46
TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร Page 1 of 46 เอกสารประกอบการสอน TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร รวบรวมโดย อาจารยวิไล ธรรมวาจา สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย คณะศิลปะศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

  • Upload
    wilai

  • View
    222

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

...

Citation preview

Page 1: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 1 of 46

เอกสารประกอบการสอน

TH 2333 การเขียนเพ่ือการสื่อสาร

รวบรวมโดย

อาจารยวิไล ธรรมวาจา

สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย

คณะศิลปะศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ

Page 2: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 2 of 46

ความรูพื้นฐานทางการเขียน

การเขียนเปนหน่ึงในทักษะการสื่อสารที่ตองอาศัยการเรียนรูและการฝกฝนเพื่อใหสามารถสื่อ

ความหมายไปยังผูอ่ืนไดและพัฒนาขึ้นอยางมีลําดับ หลายคนเห็นวาการเขียนเปนเร่ืองยาก เมื่อจะตองเขียน

ก็คิดไมออก ไมรูจะเร่ิมตนการเขียนอยางไร จึงทําใหเกียจการเขียน บางคนคิดวาตนไมมีพรสวรรคดานการ

เขียนก็ไมอยากเขียน เพราะรูสึกวาเขียนไปก็ไมดี แตปญหาและความรูสึกดังกลาวจะลดนอยลงหากมีการ

ฝกเขียนบอย ๆ และตระหนักวา ไมมีใครสามารถเขียนไดและเขียนดีมาต้ังแตเกิด แตถายิ่งฝกยิ่งเกิดความ

ชํานาญ ประกอบกับหากรูจักการสังเกตงานเขียนของผูอ่ืนก็จะทําใหทักษะการเขียนดีขึ้นได

ความหมายของการเขียน

การเขียน คือ การฝกใหรูจักใชความคิดและความรูของผูเขียนแลวถายทอดความคิดและความรู

ออกเปนตัวหนังสือ โดยมีอุปกรณและเคร่ืองชวยตาง ๆ ในการถายทอดความรูและความคิดน้ี อุปกรณที่

สําคัญ คือ ภาษา อันหมายรวมถึง คํา ประโยค สํานวน โวหารและระดับภาษา ผูเขียนตองศึกษาหา

ความรูเร่ืองลักษณะและการใชคําเหลาน้ี เพื่อใหงานเขียนของตนมีคุณภาพดี สามารถถายทอดสื่อสาร

ความคิด ความรู ฯลฯ ของผูเขียนไดถูกตองครบถวนตามความตองการของผูเขียน (มณีปน พรหมสุทธิ

รักษ. 2529 : 126-127 อางถงึใน นิภาพรรณ ศรีพงษ. ม.ป.ป. : 133)

การเขียน คือ การสื่อสารชนิดหน่ึงของมนุษยที่ตองอาศัยความพยายามและฝกฝน การเขียนเปนการ

แสดงความรู ความคิด ความรูสึก ความตองการ เปนลายลักษณอักษร เพื่อใหผูรับสารสามารถอานไดเขาใจ

ไดทราบความรู ความคิด ความรูสึก ความตองการ แลวสามารถนํามาบอกบอกตอกับบุคคลอ่ืนใหไดความรู

ที่ผูรับสารไดรับ เคร่ืองมือในการเขียน ดินสอ ปากกา สี พูกันจีน กระดาษ กระดาน ฯลฯ การเขียนจะตอง

เขียนเปนภาษาตางๆ หรือ อาจเขียนเปนภาษาเดียวหรือหลายภาษาก็ได ตามแลวแตถนัด

กลาวอยางสรุป การเขียน คือ การสื่อสาร (สงสาร) รูปแบบหน่ึงที่ถายทอดความรู ความรูสึกนึก

คิด อารมณ หรือความตองการตาง ๆ ของตนออกมาเปนตัวอักษร เคร่ืองหมาย หรือสัญลักษณตาง ๆ ให

ผูอ่ืนทราบ โดยผูอ่ืนจะทราบไดก็ตองอาศัยการรับสารดวยวิธีการดู และ/หรือการอาน

Page 3: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 3 of 46

ความสําคัญของการเขียน

การเขียนเปนการสื่อสารที่มีความสําคัญและจําเปนไมนอยไปกวาการสื่อสารดวยการพูด

โดยเฉพาะอยางยิ่งในวัยของการศึกษาเลาเรียน ผูเรียนตองจดคําบรรยายของผูสอน ตองทําการบาน

เขียนรายงาน และเขียนขอสอบ เปนตน อยางไรก็ตามไมเฉพาะผูเรียนเทาน้ันแตในวงการอ่ืน ๆ เชน

วงการแพทย วงการสื่อสารมวลชน วงการศิลปะและบันเทิง ฯลฯ การเขียนก็มีความสําคัญไมยิ่งหยอนไป

กวากัน ซึ่งพอจะสรุปเปนขอ ๆ ไดดังน้ี

1. การเขียนใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน เชน การจดบันทึก การทําตารางนัดหมาย การ

เขียนไดอาร่ี การเขียนการดอวยพร เปนตน

2. การเขียนเปนสื่อที่ชวยแพรกระจายความรู ความคิดใหกวางไกลและรวดเร็ว เชน การ

เขียน (ตีพิมพ) หนังสือ การเขียนประกาศ และใบปลิวตาง ๆ

3. การเขียนชวยในดานการติดตอสื่อสาร ทั้งในอดีต ปจจุบัน อนาคต กลาวคือ การเขียน

เปนการสื่อสารที่คงทนถาวร ผูรับสารสามารถยอนกลับไปอานหรือดูไดแมผูสงสารจะสงสารหรือเขียนไว

นานแลวหรืออยูกันคนละชวงสมัยกับผูรับสารก็ตาม แตผูอานและผูเขียนก็ยังสามารถติดตอสื่อสารกันผาน

ตัวหนังสือได โดยไมมีขอบเขตของเวลามาจํากัด

4. การเขียนเปนการบันทึกความรู ความจํา กลาวคือ ความรูตาง ๆ มีมากมายในโลก แต

มนุษยไมสามารถที่จะจดจําหรือพูดสื่อสารใหผูอ่ืนทราบในเวลาเดียวกันไดทั้งหมด ดังน้ันจึงตองอาศัยการ

เขียนชวยบันทึกไวเปนหลักฐาน

5. การเขียนเปนการถายทอดวัฒนธรรม ประเพณี วรรณคดีและวรรณกรรม คือ เราสามารถ

เรียนรูและศึกษาวัฒนธรรมประเพณี วรรณคดี ไดเพราะมีการเขียนบันทึกไวเปนหลักฐาน เพราะหากมีการ

ถายทอดวัฒนธรรมดวยวิธีการพูด-ฟง เพียงอยางเดียว วัฒนธรรมหลายอยางอาจสูญหายไปและไมสามารถ

สืบคนได

6. การเขียนเปนเคร่ืองมือวัดความเจริญของมนุษยในแตละยุคแตละสมัย คือ ในแตละชวง

สมัย มนุษยจะมีการประดิษฐคิดคนสิ่งใหม ๆ ขึ้นมาตอบสนองความตองการของมนุษย ชวยใหการดําเนิน

ชีวิตของมนุษยงายขึ้น เมื่อมีสิ่งใหมเกิดขึ้นในสังคมยอมจําเปนตองมีการกําหนดคําขึ้นใชเพื่อเรียกสิ่งน้ัน ๆ

ฉะน้ันเราจึงสามารถดูไดวาสังคมแตละยุคพัฒนาไปอยางไรจากการที่มีคําศัพทเกิดขึ้นใหม เชน การมีคําวา

คอมพิวเตอร ขึ้นใช ในชวง 20-30 ปที่ผานมา ก็แสดงความกาวหนาทางเทคโนโลยีของสังคมมนุษย

Page 4: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 4 of 46

7. การเขียนมีประโยชนตอวงการศึกษา ในวงการศึกษาหลายแขนงวิชา หลายศาสตรมีความ

ยากงายตางกัน การคิดคนและการสอนดวยการพูดเพียงอยางเดียวอาจไมพอ จําเปนตองมีตําราบันทึก

ความรูตาง ๆ ไวใหคนตางสังคม ตางยุคสมัยไดศึกษา ไดอานเพิ่มเติม

8. การเขียนเปนอาชีพอยางหน่ึง การเขียนสามารถสรางรายได โดยอาจเปนนักเขียนอาชีพ

หรือนักเขียนมือสมัครเลน เพียงเขียนบทความ เร่ืองสั้น บทกวี เปนตอน ๆ เปนคร้ังเปนคราวสงไปลงใน

หนังสือตาง ๆ จัดเปนอาชีพเสริมได

จุดมุงหมายของการเขียน

จุดมุงหมายเปนสิ่งสําคัญที่จะเปนตัวกําหนดการกระทําตาง ๆ ใหเปนไปตามตองการ เชน

มีจุดมุงหมายที่ตองการไดเกรด A ในวิชาการเขียนเพื่อการสื่อสาร เมื่อมีจุดมุงหมายก็มีแนวทางปฏิบัติตน

เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ซึ่งอาจมีหลายแนวทาง บางคนอาจเลือกการต้ังใจเรียน เลือกการอานหนังสือ

ทบทวนหนังสือบอย ๆ เ ลือกการใหเพื่อนชวยติวหนังสือใหกอนสอบ เปนตน

เชนเดียวกับการสื่อสาร การสื่อสารไมวารูปแบบใด ผูสงสารจะตองมีจุดมุงหมายในการสื่อสารแต

ละคร้ัง เพื่อใหการสื่อสารสัมฤทธิ์ผล โดยจุดมุงหมายเปนสิ่งแรกที่ผูสงสารจะตองกําหนดใหชัดเจนเพื่อ

เลือกรูปแบบการสื่อสาร เลื่อกการใชภาษา สื่อประกอบ ฯลฯ ตอไป

จุดประสงคของการเขียนมีมากมายหลายประการทั้งน้ีขึ้นอยูกับผูเขียนวาจะต้ังเปาหมายในการเขียน

แตละคร้ังอยางไร ตองการใหผูอานไดรับผลหรือแสดงปฏิกิริยาภายหลังการรับสารอยางไร ซึ่งสามารถ

สรุปจุดประสงคของการเขียนอยางกวาง ๆ ได ดังน้ี

1. เพื่อใหความรู จุดประสงคประเภทน้ีผูเขียนตองการถายทอดความรู สรางความเขาใจ ใหความ

กระจางแจงแกผูอาน งานเขียนเพื่อใหความรูมักเปนงานเขียนทางวิชาการ เชน การเขียนตํารา บทความ

ทางวิชาการ หรือบอยคร้ังอาจเปนงานเขียนที่ไมเปนทางการ เชน สารคดีทองเที่ยว การเขียนเลาประวัติ

เปนตน

ตัวอยาง

พิธีไลเรือน้ีตามพงศาวดารกลาววาเร่ิมมีขึ้นในรัชกาลของสมเด็จพระเอกาทศรถ

น่ีเองเปนคร้ังแรก พิธีไลเรือน้ีจะกระทําขึ้นในกรณีที่มีนํ้าทวมขังไรนาอยูนานจนถึง

เดือนธันวาคม ซึ่งปกติแลวเมื่อถึงเดือนธีนวาคมนํ้าก็จะตองลดลง แตถาปใดไมลด

พระองคก็จะทรงกระทําพิธีไลเรือขึ้นในปน้ัน

(ตํานานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช : 83)

Page 5: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 5 of 46

2. เพื่อแจงใหทราบ ผูเขียนมีจุดประสงคเพื่อบอกเลาเร่ืองราวหรือเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นหรือกําลัง

จะเกิดขึ้นใหผูอ่ืนทราบ ตัวอยางการเขียนเพื่อแจงใหทราบ เชน ขาว การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ

ประกาศ แถลงการณ คําสั่ง ระเบียบขอบังคับตาง ๆ

ตัวอยาง

เดมี่ มัวร และแอชตัน คุตเชอร คูสามีภรรยาผนึกกําลังปลอยโครงการตอตาน

ทาสเด็กในเฮติ หลังมีรายงานขาววามีเด็กจํานวนมากตองไปเปนคนรับใชในครอบครัว

คนอ่ืนเพื่อนํารายไดมาจุนเจือครอบครัวของตนเอง

(ตอตานทาสเด็กในเฮติ : แพรวสุดสัปดาห 28)

3. เพื่อโนมนาวใจ จูงใจ การเขียนประเภทนร้ีผูเขียนมีจุดมุงหมายเพื่อใหผูอานคิดหรือทําสิ่งใดสิ่งหน่ึง

ตามที่ตนตองการ เชน โฆษณาสินคา โฆษณาหาเสียง

ตัวอยาง

สิ่งที่ทุกคนอาจหลงลืมไป เคยหรือเปลาที่จะหันกลับไปมอง ทุกคนยังมี พอ-

แมที่รักเราเหมือนแกวตาดวงใจ แตเมื่อเติบโตขึ้น กลับลืมผูมีพระคุณไปไดอยางไร

บางคนทิ้งใหทานอยูกันตามลําพังโดยไมดูแล โปรดจงยอนกลับไปดู ณ จุดเร่ิมตน เรา

ทุกคนเกิดมาจากอะไรมาเถอะ เรามาทําอะไรเพื่อพอ-แม ของเราบาง พวกทานจะไดมี

ความสุขตลอดไป

4. เพื่อแสดงความคิดเห็น การเขียนประเภทน้ีเปนการเขียน เพื่อใหผูอานไดเห็นความคิดของผูเขียนที่

มีตอเร่ืองหน่ึง ๆ ซึ่งอาจเปนความคิดเห็นในเชิงสนับสนุนหรือโตแยง และจะใชความรูสึกสวนตัวหรือมีการ

อางอิงหลักฐาน ใหเหตุผลตาง ๆ ประกอบ ก็ได การเขียนประเภทน้ี เชน การเขียนบทความแสดงความ

คิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองตาง ๆ ลงในหนังสือพิมพ การเขียนวิจารณหนัง ละคร

ตัวอยาง

นักรองสมัยน้ี เขาทําผลงานเพลงกันงายแคน้ีหรือแคทําเพลงมา 2-3 เพลง ติดหู

คน สวนอีก 7-8 เพลง ไมสนจะดังหรือไมก็ชาง คุณภาพไมมีเหมือนทําสง ๆ ไปไมใส

ใจหรือความรูจักในงานไมเหมือนงานในตางประเทศ เขาทํางานกันจริงจังอยูในหองอัด

เปนเดือน ๆ ถึงปก็มีบาง เราทํา 2-3 เดือน ขาย แลวเห็นคนไทยโงเปนควายฟงอะไรก็ได

Page 6: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 6 of 46

แตคนไทยตอไปน้ี ดูแลวคอนขางจะเสพดนตรีมากขึ้น ไมใชใหไอศิลปนหนาดานมา

ทํางานเพลงหลอกคนไทยที่ไมเห็นแคความหลอด่ังผี 4 ปาชา รองเพลงบาบอ

5. เพื่อสรางความเพลิดเพลินและจรรโลงใจ เปนการเขียนเพื่อสรางความสุข ความสนุกสนาน สราง

ความแชมชื่นอ่ิมเอิบใจคลายกังวลใหแกผูอาน เชน การเขียนภาพลอ การตูน นิทาน นิยาย คําสอนของ

ผูนําทางศาสนา คําคม สุภาษิตเตือนใจ พระบรมราโชวาท

ตัวอยาง

ความทุกขเปนสมบัติที่ติดตัวมนุษยทุกคนมาต้ังแตเกิด ทันทีที่คลอดออกมาจาก

ครรภมารดา สัญลักษณแหงการมีชีวิตคือการเร่ิมตนหายใจเปนคร้ังแรกก็มาพรอมกับ

เสียงรองไหเสียแลว และน่ันก็คือจุดเร่ิมตนของความทุกขทั้งมวล

(ปาฏิหาริยแหงการสํานึกรู : 154)

6. เพื่อประเมินคา เปนการเขียนเพื่อแสดงความคิด ความรูสึกตอสิ่งใดสิ่งหน่ึงวาดีหรือไมดี เหมาะสม

หรือไมเหมาะสม ควรหรือไมควร โดยการเขียนเพื่อประเมินคุณคาน้ันตองอาศัยหลักเกณฑมาตรฐาน

เหตุผลหรือเหตุการณตาง ๆ มาสนับสนุน ไมควรกลาวอยางลอย ๆ หรือใชอารมณมาประเมินคาเพราะจะทํา

ใหงานเขียนน้ันขาดความนาเชื่อถือ

ตัวอยาง

ยกใหเปนความแซบสไตลอีสานแทรนด้ี ทั้งรสชาติอาหารอีสานและการ

ตกแตง เมนูสมตําเปนพระเอกของรานที่อยากนําเสนอทั้งตําไทย ตําลาว ตําปูมา ตําปู

ปลารา อรอยครบรส รับรองความแซบถึงทรวง

(แพรวสุดสัปดาห : 42)

7. จุดมุงหมายหลายประการ บอยคร้ังที่ผูเขียนใชจุดมุงหมายหลายประการในงานเขียนชิ้นหน่ึง เชน

บทความเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว ในเบื้องตนผูเขียนอาจเขียนใหความรูเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวน้ัน ๆ วามี

ความเปนมาอยางไร การเดินทาง หรือแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ ๆ จากน้ันผูเขียนอาจแสดงความคิดเห็น

เกี่ยวกับสถานการณการทองเที่ยวที่กําลังเปนอยูในขณะน้ัน และจบลงดวยการโนมนาวเชิญชวนใหทองเที่ยว

ในสถานที่ที่ตนไดใหความรูในตอนตน

Page 7: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 7 of 46

รูปแบบ/ประเภทของการเขียน

การเขียนสามารถแบงไดเปนหลายประเภท ทั้งน้ีขึ้นอยูกับเกณฑที่แตกตางกัน ดังน้ี

1. แบงตามเน้ือหา

1.1 เร่ืองที่แตงจากจินตนาการ เนนใหความบันเทิงเปนหลัก หรือบางคร้ังเรียก บันเทิงคดี เชน

เร่ืองสั้น นวนิยาย

1.2 เร่ืองไมไดแตงจากจินตนาการ เนนเน้ือหาสาระหรือขอเท็จจริงเปนหลัก หรือเรียกอีกอยาง

หน่ึงวา สารคดี

2. แบงตามลักษณะของคําประพันธ

2.1 รอยแกว

2.2 รอยกรอง

3. แบงตามแบบแผนของการเขียน

3.1 การเขียนที่เปนแบบแผน เชน การเขียนเอกสารทางราชการ บทความ รายงานการประชุม

เรียงความ

3.2 การเขียนกึ่งแบบแผน เชน คํากลาวแสดงความรูสึกในโอกาสตาง ๆ สุนทรพจน

3.3 การเขียนที่ไมเปนแบบแผน เชน เร่ืองสั้น นวนิยาย บทละคร สารคดี บันทึกสวนตัว

4. แบงตามวัตถุประสงค

4.1 การเขียนที่เปนงานทางวิชาการ เชน วิทยานิพนธ ตํารา รายงานทางวิชาการ บทความ

ทางวิชาการ

4.2 การเขียนที่เปนงานศิลปะ ไดแก การเขียนบันเทิงคดี การเขียนสารคดี

5. แบงตามลักษณะของการสรางสรรค

5.1 การเขียนที่เปนศิลปะบริสุทธิ์ เปนงานเขียนที่ไมไดมีวัตถุประสงคเพื่อการคาต้ังแตแรก เชน

งานเขียนรอยกรองหรือรอยแกวที่เขียนจากความสะเทือนใจบางเร่ือง

5.2 การเขียนที่เปนพาณิชยศิลป มีวัตถุประสงคต้ังแตเร่ิมแรกเพื่อการคา เชน การเขียนคําโฆษณา

บทละครโทรทัศน บทภาพยนตร

Page 8: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 8 of 46

ลักษณะของผูเขียนท่ีดี

1. มีเจตคติที่ดีตองานเขียนทุกชนิด

2. มีความเชื่อมั่นในความรูความสามารถของตน

3. เปนผูมีประสบการณในชีวิตสูง ใฝหาความรู หาประสบการณ

4. มีอารมณมั่นคงละเมียดละไม

5. มีความสามารถในการใชภาษาไดดี

6. เปนผูมองโลกในแงดีและมีคุณธรรม

7. มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค

8. มีความพรอมและความตองการที่จะเขียน

9. อานหนังสือเปน

10. มีนิสัยชอบคนควาหาความรูอยูเสมอ

11. เปนผูมีความสังเกต จดจําดี

12. เปนคนชางคิด

13. มีความรูทางดานจิตวิทยาเปนอยางดี

14. มีความขยันหมั่นเพียรในการเขียนอยูเสมอ

ลักษณะของงานเขียนท่ีดี

งานเขียนที่ดี หมายถึง งานเขียนที่สามารถสื่อความหมายไดตรงตามวัตถุประสงคของผูเขียน และ

ประกอบดวยภาษาที่สวยงาม

งานเขียนที่ดีมีลักษณะดังน้ี

1. สื่อความหมายไดชัดเจน หมายถึง เมื่อผูอานอานแลวสามารถเขาใจความหมายไดอยางแจมแจง

เขาใจความหมายไดทันที ไมสับสน ประโยคไมเยิ่นเยอ ผูอานไมตองใชเวลาทําความเขาใจมากหรือตอง

อานซ้ําหลาย ๆ รอบเพื่อใหเขาใจเน้ือหา

2. ถูกตอง ผูเขียนเขียนขอมูลไดตรงตามความเปนจริง เสนออยางตรงไปตรงมา ไมดัดแปลงขอมูล

ไมเสนอขอมูลที่หลอกลวงมอมเมาผูอานอันจะกอใหเกิดความสงสัยและผลรายตาง ๆ ตามมา นอกจาก

ขอมูลที่ถูกตองกาละเทศและระดับภาษาที่ใชในการนําเสนอตองถูกตองดวย

Page 9: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 9 of 46

3. ไพเราะงดงาม งานเขียนที่ดีควรมีการเลือกใชภาษาที่ดี สละสลวย มีการเลือกใชคําอยางปราณีต

เลือกใชประโยคที่หลากหลายเพื่อหลีกเลี่ยงความนาเบื่อ อาจมีการใชภาพพจนตาง ๆ ใหงานนาสนใจและมี

สีสันมากขึ้น รวมไปถึงเลือกใชคําใหเหมาะสมกับเน้ือหาที่นําเสนอ และเหมาะสมกับกลุมผูอาน

4. กวางขวาง งานเขียนที่ดีควรใหประโยชน กระตุนความคิด ใหความรู หรือสรางจินตนาการอยาง

ใดอยางหน่ึง หรือหลายอยางแกผูอาน มิใชเปนงานเขียนที่ไรประโยชน เมื่อผูอานอานแลวไมไดสิ่งใด

เพิ่มเติมมากขึ้นกวากอนอาน

สิ่งท่ีตองใชเพื่อการเขียน

1. ความรูและประสบการณ

ความรูและประสบการณของแตละบุคคลยอมไมเทากันแตสามารถเพิ่มพูนใหมากขึ้นไดดวยวิธีตาง

ๆ คือ อาจหาไดจากการอาน การฟง การดู การพูดคุยเสวนากับผูรู การสังเกต หรือการลองทําดวยตนเอง

เปนตน สิ่งเหลาน้ีตองทําอยูอยางเสมอเปรียบเหมือนเปนการเก็บเขาคลังตุนไว เมื่อคิดอยากจะเขียนเมื่อใดก็

สามารถหยิบเร่ืองราวหรือประเด็นตาง ๆ มาเขียนไดในเบื้องตน แตหากขอมูลที่เคยเก็บหรือจําไวไม

เพียงพอ หรือไมทันสมัยก็สามารถปรับเปลี่ยนได แตอยางนอยก็งายขึ้นเพราะมีความรูและประสบการณ

เปนตนทุนเดิม

2. ขอมูลเกี่ยวกับผูอาน

ในการเขียนแตละคร้ังหากต้ังเปาหมายและรูวาผูอานของเราเปนใคร เปนเด็ก ผูใหญ หรือวัยรุน

นักธุรกิจ หรือชาวบานทั่วไป ฯลฯ ก็จะทําใหสามารถเลือกใชภาษา เลือกรูปแบบไดอยางเหมาะสม เลือก

เน้ือหาที่อยูในความสนใจของกลุมคนตาง ๆ ไดงายขึ้น เพราะบางคร้ังการเขียนอาจมีเปาหมายเดียวกัน เชน

ตองการโนมนาวใหทุกคนตระหนักถึงภาวะโลกรอน เมื่อทราบวาผูอานเปนเด็กก็จะทําใหผูเขียนเลือกไดวา

ควรจะใชรูปแบบนิทานเพื่อใหเขาถึงเด็กไดงาย ใชภาษาไมสลับซับซอน และเน้ือหาก็จะหยิบยกมาจากเร่ือง

ใกลตัวเด็ก เปนเร่ืองเหตุการณในโรงเรียน ในบาน เร่ืองระหวางเพื่อน เปนตน ซึ่งจะทําใหงานเขียนของ

เราประสบความสําเร็จ ดังน้ันในการเขียนควรมีการวิเคราะหผูอานดวยวาเปนบุคคลกลุมใด

3. แบบอยางงานเขียน

การมีแบบอยางการเขียนถือเปนสิ่งจําเปนสําหรับผูเร่ิมตนเขียน แบบอยางงานเขียนควรมีทั้ง

แบบอยางงานเขียนที่ดีและไมดี การดูแบบอยางที่ดี เพราะผูเร่ิมตนเขียนอาจยังไมทราบแนวทางการเขียน

ของตนเองวาควรจะเขียนอยางไร เร่ิมตนดวยวิธีไหน ดังน้ันการมีแบบอยางก็จะสรางแนวทางการเขียนและ

Page 10: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 10 of 46

สรางความมั่นใจในการเขียนไดในระดับหน่ึง แตทั้งน้ีไมควรจะยึดถือหรือดูตัวอยางตลอดเวลา เมื่อเร่ิมตน

เขียนไดหรือเร่ิมเกิดความชํานาญในการเขียนควรที่จะสรางสรรคงานเขียนดวยตนเองเพื่อสรางลักษณะ

เฉพาะงานเขียนของตน ในขณะที่แบบอยางที่ไมดีก็ควรศึกษาไวเพื่อหลีกเลี่ยงไมเขียนงานในลักษณะ

ดังกลาว ซึ่งจัดเปนการพัฒนางานเขียนของตนใหดีขึ้นทางหน่ึง

4. เวลา

การเขียนเปนการสื่อสารที่ตองใชเวลา เร่ิมต้ังแตการเร่ิมคิด ลงมือเขียน และการขัดเกลา หาก

ผูเขียนไมมีความกดดันในเร่ืองของเวลาก็มักจะทําใหเขียนออกมาไดดี อยางไรก็ตามหลายคร้ังการเขียนก็มี

เวลาเขามาเกี่ยวของ เชน การเขียนตอบขอสอบ การเขียนแบบฝกหัดในหองเรียน หรือการเขียนบทความ

ลงในนิตยสารหรือหนังสือพิมพของนักเขียนอาชีพ เหลาน้ีลวนมีขอจํากัดทางดานเวลา ดังน้ันเพื่อลดความ

กดดัน ผูเขียนควรบริหารและแบงเวลาในการเขียนใหเหมาะสม โดยแบงเวลาสําหรับการทบทวนขัดเกลา

ดวยเพื่อใหงานเขียนมีความถูกตองสมบูรณยิ่งขึ้น หากมีเวลาในการเขียนมากอาจเขียนแลวทิ้งไว 1-2 วัน

แลวจึงกลับมาอานทบทวนใหมเพื่อตรวจแก

5. ความมานะ พยายาม

การเขียนเปนทักษะที่จะตองฝกฝนใหเกิดความชํานาญ และตองใชเวลาในการพัฒนาเพื่อใหการ

เขียนดี มีประสิทธิภาพ ดังน้ันผูเขียนจึงตองมีความอดทน มานะ พยายามเพื่อใหงานเขียนดีขึ้น หลายคร้ัง

เราอาจเคยไดยินประสบการณของนักเขียนที่มีชื่อเสียงหลายทานเลาใหฟงวา กวาจะเขียนหนังสือเลมน้ีจบ

ใชเวลาเปนป หรือบางคนอาจใชเวลาหลายป และระหวางที่เขียนก็หมดกระดาษไปมาก คือ เขียนแลวไมดี

ก็ขยําทิ้ง เขียนใหม ประสบการณเหลาน้ีลวนแสดงใหเห็นวาการจะเขียนตองใชความอดทน และพยายาม

อยางมาก

6. คุณธรรม

การเขียนเปนการถายทอดสารออกไปยังผูอ่ืน โดยผูรับสารอาจจะเปนคนเดียว กลุมคนเล็ก ๆ หรือ

มวลชนก็ตาม แตสิ่งที่ผูเขียนตองระลึกไวเสมอคือตองมีคุณธรรมในการเขียน ไมวาจะเปนการใหขอมูลตาง

ๆ ก็ตองเปนขอมูลที่ถูกตอง งานเขียนตองไมสรางความแตกแยก หรือสรางความเสียหายแกผู อ่ืน

นอกจากน้ีในกรณีที่มีการนําขอมูลมาจากที่ อ่ืนหรือคัดลอกขอมูลมากจากที่ใด ผู เขียนจะตองอางอิง

แหลงที่มาของขอมูลน้ัน ๆ ดวยเพื่อไมเปนการละเมินทรัพยสินทางปญญาและกระทําผิดกฎหมาย

Page 11: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 11 of 46

7. ความรับผิดชอบ

แมงานเขียนที่ผูเขียนเขียนออกมาแลวจะเปนสมบัติของสาธารณชน แตในขณะเดียวกันผูเขียนก็

หลีกเลี่ยงความรับผิดชอบที่มีตองานน้ัน ๆ ไมไดหากเกิดกรณีที่ไปพาดพิงหรือสรางความเสียหายแกผูอ่ืน

ดังน้ันผูเขียนจึงจะตองพรอมรับกับสิ่งตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากงานเขียนของตน ซึ่งวิธีแกไขในเบื้องตนคือ

การยึดหลักขอ 6 ความถูกตอง

8. ใจกวาง

ดังที่กลาวแลวในขอ 7 วา งานเขียนเมื่อออกเผยแพรแลวยอมตกเปนสาธารณสมบัติ ดังน้ันผูเขียน

เองตองมีใจกวางพอพรอมที่จะรับคําวิพากษวิจารณ ทวงติงจากผูอ่ืน ซึ่งหากผูเขียนสามารถทําใจยอมรับได

และนําขอแนะนําตาง ๆ เหลาน้ันมาคิด มาปรับปรุงงานเขียนของตนก็จะเปนการชวยพัฒนาใหงานเขียนมี

คุณภาพยิ่งขึ้น

ข้ันตอนในการเขียน

หลายคนเมื่อคิดจะเขียน หรือไดรับคําสั่งใหเขียนก็เขียนทันที ซึ่งจริง ๆ แลวการเขียนที่ดีและจะ

ชวยใหงานมีคุณภาพจะตองปฏิบัติตามลําดับขั้นตอน ซึ่งพอสรุปอยางกวาง ๆ ไดดังน้ี

1. กอนการเขียน

ขั้นตอนกอนการเขียนเปนขั้นที่งายที่สุด เรียกไดวาเปนขั้นเตรียมตัวเตรียมใจ ใหพรอมสําหรับที่จะ

ลงมือเขียน โดยเฉพาะในกรณีที่ไมไดคิดอยากจะเขียนขึ้นเอง แตเปนการเขียน เพราะคําสั่งหรือหนาที่ ใน

ขั้นน้ีก็จะเปนชวงที่ชวยปรับอารมณใหอยากเขียนมากขึ้น โดยสิ่งที่ตองทําในขั้นตอนน้ี มีดังน้ี

1.1 เตรียมตัว หมายถึง การเตรียมความพรอมของรางกาย ไมใหงวงนอน หิวขาว หรือมีอาการ

เจ็บปวยตาง ๆ ฯลฯ เพราะสิ่งเหลาน้ีจะเปนอุปสรรคสําคัญทําใหคิดงานไมออก และมีสมาธิไมพอที่จะลง

มือเขียนได นอกจากน้ียังรวมไปถึงการเตรียมอุปกรณตาง ๆ ใหพรอมสําหรับการเขียน ไมวาจะเปน ดินสอ

ปากกา ยางลบ กระดาษ หนังสือขอมูลตาง ๆ ที่ตองใช เพื่อไมใหเกิดการติดขัดระหวางการเขียนที่จะตอง

ลุกหาอุปกรณน้ันทีน้ีที ซึ่งจะทําใหการเขียนไมตอเน่ืองและตองมาน่ังเร่ิมตนใหม และการเลือกอุปกรณ

เคร่ืองเขียนตาง ๆ ตามที่ชอบก็ยังมีผลทางจิตใจที่ทําใหเกิดความรูสึกอยากเขียนอยากใชไดอีกดวย

1.2 เตรียมใจ หมายถึง การทําใจใหพรอม ไมกังวลตอสิ่งตาง ๆ หลายคนเมื่อจะลงมือเขียนมัก

เกิดความกังวล ไมรูจะเขียนอะไร จะเร่ิมตนอยางไร เวลาจะทันหรือไม วิธีแกไขคือหาขอมูลไวใหพรอม

หรือหาตัวอยางงานเขียนไวเปนแบบอยาง แลวลงมือเขียนโดยเบื้องตนอาจไมตองคําถึงความถูกตองหรือ

ความสละสลวยของภาษา แตใหเขียนความคิดของตนออกมาใหไดกอนแลวจึงคอยปรับปรุงเร่ืองภาษาอีก

คร้ังหน่ึง

Page 12: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 12 of 46

2. ลงมือการเขียน ในขั้นตอนน้ีถือเปนขั้นตอนสําคัญเพราะตองถายทอดเน้ือหาที่ตองการแปลออกมา

เปนตัวหนังสือ จําเปนตองใชเวลาและสมาธิคอนขางมาก ในขั้นที่ตองลงมือเขียนมีสิ่งที่ตองทําคือ

2.1 ต้ังวัตถุประสงคในการเขียน

2.2 วิเคราะหผูรับสาร

2.3 เลือกเร่ืองที่จะเขียน

วิธีการเลือกเร่ืองที่จะเขียนมีหลักกวาง ๆ ดังน้ี

1. เลือกเร่ืองที่ผูเขียนมีความรูความสามารถ

2. เลือกเร่ืองที่นาสนใจและแปลกใหม ตามความสนใจของผูเขียนหรือผูอาน

3. เลือกเร่ืองที่สามารถคนขอมูลได และมีขอมูลมากพอ

4. เลือกหัวขอที่ไมกวางหรือแคบเกินไป เชน คานิยมในสังคมไทย ควรเปน คานิยมเกี่ยวกับ

การบริโภคอาหารฟาสตฟูดสในประเทศไทย

5. เลือกหัวขอที่มีลักษณะทาทาย เพื่อชวนใหติดตามอาน

6. เลือกเร่ืองใหเหมาะสมกับเวลาที่มี

2.4 เลือกรูปแบบงานเขียนใหเหมาะกับเน้ือหาและผูอาน

2.5 วางโครงเร่ือง

2.6 หาขอมูล เตรียมขอมูลอาจทําไดหลายวิธี เชน การพูดคุยกับบุคคลอ่ืน การอานหนังสือ การ

สัมภาษณ หรือการออกสํารวจ เปนตน (ขั้นตอนน้ีอาจทํากอนการวางโครงเร่ืองก็ได)

2.7 เขียนเร่ืองตามโครงเร่ืองที่วางไว

3. ทบทวนงานเขียน ขั้นตอนน้ีเปนขั้นตอนสุดทายที่จะตรวจสอบความถูกตองสมบูรณของงานเขียน

และจัดเปนอีกขั้นตอนหน่ึงที่จําเปนเพื่อปองกันไมใหเกิดความผิดพลาดหรือใหเกิดความผิดพลาดนอยที่สุด

ในงานเขียน เชน ความผิดพลาดดานการสะกดคํา การเขียนขอความซ้ํา หรือเน้ือหาขาดหายไปบางสวน

เปนตน

-------------------------

เอกสารอางอิง

กิติพงษ ศรีนันทลักษณ. (2551). ตํานานสุดทายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.

แพรวสุดสัปดาห ฉบับวันที่ 1 เมษายน 2553

วุฒิพงศ ถายะพิงศ. (2552). ปาฏิหาริยแหงการสํานึกรูคุณ. กรุงเทพฯ : อมรินทรธรรมะ.

Page 13: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 13 of 46

การพัฒนาการเขียน

การจะทําใหงานเขียนสามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ สื่อความไดชัดเจนตรงตามความ

ตองการของผูเขียน ทําใหงานเขียนมีความนาสนใจ และมีเสนหน้ัน มีปจจัยเร่ิมต้ังแตการเลือกใชคํา การผูก

ประโยค และความเหมาะสมของระดับภาษา ซึ่งจะกลาวถึงรายละเอียดตอไป

การใชคํา

คํา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2542 ไดใหความหมายของคําไววา “คํา น. เสียงพูด หรือ

ลายลักษณอักษรที่ เขียนหรือพิมพขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปกติถือวาเปนหนวยที่ เล็กที่สุด ซึ่งมี

ความหมายในตัว , ใชประกอบคําอ่ืน มีความหมาย เชน คํานาม คํากริยา คําบุพบท ฯลฯ”

การใชคําเปนทั้งศาสตรและศิลป กลาวคือ มีระเบียบ กฎเกณฑการใชคํากําหนดไวเปนแบบแผน

แลว แตในขณะเดียวกันการเลือกสรรคํามาเรียบเรียงเปนขอเขียนเพื่อแสดงเจตนา อารมณ และความรูสึก

น้ัน จะมีเสนหหรืองดงาม ไพเราะเพียงใดน้ันยอมขึ้นอยูกับการเลือกสรรคําของผูเขียน ภาษาไทยเปนภาษา

ที่รุมรวยถอยคําและความ ยิ่งผูเขียนมีคลังคําเก็บไวมากเทาใด ก็ยอมจะทําใหมีโอกาสเลือกเฟนถอยคําได

มากขึ้นเทาน้ัน (บงกช สิงหกุล, 2546 : 20)

การเลือกใชคําในการเขียนควรคํานึงถึงสิ่งตอไปน้ี

1. สะกดคําใหถูกตอง การสะกดคําถูกตองถือเปนเสนหและเปนการแสดงลักษณะของผูใชภาษาได

ประการหน่ึง คือ แสดงใหเห็นวาผูเขียนน้ันเปนผูมีความรอบรูในเร่ืองการใชคํา เปนผูมีความรอบคอบและ

ใสใจกับงานเขียนของตน แมการสะกดคําผิดบางคร้ังอาจจะไมกระทบตอความหมายหรือเน้ือหาโดยรวม

ของเร่ือง เพราะมีบริบทในประโยคชวยใหเขาใจความหมายได แตน่ันก็ยอมแสดงใหเห็นเปนขอบกพรอง

ของผูเขียนและสรางความรําคาญแกผูอาน (ที่มีความรู) ไดไมนอย ดังน้ันเมื่อเขียนจึงจําเปนตองสะกดคําให

ถูกตอง โดยเฉพาะคํายากที่อาจเกิดความสับสนเน่ืองจากไมคอยไดใช ใชแนวเทียบในการเขียนคําผิด หรือ

ออกเสียงผิด เปนตน วิธีแกไขคือการตรวจสอบจากพจนานุกรม หรือดูแนบเทียบจากประกาศของทาง

ราชการ ราชกิจจานุเบกษา หรือแถลงการณคณะสงค เพื่อตรวจสอบความถูกตองอีกคร้ังหน่ึง

ตัวอยางคําที่มักสะกดผิด เชน

เลือกสรรค คําที่ถูกคือ เลือกสรร

บุคคลากร บุคลากร

Page 14: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 14 of 46

ลายเซ็นต ลายเซ็น

ดํารงค (เทียบผิดกับคําวา องค) ดํารง

อนุญาติ (เทียบผิดกับคํา ญาติพี่นอง) อนุญาต

ไอศครีม (ออกเสียงผิด) ไอศกรีม

2. ใชคําใหถูกความหมาย การเขียนตองคํานึงถึงความหมายดวยทั้งน้ีเพราะ

2.1 คําบางคํามีลักษณะเปนคําพองเสียง

เมื่อจะนําคํามาใชผูเขียนจะตองทราบความหมายของคํากอนจึงจะสื่อความไดถูกตอง

เชน เขาสรางบานดวยปูนตรานกอินทรีย ผิด ตองใช อินทรี

อินทรีย แปลวา รางกาย สิ่งมีชีวิต

อินทรี ” ชื่อนกขนาดใหญชนิดหน่ึง

ซึมซาบ ” เอิบอาบเขาไปทั่วถึง, ซึมเขาไป

ซึมทราบ ” รูละเอียด

กช ” ดอกบัว (มาจากคําวา บงกช)

กฎ ” ขอกําหนด, บัญญัติ, จดไวเปนหลักฐาน

กฏ ” ใชรวมกับคําวา ปรา- เปนปรากฏ

ขอน ” ทุบ, ตี

คอน ” เกือบเต็ม, ทอน, ตัด, แสรงวาใหเจ็บใจ

ปฏิมากรรม ” งานปนพระพุทธรูป

ประติมากรรม ” งานปนและแกะสลัก

Page 15: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 15 of 46

2.2 คําบางคําความหมายใกลเคียงกัน เมื่อจะนํามาใชตองทําความเขาใจความหมายของคํา

ดังกลาวกอนเพื่อจะไดเลือกคําที่ตรงกับความตองการ เชน

“จุกจิก” กับ “จุบจิบ”

จุกจิก หมายถึง

จุบจิบ หมายถึง

“สอดสาย” กับ “สอดสอง”

สอดสาย หมายถึง กวาดสายตามอง

สอดสอง หมายถึง ตรวจดูทั่ว ๆ ไป, เอาใจใสดูแล

“สืบสวน” กับ “สอบสวน”

สืบสวน หมายถึง เสาะหา ทบทวนไปมา

สอบสวน หมายถึง ไลเลียง เพื่อเอาความจริง

เคลือบคลุม หมายถึง ไมแจม ไมกระจาง ไมชัด

เคลือบแคลง หมายถึง สงสัย แคลงใจ ระแวง

เคลือบแฝง หมายถึง แสดงความจริงไมกระจาง ใหเปนที่สงสัย

2.3 คําบางคํามีความหมายโดยนัย เมื่อจะใชคําที่มีความหมายโดยนัยตองศึกษาความหมาย

และพิจารณาดูวาสามารถใชเปนความหมายโดยนัยไดหรือไม เชน

เด็กคนน้ันกินสมุดเพื่อน 3 เลม ใชไมได

การกอสรางตึกหลังน้ีมีการกินปูนกินทรายกันอยางมโหราฬ ใชได

ลูกถูกพอแมซักฟอก ใชไมได

รัฐมนตรีหลายคนถูกซักฟอก ใชได

Page 16: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 16 of 46

3. ใชคําใหถูกหลักไวยากรณ

3.1 ใชคําลักษณนามใหถูกตอง

- ใชหลังจํานวนนับ เชน ไมขีดไฟ 3 กลัก กบไสไม 7 ราง

พร 4 ประการ ไหม 5 ใจ

- ใชตามหลังนามเมื่อตองการเนนขอความน้ัน เชน งาชางกิ่งน้ี คําประพันธบทน้ี

รถคนน้ี ปนโตเถาน้ี

3.2 ใชบุพบทใหถูกตองตรงตามความหมายที่ตองการ

คําบุพบทที่มักใชกับสับสน คือ กับ แก แด ตอ

กับ - แสดงอาการกระชับ เชน เห็นกับตา

- แสดงอาการรวม เชน พอไปกับลูก

- แสดงอาการเทียบกัน เชน ขาวตางกับดํา

- แสดงระดับ เชน เหนือตรงกับใต

แก ใชนําหนาคําที่เปนฝายรับอาการ

- รับอาการให เชน ใหรางวัลแกนักเรียน

- รับอาการกระทํา เชน สงเคราะหแก... ประทุษรายแก...

- แสดงอาการรับกัน เชน สมแก เหมาะแก ควรแก

- รับอาการเปนไป เชน ถึงแกกรรม มีแกใจ

- รับอาการเล็งถึง เชน เห็นแกชาติ เห็นแกตัว

- แสดงอาการไขความ เชน ไดแก (คือ)

แด ใชแทนคําวาแกในที่เคารพ เชน ถวายแด

แต มีความหมายทํานองวา

จาก เชน มาแตบาน

ต้ังแต เชน การเขียนหนังสือตองคักลายมือไปแตแรก

เพียงเฉพาะ เชน กินแตขนม แตละอยาง

Page 17: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 17 of 46

ตอ

- นําหนาคําแสดงความเด่ียวเน่ืองกัน เชน ยื่นตอเจาหนาที่ มีไมตรีตอกัน

- เฉพาะ เชน สองตอสอง ศึกษาธรรมตอทานผูรู

- เฉพาะหนา เชน เสนอเร่ืองตอที่ประชุม

- เทียบจํานวน เชน หาตอหน่ึง

- ถึง เชน ตอปหนาจึงจะกลับ

- ถัด เชน ลูกเสือเดินตอทหาร

- ขืน เชน ขัดตออํานาจ

3.3 ใชอาการนามใหถูกตอง

อาการนาม คือ คํานามที่ไดจากการเติมคําวา การ ความ เขาขางหนาคํากริยา หรือคําวิเศษณ

โดยใหยึดหลักวา

การ ใหนําหนาคํากริยา เชน การกิน การเดิน การนอน

ความ ใหนําหนาคํากริยาที่มีความหมายเกี่ยวเน่ืองกับอารมณและคําวิเศษณ เชน ความ

ตองการ ความรัก ความฝน ความดี ความงาม ความยาว

4. ใชคําใหเหมาะสม

4.1 ใชคําใหเหมาะสมตามสมัยนิยม บางคําใชในสมัยหน่ึงแตเมื่อกาลเวลาผานไปความนิยมที่

มีตอการใชคําน้ันก็นอยลง เชน

โลกานุวัตน ใชคําวา โลกาภิวัตน

คนแก ผูสูงอายุ

แหลงเสื่อมโทรม,สลัม ชุมชนแออัด

4.2 ใชคําใหเหมาะกับกาลเทศะ ผูสงสารจะตองรูวาในโอกาสและสถานที่อยางน้ันควรใชคํา

อยางไร เชนในโอกาสที่เปนทางการ ภาษาตองเปนแบบแผน สุภาพเรียบรอย ซึ่งอาจนําคําราชาศัพทหรือ

คําสุภาพมาใช ถาเปนโอกาสกึ่งทางการ ภาษาอาจไมเครงครัดเหมือนแบบทางการแตก็ไมถึงกับปลอยปละ

Page 18: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 18 of 46

ละเลย ยังตองคํานึงถึงความถูกตองและสุภาพอยู สวนโอกาสที่ไมเปนทางการ การใชภาษาอาจไมตอง

พิถีพิถันมากนัก ขอเพียงสื่อความกันไดและแสดงถึงความเปนกันเอง เชน

อยาใสรองเทาขึ้นบนตึกเรียน กึ่งทางการ

หามสวมรองเทาขึ้นบนอาคารเรียน ทางการ

เขาด่ืมเหลา กึ่งทางการ

เขาด่ืมสุรา ทางการ

4.3 ใชคําใหเหมาะกับบุคคล ภาษาไทยมีคําหลายระดับ เชน คําราชาศัพท คําสุภาพ ภาษา

ปาก คําสแลง ฯลฯ ดังน้ันในการใชคําจึงควรคํานึงถึงฐานะของแตละบุคคลดวย เชน

ฉันมอบของแกพระภิกษ ุ ไมถูกตอง

ฉันถวายของแดพระภิกษุ

พระสงฆปวย ไมถูกตอง

พระสงฆอาพาธ

ฉันจะบอกอาจารยเอง ไมถูกตอง

ฉันจะเรียนใหอาจารยทราบ หรือ ฉันจะเรียนใหอาจารยทราบดวยตนเอง

4.4 ใชคําใหเหมาะสมกับขอความ คําที่มีความหมายเหมือนกันอาจจะใชไมเหมือนกัน คือ คํา

บางคําอาจเหมาะกับขอความหน่ึง แตอาจไมเหมาะกับอีกขอความหน่ึง เชน

ฉันเทาเจ็บ เลยเลนฟุตบอลไมได

แมวตัวน้ันตีนเจ็บ เลยจับหนูไมได

เขาถูกเชิญใหไปสถานีตํารวจ

เขาไดรับเชิญใหไปงานเลี้ยง

สุนัขที่บานของฉันคลอดลูกเมื่อวานน้ี ใชคําไมถูกตอง

สุนัขที่บานของฉันออกลูกเมื่อวานน้ี ใชคําถูกตอง

หาโจรบุกปลนธนาคาร ใชคําไมถูกตอง

โจร 5 คนปลนธนาคาร ใชคําถูกตอง

Page 19: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 19 of 46

5. ใชคําระดับเดียวกัน โดยปกติเมื่อเขียนขอความใดจะตองคํานึงถึงศักด์ิของคําดวยเพื่อใหเกิดความ

ไพเราะและเมื่ออานแลวก็ไมรูสึกติดขัด แมวาคําน้ันอาจมีความหมายเหมือนกัน แตเมื่อเลือกใชคําใดแลวก็

ควรใหเปนระดับเดียวกัน เชน

คืนน้ีพอจะไปประชุมกับลูกคาแตคุณแมจะกลับมาทานขาวเย็นที่บานกับลูก

ควรใช พอ คูกับ แม หรือ คุณพอ คูกับ คุณแม

แมบุรุษจะมีความเขมแข็งทางรางกายมากกวาผูหญิง แตผูหญิงก็มี จิตใจที่

แข็งแกรงไมแพบุรุษ

ควรใช บุรุษ คูกับ สตรี หรือ ผูชาย คูกับ ผูหญิง

6. ใชคําเพิ่มความสละสลวย

6.1 ใชคําที่รูจักกันโดยทั่วไป ไมควรใชคําที่คิดขึ้นใหมหรือคําที่เขาใจกันเฉพาะในกลุม เชน

ภาษาสแลง คําพนสมัย คํายอ คําตัด ศัพทบัญญัติ ภาษาถิ่น เปนตน และไมใชคําภาษาตางประเทศโดยไม

จําเปน เชน

ภาพยนตรเร่ืองน้ีเห็นทีจะถูกแบน ใชภาษาอังกฤษ

ภาพยนตรเร่ืองน้ีเห็นทีจะถูกหามฉาย ชัดเจนขึ้น

หลังทําวิทยานิพนธเสร็จก็จะมีการสอบออรัล ใชภาษาอังกฤษ

หลังทําวิทยานิพนธเสร็จก็จะมีการสอบปากเปลา ชัดเจนขึ้น

คณิตกรเคร่ืองน้ีเสียอีกแลว เพิ่งซอมมาแท ๆ ใชศัพทบัญญัติ

คอมพิวเตอรเคร่ืองน้ีเสียอีกแลว เพิ่งซอมมาแท ๆ ชัดเจนขึ้น

ตําสมรานน้ีอรอยที่สุด ใชภาษาถิ่น

สมตํารานน้ีอรอยที่สุด ชัดเจนขึ้น

Page 20: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 20 of 46

6.2 ใชคําที่สรางภาพพจน เพื่อใหผูรับสารเห็นภาพชัดเจนโดยไมตองอธิบาย เชน

คําแสดงอาการ - กระฉับกระเฉง เขยื้อน สั่นระริก ยอง ตะกาย

คําแสดงเสียง - สวบสาบ ฉึก กังวาน โครมคราม เปร้ียง

คําแสดงลักษณะ - กลมเกลี้ยง สูงโปรง ล่ําสัน โยเย บูบี้

คําแสดงอารมณและความรูสึก - ฉุนเฉียว งุนงาน ขยะแขยง เคลิบเคลิ้ม

6.3 ใชคําที่แจมแจง ไมกอใหความสงสัย เชน

ตาเขาเจ็บ

มีการแสดงตนไมตาง ๆ ที่มีชื่ออยูในวรรณคดี

เธอมีทองกับผม

เธอไมยอมตัดผมออก

การผูกประโยค

การนําถอยคํามาเรียงไวอยางถูกตองตามโครงสรางของประโยคเมื่ออานแลวไดใจความสมบูรณ

ประกอบดวยภาคประธาน และภาคแสดง

การเรียบเรียงคําหรือการผูกประโยค มีหลักดังน้ี

1. ความถูกตองชัดเจนของประโยค คือ การเรียงคําใหถูกตองตามหลักไวยากรณภาษาไทย ทําได

ดังน้ี

1.1 เรียงคําใหถูกที่ คือ การวางประธาน กริยา กรรม ใหตรงตามตําแหนงทางไวยากรณ

(ประธาน กริยา กรรม) เชน

ถนนนํ้าทวมหนาบานฉัน นํ้าทวมถนนหนาบานฉัน

สวยมากปน้ีนางสาวไทย ปน้ีนางสาวไทยสวยมาก

1.2 ขยายความใหถูกที ่ คือ การนําคําที่ตองการขยายมาวางใหถูกที่ มิฉะน้ันจะทําให

ความหมายไมชัดเจน หรือสื่อความไดไมตรงตามที่ตองการ เชน

ผูมีเมตตาจิตใหทุนชวยเหลือนักศึกษามหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่ยากจน

Page 21: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 21 of 46

ผูมีจิตเมตตาใหทุนชวยเหลือนักศึกษาท่ียากจนในมหาวิทยาลัยตาง ๆ

เคร่ืองประดับที่งดงามยอมคูควรกับหญิงงามธรรมดา

ธรรมดาเคร่ืองประดับท่ีงดงามยอมคูควรกับหญิงงาม

1.3 ใชคําหรือสํานวนตามแบบภาษาไทย ไมเปนประโยคที่เลียนแบบโครงสราง

ภาษาตางประเทศ เชน

เขาอยูในชุดสีฟา เขาใสชุดสีฟา

เขาถูกลงโทษโดยธรรมชาติ ธรรมชาติลงโทษเขา

นวนิยายเร่ือง “คูกรรม” ถูกแตงโดยทมยันตรี

ทมยันตรีแตงนวนิยายเร่ืองคูกรรม

1.4 ใชคําใหสิ้นกระแสความ ไมละคําไวในฐานที่เขาใจ เชน

รถไฟฟาที่เปดใหบริการแกประชาชนเมื่อเดือนที่แลว

รถไฟฟาท่ีเปดใหบริการแกประชาชนเมื่อเดือนท่ีแลว ชวยใหการจราจรคลองตัว

มากข้ึน

สรอยคอเสนน้ี

สรอยคอเสนน้ีเปนของขวัญท่ีคุณยายมอบให

ไชยพรไมชอบดูหนังสือ ไดแตเที่ยวกับเลนไปวัน ๆ ไมเหมือนพี่ชายของเขา

ไชยพรไมชอบดูหนังสือ ไดแตเท่ียวกับเลนไปวัน ๆ ไมเหมือนพี่ชายของเขา วัน

ๆ ไมออกไปไหนเลย อานแตหนังสือ

1.5 เวนวรรคตอนใหถูกตอง

หลักการเวนวรรคตอน มีดังน้ี

1. เมื่อจบประโยค แลวขึ้นตนประโยคใหม สังเกตโดยดูที่คําเชื่อม

2. เมื่อจบประโยคหลักแลวตามดวยประโยคยอย สังเกตโดยดูจากคําเชื่อม

Page 22: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 22 of 46

3. เมื่อจบใจความประธานที่เปนกลุมคํา สังเกตโดยดูที่คํากริยา

4. เมื่อเปนภาษาไทยกับภาษาอ่ืน

5. เมื่อเปนตัวหนังสือกับตัวเลข

แมนักการเมืองและนักการทหารจะมีอํานาจปานใดก็ตาม//แตไมอาจที่จะ

ยับยั้งความคิดและขอเขียนของนักประพันธเสียได//เพราะนักประพันธมีอิทธิพลอยู

เหนือประชาชนสวนใหญ//และอยูใกลชิดกับประชาชนมากกวา

หากรัฐบาลชุดใหมยอมปรับเปลี่ยนตามขอเสนอของภาคเอกชน//ปญหา

ที่จะตามมาก็คือ//เสียงสะทอนจากนักวิชาการที่หว่ันเกรงวา//คุณภาพของรายการจะ

เหมือนกับรายการทั่วไปที่ปรากฏตามสถานีโทรทัศนในปจจุบัน

1.6 สรางประโยคใหมีเอกภาพและสัมพันธภาพ ขอความในประโยคเดียวกันควรจะมี

ความหมายเพียงอยางเดียว หรือหากเปนขอความเดียวกันก็ควรมีความสัมพันธกัน เชน

เขาเปนคนจนจึงพยายามแตงตัว

เขาเปนคนจนจึงเจียมตัว

เขาชอบรองเพลงแตไมชอบทานอาหารเผ็ด

เขาชอบรองเพลงแตไมชอบเลนละคร

2. ความกระชับรัดกุมของประโยค คือ การเรียบเรียงประโยคใหสื่อความไดชัดเจน สั้น กระชับ ได

ใจความโดยไมใชคําเกินจําเปน สามารถทําไดดวยวิธีการตาง ๆ ดังน้ี

2.1 รวบความใหกระชับ คือ การนําประธานหลาย ๆ คํา ที่มีกริยารวมกันมารวมกัน ดวยคําวา

“ทั้งหมด” “ลวน” “รวมแลว” ฯลฯ เชน

เกิด แก เจ็บ ตาย ท้ังหมดน้ีเปนสิ่งที่แนนอน

นักเรียน นิสิต นักศึกษา ตางก็มีหนาที่ที่ตองเรียนทั้งน้ัน

บุหร่ี กัญชา ฝน ยาบา ลวนแลวแตเปนยาเสพติดที่ควรหลีกใหหางไกล

Page 23: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 23 of 46

2.2 ลําดับความใหรัดกุม คือ การเรียงสวนขยายไวกอน แลวจึงนําขอความสําคัญไวตอนทาย

เพื่อใหผูอานไดอานจนครบ หรือจบขอความ เชน

ศาลตัดสินประหารชีวิต เพราะเขาเปนนักโทษอุจฉกรรจที่มีคดีปลน ฆา ลัก

ทรัพย และลักพาตัว

เพราะเขาเปนนักโทษอุจฉกรรจท่ีมีคดี ลักทรัพย ลักพาตัว ปลน และฆา ดังน้ัน

ศาลจึงตัดสินใหประหารชีวิต

2.3 ไมใชคําฟุมเฟอย จะชวยใหผูรับสารเขาใจประเด็นที่ตองการไดอยางชัดเจน เพราะ

ประโยคไมยาวจนเกินไปจนจําประเด็นไมได เชน

เขามีความเสียใจเปนอยางยิ่งที่สอบไลตก ตองเรียนซ้ําชั้น

เขาเสียใจเปนอยางย่ิงท่ีสอบไลตก

ตํารวจกําลังเอากระดาษหนังสือพิมพปดศพผูตาย

ตํารวจกําลังเอาหนังสือพิมพปดศพ

3. นํ้าหนักของประโยค การสรางประโยคโดยการเนนหรือเพิ่มนําหนักประโยค มีวิธีการดังน้ี

3.1 จัดคําใหอยูในที่ซึ่งมีนํ้าหนัก หมายถึง หากตองการเนนสิ่งใดก็นําขอความน้ันวางไวในที่ที่มี

นํ้าหนัก ซึ่งโดยมากจะเรียงไวตนประโยค เชน

เกิดระเบิดกลางกรุงนิวยอรก (เนนกริยา)

ที่สถาบันญ่ีปุนมีการประกวดการชงนํ้าชา (เนนสถานที)่

นายกรัฐมนตรีเดินทางไปประชุมที่ประเทศลาว (เนนประธาน)

3.2 จัดความใหขัดแยงกัน เปนการจัดขอความที่มีนํ้าหนักเทา ๆ กันมาเชื่อมโยงกัน เชน

ยิ่งรักมากเทาไหร ก็ยิ่งเสียใจมากเทาน้ัน

รักงาย หนายเร็ว

มีความรูทวมหัว เอาตัวไมรอด

Page 24: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 24 of 46

3.3 จัดความใหก้ํากึ่งกัน เปนการผูกประโยคใหเน้ือความในตอนตนและตอนทายมีนํ้าหนักเทากัน

เชน

ที่ใดมีรักที่น่ันมีทุกข

ยามสุขรวมเสพ ยามทุกขรวมตาน

อกหักดีกวารักไมเปน

3.4 ใชคําซ้ํา ๆ กัน จะทําใหขอความมีนํ้าหนักมากขึ้น เชน

เกิดเปนคน เห็นคนเปนคน น่ันแหละคน

จงทําดี จงทําดี และจงทําดี

3.5 ใชคําชักนําใหตอบ เปนการใชคําต้ังคําถามทาทายใหตอบ เชน

สิ่งสุดทายในชีวิตมนุษยก็คือความตายมิใชหรือ

วันน้ีเราจะยอมเปนทาสยาเสพติดตอไปอีกหรือ

ระดับภาษา

เน่ืองจากในสังคมมีกลุมบุคคลระดับตาง ๆ มีโอกาส และสถานที่ในการสื่อสารแตกตางกัน รวม

ไปถึงระดับความสนิทสนมคุนเคยที่แตกตางกัน ดังน้ันการเขียนเพื่อการสื่อสาร สิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึงอีก

ประการหน่ึงคือ ระดับของภาษา

ระดับของภาษา แบงเปน 3 ระดับ คือ ภาษาปาก ภาษาไมเปนทางการ และภาษาทางการ

1. ภาษาปาก ภาษาปากเปนภาษาที่ไมนิยมมาใชเปนภาษาเขียนเพราะถือวาไมสุภาพ แตในปจจุบันมี

การนําภาษาปากมาใชในงานเขียนบางประเภท เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร หรือการอางอิงในลักษณะการ

คัดลอกคําพูด สวนใหญนิยมใชเพื่อใหเกิดบรรยากาศและสถานการณที่สมจริง ไดแก ภาษาถิ่น ภาษา

ตลาด ภาษาสแลง ภาษาเฉพาะหมู และภาษาตํ่า ตัวอยางเชน

หลังจากเขี่ยบอลเร่ิมเกมคร่ึงหลังไดไมกี่อึดใจ พลพรรคสิงหบลูก็ตามตีเสมอ

เจาถิ่นไดอยางรวดเร็ว เมื่อแฟรงค แมลพารด มิดฟลดทีมชาติอังกฤษ ลากตะลุยเขา

ไปกอนตัดสินใจสับไกยิงนอกเขตโทษดวยเทาขวา บอลพุงวาบเสียบตาขายอยางเฉียบ

ขาด เปนประตูยิงเสมอ 1-1 ของเชลซี

Page 25: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 25 of 46

เด็กสาววัย 12 ปที่เกือบจะตกเปนเหยื่อเดนสังคมใหการตอวา เมื่อลิฟตเปด

ออกชายวัยรุนดังกลาวไดสวมวิญญาณสัตวนรกห่ืนกามตรงเขามาล็อกคอ พยายามฉุก

ลากใหออกมาจากลิฟต แตตนพยายามรองใหคนชวย จนคนรายโมโหชกเขาที่ปากจน

แตก อยางไรก็ตาม ไดด้ินรนกัดฟนสูจนพนเงื้อมมือคนราย แลวว่ิงหนีพรอมตะโกน

ขอความชวยเหลือทําใหคนหลายว่ิงหนีโดยหลบไปทางบันไดหนีไฟ

2. ภาษาไมเปนทางการ หรืออาจเรียกวา ภาษากึ่งทางการหรือกึ่งแบบแผน ภาษาไมเปนทางการเปน

ภาษาที่ใชกันโดยทั่วไปในชีวิตประจําวัน เขาใจงาย โดยมากมักนํามาใชในงานเขียนประเภทเรียงความ

บทความ สารคดี เพื่อใหเกิดความเปนกันเองไมเครงเครียดจนเกินไป

เราสามารถพิจารณาลักษณะของภาษาไมเปนทางการ ไดดังน้ี

1. เปนภาษาสุภาพที่ใชพูดกันในชีวิตประจําวัน

2. เปนคํายอที่ไดรับการยอมรับ

3. เปนสํานวนโวหารที่ไมหยาบคาย

4. เปนภาษาที่ไมเครงครัด ตลกขบขันเพื่อการผอนคลาย

5. เปนรูปประโยคที่ตัดทอนได แตยังคงความหมายที่ชัดเจน

ตัวอยางเชน

เรารูกันอยูวาสภาพรถติดทําใหเกิดการเผาผลาญนํ้ามันโดยไรประโยชน

เน่ืองจากไมไดระยะทาง ซึ่งเปนความสูญเสียมหาสารแถมยังกอมลภาวะใหกับอากาศ

และอารมณสูงยิ่งแตภาครัฐเองที่ทําใหเกิดขึ้น แนนอนในระยะยาวสะพานขามแยกหรื

อุโมงคจะทําใหการจราจรคลองตัวขึ้น แตในระยะสั้นไมแนใจหรือวามีการวางแผนที่

รอบคอบแลวในการขุดกอสรางแตละแหงเพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอการจราจรเกิน

ความจําเปน

ขอโทษนะครับ คุณเคยเห็นประเทศไหน มัยครับ? ที่เคาทักทายกันแบบมี

มารยาท การยกมือขึ้นไหวดวยรอยยิ้ม อาจจะมี แตผมคิดวา ประเทศไทยเราน่ีแหละ

ครับ ที่ใครมา ใครไปก็ตองอยากมาอีก “รอยยิ้ม” ที่เปนเอกลักษณของเมืองไทยมา

นาน รอยยิ้มสามารถแกปญหาไดทุกอยาง...

Page 26: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 26 of 46

3. ภาษาที่เปนทางการ เปนภาษาที่เปนแบบแผนและถูกตองตามหลักไวยากรณ เหมาะในการใชเขียน

เอกสารทางวิชาการ ตํารา หนังสือราชการ

เราสามารถพิจารณาลักษณะของภาษาที่เปนทางการ ไดดังน้ี

1. เปนคําหรือขอความที่สุภาพหรือเปนศัพทวิชาการ

2. เปนคําเต็ม ไมใชคํายอ โดยเฉพาะคํานําหนานาม ตําแหนง หรือยศ

3. เปนภาษาระดับเดียวกัน และไมใชภาษาสแลงหรือภาษาถิ่นปน

4. ใชสํานวนโวหารที่ไมแสดงอารมณและเปนกลาง

5. เปนรูปประโยคสมบูรณตามหลักไวยากรณ โดยไมตัดทอนใหสั้นลง

ตัวอยางเชน

ในบรรดาเคร่ืองดนตรีไทยหนีไมพน เคร่ืองดีด เคร่ืองสี เคร่ืองตี และเคร่ือง

เปา โดยจําแนกตามลักษณะวิธีที่ใชบรรเลง แตเคร่ืองดนตรีที่จะกลาวถึงในโอกาสน้ี

เปนเคร่ืองดนตรีประเภทเคร่ืองดีด มีชื่อเรียกขานกันมานานวา “จระเข” สมเด็จพระ

เจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานวาเปนเคร่ืองดนตรีของชน

ชาติมอญ ไดเขามาสูสยามประเทศในสมัยกรุงศรีอยุธยา เปนเคร่ืองดนตรีที่มี

วิวัฒนาการมาจากพิณ นิยมใชบรรเลงเด่ียว ตอมาไดบรรเลงประสมอยูในวง

เคร่ืองสายและมโหรีต้ังแตสมัยรัชกาลที่ 2 จนถึงปจจุบัน

ภาษาทั้ง 3 ระดับน้ี สามารถนําไปใชสื่อสารไดทั้งการพูดและการเขียน แตสิ่งที่ตองคํานึงถึงคือ

1. เน้ือหา

2. กลุมเปาหมาย

3. โอกาส เวลา และสถานที่

--------------

เอกสารอางอิง

บงกช สิงหกุล. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนเพื่อการสื่อสาร. สาขาวิชามนุษยศาสตร

คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 2546.

Page 27: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 27 of 46

การเขียนยอหนา (Paragraph)

การเขียนยอหนาเปนพื้นฐานของการเขียนในระดับที่สูงขึ้น เชน เรียงความ บทความ สารคดี

รวมถึง นวนิยาย และเร่ืองสั้น ดังน้ันการจะพัฒนางานเขียนตาง ๆ ใหดีขึ้นควรเร่ิมตนจากการฝกเขียนยอ

หนาใหมีเอกภาพ

ความหมายของยอหนา

ยอหนา หรือ อนุเฉท หมายถึง ขอความตอนหน่ึง ที่เขียนรนเขาไปจากแนวกระดาษดานซาย

ประมาณ 5-10 ตัวอักษร เปนขอความซึ่งมีใจความสําคัญเพียงเร่ืองเดียว และมีประโยคขยายใจความสําคัญ

ใหไดใจความสมบูรณ ดังแผนภาพตอไปน้ี

ความสําคัญของยอหนา

1. แตละยอหนาจะบรรจุความคิดสําคัญที่ผูเขียนตองการนําเสนอ และชวยใหผูเขียนลําดับเร่ือง

เหตุผลไดอยางตอเน่ืองไมสับสน ในขณะที่ผูอานก็สามารถเขาใจเร่ืองไดงาย เปนลําดับขั้นตอน มองเห็น

เหตุผลไดชัดเจนยิ่งขึ้น

2. ยอหนาชวยใหผูอานมีโอกาสคิดคิดพิจารณาเน้ือหากอนที่จะขึ้นประเด็นใหมในยอหนาตอไป

3. ยอหนาทําใหผูอานไดพักสายตา พักสมอง

4. ยอหนาชวยใหผูอานเห็นความสัมพันธของแตละประโยค เพราะแตละยอหนาจะมีการจํากัด

ความคิดเพียงประเด็นเดียว โดยมีประโยคหลักและประโยคขยายความ

5. ยอหนาทําใหเกิดความงาม

xxxxxxxx…………..ประโยคใจความสําคัญ...................

..................................ประโยคขยายความ…………….…

……………………………………………………………

……………………………………………………………

……………………..

Page 28: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 28 of 46

ความยาวของยอหนา

ยอหนาแตละยอหนาจะสั้นยาวเพียงใดไมสําคัญ บางยอหนาอาจมีเพียงประโยคเดียว สองประโยค

หรือหลาย ๆ ประโยคก็ได แตที่สําคัญคือ ตองอธิบายความคิดไดอยางชัดเจน แตที่ควรระวังก็คือ ไมควร

เขียนยอหนาสั้นหรือยาวจนเกินไป

ยอหนาที่สั้นเกินไปไมควรมีบอยเพราะจะทําใหขาดความสําคัญ ผูอานอาจเกิดความรําคาญที่ตอง

หยุดบอย ๆ ทําใหความสนใจตองหยุดชะงักไปดวย ผูอานอาจไมเขาใจจุดมุงหมายและไมสามารถเชื่อมโยง

ความคิดใหตอเน่ืองกันได การเขียนยอหนาสั้น ๆ สามารถกระทําได ในกรณีที่ตองการเนนย้ําใหเห็น

ความคิดสําคัญน้ัน หรือเปนการสรุปความเห็น

ไมเขียนยอหนายาวจนเกินไปจนกระทั่งมีความคิดหลายความคิดปะปนกัน และยอหนาที่ยาว

เกินไปก็ที่ใหผูอานเกิดความเมื่อยลา เบื่อหนาย บางคร้ังไมสามารถจับประเด็นสําคัญได

โดยทั่วไปยอหนาควรมีความยาวประมาณ 4 บรรทัด เปนอยางนอย แตไมควรเกิน 8-1 บรรทัด

ความสั้นยาวของยอหนาในเร่ืองหน่ึง ๆ ไมควรแตกตางกันมาก เชน ยอหนาแรก 20 บรรทัด ยอหนา

ถัดไป 5 บรรทัดบาง 3 บรรทัดบาง ซึ่งจะทําใหไมสวยงามและไมเกิดความสมดุล

องคประกอบของยอหนา

ในยอหนาแตละยอหนาประกอบไปดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ ใจความสําคัญ และประโยคขยายความ

1. ใจความสําคัญ หรือประโยคใจความสําคัญ คือ ความคิดสําคัญที่ผูเขียนมุงเสนอแกผูอาน ความคิด

หลักน้ีผูเขียนจะตองแปรออกมาเปนประโยคใจความสําคัญ แตถาผูเขียนไมเขียนออกมาเปนประโยคใจความ

สําคัญ ยอหนาน้ันก็จะไมมีประโยคใจความสําคัญ ผูอานจะตองเปนผูจับความคิดหลักของผูเขียนเอง

2. ประโยคขยายความ คือ ประโยคที่มุงขยายความหรือใหรายละเอียดความคิดหลักหรือประโยค

ใจความสําคัญใหชัดเจนยิ่งขึ้น

หลักการเขียนยอหนา ในการเขียนยอหนาผูเขียนควรต้ังประเด็นคําถามดังน้ี

1. มีจุดประสงคอะไร ตองการใหผูอานตอบสนองอยางไร

2. ความคิดที่จะเขียนน้ันจะสรุปเปนประโยคเดียวไดวาอยางไร (คิดหาประโยคใจความสําคัญ)

3. จะเรียบเรียงความคิดอยางไร อะไรกอน-หลัง

4. จะนําความคิดยอย ๆ มาเขียนอยางไร ในปริมาณเพียงไรจึงจะทําใหบรรลุผลตามวัตถุประสงค (การ

คัดเลือกขอมูล)

Page 29: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 29 of 46

ชนิดของยอหนา

การแบงประเภทหรือชนิดของยอหนาทําได 2 ลักษณะ คือ แบงตามหนาที่ และแบงตามกลวิธี

เสนอใจความสําคัญ

1. แบงตามหนาท่ี (สุชาติ พงษพานิช. ม.ป.ป. : 199-201)

ปรีชา ชางขวัญยืน กลาววายอหนามี 4 ชนิด คือ ยอหนานําความคิด ยอหนาแสดงความคิด

ยอหนาโยงความคิด และยอหนาสรุปความคิด

1.1 ยอหนานําความคิด คือ ยอหนาที่ใชบอกจุดประสงคของเร่ืองที่เขียน หรือบอก

ประเด็นหลักของเร่ืองทั้งหมด ยอหนาน้ีจะทําใหผูอานเขาใจลักษณะของเร่ืองและสนใจที่จะอานเน้ือเร่ือง

ตอไป บางคนเรียกยอหนาชนิดน้ีวา ยอหนาคํานําหรือสวนนํา

1.2 ยอหนาโยงความคิด คือ ยอหนาที่ใชเชื่อมระหวายอหนา มักใชกรณีที่ความคิดของทั้ง

สองยอหนาเปนคนละประเด็นกันหรือไมเกี่ยวของกัน ยอหนาชนิดน้ีจะชวยเชื่อมโยงสิ่งที่ไมสัมพันธกันเขา

ดวยกัน

1.3 ยอหนาแสดงความคิด คือยอหนาที่ดําเนินเร่ืองตามที่วางโครงเร่ืองไว แสดงเน้ือหา

สาระ ขอมูลหรือขอคิดเห็นที่ตองการจะสื่อสาร

1.4 ยอหนาสรุปความคิด คือ ยอหนาสรุปเร่ืองหรือสรุปความคิดที่เสนอตอผูอานซึ่ง

สามารถทําไดหลายวิธี

ตัวอยางยอหนาชนิดตาง ๆ จากบทความเร่ือง “การปฏิรูประบบศาลยุติธรรมตั้งแตรัชสมัย

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจนกระท่ังปจจุบัน”

สถาบันศาลสถิตยุติธรรมนับวามีบทบาทสําคัญในการคุมครองสิทธิเสรีภาพและ

ความยุ ติธรรมของประชาชนในสังคมประชาธิปไตย ดังคําจารึกในหิรัญบัตรที่

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสเกี่ยวกับการปฏิรูประบบ

ศาลยุติธรรมตอนหน่ึงวา “...การยุติธรรมอันเดียวเปนการที่สําคัญยิ่งใหญ เปนหลัก

ประธานการตัดสินความทุกโรงศาล เปนเคร่ืองประกอบรักษาใหความยุติธรรมเปนไป

ถาจัดใหดีขึ้นเพียงใด ประโยชนความสุขของราษฎรก็จะเจริญยิ่งขึ้นเทาน้ัน เพราะฉะน้ัน

จึงไดทรงพระอุตสาหะไตสวนในพระราชกําหนดกฎหมายเกาใหม และการที่ลูกขุน

ตระลาการไดกระทําแตกอน ๆ สืบมาจนทุกวันน้ี...” (ยอหนานําความคิด)

Page 30: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 30 of 46

กอนที่จะกลาวถึงการปฏิรูประบบศาลยุติธรรมในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระ

จุลจอมเกลาเจาอยูหัวและในปจจุบันน้ัน ควรจะไดศึกษาถึงความเปนมาของศาลยุติธรรม

ในอดีตด้ังเดิมวามีอยางใด เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาเร่ืองการปฏิรูปศาลไทยในสมัย

ตอ ๆ มาใหเขาใจยิ่งขึ้น (ยอหนาโยงความคิด)

เดิมศาลตาง ๆ มีอยูมากมาย และไมรวมอยูในกระทรวงเดียวกัน พระบาทสมเด็จ

พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดําริวา ควรจะใหจัดระบบศาลยุติธรรมใหม โดย

ทรงสถาปนากระทรวงยุติธรรมขึ้น เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2453 เพื่อรวบรวมศาลไวที่

กระทรวงยุติธรรมเพียงแหงเดียวเพื่อแกไขปญหาเร่ืองตุลาการทุจริตและเพื่อแกไขปญหา

เร่ืองคดีความตาง ๆ ลาชา ตลอดจนการแยกฝายตุลาการออกจากฝายธุรการ (ยอหนาแสดง

ความคิด)

เมื่อพิจารณาศึกษาเร่ืองเกี่ยวกับ การปฏิรูประบบศาลยุติธรรมต้ังแตอดีตจนถึง

ปจจุบันแลวน้ัน ยอมเปนพยานหลักฐานยืนยันไดวา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ

จุลจอมเกลาเจาอยูหัว ศาลสถิตยุติธรรมไดมีการปฏิรูปใหเจริญกาวหนามาตามลําดับ ดวย

พระอัจฉริยภาพของพระองคโดยแท ประกอบกับพระปรีชาญาณอันแรงกลาที่จะประสิทธิ์

ประสาทความยุติธรรมใหแกราษฎร ดังปรากฏในคําจารึกในหิรัญบัตร ที่กลาวไววา เพื่อ

ขจัดเสียซึ่งอสัตยอธรรมทั้งปวง ทรงเห็นวาศาลทรงมีความสําคัญอันยิ่งใหญ ถาจัดใหดีขึ้น

เพียงใด ก็จะเปนประโยชนและความสุขแกราษฎรมากขึ้นเพียงน้ัน ดังไดทรงปฏิรูปศาล

โดยเอาอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่กระจัดกระจายอยูมารวมสังกัดในกระทรงยุติธรรม

และขอความตอนทายคําจารึกในหิรัญบัตรไดจารึกพระราชปณิธานไววา “ขอใหธรรม

เนียมยุติธรรมน้ีเจริญรุงเรืองไพศาล และจิรถิติกาลอยูชั่วฟาและดิน” (ยอหนาสรุป

ความคิด)

2. แบงตามวิธีเสนอใจความสําคัญ

การแบงประเภทของยอหนาโดยใชหลักเกณฑน้ีคือการพิจารณาตําแหนงที่ปรากฏของประโยค

ใจความสําคัญในยอหนา แบงไดเปน 5 ประเภท ดังน้ี

Page 31: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 31 of 46

2.1 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนตนยอหนา ดังตัวอยาง

การดูแลสุขภาพเปนเร่ืองสําคัญมาก แตนักเรียนสวนใหญอาจละเลย บางคนจะ

อานหนังสือจนดึก และบางทีก็ด่ืมกาแฟแกงวง ทั้งที่เปนเวลาที่รางกายตองการพักผอน

แลว แตยังคงฝน นาน ๆ เขารางกายก็รับไมไหว และก็เจ็บปวยในที่สุด คุณเคยทรมาน

รางกายหรือไม เชนนอนดึกต่ืนเชา รับประทานอาหารไมครบหาหมู ด่ืมเคร่ืองด่ืมบํารุง

กําลังมากเกินไป ใชยากระตุนประสาทไมใหหลับ ถาคุณทําอยูก็ควรเลือกเสีย กอนที่

รางกายของคุณจะทรุดโทรมลงมากกวาน้ี

ใยแมงมุมแตละเสนละเอียดแลดูออนแอขาดงาย แตหาไดเปนเชนน้ันไม ใยแมง

มุมบางชนิดแข็งแรงกวาเหล็กเสนซึ่งมีขนาดเทากัน ถาเอาใยแมงมุมชนิดน้ีมาปนเปน

เสนดาย จะเหนียวเทากับสนใยไนลอนขนาดเดียวกัน นอกจากน้ีเสนดานที่ปนจากใยแมง

มุมยังหดยืดได แตเสนใยเทียมที่คนทําขึ้นเกือบไมมีชนิดใดที่หดยืดได ขณะน้ีนักวิจัยและ

นักวิทยาศาสตรในวงการอุตสาหกรรม กําลังคิดคนที่จะใชใยแมงมุมทําวัสดุสารพัดอยางที่

ทํามาจากวัตถุดิบอ่ืน ๆ ไมได เชน เสนเลือดเทียม ลิ้นวาวลหัวใจคน เสื้อเกราะปองกัน

กระสุนปนซึ่งเบาอยางยิ่ง และสวมสบายมาก

นมเปนแหลงโภชนะท่ีสําคัญของมนุษยและสัตว โดยที่นมจัดเปนอาหารอันดับ

แรกสําหรับทารกแรกเกิด เน่ืองจากนมประกอบดวยโภชนะหลายชนิดที่สามารถยอยไดงาย

ในนมประกอบดวยของแข็งประมาณ 13 เปอรเซ็นต และในของแข็งน้ีมี โปรตีน 3.3

เปอรเซ็นต คารโบไฮเตรท 5 เปอรเซ็นต ไขมัน 4 เปอรเซ็นต รวมทั้งแรธาตุและไวตามิน

อีกเปนจํานวนมาก โปรตีนในนมประกอบดวยกรดอะมิโนที่สําคัญทุกชนิด สวนแลคโตส

เปนคารโบไฮเดรตหลักของนม ซึ่งเปนที่นาสังเกตวานมเปนแหลงของแลคโตสเพียงแหลง

เดียวเทาน้ันในธรรมชาติ และในนมยังประกอบดวยไวตามินที่สําคัญ คือ ไวตามิน A B D

E และ K ดวยเหตุผลเหลาน้ีจึงทําใหการบริโภคนมมีความสําคัญตอมนุษยและสัตว

Page 32: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 32 of 46

2.2 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนกลางยอหนา ดังตัวอยาง

ความผูกพันเปนเสมือนโซตรวนที่พันธนาการหัวใจ จนทําใหสูญเสียความเปนตัว

ของตัวเอง เพราะมัวแตใสใจคนอ่ืน ความผูกพันยังเปนภาระอันหนักหนวง ดวยวาเราเอา

ชีวิตของเราไปผูกติดกับคนอ่ืน เปนทุกขเปนรอน เปนหวงเปนใย ทั้ง ๆ ทีไมใชหนาที่

หรือความรับผิดชอบของเราสักนิด การไมผูกพันกับใครจึงนับวาเปนสิ่งวิเศษสุด

ปราศจากความทุกขและความกังวลใด ๆ ไมอยูใตอํานาจของใครทั้งสิ้น เมื่อใดที่ตองรางรา

กันก็โบกมืออําลากันไดดวยความรูสึกปกติ ซ้ํายังกําหนดชีวิตตนเองได และที่สําคัญมี

อิสระที่จะโลดแลนไปไหนมาไหนตามใจชอบ โดยไมตองหวงหนาหวงหลัง

ถามองดูโครงกระดูกคนเราแตเพียงผิวเผินจะไมสามารถแยกออกไดวาโครง

กระดูกใดเปนของผูหญิง และโครงกระดูกใดเปนของผูชาย แตถาพิจารณาอยางละเอียด

แลวก็สามารถจําแนกได เพราะโดยทั่วไปโครงกระดูกของผูหญิงจะมีขนาดเล็กกวาโครง

กระดูกของผูชาย แตถาเปนกระดูกเชิงกรานกลับเปนตรงกันขาม เพราะกระดูกเชิงกราน

ของผูหญิงจะใหญกวาของผูชาย เน่ืองจากธรรมชาติเตรียมไวใหผูหญิงสามารถอุมทอง

และคลอดลูกไดน่ันเอง

ถาพูดถึงการออมหรือการลงทุน หลาย ๆ คนอาจจะเคยนึกสงสัยวา “การออม” กับ

“การลงทุน” น้ัน ไมเหมือนกันหรือแลวมันตางกันอยางไร ที่จริงแลวการออมกับการลงทุน

น้ันก็มีวัตถุประสงคเดียวกันคือ การสรางโอกาสทําใหคุณมีเงินมากขึ้นแตก็อาจจะตางกัน

อยูบางก็ตรงที่ การออม เปนการเก็บสะสมเงินทีละเล็กทีละนอยใหพอกพูนข้ึนเมื่อเวลาผาน

ไป แต การลงทุน คือการนําเงินไปสรางผลตอบแทนท่ีสูงข้ึน การออมกับการลงทุนจึงเปน

คําที่มีความหมายไมเหมือนกันแมจะมีวัตถุประสงคเดียวกันก็ตาม”

Page 33: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 33 of 46

2.3 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนทายยอหนา ดังตัวอยาง

คําเกา ๆ มีกลาววา “ถึงคนไมเห็นเทวดาก็เห็น” เด๋ียวน้ีอาจเห็นวาพนสมัย แตถา

รูจักคิด คําน้ีก็ยังใชได คือเทวดาในดวงใจของเราเอง หมายความวาความมีหิริ (ละอายใจ)

และโอตัปปะ (เกรงบาป) ซึ่งทานเรียกวาเปนเทวธรรม (ธรรมของเทวดา หรือธรรมที่ทํา

ใหเปนเทวดา) ใจที่มีละอาย มีเกรงบาป คือความชั่วชาตาง ๆ น้ีแหละคือเทวดา แตใจ

กระดาง ดานหยาบชา แข็งกราว ชั่วราย อาจมองไมเห็น ภาษิตมอญมีกลาววา “เมื่อกา

จับที่ใบตนหญา ดวยคิดวาไมมีใครเห็น ถึงกระน้ันก็มีผูเห็นถึงสองเปนอยางนอย” ผูเห็น

ทั้งสองในภาษิตมอญน้ีคือใคร ขอใหคิดเอาเอง ถาคิดไมเห็น ก็ใหสองหนาในกระจก ก็จะ

เห็นผูที่เห็นกา แมพระพุทธภาษิตก็มีกลาวไววา “ชื่อวาลับยอมไมมีแกผูทําชั่ว”

ภายในวงงานศิลปะประเภทหน่ึงๆ มีรูปแบบของศิลปะน้ันแยกออกไป จิตรกรรม

ก็มีการวาดและระบายสีบนฝาผนัง วาดเปนเสนบนกระดาษ วาดและระบายเปนภาพเล็ก

เปนภาพใหญเปนรูปคนรูปภูมิประเทศและอ่ืนๆ วรรณคดีก็เขาในลักษณะน้ี รูปแบบของ

วรรณคดีไทยก็มีหลายแบบ ถานับวรรณคดีตางประเทศทั่วโลกก็มีรูปแบบเกือบจะนับไม

ถวน คุณภาพของวรรณคดีขึ้นอยูกับรูปแบบจะมีความดีหรือความบกพรองภายในวงของ

รูปแบบแตละรูปแบบ การพิจารณาวรรณคดีจึงเปนไปตามรูปแบบแตละรูปๆ น้ัน

ในวงการธุรกิจ การสื่อสารดวยวิธีการเขียนเปนสิ่งหน่ึงที่สําคัญยิ่ง การเขียน

ในทางธุรกิจมีหลายประเภท เชน การเขียนเอกสารการประชุม การเขียนรายงาน การ

เขียนจดหมายธุรกิจ การเขียนเอกสารการจางและการสมัครงาน และการเขียนเอกสารเพื่อ

การประชาสัมพันธ การเขียนแตละประเภทมีวิธีการเขียนที่แตกตางกัน ผูมีหนาท่ีเขียน

เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจจําเปนตองเลือกใชวิธีการเขียนใหเหมาะสมกับการเขียนแตละ

ประเภท

Page 34: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 34 of 46

2.4 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนตนและทายยอหนา ดังตัวอยาง

ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ใ น บ า น เ มื อ ง เ ร า มั ก จ ะ ส อ ด ค ล อ ง กั บ ก า ร ดํ า เ นิ น

ชีวิตประจําวัน ตัวอยางบางคนชอบปลูกไมดอกไมผล เมื่อเกิดดอกออกผลก็ชื่นใจ เกิด

ความคิดที่จะทําดอกผลน้ันใหงดงามนาดูยิ่งขึ้น จึงมีผูนําผลไมมาประดิษฐลวดลาย แลวจัด

วางในภาชนะใหมองดูแปลกตานารับประทานลวดลายน้ันเกิดจากการตัด ผา ปอก ควาน

และแกะสลัก สวนไมดอกที่ออกดอก ก็นํามาผูกมัดเปนชอบาง เปนพวงเปนพูบาง เสียบ

เปนพุมหรือปกลงในแจกันก็ไดตามแตจะเห็นงาม ชีวิตชาวไทยกับศิลปะความงามจึง

แยกกันไมออก

คําวา CEO มาจากคําเต็มวา Chief Executive Officer หรือหัวหนาคณะผูบริหาร

ซึ่งเปนตําแหนงทางการบริหารที่นิยมมากในสหรัฐอเมริกา กลายมาเปนที่รูจักในเมืองไทย

มากที่สุดก็ในยุคของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร การบริหารงานราชการในยุค

ใหม CEO จึงเปนตําแหนงหัวหนาคณะผูบริหารท่ีมีบทบาทในการบริหารงานราชการ

2.5 ไมมีประโยคใจความสําคัญปรากฏในยอหนา ดังตัวอยาง

ถาถามวาอะไรคือสิ่งดึงดูดใหผูคนนิยมไปทองเที่ยวตามอุทยานแหงชาติทางทะเล

ไมวาจะเปนเกาะเสม็ด หมูเกาะสิมิลัน หรือหมูเกาะตะลุเตา จนกระทั่งในชวงเทศกาล

วันหยุดผูคนที่ไปพํานักอยู จะมีจํานวนมากจนลนเกาะ เปลี่ยนภาพธรรมชาติที่เคยสงบ

และงดงามใหเปนความสับสนอลหมานในทันที คําตอบคงอยูที่สภาพธรรมชาติอันพิเศษ

ของสถานที่เหลาน้ัน นับต้ังแตหาดทรายขาวละเอียด ปะการังหลากสีสันและรูปทรง ไป

จนถึงทองทะเลสีครามที่สะกดใหคนเฝามองมันไดตลอดทั้งวัน

ใจความสําคัญของยอหนาน้ีคือ สภาพธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษของแตละสถานที่จะเปนสิ่งดึงดูด

ใหมีผูคนนิยมไปทองเที่ยว

Page 35: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 35 of 46

กลวิธีการขยายใจความสําคัญในยอหนา

1. ใหรายละเอียด การใหรายละเอียดเปนวิธีการเขียนอธิบายเกี่ยวกับใจความสําคัญเพื่อใหผูอาน

สามารถเขาใจหรือรูเร่ืองราวน้ัน ๆ ไดอยางสมบูรณวาเปนอยางไร วิธีน้ีเปนที่นิยมกันโดยทั่วไป เชน

ขาพเจาต่ืนนิวยอรก ต่ืนอเมริกามาก รูสึกราวกับวาอยูในเมืองสวรรค ลอนดอน

ปารีส โรม เบอรลิน และนครตาง ๆ ในยุโรปที่เคยเห็นมาแลว ก็รูสึกวาไมมีเมืองใด

เหมือนนิวยอรก ตึกรามอันสูงเยี่ยมเทียมฟานับไมถวนวามีกี่ชั้น ถนนหนทางอันหรูหรา

พลเมืองอันหนาแนน ความมั่งคงสมบูรณ ซึ่งปรากฏอยูทั่วไปทุกหนทุกแหง ถนนฟฟต

แอเวนิว นอรดเวย ฯลฯ และโคมไฟซึ่งจุดไวสวางไสวราวกับกลางวัน ทําใหขาพเจา

สนุกเพลิดเพลินอยางเหลือที่จะพรรณนาไดถูก ขาพเจาไมนึกเลยวาโลกเราจะเจริญไดถึง

เพียงน้ี ขาพเจาเคยเห็นภาพยนตรเยอรมันเร่ือง Metropolis หรือ โลกอนาคตมาแลว จึงทํา

ใหรูสึกไดทันทีวาในไมชานครนิวยอรกก็คงเปนเชนน้ันโดยแท

2. ใหคําจํากัดความ เปนวิธีการเขียนเพื่ออธิบายขอบเขตของความหมายของเร่ืองที่ตองการกลาวถึง

หรือเพื่อใหผูอานเขาใจความหมายของคําหรือวลีที่ใชในเร่ืองที่เขียนก็ได วิธีน้ีมักใชกับยอหนาที่เปนคํานํา

เทพารักษ คือ เทวดาที่บุญพามาอยูประจําพิทักษรักษาอาณาเขตแหงใดแหงหน่ึง

ใหอยูเย็นเปนสุข แตเจาผีน้ัน คือมนุษยที่สิ้นชีพไปแลว ผลกรรมทําใหตองทองเที่ยวเปนผี

อยู ยังไมวสามารถไปถือกําเนิดใหมได ถาผีไมชอบใจใคร ก็อาจจะทําใหเดือดรอนรําคาญ

3. ใหเหตุผล

แมโลกทุกวันน้ีจะกาวหนาทางวัตถุไปมากเพียงใดก็ตาม แตธรรมชาติเปนสิ่งก็ยังเปน

สิ่งที่มีความสัมพันธกับชีวิตและจิตใจของมนุษยอยางขาดเสียมิได เพราะธรรมชาติเปน

องคประกอบที่สําคัญของโลก ธรรมชาติใหความสดชื่นร่ืนรมยแกจิตใจมนุษย กอใหเกิด

จินตนาการในการสรางศิลปะ โดยอาศัยรูปทรง สีสันของธรรมชาติเปนสื่อสรางสรรค

ศิลปกรรมขึ้นใหม ตามความรูสึกนึกคิดของศิลปน

4. ยกตัวอยาง ตัวอยางที่ยกมาประกอบน้ันจะตองตรงกับเน้ือเร่ือง ไมยากหรือซับซอนเกินไป แต

สนับสนุนใหผูอานเขาใจเร่ืองมากขึ้น

Page 36: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 36 of 46

วิธีที่มนุษยเราจะมั่งมีไดรวดเร็วน้ัน ถาพูดกันโดยทางตรงไปตรงมาก็มีอยูสองทาง คือ

คนอ่ืนเขายื่นใหเมื่อเขายังเปนทางหน่ึง เขาทิ้งไวใหเมื่อเขาตายทางหน่ึง สวนการมั่งมีรวดเร็ว

ดวยวิธีเดินตรอก คือวิธีมืด ๆ เลี้ยว ๆ ลด ๆ น้ันก็มีมาก แตถาจะนํามาจาระไนก็ราคาไพเบี้ย

สุภาษิตอาหรับเขาวาลิ้นยาวทําใหชีวิตสั้น เจายอมทราบอยูแลว การมั่งมีดวยวิธีเดินตรอกน้ีใช

ไมได ถาตายแตหนุมก็ตกนรกเร็ว ถาตายแกบางทีตกแตยังไมทันตายก็ได ดังมีตัวอยางอยูบาง

5. เปรียบเทียบ การเปรียบเทียบอาจเปนการเปรียบเทียบสิ่งตรงขาม เชน ดีกับชั่ว หรืออาจเปนการ

เปรียบเทียบนามธรรมกับรูปธรรม

การที่จะเรียนวิชาไดดวยวิธีใดน้ันไมสําคัญ ขอสําคัญอยูกับที่ตัวผู เรียนตางหาก

เปรียบเหมือนแตงกวาจะดองดวยนํ้าสมฝร่ังก็ได ดองดวยนํ้ากระเทียมก็ได เมื่อดองแลวก็

อรอยทั้งสองอยาง ขอสําคัญคือแตงกวาที่เอาลงดองจะตองเปนแตงที่ยังไมเนา ถาเนาเสียแลว

จะดองดวยนํ้ากระเทียมหรือนํ้าสมขวดละตําลึงมันก็ไมเปนรสทั้งน้ัน บุคคลที่สืบเสาะรํ่าเรียน

วิชาก็เหมือนแตงกวาดอง ถานิสัยใจคอมันเนาเสียแลว ถึงจะรํ่าเรียนดวยวิธีใด มันก็คงไม

เปนเร่ืองทั้งสิ้น

ลักษณะของยอหนาท่ีดี

1. มีเอกภาพ หมายถึง ยอหนาที่มีใจความสําคัญเพียงอยางเดียว วิธีเขียนก็คือ เขียนโดยกําหนด

จุดมุงหมายเปนประโยคใจความสําคัญ แลวหาขอความที่เปนรายละเอียดมาสนับสนุนเพื่อขยายใจความน้ัน

2. มีสารัตถภาพ หมายถึง ยอหนามีสาระเน้ือหาเขมขน มีขอมูลชัดเจน และมีการเนนย้ําใจความ

สําคัญ เพื่อใหผูอานทราบวาใจความใดสําคัญมากที่สุด

3. มีสัมพันธภาพ หมายถึง ขอความที่เขียนเปนประโยคติดตอกันมีความเกี่ยวของกันตลอดทั้งเร่ือง

มีความกลมกลืนเปนเน้ือเดียวกัน

-------------------

เอกสารอางอิง

สุชาติ พงษพานิช. การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา. ม.ป.ป.

พาทินี ไทยะจิตต และคณะ. ภาษาไทย 1. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล กรุป. 2549.

Page 37: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 37 of 46

การเขียนบรรยายและพรรณนา

ในการเขียนระดับยอหนา หรือการเขียนขอความที่มีขนาดคอนขางยาว เชน เรียงความ สารคดี

บทความ เร่ืองสั้น หรือนวนิยาย หลีกเลี่ยงการเขียนบรรยายและพรรณนาไปไมได เพราะการเขียนทั้ง 2

ลักษณะดังกลาวจะชวยใหผูอานเขาใจเร่ืองไดชัดเจน มองเห็นภาพที่ผูเขียนตองการสื่อสาร และมีอารมณ

ความรูสึกตาง ๆ เกิดขึ้นคลอยตาม

การเขียนบรรยาย

การเขียนบรรยาย หมายถึง การเขียนถึงเหตุการณใดเหตุการณหน่ึงที่เกิดขึ้นอยางตอเน่ือง โดยการ

แสดงใหเห็นสถานที่เกิดเหตุ สภาพแวดลอม บุคคล ตลอดจนผลที่เกิดขึ้นจากเหตุการณน้ัน ๆ หรือกลาวได

วาเปนการกลาวถึงเหตุการณน้ัน ๆ วามีใครทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร เพื่ออะไร ผลที่ไดเปนอยางไร

การเขียนบรรยายจึงเปนการเขียนเพื่อสรางความเขาใจและใหผูอานไดรับทราบขอมูลมากกวาที่จะเนนให

ผูอานเกิดความรูสึกรวมไปกับผูเขียน

1หลักการเขียนบรรยาย

1การเขียนบรรยายมีหลักที่ควรปฏิบัติดังน้ี

1. ใชถอยคํากะทัดรัด อานแลวเขาใจงาย มีความหมายคมคาย

2. บรรยายตามลําดับเหตุการณ โดยไมทําใหผูอานสับสน

3. ควรมีเหตุการณหรือจุดที่ทําใหผูอานประทับใจอยูในบทบรรยายดวย

4. ควรบรรยายอยางตอเน่ืองและอาจแทรกบทพรรณนา ขอคิดเห็น ความรู ความเปนเหตุเปน

ผล เพื่อประโยชนของผูอานตามความเหมาะ

ขอควรคํานึงในการเขียนบรรยาย

1. จุดมุงหมายของการบรรยายก็คือใหคนอานไดเห็นภาพ คนเขียนจะเลือกบรรยายอะไรบาง ละเอียด

แคไหน เรียงลําดับยังไง ก็ขึ้นอยูกับวาตองการใหคนอาน "เห็น" อะไรแบบไหน ก็คลายกับกลองถายหนังวา

จะจับภาพที่ตรงไหนกอน กวางแคบแคไหน แลวคอยๆ เลื่อนกลองไปทางไหน ทีน้ีถาคนเขียนเอง (หรือผู

กํากับเอง) ยังไมรูเลย วาจะใหคนอานเห็นภาพ "อะไร" พอบรรยายออกมา มันก็ไมไดภาพที่ชัดเจน คงจะ

มัวๆ และคนอานก็คงไมเขาไปอยูในฉากน้ัน เหตุการณน้ันกับตัวละครดวย เพราะฉะน้ัน ถาไมอยากใหคน

อาน "หลุด" กระเด็นออกไปจากฉากน้ัน คนเขียนก็จําเปนตอง "อยู" ในฉากน้ัน "เห็น" ภาพฉากน้ันใหได

กอน

Page 38: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 38 of 46

2. คนเขียนจะ "เห็นภาพ" ไดอยางไร ก็อาจจะมีหลายวิธี

วิธีแรกคือ การสรางภาพขึ้นมาในหัว วิธีน้ีเปนวิธีที่ยืดหยุนที่สุด เพราะทําใหเราเขียนถึงอะไรๆ ที่

ไมไดมีอยูจริงได ทําใหเราสรางฉาก สรางเหตุการณ หรือกระทั่งสรางโลกใหมขึ้นมาได แตมันก็ทํายาก

ตองใชเวลา ตองใชจินตนาการ

วิธีท่ีสอง คือ การเขียนจากที่ตาเห็น วิธีน้ีจะเหมาะมาก ๆ กับการบรรยายฉากสถานที่ ดูจากสถานที่

จริง หรือดูภาพถายหลายๆ ภาพ แลวเขียนบรรยายออกมา แตขอจํากัดคือ ที่บางที่มันอยูไกล เราไปดูไมได

หรือไมสะดวก แยกวาน้ันคือ บางที่มันไมมีอยูจริง (เชน คฤหาสนของพระเอก หรือโลกแฟนตาซี) อันน้ีก็

ใชวิธีน้ีไมได

วิธีท่ีสาม คือ การเขียนจากความทรงจํา อันน้ีมีประโยชนมาก ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งกับฉากสถานที่

ซึ่งในเร่ืองอาจจะมีหลายที่เยอะแยะ เราไมสามารถตามไปดูไดหมด หรือคิดเองไมไหว แตเราอาจจะเคยไปที่

ลักษณะคลาย ๆ อยางน้ันมา ก็อาศัยความทรงจําตอสถานที่ที่เราเคยไป หยิบยืมเอามาออกแบบสถานที่ใน

เร่ืองของเรา เชน ในเร่ืองมีรีสอรต ก็นึกถึงที่ที่เราเคยไปเที่ยวมา เปนตน

วิธีท่ีสี่ คือ ลองทําดู มีประโยชนสําหรับการเขียนภาพเหตุการณที่เปนการเคลื่อนไหว หรือ แอ็คชั่น

แลวเรานึกภาพไมออกวา แขนขาหัวตัวพระเอกนางเอกจะไปอยูตรงไหน เราใชวิธีน้ีประจํา ใหลองลุกขึ้นมา

ทําทาทางแบบน้ันดู ใชชวยในการกะระยะก็ได เชน ความสูงของเกาอ้ี การลมของนางเอก จะลมทาไหน ให

ลงไปอยูในออมแขนพระเอกได อะไรเงี้ย คนอานจะไดไมตกใจ วานางเอกตัวยาวเทาเสาไฟฟา ลมอยูตรงน้ี

แลวหัวไปซบบาพระเอกได

วิธีสุดทาย ที่ไมแนะนํา คือการเปดนิยายของคนอ่ืน แลวหาดูวาเขาบรรยายยังไง ถามวาถาจะทําจะ

เปนไรมั้ย ตอบวา ถาไมไปลอกเขา แคดูวิธีคิดในการเขียนละก็ไมเปนไรหรอก แตถาถามวาดีมั้ย สวนตัวขอ

ตอบวาไมดีเทาไหร ความเสี่ยงมันสูง

ความเสี่ยงแรกคือ แอบ "ขอยืม" ถอยคําของเขามาใชโดยไมไดต้ังใจ ประมาณวา เสาคฤหาสนเขา

เปนแบบน้ี เราก็แบบน้ี ใชคําเดียวกันเลย หน่ึงคือไปเอาความคิดของเขามา สองคือเอามาแลว อาจจะไม

เหมาะกับเร่ืองของเรา สภาพการณของเราก็ได

ความเสี่ยงที่สองคือ อาจจะเผลอยึดติด "สไตล" การบรรยายของเขา และพยายามจะบรรยาย "ดวย

สไตลของเขา" แทนที่จะบรรยายดวยสไตลของเรา ผาน "สายตา" ของเราแตไมใชวาการอานงานของคนอ่ืน

Page 39: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 39 of 46

ไมดี การอานเยอะๆ ดีตรงทําใหเรามองเห็นความเปนไปได มองเห็นรูปแบบการบรรยายที่หลากหลาย

แงมุมที่เราไมเคยนึกถึง แตตองอานเยอะเปนประจํา สะสมไปเร่ือยๆ ถึงจะดี มาเปดหาเวลาตองการเขียน

บรรยายจะไมดี

3. ความสมเหตุผล ถาเราเขียนออกมาแลวคนมองวา ไมเห็นมีเหตุผล ไมนาเชื่อเลยสักนิด เปนอันวา

จบ ตัวอยางเชน "ในการไปทํางานของผมตองอาศัยเรือขามฝากใตสะพานพระราม 8 เปนประจํา" อานแลว

ก็ดูไมมีอะไร แตถาคนเขารูวา ปจจุบันใตสะพานพระราม 8 ยังไมมีเรือขามฝาก ตรงน้ีจบแน

4. ถาอยากบรรยายใหไหลลื่นก็คงตองเขียนใหบอย ๆ

5. พยายามอยาคิดเปนประโยคความซอน ที่มีคําวา "ที่/ซึ่ง/ผู" เยอะ เพราะเราพยายามอัดอะไรหลาย ๆ

อยางเขาไปไวในประโยคเดียว ก็เลยขยายประธาน กริยา กรรม นุงนังไปหมด จะขยายทุกทีก็ตองมีคําเชื่อม

พวกน้ีทุกที เลยรูสึกวาเยอะ อานยาก เขาใจยาก ตองประมวลนาน วิธีแกคือ ใหคิดอะไรเปนประโยคสั้นๆ

จบในตัว

6. การบรรยายคือสรางภาพในจินตนาการของผูอานใหเห็นภาพตาม หากจนหนทางจริงๆ ก็ลองใช

"ประสบการณรวมของคนหมูมาก" แทรกเขาไป คนอานก็จะเห็นภาพไดชัดเจนขึ้น เชน "...หากแกนึกถึง

ภาพของพระบรมมหาราชวัง ราชธานีศรีอยุธยาไมออก ก็ลองนึกภาพพระบรมมหาราชวัง-วัดพระแกวดูซี ที่

กรุงเทพสวยงามยังไง ที่อยุธยาอาจจะสวยงามยิ่งกวาน้ัน เพราะตอนสรางพระบรมมหาราชวังที่กรุงเทพน่ี

รัชกาลที่หน่ึง ทานเกิดทันคร้ังอยุธยายังรุงเรืองดี ทานก็พยายามจําลองแบบพระบรมมหาราชวังคร้ังบานเมือง

ยังดีน่ันมาใหใกลเคียงที่สุดเทาที่จะทําได..." เปนตน ตัวอยางน้ี จะเห็นวาภาพที่เปนประสบการณรวมของ

ชนหมูมากก็จะปรากฏขึ้นทันทีในใจของผูอาน

(http://nathanon.com เขาถึงเมื่อ 25 พฤษภาคม 2554)

Page 40: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 40 of 46

การเขียนบรรยายประเภทตาง ๆ

1. การเขียนบรรยายบุคคล การเขียนบรรยายบุคคลใดบุคคลหน่ึง ควรกลาวถึงขอมูลพื้นฐานที่จําเปน

กอน แลวเรียงตามลําดับการสังเกตเห็นต้ังแตภายนอกแลวจึงถึงระดับจิตใจ สามารถแยกเปนขอได

ดังตอไปน้ี

1. เพศ

2. วัยโดยประมาณ หรือบอกอายุที่ชัดเจน

3. รูปรางลักษณะเดน (เห็นเดนชัดดวยสายตา) เชน ขนาดความสูง ผิวพรรณ แขนดวน ตาบอด

4. ลักษณะยอยที่เดนเปนพิเศษ (เห็นดวยการสังเกต หรือตองใหผูน้ันมีการกระทําจึงจะทราบ) เชน

เสียงแหบ ทาเดิน สีของเคร่ืองแตงกาย(เพราะแตละวันไมเหมือนกัน)

5. ลักษณะนิสัยและอารมณ เชน สุขุม เอ้ืออารี ขี้เลน ใจรอน หรือบอกกริยาที่กําลังทําอยูใน

ขณะน้ันซึ่งเปนการกระทําชั่วคราว เชน น่ังหลับ น่ังอานหนังสือ

6. สรุปความรูสึกที่คนทั่วไปพึงมีเมื่อพบเห็นคนน้ัน เชน เปนคนนานับถือ เปนคนไมนาไววางใจ

เปนคนนาสงสาร

7. อาจกลาวถึงอาชีพที่ประกอบก็จะชวยใหผูอานสรางจินตนาการและเห็นภาพไดชัดเจนขึ้น

ตัวอยางการบรรยายบุคคล

ขงเบงรูปรางใหญโต สูงถึงหกศอก สีหนาขาวเหมือนไขหยวก แตงตัวโอโถง

ทาทีเปนอาจารยผูใหญ (สามกก)

คุณสายเปนคนเจาเน้ือ หนาตาเปนคนมีอารมณดี ผิวเน้ือสองสี ถึงแมเปนคน

มีอายุมากแลว และผมที่ตัดสั้นตามสมัยน้ันหงอกประปราย คุณสายก็ยังไมมีใบหนาที่

แสดงร้ิวรอยของความโกรธหรือความทุกขที่ผานมา คุณสายนุงผาลายขัดสีเหล็ก หม

ผาแถบสีจําปา นอนควํ่าอยางสบายอยูบนพื้นกระดานที่เย็น (สี่แผนดิน)

Page 41: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 41 of 46

2. การเขียนบรรยายสถานท่ี ควรบอกสิ่งตาง ๆ ดังตอไปน้ี

1. ลักษณะของสถานที่น้ัน เชน ถวย หนอง คลอง บึง ภูเขา เนินเขา

2. สถานที่ต้ังทางภูมิศาสตร เชน บอกวาอยูตําบลอะไร อําเภออะไร หรืออยูตรงไหนของ

สถานที่ใหญ เชน ตรงกลางหอง ชายปา ริมแมนํ้า

3. ลักษณะเดนของสถานที่น้ัน เชน ขนาด รูปทรง

4. ลักษณะยอยที่สําคัญ มีอะไรที่เปนสวนประกอบพิเศษ ควรเปนลักษณะที่ถาวร

5. บอกความเกี่ยวโยง หรือความสําคัญกับเร่ืองที่ตองการเลา (ในกรณียกตัวอยาง หรือ

เปรียบเทียบ)

6. บอกเวลาและบรรยากาศในขณะที่เอยถึง หรือบรรยากาศที่ปรากฏอยูตลอดเวลา

ตัวอยางการเขียนบรรยายสถานท่ี

ณ ที่แหงหน่ึง อยูในราวกลางหุบเขา ไมสูหางจากแมนํ้านอนน้ันนัก มีตน

ไทรใหญใบหนาทึบเปนเงาปกคลุมลานหญา ซึ่งเขียวดังมรกตใหรมร่ืน สวนรากที่ยอย

ลงมาเปนตนนอย ๆ มีจํานวนนับไดต้ังพันตน กลายเปนสุมทุมพุมไมมหึมา สามารถ

ใหกองเกวียนอยางของขาพเจาต้ังสิบเทา พักอาศัยไดอยางสบาย (วาสิฏฐี)

รานตกเบ็ด เขาทําเปนสระและหอสลากเปนรูปสัตวนํ้าตาง ๆ อยูในน้ัน มีเบ็ด

ติดแมเหล็กไวตรงปลาย ใครจะตกเบ็ดก็เสีย 1 บาท แลวยื่นเบ็ดลงไปในสระ หอสัตว

เหลาน้ันมีเหล็กอยูขางในดวย ก็กระโดดขึ้นมาติดเบ็ด (ความสนุกในวัดเบญจมบพิตร)

ลักษณะทั่วไปของเรือนลานนามีใตถุนสูง พื้นที่ใชสอยประกอบดวยชานกวาง

ที่มีบันไดหลักขึ้นเรือนทางดานหนา จากชานโลงหนาบานหรือชานใตหลังคาบริเวณ

ขอบริมชานดานใดดานหน่ึง จะมี ห้ิงสําหรับวางหมอนํ้า ด่ืมพรอมที่แขวน

กระบวย ภาษาพื้นถิ่น เรียก “ฮานนํ้า” บริเวณน้ีเปนสวนเชื่อมพื้นที่ตางๆ ของเรือน

ถัดจากชานเปนหองโถงเปดโลงยกสูงจากระดับชานประมาณหน่ึงถึงสองคืบเปนพื้นที่

อเนกประสงคสําหรับน่ังเลน รับประทานอาหาร รับรองแขก ทําบุญเลี้ยงพระ เปนตน

ภาษาลานนา เรียก "เต๋ิน” บริเวณน้ีกั้นฝาเต็มดานเดียว และสรางที่เก็บของบนเพดาน

โปรงใตหลังคา โดยทําเปนตะแกรงไมไผหรือไมเน้ือแข็ง สําหรับเก็บของจําพวก

ขันโตก คนโทนํ้า ตะกรา เปนตน

Page 42: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 42 of 46

3. การเขียนบรรยายสิ่งของ/สัตว มีหลักในการเขียนดังน้ี

1. บอกสามานยนามวาสิ่งน้ันคืออะไร

2. บอกลักษณะเดนของสิ่งน้ัน

3. บอกลักษณะยอยที่สําคัญ ถาเปนของใหมอาจเปรียบเทียบกับสิ่งสิ่งที่เปนที่รูจักอยูแลว

4. บอกประโยชนใชสอยโดยทั่วไป

5. บอกวาสิ่งน้ันอยูที่ไหน อยูในลักษณะใด

6. บอกวาสิ่งน้ันเกี่ยวกับเร่ืองที่เขียนอยางไร (ในกรณียกตัวอยาง หรือเปรียบเทียบ)

ตัวอยางการเขียนบรรยายสิ่งของ

ตัวปากเปด เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม มีปากและเทาเหมือนเปด เล็บยาว หาง

แบน ชอบวายนํ้า และวายนํ้าเกง ทั้งตัวมีขนคลายผมคน ขนละเอียดและหนาสีนํ้าตาล

ปนเทา ชอบขุนโพรงอยูตามริมลําธาร โดยขุดจากใตนํ้าทะลุขึ้นมาบนพื้นสรางดิน พบ

ในประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด และเกาะนิวกีนี เปนตน

อายแดง เปนมีดยาวของชาวภาคใต รูปคลายดาบแตปลายตัด ปลายสวนคม

เชิดและยาวกวาปลายสวนสัน ตัวมีดดานสันโคงงอนและเรียวลงไปหาดาม ดานนิยม

ทําดวยเขาสัตวหรือไมปลายดามผายออกเล็กนอย และงอนไปขางหนาพองาม ใชเปน

อาวุธประจํากาย และอาจใชหวดหรือฟนไดอยางดาบและพรา

4. การเขียนบรรยายเหตุการณ

การเขียนบรรยายเหตุการณอาจเขียนเรียงลําดับต้ังแตเร่ิมตนจนกระทั่งเหตุการณน้ันสิ้นสุด หรือ

อาจใชกลวิธีการนําเสนออ่ืน ๆ เพื่อสรางความนาสนใจและติดตาม เชน การเลาเหตุการณจากจุดจบยอนไป

ที่สุดเร่ิมตน หรืออาจเปนการเลาสลับไปสลับมาก็ได แตตองไมสรางความสับสนแกผูอานเพราะการเลา

เร่ืองสลับไปสลับมาแบบมีการวางโครงเร่ืองไวอยางดีแลว กับการเขียนสลับไปมาเพราะจัดลําดับความคิด

ของตนเองไมไดแลวเขียนตามที่นึกคิดออกยอมแตกตางกัน

Page 43: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 43 of 46

ตัวอยางการเขียนบรรยายเหตุการณ

พระองคหน่ึงไปหาหมอดู หมอทายวาพระตองตายในไมชาน้ีแนนอน ให

กลับไปขอขมาลาโทษพอแมเสียเถอะ พระก็กลับมาน่ังวิตกถึงตัวเอง ก็มองไปเห็น

หนองนํ้าแหงมีปลากําลังจะตายเพราะขาดนํ้าอยู ก็คิดวาตัวเราเองก็จะตายเหมือนปลาน้ี

ก็เอาผาอังสะปู แลวจับปลาและสัตวที่อยูในหนองนํ้าน้ันมาไวในอังสะไปปลอยนํ้า

และอธิฐานขอใหตนพนจากความตาย ดังที่ตนไดชวยใหปลาน้ีรอดตาย และพระองค

น้ันจึงไมตาย จากเหตุน้ีเองจึงมีประเพณีปลอยปลามาจนทุกวันน้ี (ดวยปญญาและความ

รัก นิทานชาวเมืองเหนือ : เวานเพลงเออ)

การเขียนพรรณนา

การพรรณนา เปนการเขียนที่ใชสําหรับพรรณนาเร่ืองราว ความรู ความรูสึกนึกคิด อยางละเอียด

เปนการสอดแทรกอารมณเพื่อใหผูอานคลอยตาม การเขียนพรรณนาโวหารใชสําหรับการชมความงามของ

ธรรมชาติ สถานที่ บุคคล ความดีงามของบุคคลที่ไดกระทําไว สิ่งที่เปนนามธรรม หรือสิ่งที่เกี่ยวของกับ

อารมณความรูสึก สํานวนที่ใชจะเปนคําที่มีความหมายลึกซึ้งมองเห็นภาพเดนชัด ทําใหผูอานเกิดความ

ซาบซึ้งและประทับใจ

การเขียนพรรณนาตางจากบรรยายในประการสําคัญคือ การพรรณนาไมมีการดําเนินเร่ือง แตเปน

การใหรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหน่ึง สิ่งน้ันอาจเปนบุคคล วัตถุ สถานที่ หรืออะไร ๆ ก็ได ผูพรรณนามัก

ใชภาษา และกลวิธีที่ทําใหผูอานเกิดความรูสึกหรืออารมณรวม พรอมทั้งเห็นภาพของรายละเอียดไดอยาง

ชัดเจนแจมแจง (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2527 : 105)

หลักการเขียนมีดังน้ี

1. เร่ืองที่เขียนอาจไมเครงเครียดในเร่ืองของขอเท็จจริง แตตองมีความสมจริง

2. ผูเขียนใชวิธีเขียนที่สรางภาพใหผูอานมองเห็นและมีความรูสึกคลอยตาม

3. ผูเขียนตองเลือกสรรถอยคําที่สามารถสื่อความหมาย สื่อภาพ สื่ออารมณไดอยางชัดเจน เหมาะกับ

เร่ืองและรูจักใชภาษาภาพพจน เชน อุปมา อุปลักษณ ภาษาเกินจริง การเลนเสียงพยัญชนะ หรือการเลียน

เสียงธรรมชาติมาประกอบ

Page 44: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 44 of 46

1. การพรรณนาบุคลิกลักษณะของบุคคล

พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ทานเปนบุคคลที่มีสติปญญาเฉียบแหลมมีปฏิภาณ

ไหวพริบดีเยี่ยม ทานไมเคยวางตัวแบบเจายศเจาอยางซึ่งเปนบุคลิกที่นาเลื่อมใสยิ่ง...

ทานมีบุคลิกภาพที่ผสมผสานอยางลงตัวและนาสนใจ กลาวคือ ทานเปนผูที่

จงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยอยางยิ่ง เปนที่ประจักษตอ

สาธารณชนมาโดยตลอด อีกทั้งเปนผูกลาหาญ มีการตัดสินใจที่เฉียบขาด เปนนัก

บุกเบิก และมีความคิดสรางสรรค ดังเชนแนวคิดในการ “เปลี่ยนคาบสมุทรอินโดจีน

จากสนามรบเปนสนามการคา” และ การเปนผูเร่ิมกอต้ัง “สมาคมมิตรภาพไทย-จีน”

เปนตน

2. การเขียนพรรณนาธรรมชาติ

ตะวันสีหมากสุกอบอุนขึ้นที่ปลายฟา ชาวบานชาวชองหนาตาขึ้น พรอมกับ

สรรพสําเนียงของชีวิตในวันใหม นกบินออกจากรัง เงาสีเทาทาบทับไปตามถนนรน

แคมเหมือนความหวังที่ทอดยาวออกไปเหมือนลมหายใจของชาวถิ่นที่สืบทอดและคง

อยู ทุนุถนอมและปกปองบานเมือง

(คนทายรถ ของ พิบูลศักด์ิ ละครพล)

ปลากระทะมีรูปรางคอนขางเปนสี่เหลี่ยมปอมแบนขางมากมีครีบหลังติดเปน

อันเดียว ซึ่งแบงเปนกานแข็ง และซี่ออน สวนครีบกนมีกานแข็งสี่อันและยาวไลเลี่ย

กัน เกล็ดละเอียดสีเขม ดานทองมีจุดดํา กลมใหญและเล็กสลับกันกับตัวและมีเปน

จํานวนมากที่ตอนบนหลัง ปลาชนิดน้ีตามปกติอยูในทะเล แตสามารถจะเขาอาศัย

ในนํ้าจืดได ชอบกินของเนาเสีย ขณะที่ตัวยังเล็กอยู มีผูที่ชอบเลี้ยงในอางแกวไว ดู

เลน 2(สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลม 2)

ภาพพฤกษาพันธุใหมยืนตระหงาน

เหมือนเลือนรางวากานกอชูชอไสว

เหมือนเขียวชอุมพุมพฤกษและกวัดไกว

เหมือนหยดนํ้าใสใสสะทอนกอนหลนดิน

Page 45: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 45 of 46

อกอุนนาจากนํ้าจากไอฟา

ออมโอบเอ้ือมกอดภูผาหิน

ปุยเมฆขาวลอยลองเปนอาจินต

พาชีวินสุดสิ้นลับนิรันดร

(เรียงรอยพรรณนา ละเมอ ฝน ชีวาดับ)

3. การเขียนพรรณนาอารมณความรูสึก

…พระผูเปนเจาทรงละทิ้งขาพระองคเสียแลวพระราชาทรงพระคํานึงนึกอยาง

ปวดราวในพระทัย...เราพายแพในสงคราม ลูกที่เรารักก็ตายไปจากอก สวนคนที่กิน

แหนงแคลงใจกลับเปนคนที่เราตองพึ่งพา...แมแตเมียคนที่เรารักมากที่สุดก็ทรยศตอเรา

ปนใจใหชายอ่ืนไมมีอะไรเหลือสําหรับคนแกที่เจ็บ ๆ ไข ๆ คนน้ีเลย...แลวอยางน้ีเรา

จะมีชีวิตอยูตอไปเพื่ออะไรกันเลา

แมวายังหนุมแนน เราจะเต็มไปดวยความพร่ังพรอมสมบูรณแทบจะเรียกวา

เปนผูครองโลก...แตน่ันมันจะมีความหมายอะไร ในเมื่อบัดน้ีเราหมดสิ้นทุกสิ่งทุกอยาง

... (แคเธอรีน เด เมดิชี กฤตนาราชินี ของ นิดา)

4. การพรรณนาความดีงามของบุคคล

…ทานผูหญิงสุมาลี จาติกวนิช เปนผูที่ผานการดําเนินชีวิตมาหลายบทบาท

มากกวา 64 ป ซึ่งลวนเปนบทบาทที่แตกตางกันไปตามตําแหนงหนาที่การงานที่ไดรับ

มอบหมาย อาทิ รองประธานกรรมการบริหารและนายกมูลนิธิฯ ใหกับองคกรการ

กุศลทั้ง 2 แหง นอกจากน้ียังไดรับเลือกจากสมาคมสตรีภาคพื้นเอเชียอาคเนยรวม 19

ประเทศ ใหรับหนาที่ประธานสมาคมระหวางประเทศถึง 2 สมัย และในการประชุม

ระดับโลก วาดวยเร่ืองสตรีคร้ังที่ 4 ณ กรุงปกกิ่ง ที่ผานมาน้ี ทางคณะกรรมการ

จัดเตรียมประชุมไดเชิญทานผูหญิงสุมาลี ใหรับภารกิจประสานงานภาคเอกชน ใน

ภูมิภาคเอเชียแปซิฟกดวย เพราะเหตุวาทานผูหญิงสามารถทําหนาที่ประสานงานได

อยางดีเยี่ยมจนไดรับการยกยองใหเปนแบบอยางการประสานงานเมื่อปที่แลว...

Page 46: Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

TH 2333 การเขียนเพ่ือการส่ือสาร Page 46 of 46

----------------------

เอกสารอางอิง

บงกช สิงหกุล. (2546). การเขียนเพื่อการสื่อสาร. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนเพื่อการสื่อสาร

สาขาวิชามนุษยศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

วชิรนที วงศศิริอํานวย. (2544). ทักษะการใชภาษาไทย. เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะการใช

ภาษาไทย มหาวิทยาลัยพายัพ.