10
บทที14 เรื่อง การสร้างต้นแบบงานนาเสนอ 1. สร้างต้นแบบของสไลด์ (Slide Master) การปรับแต่ง Slide Master ที่เป็นต้นแบบภาพนิ่งหรือที่เรียกว่า Template การปรับแต่ง Slide Master นี้จะช่วยให้เราสร้างรูปแบบและลักษณะที่เป็นต้นแบบของสไลด์ได้อย่างง่ายๆ 1.1 Slide Master คืออะไร Slide Master คือ ส่วนหนึ่งของต้นแบบภาพนิ่ง (Template) มีหน้าที่เก็บข้อมูล มาตรฐานของโปรแกรม PowerPoint 2007 เช่น ขนาดและชนิดของตัวอักษร, รูปแบบของหัวข้อ ย่อย, ตาแหน่งและกรอบของออบเจ๊กต์ต่างๆ รวมไปถึงรูปแบบพื้นหลังและสีบนสไลด์ เราสามารถ แก้ไขข้อมูลมาตรฐานของแบบภาพนิ่งได้ โดยผ่านทาง Slide Master รูปที14.1 แสดงต้นแบบสไลด์ภาพนิ่ง (Slide Master) (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ , 2553)

Unit 14

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Unit 14

บทท่ี 14

เร่ือง การสร้างต้นแบบงานน าเสนอ

1. สร้างต้นแบบของสไลด์ (Slide Master) การปรับแต่ง Slide Master ที่เป็นต้นแบบภาพนิ่งหรือที่เรียกว่า Template การปรับแต่ง Slide Master นี้จะช่วยให้เราสร้างรูปแบบและลักษณะที่เป็นต้นแบบของสไลด์ได้อย่างง่ายๆ 1.1 Slide Master คืออะไร Slide Master คือ ส่วนหนึ่งของต้นแบบภาพนิ่ง (Template) มีหน้าที่เก็บข้อมูลมาตรฐานของโปรแกรม PowerPoint 2007 เช่น ขนาดและชนิดของตัวอักษร, รูปแบบของหัวข้อย่อย, ต าแหน่งและกรอบของออบเจ๊กต์ต่างๆ รวมไปถึงรูปแบบพ้ืนหลังและสีบนสไลด์ เราสามารถแก้ไขข้อมูลมาตรฐานของแบบภาพนิ่งได้ โดยผ่านทาง Slide Master

รูปที่ 14.1 แสดงต้นแบบสไลด์ภาพน่ิง (Slide Master) (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 2: Unit 14

1.2 วิธีสร้างต้นแบบ Slide Master การปรับเปลี่ยนต้นแบบใน Slide Master มีข้ันตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม (Office Button) > สร้าง ขั้นตอนที่ 2 คลิกแท็บ (View) ขั้นตอนที่ 3 คลิกปุ่ม เพ่ือเข้าไปใน Slide Master ขั้นตอนที่ 4 จะปรากฏแท็บต้นแบบภาพนิ่ง

รูปที่ 14.2 แสดงต้นแบบสไลด์ภาพน่ิง (Slide Master)

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 3: Unit 14

1.3 ปรับแต่งตัวอักษรบน Slide Master การปรับแต่งตัวอักษรบน Slide Master มีข้ันตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 คลิก Slide Master ขั้นตอนที่ 2 ลากเมาส์คลุมกลุ่มตัวอักษรที่ต้องการ

รูปที่ 14.3 แสดงการเปิดหน้าต่าง Slide Master (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 3 คลิกแท็บ (Home) เพื่อเปลี่ยนสีหรือแบบตัวอักษร ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม เพ่ือเลือกสีที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 5 ตัวอักษรเป็นสีที่ต้องการ

รูปที่ 14.4 แสดงการปรับแต่ง Slide Master (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 4: Unit 14

ขั้นตอนที่ 6 ในทุกต้นแบบภาพนิ่งในระดับถัดไปจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเหมือนกับ Slide Master

รูปที่ 14.5 แสดงการเปลี่ยนสีใน Slide Master

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 7 ถ้าต้องการออกจาก Slide Master ให้คลิกปุ่ม บนแท็บต้นแบบภาพนิ่ง 1.4 ปรับแต่งพ้ืนหลังบน Slide Master การปรับแต่งพ้ืนหลังให้กับ Slide Master มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คลิก Slide Master ขั้นตอนที่ 2 คลิกปุ่ม เพื่อเลือกลักษณะพ้ืนหลัง ขั้นตอนที่ 3 คลิกเลือกแบบที่ต้องการ

รูปที่ 14.6 แสดงการปรับแต่งพ้ืนหลังบน Slide Master

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 5: Unit 14

1.5 เรียกใช้ต้นแบบ Slide Master ท่ีสร้างใหม่ การเรียกใช้ต้นแบบ Slide Master ที่เราได้ตั้งค่าในออบเจ็กต์แล้วน ามาใช้งาน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 หลังจากปรับแต่งต้นแบบ Slide Master เรียบร้อยแล้ว หากเราต้องการแก้ไขในต้นแบบ Slide Master ขั้นตอนที่ 2 คลิกปุ่ม เพ่ือปิดมุมมองต้นแบบภาพนิ่ง

รูปที่ 14.7 แสดงการปิดมุมมองต้นแบบ

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 3 สังเกตสไลด์แผ่นแรกจะเปลี่ยนลักษณะเป็นค่าที่เลือกไว้

รูปที่ 6.8 แสดงการเปลี่ยนลักษณะค่าที่เลือกไว ้

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 6: Unit 14

ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม เพ่ือเลือกต้นแบบภาพนิ่ง ขั้นตอนที่ 5 คลิกเลือกต้นแบบตามต้องการ

รูปที่ 14.9 แสดงการเลือกต้นแบบ

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 6 เรียกใช้งานต้นแบบภาพนิ่งที่เราได้สร้างไว้

รูปที่ 14.10 แสดงการเรียกใช้ต้นแบบภาพนิ่งที่เราสร้างได้ตามต้องการ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 7: Unit 14

นอกจากการสร้างต้นแบบของสไลด์ (Slide Master) แล้ว เรายังสามารถสร้างต้นแบบของมุมมองอ่ืนๆ ได้อีกด้วย ได้แก่ มุมมอง Handout ส าหรับพิมพ์งานน าเสนอออกทางเครื่องพิมพ์เพ่ือใช้ประกอบในการบรรยาย และมุมมอง Notes ส าหรับพิมพ์บันทึกย่อ ซึ่งในการสร้างจะมีวีการเดียวกับการสร้างต้นแบบของสไลด์ โดยคลิกปุ่มมุมมองที่ส่วนของ Presentation Views ดังนี้

- คลิกเพ่ือสร้างต้นแบบของมุมมอง Handout

- คลิกเพ่ือสร้างต้นแบบของมุมมอง Notes

2. สร้างรูปแบบสไลด์ส าเร็จรูป (Themes) หลังจากท่ีได้สร้างต้นแบบของสไลด์แล้ว จะเห็นได้ว่าต้นแบบของสไลด์ที่ได้สร้างข้ึนมานั้นจะเก็บอยู่ที่ไฟล์น าเสนอที่สร้างไว้เพียงไฟล์เดียว หากเราต้องการน ารูปแบบที่ได้ก าหนดให้กับต้นแบบของสไลด์ไปใช้กับงานน าเสนออ่ืนๆ เราจะต้องสร้างเป็นธีม (Theme) ก่อน เพื่อเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป โดยจะต้องสร้างเป็นต้นแบบของสไลด์ก่อนและเข้าสู่การบันทึกเพ่ือสร้างธีม มีข้ันตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม (Office Button) > เลือกค าสั่ง Save As (หลังจากสร้างต้นแบบของสไลด์แล้ว)

ขั้นตอนที่ 2 ก าหนดชื่อของธีมที่ช่อง ขั้นตอนที่ 3 ก าหนดชนิดการบันทึกเป็น ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม จากนั้นธีมนี้จะถูกเก็บไว้ในเครื่อง ซึ่งเราสามารถใช้งาน

จากไฟล์อื่นๆ ได้ ขั้นตอนที่ 5 หลังจากท่ีบันทึกเป็นรูปแบบสไลด์ส าเร็จรูปเรียบร้อยแล้ว จะถูกจัดเก็บไว้ที่

ชุดของธีม ซึ่งเราสามารถเรียกใช้งานได้ที่แท็บ

Page 8: Unit 14
Page 9: Unit 14

รูปที่ 14.11 แสดงการเรียกใช้งานสไลด์ส าเร็จรูปท่ีสร้างขึ้นใหม่

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 10: Unit 14

ใบงานที่ 14.1 ก าหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 60 นาที

จุดประสงค์ของงาน

1. สร้างงานน าเสนอ โดยมีกล่องข้อความ Textbox สร้างข้อความอักษรศิลป์ WordArt และรูปวาด ต่าง ๆ Drawing

2. ใส่พื้นหลัง Background และ แทรกรูปภาพ Picture กิจกรรม

ค าสั่ง ให้นักศึกษาออกแบบงานน าเสนอภาพนิ่งเรื่อง งานประชาสัมพันธ์ หรืองานการขายสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยก าหนดให้มีภาพนิ่ง 8 ภาพนิ่ง เรื่องใดก็ได้ ให้ใช้หลักการและค าสั่งตามท่ีเข้าใจ เกณฑ์การพิจารณา

1. ใช้แบบตัวอักษรถูกต้อง 2. ใช้ขนาดของตัวอักษรถูกต้อง 3. ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่ก าหนด 4. ตกแต่งรูปภาพ รูปวาด ข้อความอักษรศิลป์ ได้สวยงาม