8
รายงานการเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติ 2013 10 th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย IEEE Thailand Section, Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology Association (ECTI) ณ โรงแรม มารีไทม์ รีสอร์ท แอนด์ สปา จ. กระบี วันที 15-17 พฤษภาคม 2556 ผู ้จัดทํา อาจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงการนีได้รับการสนับสนุนจากทุนพัฒนาบุคลากรประจําปี 2556

Sukhothai Thammathirat Open University Post/56... · 2013. 6. 13. · (2) ; 7

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • รายงานการเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาต ิ

    2013 10th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer,

    Telecommunications and Information Technology

    จัดโดย

    คณะวศิวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

    IEEE Thailand Section, Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and

    Information Technology Association (ECTI)

    ณ โรงแรม มารีไทม์ รีสอร์ท แอนด์ สปา จ. กระบีG

    วนัทีG 15-17 พฤษภาคม 2556

    ผู้จัดทาํ

    อาจารย์ ดร.ขจิตพรรณ กฤตพลวมิาน

    สาขาวชิาวทิยาศาสตร์และเทคโนโลย ี

    โครงการนีSได้รับการสนับสนุนจากทุนพฒันาบุคลากรประจําปี 2556

  • 1. ชืGอ นางขจิตพรรณ นามสกลุ กฤตพลวมิาน อายุ 36 ปี ตําแหน่ง อาจารย ์ ระดับ 6 สังกดั สาขาวชิาวทิยาศาสตร์และเทคโนโลย ี ไปเข้าร่วมประชุมวชิาการนานาชาต ิ 2013 10th International Conference on Electrical

    Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology

    วนัทีG 15-17 พฤษภาคม 2556 รวมระยะเวลา 3 วนั 2. รายงานการประชุม

    (1) หวัขอ้เรื�อง 2013 10th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology

    (2) ผูเ้ข้าร่วมประชุมสัมมนา ประมาณ 500 คน ส่วนใหญ่เป็นคณาจารย์ นักวิจัย และ ผูเ้ชี�ยวชาญจากต่างประเทศ

    (3) วธีิการประชุม/สัมมนา (3.1) หวัขอ้ปาฐกถาพิเศษในงานประชุม โดยผูท้รงคุณวฒิุจากภายในและต่างประเทศ

    1) โทรคมนาคมและการกระจายสัญญาณในอนาคต และผลกระทบต่อสังคม (Future Telecommunications and Broadcasting: Impact on Society )

    2) มาตรฐาน ICT ทั�วโลก (Global ICT Standardization)

    3) การเดินทางสู่ระบบคลาวด ์(the Journey to the cloud)

    4) การสื�อสารในเมืองอจัฉริยะ: มาตรฐานระหวา่งเครื�อง การประยกุตใ์ชง้าน และแพลตฟอร์ม (Smart City Communication: M2M Standards, Applcations and Platforms)

    5) การวดัคุณภาพการใหบ้ริการสาํหรับการใหบ้ริการโทรศพัทเ์คลื�อนที�

    (Service Quality Measurement for Mobile Service)

    6) บทนาํเกี�ยวกบัเทคโนโลย ีFTTx (Introduction to FTTx Technology)

    (3.2) ในงานประชุมวิชาการแบ่งหัวข้อวิจัยสําหรับนําเสนอผลงานปากเปล่า โดยแบง่เป็นกลุ่มยอ่ยๆดงันี6

    1) ICT กบัอุตสาหกรรม (Special Industry Session)

    2) หุ่นยนต ์(Robotics)

    3) วดีีโอ (Video)

  • 4) เทคโนโลยใียแกว้นาํแสง (Optical Technology)

    5) สายอากาศแบบมลัติแบนด์และแบนด์กวา้ง (Multi-band and Wideband Antennas)

    6) สัญญาณและภาพทางการแพทย ์(Medical Signal and Medical Imaging)

    7) คอมพิวเตอร์และไอที (Computer and IT)

    8) ไฟฟ้าแรงสูง (High Voltage)

    9) วงจรแอนะล็อก (Analog Circuit)

    10) ระบบไฟฟ้ากาํลงั (Power System)

    11) ระบบสื�อสาร (Communication System)

    12) ทฤษฎีควบคุมและการประยกุต ์(Control Theory and Applications)

    13) การประมวลผลภาพ (Image Processing)

    14) การควบคุมในจกัรกลอิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์กาํลงั (Control in Mechatronics and Power Electronics)

    15) การประยกุตไ์ร้สาย (Wireless Application)

    16) เทคโนโลยสีายอากาศ (Antenna Technology)

    17) การประมวลสัญญาณดิจิทลั (Digital Signal Processing)

    18) การประยกุตอิ์เล็กทรอนิกส์ (Electronic Applications)

    19) การประยกุตส์นามแมเ่หล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Applications)

    20) เครือขา่ยการสื�อสาร (Communication Networks)

    21) สัญญาณเสียงพดูและ DSP

    (4) วตัถุประสงค์ของการประชุมสัมมนา

    1) เพืRอเป็นการนาํเสนอความก้าวหน้าการดาํเนินการวิจยั นวตักรรมใหม่ๆ ทีRเกิดข̂ึนเกีRยวกับ วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์วศิวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยสีารสนเทศ

  • 2) เพืRอเป็นการแลกเปลีRยนความคิดเห็น ขอ้เสนอแนะต่างๆ ของงานวิจยัเกีRยวกบัวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมอิ เล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์วิศวกรรมโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ระหว่าง นักวิจัย นักวิชาการ ผูเ้ชีRยวชาญ นกัศึกษา จากภาคส่วนต่างๆ

    3) สร้างโอกาสการร่วมมือกนัพฒันางานวิจยัระหว่างหน่วยงาน หรือองค์กรต่างๆ

    (5) สรุปเนืSอหาจากการประชุม

    จากการเขา้ร่วมประชุมวชิาการหวัขอ้งานวจิยัทีRน่าสนใจหลายหวัขอ้ เช่น

    (1) โพรโทคอลคอลเลคชันทรีแบบหลายช่องสัญญาณสําหรับโครงข่ายตัวรับรู้ไร้สาย

    (Multi-Channel Collection Tree Protocol for Wireless Sensor Networks)

    เนืSอหาสําคัญ การแทรกสอดเป็นปัจจยัสําคญัทีRส่งผลกระทบต่อการทาํงานของโครงข่ายตวัรับรู้ไร้สาย (Wireless Sensor Network: WSN) ประเด็นน̂ีเป็นสิRงสําคญัอยา่งยิRงเนืRองจาก WSN ใช้งานในยา่นความถีRสเปกตรัมยา่นความถีRสาธารณะทีRสามารถใชง้านร่วมกนัได ้นอกจากน̂ีหากมีอุปกรณ์เซ็นเซอร์ทีRมีการทาํงานมาตรฐานแตกต่างกนัติดตั^งอยูบริเวณเดียวกนัการแทรกสอดอาจเป็นปัญหาสําคญัได ้โพรโทคอลคอลเลคชนัทรี (Collection Tree Protocol: CTP) เป็นโพรโทคอลจดัเส้นทางทีRสามารถสนบัสนุน WSN แบบสเกลใหญ่ได ้สามารถลดปัญหาการเกิดการแทรกสอดให้น้อยลงได ้และเมืRอทาํการดดัแปลง CTP ให้เป็น CTP แบบหลายช่องสัญญาณ โพรโทคอลใหม่น̂ีไดรั้บการจาํลองและเมืRอเปรียบเทียบผลลพัธ์กบักรณีการใชโ้พรโทคอล CTP แบบดั^งเดิม พบวา่การทาํงานของระบบ WSN ดีข̂ึนภายใตส้ภาพแวดลอ้มทีRมีการแทรกสอด

    (2) การหาประสิทธิภาพโพรโทคอลการจัดเส้นทางสํารับเครือข่ายแอดฮอกเคลืGอนทีGได้แบบ

    เฮทเทอโรจีเนียส (Performance Evaluation of Routing Protocols for

    Heterogeneous Mobile Ad Hoc Networks)

    เนืSอหาสําคัญ โพรโทคอลการจดัเส้นทาง (routing protocol) มีบทบาทสําคญัต่อโครงข่ายแอดฮอกแบบเคลืRอนทีRได ้(Mobile Ad Hoc Networks: MANETS) เนืRองจากทุกโหนดมีความจาํเป็นตอ้งการหาเส้นทางในการติดต่อกบัโหนดอืRนๆ โพรโทคอลการจดัเส้นทางต่างๆ เหล่าน̂ีถูกใชว้ดัและวิเคราะห์บนโครงข่ายแบบโฮโมจีเนียส (homogeneous) ซึR งทุกโหนดในโครงข่ายน̂ีมีความสามารถแบบเดียวกนัเช่น ระยะการส่งสัญญาณ กาํลงัส่งสัญญาณ และแบนด์วิดท์การเชืRอมโยงสัญญาณ ดงันั^นโครงข่ายแบบโฮโมจีเนียสจึงไม่เหมาะสมสําหรับการวิเคราะห์เชิงทฤษฎี การจาํลองการตรวจวดั หรือการทดสอบประสิทธิภาพการทาํงานในสภาวะการใช้งานจริงทีRแต่ละโหนดมีความแตกต่างกนัหรือมีพารามิเตอร์แตกต่างกนั หรือทีRเรียกวา่เป็นโครงข่ายแบบเฮตเทอโรจีเนียส (heterogeneous) ซึR งแต่ละโหนดมีคุณลกัษณะและความสามารถแตกต่างกนั ดงันั^นในงานวจิยัน̂ีจึงทาํการจาํลองสถานการณต่างๆ เช่นโหลด การเคลืRอนทีRและความหนาแน่น เพืRอวดัประสิทธิภาพ

  • โพรโทคอลการจดัหาเส้นทางของแอดฮอกสําหรับโครงข่ายเฮตเทอโรจีเนียส โพรโทคอลการจดัหาเส้นทางต่างๆ เหล่าน̂ีเช่น DSR, AODV และ OLSR ซึงไดรั้บการยอมรับมาตรฐานจาก IETF MANET เวร์ิกกรุป

    (3) โทรคมนาคมและการกระจายสัญญาณในอนาคต และผลกระทบต่อสังคม

    (Future Telecommunications and Broadcasting: Impact on Society) เนืSอหาสําคัญ ผลกระทบของโทรคมนาคมและการกระจายสัญญาณต่างๆ ในอนาคต เช่นสัญญาณอินเทอร์เน็ต สัญญาณดิจิทลั ส่งผลกระทบอยา่งมากต่อการพฒันาสังคม วฒันธรรม รูปแบบการดาํเนินชีวิต สิRงแวดลอ้ม ความมัRนคงปลอดภยัทางสังคม เป็นตน้ไป แมก้ระทัRงสถานทีRทาํงาน ผูใ้ชง้านในอนาคตสามารถนัRงทาํงานจากทีRบา้นหรือสถานทีRอืRนนอกออฟฟิศไดเ้มืRอโครงข่ายเน็ตเวิร์คมีการเชืRอมต่อครอบคลุมตลอดทุกพื^นทีR เป็นการสนบัสนุนใหคุ้ณภาพชีวติดีข̂ึน นอกจากน̂ีขอ้มูลสารสนเทศต่างๆ มีการปรับเปลีRยนให้ทนัสมยัอยูต่ลอดเวลาและสามารถแพร่กระจายไปสู่ผูใ้ชง้านไดอ้ยา่งรวดเร็ว ทาํให้ไดรั้บข่าวสารต่างๆ อยูต่ลอดเวลาผา่นระบบโทรคมนาคมและการกระจายสัญญาณ ซึR งเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ความบนัเทิง สังคมและการเตือนภยัพิบติัต่างๆ

    ภาพทีG 1 ประเด็นสําคัญของระบบสืGอสารโทรคมนาคมในอนาคต

  • ภาพทีG 2 ความสัมพนัธ์ระหว่างระบบโทรคมนาคมและผู้ใช้งาน

    (4) การสื�อสารในเมืองอจัฉริยะ: มาตรฐานระหว่างเครื� อง การประยุกต์ใช้งาน และแพลตฟอร์ม (Smart City Communication: M2M Standards, Applcations and Platforms)

    เนืSอหาสําคัญ ในปัจจุบนัการสืRอสารโมบายบรอดแบนด์มีบทบาทต่อการสืRอสารโทรคมนาคมอยา่งสูง และคุณลกัษณะเฉพาะของ 3GPP ทาํใหเ้กิดเทคโนโลยต่ีางๆ ข̂ึนมาเพืRอให้สามารถเชืRอมต่อเขา้กบัอุปกรณ์จาํนวนมากมายได้ การสืRอสารลักษณะน̂ีสามารถเกิดข̂ึนได้โดยการพฒันาแอพพลิเคชันในลักษณะทีRผูใ้ช้งานสามารถติดตั^งแอพพลิเคชนัใหม่ไดท้นัที หรือทีRเรียกวา่ Over-The –Top (OTT) โดยสามารถดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ตหรือจากผูใ้ห้บริการโทรศพัท์มือถือ นอกเหนือจากอุปกรณ์โทรศพัท์เคลืRอนทีRและโทรศพัท์อจัฉริยะแลว้ ยงัมีอุปกรณ์ประเภทอืRนๆ อีกเช่น ตวัรับรู้หรือเซนเซอร์ ตวักระตุน้ ถูกนาํมาใช้ติดตั^งเพืRอเพิRมประสิทธิภาพการสืRอสารแบบทางไกล และมีการสร้างโครงสร้างพื^นฐานการสืRอสารแบบเครืRองต่อเครืRอง (Machine to Machine: M2M) ซึR งมีโครงข่ายทีRไปในทาํนองเดียวกนั สามารถใช้งานร่วมกนัได ้มีความยดืหยุน่สามารถใชก้บัแอพพลิเคชนัและแพลตฟอร์มต่างๆ ได ้ทาํให้เกิดระบบการใหบ้ริการทีRสามารถเขา้ถึง

  • ไดทุ้กสถานทีR ตลอดเวลา เช่น มีการสร้างเป็น eHealth, eGovernment, eTransport, Smart Grid และระบบเมืองอจัฉริยะ

    ภาพทีG 3 โครงสร้างพืSนฐานการสืGอสารโทรคมนาคมของระบบเมืองอจัฉริยะ

    ภาพทีG 4 การใช้งานระบบ M2M และแพลตฟอร์มต่างๆ สําหรับเมืองอจัฉริยะ

  • (6) ประโยชน์ที�ได้รับ

    (6.1) ประโยชน์ที�ผูรั้บทุนไดรั้บ

    1) ไดค้วามรู้เพิRมเติมเกีRยวกบัแนวทางการทาํวิจยัทางดา้นวิศวกรรมโทรคมนาคม ระบบเครือขา่ย ระบบสืRอสาร และเทคโนโลยสีารสนเทศและการสืRอสาร

    2) ได้แลกเปลีRยนความคิดเห็นกบัผูร่้วมประชุมคนอืRนๆ เพืRอใช้เป็นแนวทางพฒันางานวจิยัต่อไป รวมถึงสร้างแนวคิดใหมใ่นการทาํวจิยั

    3) สร้างเครือขา่ยงานวจิยัเฉพาะทางกบันกัวจิยั อาจารยจ์ากมหาวทิยาลยัอืRนๆ

    (6.2) ประโยชน์ที�มหาวทิยาลยัไดรั้บ

    1) สร้างเครือขา่ยงานวจิยัร่วมกบัผูท้รงคุณวฒิุภายในและต่างประเทศ เพืRอหาแนวทางการร่วมทาํวจิยั

    2) งานวจิยั ระเบียบวธีิวจิยั กระบวนการทดลอง การประยกุตใ์ช ้เทคโนโลยีต่างๆ ดา้นวิศวกรรมโทรคมนาคม ระบบเครือข่าย ระบบสืRอสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสืRอสาร ทีRไดรั้บจากการเขา้ร่วมประชุม สามารถนาํไปใช้ให้คาํปรึกษาแก่นักศึกษาวิทยานิพนธ์ สามารถสนับสนุนการทาํวิจัยและวทิยานิพนธ์ของนกัศึกษาของสาขาวชิาวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยไีด ้

    3) ทราบแนวโน้มการพัฒนาด้านวิศวกรรมโทรคมนาคม ระบบเครือข่าย ระบบสืRอสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสืRอสาร เพืRอทีRจะพฒันาหลกัสูตรใหส้อดคลอ้งกบัความตอ้งการของตลาดและแนวโนม้ทีRเปลีRยนไปในอนาคต

    4) จากทีRไดเ้ขา้ร่วมประชุมพบวา่มีหลายสถาบนัการศึกษาของประเทศไทยทีRได้สนับสนุนให้นักศึกษาระดับบณัฑิตศึกษาสามารถเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติเพืRอนาํเสนอผลงานวจิยัได ้ซึR งเป็นการเพิRมประสบการณ์แก่นกัศึกษาในทีRประชุมวชิาการนานาชาติ