของ ร.ร. ร้อยละ

0

≤5

หรือลดลงมาก

กว่าร้อยละ0.5ต่อปีเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิม

ลดลงร้อยละ 0.4-0.5

เมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

ลดลงร้อยละ 0.1-0.3

เมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

≥5และไม่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

ข. ด้านสุขภาพ

ตัวชี้วัดที่ 3.3.4 : ร้อยละของนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายเหมาะสมตามวัยใน 3ด้าน คือ การไหลเวียนเลือด ความแข็งแรงกล้ามเนื้อ และความอ่อนตัว

≥70

92

≥70

60 -69

50-59

<50

ยังไม่ดำเนินการ/ ไม่มีข้อมูล

ตัวชี้วัดที่ 3.3.5 :ร้อยละของนักเรียนที่เป็นโรคฟันผุ

(แบบฟอร์มที่ 6)

ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 1ต่อปีเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิมของ ร.ร.

ผลงานร้อยละ9.64สถาน การณ์เดิมของ ร.ร .

ร้อยละ

15.58

ลดลง มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ1ต่อปีเมื่อเทียบกับสถานการณ์เดิม.

ลดลงร้อยละ 0.5-0.9

เมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

ลดลงร้อยละ 0.1-0.4

เมื่อเทียบกับสถาน การณ์เดิม

เท่ากับสถาน การณ์เดิมหรือ ไม่เพิ่มขึ้น