112
ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก ของสตรี โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดย นางสาวอินทิรา สิทธิโคตร วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก .. 2559

2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรี โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา

จังหวัดชลบุรี

โดยนางสาวอินทิรา สิทธิโคตร

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยเกริกพ.ศ. 2559

Page 2: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana Memorial Hospital, Sriracha,

Chonburi Province.

ByMiss Intira Sittikote

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Public Health

Faculty of Liberal ArtsKrirk University

2016

Page 3: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(2)

Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana Memorial Hospital, Siracha, Chonburi Province.

Authors’ Name Intira SittikoteProgram /Faculty / University Master of Public Health /Liberal Arts/ Krirk UniversityThesis Advisor Associate Professor Supat TeravecharoenchaiThesis Co-Advisor Associate Professor Alisa NitithamAcademic Year 2016

AbstractThe objective of this research was for studying the factors that relate to behavior of

women who doing health check for cervical cancer at Queen SavangVadhana Memorial Hospital Sriracha, Chonburi Province. The sample size was 240 people which using the systematic method. The data collect by using the questionnaires of researcher and analysis the data collection by using the statistic software which includes percentage, mean, standard deviation, chi-square and pearson correlation coefficient.

The result of this research) 62% of samples have the average age below 40 years old. The internal factors that were: 39% was knowledge about cervical cancer 34.6% was the attitude of sample about cervical cancer check. 45.8% was known the level of risk from Cervical cancer49.2% was known the effect of Cervical cancer 39.2% was known the benefit from Cervical cancer check All of these factors were influence to women who doing health check for Cervical cancer at SavangVadhana Memorial Hospital in Sriracha, Chonburi Province. This has the statistical significance equal to 0.5. The external factors were the social support, family members, friends, doctor and public health. 36.2% of mass media was the most group who come to health check for Cervical cancer at SavangVadhana Memorial Hospital in Sriracha, Chonburi Province.Which has the statistical significance equal to 0.5

Page 4: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(1)

ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา จังหวัดชลบุรี

ชื่อผูวิจัย นางสาว อินทิรา สิทธิโคตรหลักสูตร/คณะ/มหาวิทยาลัย สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต/ศิลปศาสตร/

มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก รองศาสตราจารยสุพัฒน ธีรเวชเจริญชัย อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม รองศาสตราจารยอลิสา นิติธรรม ปการศึกษา 2559

บทคัดยอ

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา จังหวัดชลบุรี กลุมตัวอยางไดมาโดยการสุมอยางมีระบบจํานวน 240 คน เก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามที่ผูวิจัยสราง ทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ คาสถิติที่ใช ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาทดสอบไควสแควรและคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน

ผลการวิจัยพบวา 1) กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกสวนใหญมีอายุนอยกวา 40 ป รอยละ 62 2) ปจจัยภายในตัวบุคล ไดแก ความรูกับโรคมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับปานกลาง รอยละ 39.6 ทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับที่ดี รอยละ 34.6 การรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกประกอบดวย การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปกมดลูกอยูในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 45.80 การรับรูความรุนแรงของโรคอยูในระดับปานกลางคิดเปนรอยละ 49.20 การรับรูผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับปานกลางคิดเปนรอยละ 39.20 ทุกดานมีความสัมพันธกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปาก-มดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชาจังหวัดชลบุรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 3) ปจจัยภายนอกตัวบุคคล ไดแก แรงสนับสนุนทางสังคม สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชน อยูในระดับมากสุดคิดเปนรอยละ 36.20 มีความสัมพันธกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Page 5: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(3)

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้ สําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงคดวยความเรียบรอยดีโดยไดรับความกรุณาเปนอยางสูงจาก รองศาสตราจารยสุพัฒน ธีรเวชเจริญชัย อาจารยที่ปรึกษาหลักและรองศาสตราจารยอลิสา นิติธรรม อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม ที่กรุณาใหคําปรึกษาคําแนะนํา และขอเสนอแนะอันเปนประโยชนอยางยิ่งตอการวิจัยรวมทั้งตรวจสอบแกไขขอบกพรอง รวมถึงอาจารยสมคิด สมศิริ ที่คอยใหกําลังใจอยูเสมอรวมถึงขอเสนอแนะและขอคิดเห็นตางๆที่เปนประโยชน จนกระทั่งวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จโดยสมบูรณ รวมทั้งความกรุณาของผูเชี่ยวชาญทั้ง 4 ทานที่กรุณาสละเวลาตรวจสอบเครื่องมือวิจัย ใหขอคิดเห็น คําแนะนําในการปรับปรุงเครื่องมือใหมีความถูกตองสมบูรณมากยิ่งขึ้น

ขอขอบคุณ แผนกสูตินรีเวชโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชาและบุคลาการทุกๆทานที่ใหความชวยเหลือและใหความรวมมือตอบแบบสอบถามใหการทําวิทยานิพนธในครั้งนี้ดําเนินไปดวยความสําเร็จอยางดียิ่ง

ความดีหรือประโยชนอันเกิดจากวิทยานิพนธฉบับนี้ขอมอบแดบุพการี ครอบครัวพี่นองทุกคน รวมทั้งเพื่อนนักศึกษาปริญญาโทสาขาสาธารณสุขศาสตรทุกทาน คณาจารยผูประสาทวิชาสถาบันการศึกษาทุกแหงตั้งแตตนจนถึงปจจุบัน ตลอดจนผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานที่ไมไดกลาวนามในที่นี้ที่ใหความชวยเหลือตลอดมา ขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ. โอกาสนี้

อินทิรา สิทธิโคตร

มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ.2559

Page 6: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(4)

สารบัญ

หนาบทคัดยอภาษาไทย (1)บทคัดยอภาษาอังกฤษ (2)กิตติกรรมประกาศ (3)สารบัญตาราง (6)สารบัญภาพ (7)บทที่1บทนํา (1)

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคทั่วไป 41.3 วัตถุประสงคเฉพาะ 41.4 ขอบเขตการวิจัย 41.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 41.6 ตัวแปรที่ศึกษา 51.7 นิยามศัพทที่เกี่ยวของ 5

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของกับ (7)2.1 บริบทโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา 72.2 ความรูเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก 102.3 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ 152.4 แนวคิดเกี่ยวกับความเชื่อ 172.5 แนวคิดเกี่ยวกับการรับรู 352.6 แนวคิดเกี่ยวกับแรงสนับสนุนทางสังคม 412.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 472.8 สมมุติฐานในการวิจัย 51

บทที่3 วิธีดําเนินวิจัย (52)3.1 รูปแบบการศึกษา 523.2 ประชากรเปาหมาย 523.3 กลุมตัวอยาง 52

Page 7: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(5)

สารบัญ(ตอ)

หนา3.4 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 543.5 การวิเคราะหขอมูล 59

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล (60)บทที่ 5 บทสรุป อภิปราย และขอเสนอแนะ (70)บรรณานุกรม (76)ภาคผนวก (81)

ก.รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย 82ข. แบบสอบถามการวิจัย 84

ประวัติผูวิจัย (98)

Page 8: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(6)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา1 จํานวนและรอยละปจจัยชีวทางสังคมของกลุมตัวอยาง 612 จํานวนรอยละและระดับความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกของกลุม 62

ตัวอยาง3 จํานวนรอยละและระดับทัศนคติเกี่ยวกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปาก 63

มดลูกของกลุมตัวอยาง4 จํานวนรอยละและระดับการรับรู โอกาสเสี่ยงเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก 63

ของกลุมตัวอยาง5 จํานวนรอยละและระดับการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก 64

ของกลุมตัวอยาง6 จํานวนรอยละและระดับการรับรูผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูก 64

ของกลุมตัวอยาง7 จํานวนรอยละและระดับความแรงสนับสนุนทางสังคมของกลุมตัวอยาง 658 จํานวนรอยละและระดับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก 65

ของกลุมตัวอยาง9 ความสัมพันธระหวางปจจัยชีวทางสังคมกับพฤติกรรมการมารับบริการ 66

ตรวจมะเร็งปากมดลูก10 ความสัมพันธระหวางปจจัยภายในตัวบุคคลกับพฤติกรรมการมารับ 68

บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของกลุมตัวอยาง11 ความสัมพันธระหวางปจจัยภายนอกตัวบุคคลกับพฤติกรรมการมารับ 68

บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของกลุมตัวอยาง

Page 9: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(7)

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา1 ปจจัยกําหนดพฤติกรรมอนามัย 172 การรับรูของบุคคล 193 กรอบแนวคิด 50

Page 10: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(1)

บทที1่บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

โรคมะเร็งปากมดลูกเปนปญหาทางดานสาธารณสุขที่สําคัญของประเทศไทยและทุกประเทศทั่วโลกพบวาโรคมะเร็งปากมดลูกเปนสาเหตุการเจ็บปวยและการตายเปนอันดับหนึ่งของสตรีไทยสถาบันมะเร็งแหงชาติ(กระทรวงสาธารณสุข, 2549)ไดคาดการณไววาในพ.ศ.2563ทั่วโลกจะมีผูปวยโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นและสวนใหญอยูในประเทศกําลังพัฒนาโดยเฉพาะประเทศแถบแอฟริก ตะวันออกกลาง และเอเชีย รวมทั้งประเทศไทยดวย มะเร็งปากมดลูกเปนโรคที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงกระบวนการอยางตอเนื่องของเซลลบริเวณปากมดลูกเนื่องจากมีปจจัยหลายประการที่เกี่ยวของกับการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดมะเร็งปาก-มดลูก ไดแก การมีบุตรกอนวัยอันสมควร การมีเพศสัมพันธเมื่ออายุนอย การปฏิบัติตัวไมถูกสุขลักษณะหรือปจจัยทางเคมีอื่นทําใหเกิดความผิดปกติของเยื่อบุผนังมดลูก อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการดําเนินชีวิตโดยเฉพาะการสูบบุหรี่ ดื่มสุราการบริโภคอาหารที่มีสารกอมะเร็ง ซึ่งจะทําใหความตานทานของรางกายในการตอตานโรคมะเร็งไดนอยลง รวมถึงปญหาสุขภาพจิตที่กอใหเกิดความบกพรองของระบบภูมิคุมกันโรค หากประชาชนมีความเครียดมากเกินไป สิ่งเหลานี้ลวนมีผลตอการเกิดโรคมะเร็งทั้งสิ้น ผลจากเจ็บปวยดวยมะเร็งปากมดลูก สงผลกระทบตอการดํารงชีวิต ทั้งตัวผูปวยเองและครอบครัว รวมทั้งญาติพี่นอง นําไปสูปญหาตางๆ ไดแก การทํางาน เศรษฐกิจของครอบครัว คุณภาพของชีวิต เปนตน (กระทรวงสาธารณสุข,2549) โรคมะเร็งปากมดลูก เปนโรคมะเร็งที่พบเปนอันดับหนึ่งในสตรีไทย(กระทรวงสาธารณสุข, 2549)มีผูปวยรายใหมประมาณปละ 6,300 ราย พบมากที่สุดอายุระหวาง 45-50 ป ระยะที่พบสวนใหญอยูในระยะลุกลามอัตราการอยูรอด 5 ป ประมาณรอยละ60 จึงมีผูปวยสะสมจํานวนมาก คาดประมาณวาจะมีผูปวยรายใหมและผูปวยเกาที่ตองติดตามทําการดูแลรักษาอยูไมนอยกวา 60,000 คนทั่วประเทศ และพบวาเปนโรคชนิด คารซิโนมา (Squamous Cell Carcinoma )รอยละ 80 – 86และเปนชนิด อะดีโนคารสิโนมา( Adenocarcinoma)รอยละ 12 -19 ของโรคมะเร็งปากมดลูกทั้งหมด จากสถิติใน 5 จังหวัดที่ทําทะเบียนมะเร็งในระดับประชากร ระยะที่พบสวนใหญอยูในระยะลุกลาม อัตราการอยูรอด 5 ป เปนรอยละ 68.2 ในจังหวะเชียงใหม และรอยละ 54.5 ในจังหวัดขอนแกน แตอัตราการอยูรอด 5 ป จะดีขึ้นถาพบในระยะเริ่มแรก (กระทรวงสาธารณสุข ,2549)

Page 11: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

2

โรคมะเร็งปากมดลูกในจังหวัดชลบุรี (สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี,2549) แมวาจะยังไมเปนปญหาในอันดับที่ตนๆ ของปญหาสาธารณสุข แตก็ถือวาเปนปญหาที่ตองแกไขเรงดวนเนื่องจาก ปญหามีแนวโนมมากขึ้น ซึ่งกระบวนการหนึ่งที่จังหวัดชลบุรีดําเนินการ คือ การรณรงคใหหญิงอายุ 35, 40, 45, 50, 55 และ 60 ปมาตรวจเพื่อคนหาโรคมะเร็งปากมดลูก แตยังพบวา อัตราของผูมาตรวจเพื่อคนหาเทียบกับเปาหมาย 26,738 คน ตรวจ13,384 คน คิดเปนรอยละ50 ของประชากรกลุมเปาหมาย ป พ.ศ.2549 มีจํานวนผูปวยดวยโรคมะเร็งปากมดลูก จํานวน 447 คน คิดเปนรอยละ 65.65 ตอแสนประชากร

อําเภอศรีราชา ตั้งแตป พ.ศ.2547 ถึง ป พ.ศ.2549 มีผูปวยดวยโรคมะเร็งปากมดลูก จํานวน 12 ราย ป พ.ศ.2547 จํานวน 3 ราย คิดเปนอัตราปวย 4.02 ตอแสนประชากร ป พ.ศ.2548 จํานวน 2 ราย คิดเปนอัตราปวย 2.67 ตอแสนประชากร และป พ.ศ.2549 จํานวน 7 ราย คิดเปนอัตราปวย 9.28 ตอแสนประชากร (สํานักงานสาธารณสุขอําเภอศรีราชา,2549)

จากการดําเนินงานของโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ .ศรีราชา(สถิติผูปวยใน-ผูปวยนอกแผนกสูตินรีเวช) ในการตรวจคัดกรองกลุมเปาหมายในพื้นที่รับผิดชอบป พ.ศ.2549 ที่ผานมา กลุมเปาหมายที่ทําการตรวจ จํานวน 237 สามารถตรวจคัดกรองไดจํานวน 107 ราย คิดเปนรอยละ 45.15 ซึ่งต่ํากวาเปาหมายที่กําหนดไว คือ รอยละ 60 รับการตรวจอยางตอเนื่องแลวก็ตาม เพราะประชาชนยังคงยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณี คานิยมเดิมๆ และยังมีความอายที่จะใหคนอื่นดูของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งหญิงที่ยังไมแตงงาน จะไมใหความสนใจในการตรวจ เพราะวายังไมผานการแตงงานมากอน หรืออาจจะขาดความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกและอันตรายของมะเร็งปากมดลูกดังนั้น ผูศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาถึงความรูพฤติกรรมในการปองกันมะเร็งปากมดลูกของหญิงวัยเจริญพันธุในชางอายุ 30 – 60ป เพื่อปญหา สงเสริมพฤติกรรมใหกับสตรีที่อยูในวัยนี้มีความรูและ พฤติกรรมที่ถูกตอง โดยการเฝาระวังการตรวจมะเร็งปากมดลูกเปนประจําทุกปรวมกับการมีสุขวิทยาสวนบุคคลที่ถูกตอง สามารถชวยลดการเกิดโรคและอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได และแนวทางในการดําเนินงานในการตรวจมะเร็งปากมดลูกใหไดตามเปาหมาย

โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา เปนโรงพยาบาลของสภากาชาดไทยตั้งอยูในพื้นที่อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ใหบริการตรวจรักษาโรคทั่วไปและโรคเฉพาะทางแกประชาชนทั่วไป ทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด และยังเปนโรงพยาบาลที่ตองใหบริการผูปวยที่เปนโรครุนแรงซึ่งถูกสงตัวมาจากโรงพยาบาลเครือขาย เพื่อมารับการรักษาพยาบาลดวยวิธีการที่ซับซอนหรือวิธีการที่ทันสมัยในจํานวนผูปวยที่มารับบริการตรวจรักษาทั้งหมดในป พ.ศ. 2557 พบวา ผูปวยมะเร็งปากมดลูกมีอัตรามารับบริการการตรวจรักษาที่แผนกสูตินรีเวชมากเปนอันดับ 1 ในจํานวนผูปวยมะเร็งของทุกแผนกของสถิติผูปวยนอก และสถิติผูปวยในของป พ.ศ. 2557 จาก

Page 12: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

3

การจัดอับดับยังพบวามะเร็งปากมดลูกมีอัตราผูปวยที่เขารับบริการการรักษาเปนผูปวยในมากเปนอับดับ 1 ของมะเร็งทั้งหมด (รายงานสถิติผูปวยใน – ผูปวยนอก โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวีณ.ศรีราชา,2557)

สาเหตุของการเกิดมะเร็งปากมดลูก พบวายังไมทราบสาเหตุที่แทจริงแตจากการศึกษาวิจัยพบวารอยละ 90 ของการเกิดมะเร็งปากมดลูก มีความสัมพันธกับปจจัยเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตของประชาชน (Life Style) เชน พฤติกรรมทางเพศบางรูปแบบ การบกพรองในการดูแลสุขภาพตนเอง และปจจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม (Environment Factors)เชน การไดรับยา สารเคมี และเชื้อโรคตางๆ รวมทั้งสิ่งแวดลอมทางการศึกษา พบวา การที่ประชาชนไดรับการศึกษานอย ยอมไมเขาใจการปองกันโรคภัยไขเจ็บตางๆ รวมทั้งความสะอาดของรางกาย เชน สุขอนามัยของอวัยวะสืบพันธุ

เมื่อพิจารณาถึงความรุนแรง และความสูญเสียที่เกิดขึ้นจากการปวยดวยมะเร็งปากมดลูก จะเห็นวามะเร็งปากมดลูกกอใหเกิดความสูญเสียตอชีวิตและทรัพยสิน ทั้งของตัวผูปวยเองและครอบครัว ในสวนตัวผูปวยเองนั้นจะทําใหเสี่ยงตอการเสียชีวิตมากขึ้น โดยเฉพาะในรายที่พบวาเปนมะเร็งปากมดลูกในระยะทายของโรค นอกจากนี้การรักษาผูปวยที่พบวาเปนมะเร็งปากมดลูกในระยะลุกลามแลวนั้นมีความยุงยาก ตองใชเครื่องมือที่มีราคาแพงไมวาจะเปนการผาตัด การฝงแร การฉายแสงหรือการใหยาเคมีบําบัด ตองใชเวลานานในการรักษา เสียคาใชจายสูง รวมทั้งมีผลแทรกซอนจากการรักษาในระยะยาวอีกดวย นอกจากความสูญเสียดังกลาวแลวยังมีสูญเสียที่มองไมเห็น เชน ความสูญเสียทางดานจิตใจ การสูญเสียบุคคลอันเปนที่รัก และความวิตกกังวลหวงใยในภาวะเมื่อมีการจากไปของผูปวย การสูญเสียเวลาของญาติพี่นอง การสูญเสียรายไดที่เกิดจากกําลังงานและผลผลิตของผูปวยและญาติ เปนตน

สําหรับผูปวยมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา(สถิติผูปวยนอก-ผูปวยในแผนกสูตินรีเวช) พบวาผูปวยมะเร็งปากมดลูกที่มีอาการและอาการแสดงของโรค ไมวาจะเปนการมีแผล หรือสิ่งคัดหลั่งออกจากชองคลอด หรือภาวะแทรกซอนที่ไดรับจากการรักษาดวยการผาตัด รังสีรักษา เคมีบําบัด เชน การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะสืบพันธุ ผมรวง ผิวหนังแหง สิ่งเหลานี้ลวนกอใหเกิดความทุกขทรมานสงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตประจําวันของผูปวยเองและครอบครัวในดานการประกอบอาชีพ การมีเพศสัมพันธ ภาพลักษณของผูปวย ผลกระทบทางกายเหลานี้ ทําใหผูปวยเกิดความกลัวที่จะถูก ทอดทิ้งจากครอบครัว ญาติพี่นอง กลัวไดรับการรังเกียจจากบุคคลอื่นในสังคม ทําใหสภาพจิตใจของผูปวยไมดี ซึ่งสงผลกระทบทําใหผูปวยละเลยตอการดูแลสุขภาพของตนเอง ขาดความสนใจในการมารับการรักษาอยางตอเนื่อง

ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาปจจัยที่สัมพันธกับการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีในโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา

Page 13: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

4

วัตถุประสงคทั่วไปเพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของ

สตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา

วัตถุประสงคเฉพาะ เพื่อศึกษาประเด็นตอไปนี้1. เพื่อหาความสัมพันธระหวางปจจัยชีวทางสังคม ไดแก อายุ สถานภาพการสมรส ระดับ

การศึกษา อาชีพ และรายไดกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา

2. เพื่อหาความสัมพันธระหวางปจจัยภายในตัวบุคคลไดแก ความรูกับมะเร็งปากมดลูก ทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก การรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก และการรับรูผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา

3. เพื่อหาความสัมพันธระหวางปจจัยภายนอกตัวบุคคล ไดแก แรงสนับสนุนทางสังคม เชน สมาชิกในครอบครัว เพื่อนบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชนกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา

4. พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีที่มารับบริการตรวจ มะเร็งปากมดลูกของสตรี โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา

ขอบเขตการวิจัยการศึกษานี้เปนการศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจ

มะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา ตําบลศรีราชา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ป 2558จํานวน 240 คน

ประโยชนที่จะไดรับ1. สงเสริมพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก2. เปนแนวทางในการสงเสริมใหสตรีในพื้นที่อื่นๆมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

มากขึ้น3. เปนขอมูลพื้นฐานในการคนควาวิจัยในงานการบริการของโรงพยาบาลในหนวยงาน

ตางๆตอไป

Page 14: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

5

ตัวแปรที่ศึกษา ไดแก1. ตัวแปรตนคือ

1.1 ปจจัยภายในตัวบุคคล ประกอบดวย ความรูกับมะเร็งปากมดลูก ทัศนคติการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูกการรับรูผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูก

1.2 ปจจัยภายนอกตัวบุคคลประกอบดวย แรงสนับสนุนทางสังคม เชน สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทย และสาธารณสุข/สื่อมวลชน

2. ตัวแปรตามคือ พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก3. ตัวแปรอธิบาย คือปจจัยชีวทางสังคม ไดแก

3.1 อายุ3.2 สถานภาพการสมรส3.3 ระดับการศึกษา3.4 อาชีพ3.5 รายได

นิยามศัพทที่เกี่ยวของสตรีหมายถึง ผูมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกอายุ 30-60 ป โรงพยาบาลสมเด็จพระ

บรมราชเทวี ณ.ศรีราชา ความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก หมายถึง ความสามารถของสตรีกลุมเปาหมายอายุ 30-60 ปในการจดจําสิ่งที่เปนจริงที่ไดรับเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกไดแก สาเหตุของการเกิดมะเร็งปากมดลูกอาการของโรคมะเร็งปากมดลูกการปองกันมะเร็งปากมดลูกและการรักษาโรค มะเร็งปากมดลูก

การรับรู เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก หมายถึง สตรีกลุมเปาหมายอายุ 30-60 ป รับรูเกี่ยวกับโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก ความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก และ ผลดีในการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูก

การรับบริการตรวจมะเร็ งปากมดลูก หมายถึง การมาใชบริการตรวจหาเซลล มะเร็งปากมดลูกของสตรีอายุ 30-60 ปจังหวัดชลบุรี ดวยวิธีการเก็บเซลลบริเวณปากมดลูกและบริเวณชองคลอดไปตรวจดูลักษณะของเซลลตามวิธีเซลลวิทยาแลวสงตรวจที่หองแลปพยาธิโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราเทวี ณ. ศรีราชา ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ถึงวันที่ 30 พฤษภาคม2558

Page 15: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

6

พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก หมายถึง สตรีกลุมเปาหมายไปรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกอยางสม่ําเสมอ

Page 16: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(7)

บทที่ 2วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

การศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรี โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ผูศึกษาไดคนควาเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เก่ียวของ มาเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ดังนี้

1. บริบทของโรงพยาบาลโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราเทวี ณ.ศรีราชา2. ความรูเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก3. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ4. แนวคิดเกี่ยวกับความเช่ือ5. แนวคิดเกี่ยวกับการรับรู6. แนวคิดเกี่ยวกับแรงสนับสนุนทางสังคม7. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับโรคมะเร็งปากมดลูก

1. บริบทโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา (ประวัติและความเปนมาของโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา, 2558)

ประวัติความเปนมา โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย อําเภอศรีราชา จังหวัด

ชลบุรีเปนโรงพยาบาลที่เกาแกแหงหนึ่งในประเทศไทยไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวีพระพันวัสสาอัยยิกาเจาพระบรมราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่5ทรงพระราชทานกําเนิดโรงพยาบาล เมื่อวันที่ 10 กันยายน พุทธศักราช 2445 โรงพยาบาล หลังแรกกอสรางในทะเลตรงบริเวณหนาชายหาดที่ประทับ เปนเรือนไมหลังคามุงจาก 5 หลัง ปลูกติดตอเปนหมูเดียวกัน และโปรดเกลาฯใหสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมหม่ืนวิวิธวรรณปรีชา ซึ่งดํารงตําแหนงอธิบดีกรมพยาบาลในขณะนั้นเสด็จประกอบพิธีเปดเมื่อวันที่ 10 กันยายน พุทธศักราช 2445 ซึ่งตรงกับวันคลายวันพระราชสมภพของพระองค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จประพาสหัวเมืองชายทะเลไดแวะเยี่ยมสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจา จึงไดพระราชทานนามโรงพยาบาลนี้วา “โรงพยาบาลสมเด็จ” เปนสิริมงคลนับตั้งแตนั้นมา

ปพุทธศักราช 2445 – 2460 อยูในการปกครองของพระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา อธิบดีกรมพยาบาล บังคับการโรงพยาบาลศิริราช ปพุทธศักราช 2461 ทรงพระกรุณา

Page 17: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

8

โปรดเกลาฯ มอบโรงพยาบาลสมเด็จฯ ใหอยูในความดูแลอํานวยการของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกระทรวงธรรมการในบังคับการคณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลศิริราช แตสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจา ยังทรงรับพระราชภาระเรื่องคาใชจายอยูเชนเดิม ทําใหมีกองทุนสมเด็จพระศรีสวรินทิราฯ เพื่อใชในกิจการดูแลผูปวยจนถึงปจจุบันในปพุทธศักราช 2471 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหโอนโรงพยาบาลสมเด็จฯจากกระทรวง ธรรมการมาอยูในความปกครองอํานวยการของสภากาชาดสยาม โดยสังกัดกองพยาบาลโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทยในปพุทธศักราช 2475 โอนมาสังกัดกองบรรเทาทุกข สภากาชาดไทย ในปพุทธศักราช 2515 ไดรับการยกระดับเปนหนวยงานระดับกองของสภากาชาดไทยโรงพยาบาลไดพัฒนามาโดยลําดับมีการกอสรางอาคารผูปวยและที่พักเจาหนาที่อีกหลายหลังโดยไดรับพระมหากรุณาธิคุณจาก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชและพระบรมวงศานุวงศ ตลอดจนขาราชการ พอคา ประชาชน พระราชทานทรัพยและบริจาคเงิน โรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรีราชา หรือโรงพยาบาลศรีราชา ซึ่งตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปนโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา เมื่อป 2540 เพื่อเฉลิมพระเกียรติผูพระราชทานกําเนิดโรงพยาบาล

ปจจุบัน โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา เปนโรงพยาบาลขนาด 500 เตียง เปดใหบริการทางการแพทยครบวงจรและไดนําระบบบริหารงานคุณภาพมาใชพัฒนางานเพื่อเปนการตอบสนองความตองการของผูมารับบริการภารกิจหลักของโรงพยาบาลคือ การใหบริการดานการแพทยแบบองครวมครบวงจร จัดหาโลหิต ดวงตา อวัยวะ และบรรเทาทุกขแกผูประสบภัยพิบัติในเขตจังหวัดชลบุรี และจังหวัดใกลเคียง ใหความรวมมือกับมหาวิทยาลัยและแพทยสภาในการผลิตแพทยชั้นคลินิก เสริมทักษะดานการแพทยการพยาบาลแกนักศึกษา ทั้งกอนและหลังปริญญา รวมทั้งใหความรวมมือกับองคกรตาง ๆ เพื่อการเขาถึงผูดอยโอกาส และเพิ่มพูนศักยภาพของชุมชนในการสงเสริมคุณภาพชีวิต

วิสัยทัศนโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา สภากาชาดไทย เปนที่พึ่งดานสุขภาพของ

ประชาชนภาคตะวันออก เปนสถานบริการทางการแพทยที่ยึดหลักมนุษยธรรมและจริยธรรม คุณภาพ ระดับสากล ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเปนสถาบันรวมผลิตแพทยที่

ไดรับการยอมรับใน ระดับประเทศ

Page 18: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

9

พันธกิจ1. ใหบริการรักษาพยาบาล ฟนฟูสมรรถภาพ ปองกันโรค และสรางเสริมสุขภาพดวย

ความมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และจริยธรรม2. พัฒนาคุณภาพการบริการอยางตอเนื่อง และเปนองคกรแหงการเรียนรู3. เปนสถาบันรวมผลิตแพทย และเปนสถาบันผลิตแพทยผูเชี่ยวชาญ 6 สาขา4. บริหารจัดการองคกรดวยความโปรงใส ใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด และสราง

เสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากร

สถานการณโรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งปากมดลูกเปนโรคมะเร็งที่ เปนปญหาทางดานกระทรวงสาธารณสุขของโลก

โดยเฉพาะในประเทศที่กําลังพัฒนา สถิติจากการคาดประมาณในป2547จะมีผูปวยเปนมะเร็งปากมดลูกรายใหมเปนจํานวน 493,243 ราย ซึ่งประมาณรอยละ 80 ในประเทศที่กําลังพัฒนาของผูปวยมะเร็งปากมดลูกทั้งหมดจํานวน 273,505 ราย (เพชรินทร ศรีวัฒนะกุล และคนอื่นๆ2551:1)และเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาและกับประเทศที่กําลังจะพัฒนาจะเห็นไดวา (WHO 1992:86 -87)ประเทศที่พัฒนาแลวพบวาสตรีสวนใหญจะปวยเปนมะเร็งเตานมมากเปนอันดับ1(รอยละ49) สวนประเทศที่กําลังพัฒนาสตรีสวนใหญจะปวยเปนมะเร็งปากมดลูกมากเปนอันดับ1(รอยละ51)และแตละปทั่วโลกจะพบผูปวยรายใหมที่เปนมะเร็งปากมดลูก 500,000 ราย ซึ่งจากการรายงานประจําปของสถิติการมะเร็งในสตรีของประเทศตางๆจากประชาชน 1,000 รายพบวาประเทศที่พบผูปวยเปนมะเร็งปากมดลูกไดแกประเทศอินเดียและประเทศในแถบเอเชียจํานวน 142 ราย ประเทศจีนจํานวน132 รายและประเทศอาฟริกาจํานวน 37 รายสําหรับประเทศไทยมะเร็งปากมดลูกเปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญเนื่องจากเปนสาเหตุของการเสียชีวิตดวยโรคมะเร็งในหญิงไทยมากเปนอันดับหนึ่งและมีจํานวนผูปวยเพิ่มขึ้นทุกป โดยมีผูปวยเพิ่มประมาณปละ 6,300 ราย (วศิน โพธิพฤกษ และยุวดี อําพิน, 2551:5)และเสียชีวิตประมาณ 2,400 ราย (จตุพล ศรีสมบูรณ, 2549:65)โดยมีอุบัติ(WHO 2002:12-13) และจากรายงานของสถาบันมะเร็งแหงชาติกระทรวงสาธารณสุขใน ป 2542-2546 พบวามีผูปวยมะเร็งปากมดลูกในอัตราที่เพิ่มขึ้นทุกปคือ10.5ตอแสนประชากรในปพ.ศ.2542เพิ่มเปน16.46 ตอแสนประชากรในป2546 (สถาบันมะเร็งแหงชาติ ,2542-2546) นอกจากนี้ใน ป พ.ศ.2547-2548 พบผูปวยเปนมะเร็งปากมดลูกจํานวน 6,192 รายและ3,647 รายตามลําดับจากขอมูลจะเห็นไดวามีแนวโนมพบผูปวยมะเร็งปากมดลูกลดลงทั้งนี้อาจจะเปนเพราะประชาชนยังไมใหความสําคัญในการตรวจมะเร็งปากมดลูกสําหรับในป พ.ศ.2551 คาดการณวาจะพบผูปวยรายใหมเปนมะเร็งปากมดลูกมากถึง 8,000 ราย (เพชรินทร ศรีวัฒนะและคณะ, 2551:13)

Page 19: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

10

2. ความรูเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกโรคมะเร็งเปนสาเหตุของการเสียชีวิตของคนไทยเปนอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ อุบัติเหตุ

และโรคหัวใจ สําหรับมะเร็งในสตรีไทย มะเร็งที่ เปนสาเหตุของการเสียชีวิตมากที่สุดคือ มะเร็งปากมดลูก จากรายงานของสํานักงานวิจัยมะเร็งนานาชาติพบวา ในปพ.ศ.2544 ประเทศไทยมีผูปวยมะเร็งปากมดลูกรายใหมปละ 6,192 ราย เสียชีวิต 3,166 ราย หรือประมาณรอยละ 50 ถาคิดคํานวณแลวจะมีสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกวันละเกือบ 9 ราย มะเร็งปากมดลูกพบมากที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่นๆ มะเร็งปากมดลูกเปนมะเร็งที่สามารถปองกันไดและสามารถตรวจคัดกรองหาความผิดปกติไดตั้งแตระยะกอนมะเร็ง ซึ่งการรักษาไดผลดี

สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกสาเหตุสําคัญของมะเร็งปากมดลูกเทาที่วิทยาการทางการแพทยตรวจพบไดในปจจุบันคือ

การติดเชื้อไวรัสฮิวแมนแพปพิลโลมาหรือเชื้อเอชพีวีบริ เวณอวัยวะเพศ โดยเฉพาะบริเวณ ปากมดลูก ปจจัยเสี่ยงที่ทําใหมีโอกาสติดเชื้อไวรัสเอชพีวีหรือเปนมะเร็งปากมดลูกไดงายขึ้น ไดแก การมีคูนอนหลายคน การมีเพศสัมพันธเมื่ออายุนอย หรือการตั้งครรภเมื่ออายุนอย เปนตน ปจจัยนอกจากนี้เปนเพียงปจจัยสงเสริมหรือปจจัยรวมที่ทําใหการติดเชื้อเอชพีวีคืบหนารุนแรงขึ้นจนเปนมะเร็งปากมดลูก ปจจัยรวมเหลานี้อาจกลาวไดวาเปนปจจัยเสี่ยงของการเปนมะเร็งปากมดลูกหรือทําใหเปนมะเร็งปากมดลูกไดสูงขึ้น

เมื่อเปรียบเทียบกับสตรีที่ไมมีปจจัยเส่ียง ปจจัยเหลานีไ้ดแก (จตุพร ศรีสมบูรณ, 2553)1. ปจจัยเสี่ยงทางฝายหญิง

- การมีคูนอนหลายคน ความเสี่ยงสูงขึ้นตามจํานวนคูนอนที่เพิ่มขึ้น- การมีเพศสัมพันธเมื่ออายุนอยกวา 17 ป ซึ่งเปนชวงที่มีการกลายรูปของเซลล

ปากมดลูกมากชวยนี้จะมีความไวตอสารกอมะเร็งสูงมากโดยเฉพาะเชื้อเอชพีวี- การตั้งครรภและการคลอดลูก จํานวนครั้งของการคลอดลูกมากวา 4 ครั้ง มีความ

เสี่ยงตอมะเร็งปากมดลูกสูงขึ้น 2-3 เทา- มีประวัติการเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ เชน เริม ซิฟลิส และหนองใน เปนตน- การรับประทานยาคุมกําเนิดเปนเวลานานๆ ถานานกวา 5 ป และ 10 ป จะมีความ

เสี่ยงสูงขึ้น 1.3 เทา และ 2.5 เทา ตามลําดับ- ไมเคยไดรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากอน

Page 20: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

11

2. ปจจัยเสี่ยงทางฝายชาย เนื่องจากสวนใหญของการติดเชื้อเอชพีวีบริเวณอวัยวะเพศไดมาจากการมีเพศสัมพันธ จึงกลาวไดวามะเร็งปากมดลูกเปนมะเร็งที่ เกี่ยวของกับการมีเพศสัมพันธ การมีเพศสัมพันธกับผูชายที่มีเชื้อเอชพีวี (ซึ่งสวนใหญผูชายจะไมมีอาการหรือตรวจไมพบเชื้อ) แมเพียงครั้งเดียวก็มีโอกาสติดเชื้อเอชพีวีและเปนมะเร็งปากมดลูกได ปจจัยเสี่ยงทางฝายชาย ไดแก

- สตรีที่มีสามีเปนมะเร็งองคชาติ- สตรีที่แตงงานกับชายที่เคยมีภรรยาเปนมะเร็งปากมดลูก- ผูชายที่เคยเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ- ผูชายที่มีประสบการณทางเพศตั้งแตอายุนอย- ผูชายที่มีคูนอนหลายคน

3. ปจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่สงเสริมใหเปนมะเร็งปากมดลูกไดงายหรือเร็วขึ้นไดแก- การสูบบุหรี่- ภาวะภูมิคุมกันต่ํา เชน โรคเอดส และการไดรับยากดภูมิคุมกัน- สตรีที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมตํ่า

อาการของมะเร็งปากมดลูกอาการของผูปวยมะเร็งปากมดลูกจะมากหรือนอยขึ้นกับระยะของมะเร็ง ในระยะแรกอาจ

ไมมีอาการผิดปกติและตรวจพบจากการตรวจคัดกรองหรือการตรวจดวยกลองขยายรวมกับการตัดเนื้อออกตรวจทางพยาธิวิทยาอาการที่อาจจะพบในผูปวยมะเร็งปากมดลูกไดแก (จตุพร ศรีสมบูรณ, 2553)

1. การตกเลือดทางชองคลอด เปนอาการที่พบไดมากที่สุดประมาณรอยละ 80-90 ของผูปวยที่มีการลักษณะเลือดที่ออกอาจะเปน

- เลือดออกกะปริบกะปรอยระหวางรอบเดือน2. อาการในระยะหลังเมื่อมะเร็งลุกลามมากขึ้น ไดแก

- ขาบวม- ปวดหลังรุนแรง ปวดกนกบและตนขา- ปสสาวะเปนเลือด- ถายอุจจาระเปนเลือด

Page 21: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

12

ระยะของมะเร็งปากมดลูก (จตุพร ศรีสมบูรณ, 2553) แบงออกไดเปน 2 ระยะใหญๆ คือ1. ระยะกอนมะเร็งหรือระยะกอนลุกลาม ระยะนี้เซลลมะเร็งยังอยูในชั้นเยื่อบุผิว

ปากมดลูก ไมลุกลามเขาไปในเนื้อปากมดลูก ผูปวยจะไมมีอาการผิดปกติเลย แตตรวจพบไดจากการตรวจคัดกรองโดยการตรวจทางเซลลวิทยาของปากมดลูกที่เรียกวา “แพปสเมียร”

2. ระยะลุกลาม แบงออกเปน 4 ระยะยอยคือ- ระยะที่ 1 มะเร็งลุกลามอยูภายในปากมดลูก- ระยะที่ 2 มะเร็งลุกลามไปที่เนื้อเยื่อขางปากมดลูก และ / หรือผนังชองคลอด

สวนบน- ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามไปที่ดานขางของเชิงกราน และ / หรือผนังชองคลอด

สวนลาง หรือกดทอไดจนเกิดภาวะไตบวมน้ํา- ระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามไปที่กระเพาะปสสาวะ ไสตรง หรืออวัยวะอื่นๆ เชน ปอด

กระดูกและตอมน้ําเหลืองนอกเชิงกราน เปนตน

การวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูกวิธีการวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก ไดแก ( จตุพร ศรีสมบูรณ, 2553)1. การตรวจภายใน พบกอนมะเร็งปากมดลูกชัดเจ ตองตรวจยืนยันโดยการตัดเนื้อออก

ตรวจทางพยาธิวิทยา2. การตรวจทางเซลลวิทยา หรือ “แพปสเมียร” ตรวจพบเซลลมะเร็งซึ่งตองสืบคนตอ

โดยการตรวจภายในและการตรวจดวยกลองขยายเพื่อตรวจหาบริเวณที่ผิดปกติที่จะทําการตัดเนื้อออกตรวจทางพยาธิวิทยา

3. การตรวจดวยกลองขยาย หรือ คอนโปสโคป รวมกับการตัดเนื้อออกตรวจทางพยาธิวิทยา

4. การตรวจอื่นๆ ที่อาจชวยในการวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูก ไดแก- การขูดภายในปากมดลูก- การตัดปากมดลูกดวยหวงไฟฟา- การตัดปากมดลูกออกเปนรูปกรวยดวยมีด

Page 22: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

13

การรักษามะเร็งปากมดลูกวิธีการรักษามะเร็งปากมดลูกขึ้นกับระยะของมะเร็งปากมดลูก ความตองการธํารงภาวะ

เจริญพันธุ และโรคทางนรีเวชที่เปนรวมดวย แบงวิธีการรักษามะเร็งปากมดลูกตามระยะของมะเร็ง ไดดังนี้

1. ระยะกอนมะเร็งหรือระยะกอนลุกลาม รักษาไดหลายวิธี ไดแก- การตรวจติดตามอยางใกลชิด โดยการตรวจภายใน การทําแพปสเมียร และการ

ตรวจดวยกลองขยาย ทุก 4-6 เดือน รอยโรคขั้นต่ําบางชนิด- การตัดปากมดลูกดวยหวงไฟฟา- การจี้ปากมดลูกดวยความเย็น- การจี้ดวยเลเซอร

2. การตัดปากมดลูกออกเปนรูปกรวยดวยมีดระยะลุกลาม การเลือดวิธีรักษาขึ้นกับโรคประจําตัวของผูปวย ระยะของมะเร็ง และความพรอมของโรงพยาบาลหรือแพทยผูดูแลรักษา

- ระยะที่ 1 และระยะที่ 2 บางราย รักษาโรคโดยการตัดมดลูกออกแบบกวางรวมกับการเลาะตอมน้ําเหลืองเชิงกรานออก

- ระยะที่ 2 ถึงระยะที่ 4 รักษาโดยการฉายรังสีรวมกับการใหยาเคมีบําบัด

การพยากรณโรคผลการรักษามะเร็งปากมดลูกในปจจุบันไดผลดีมากกวาในสมัยกอน โดยเฉพาะในระยะ

กอนมะเร็งและระยะลุกลามเริ่มแรก (จตุพร ศรีสมบูรณ, 2553)1. ระยะกอนมะเร็งหรือระยะกอนลุกลาม รักษาไดผลดีเกือบรอยละ 1002. ระยะลุกลาม

- ระยะที่ 1มีอัตราการอยูรอด 5 ป รอยละ 80-95- ระยะที่ 2 มีอัตราการอยูรอด 5 ป รอยละ 60-70- ระยะที่ 3 มีอัตราการอยูรอด 5 ป รอยละ 40-50- ระยะที่ 4 มีอัตราการอยูรอด 5 ป รอยละ 10-20

การปองกันมะเร็งปากมดลูกการปองกันมะเร็งปากมดลูก แบงออกเปน 3 ระดับ คือ (จตุพร ศรีสมบูรณ, 2553)การ

ปองกันปฐมภูมิ คือ การปองกันโดยการหลีกเลี่ยงการไดรับสารกอมะเร็ง การลดหรือขจัดสาเหตุหรือปจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวของกับมะเร็งปากมดลูก หรือการทําใหรางกายสามารถตอตานสารกอมะเร็ง การปองกันปฐมภูมิสําหรับมะเร็งปากมดลูก ไดแก

Page 23: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

14

- การหลีกเลี่ยงการมีคูนอนหลายคน- การหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธเมื่ออายุนอย- การคุมกําเนิดโดยใชถุงยางอนมัย- การหลีกเลี่ยงการเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ โดยเฉพาะการติดเชื้อเอชพีวี- การงดสูบบุหรี่- การฉีดวัคซีนปองกันการติดเชื้อเอชพีวี จะมีการนํามาใชในอนาคต

1. การปองกันทุติยภูมิ คือ การตนหามะเร็งในระยะแรกเริ่มซึ่งการรักษาไดผลดีสําหรับมะเร็งปากมดลูกแลว สามารถตรวจคัดกรองไดโดย

1.1 การทดสอบแพปหรือแพปสเมียร ซึ่งมี 2 วิธีคือ- แบบสามัญ มีความไวของการตรวจรอยละ 50-60- แบบแผนบาง มีความไวของการตรวจรอยละ 70-851.2 การตรวจหาเชื้อเอสพีวี มีความไวสูงรอยละ 95-100 ความกาวหนาทางการแพทย

ในปจจุบันสามารถตรวจหาเชื้อชนิดกอมะเร็งไดแลว แตยังมีคาใชจายสุงอยูในประเทศไทย2. การปองกันตติยภูมิ คือ การรักษาโรคมะเร็ง มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูปวยหายจาก

โรคมะเร็ง มีชีวิตรอดยาวนาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี2.1การตรวจหาเชื้อเอสพีวี มีความไวสูงรอยละ 95-100 ความกาวหนาทางการแพทย

ในปจจุบันสามารถตรวจหาเชื้อชนิดกอมะเร็งไดแลว แตยังมีคาใชจายสูงอยูในประเทศไทย

สรุปมะเร็งปากมดลูก เปนมะเร็งที่พบมากที่สุดของมะเร็งในสตรีไทย โดยมีผูปวยรายใหมปละ

ประมาณ 6,000 ราย พบมากในภาคเหนือของประเทศไทย สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกเกิดจากการติดเชื้อเอสพีวีชนิดที่กอใหเกิดมะเร็ง ซึ่งเกี่ยวของกับการมีเพศสัมพันธ มะเร็งปากมดลูกสามารถตรวจพบดั้งแตระยะกอนมะเร็งโดยการทําแพปสเมียร ซึ่งการรักษาไดผลดีมาก อาการที่พบมากที่สุดของผูปวยมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามคือ การตกเลือดทางชองคลอด วิธีการรักษาขึ้นกับระยะของมะเร็งปากมดลูก ในระยะกอนมะเร็งหรือระยะกอนลุกลามสามารถรักษาไดหลายวิธีโดยไมจําเปนตองตัดมดลูกออก ในระยะลุกลามสามารถรักษาดวยการผาตัด การฉายรังสี และเคมีบําบัด มะเร็งปากมดลูกสามารถปองกันไดโดยการหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยงตางๆ และการตรวจคัดกรองอยางสม่ําเสมออยางนอยทุกๆ 1 ป (จตุพล ศรีสมบูรณ, 2553)

Page 24: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

15

3. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ3.1 ความหมายของ “พฤติกรรม” (Behavior)สมจิต สุพรรณทัสน (2527:97) ไดใหความหมายไววา หมายถึง ปฏิกิริยาหรือกิจกรรมทุก

ชนิดของสิ่งมีชีวิตจะสังเกตไดหรือสังเกตไมไดก็ตามทั้งภายในและภายนอกพจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530 (2534:373) ไดใหความหมายของพฤติกรรมวา

หมายถึงการแสดงออกทางกลามเนื้อ ความคิด และความรูสึกเพื่อตอบสนองตอสิ่งเราจากความหมายขางตน สรุปความหมายของพฤติกรรมไดวา พฤติกรรม หมายถึง ปฏิกิริยา

ของสิ่งมีชีวิตทั้งที่สังเกตไดและสังเกตไมไดที่แสดงออกมาเพื่อตอบสนองตอสิ่งเรา3.2 พฤติกรรมสุขภาพ (Health Behaviors)เฉลิมพล ตันสกุล (2541:9) กลาววา พฤติกรรมสุขภาพ (Health Behavior) หมายถึง การ

ปฏิบัติหรือการแสดงออกของบุคคลในการกระทํา หรืองดเวนการกระทําในสิ่งที่มีผลตอสุขภาพโดยอาศัยความรู ความเขาใจ เจตคติ และการปฏิบัติทางสุขภาพ ที่ เกี่ยวของสัมพันธกันอยางเหมาะสม

สรุปวา พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การปฏิบัติตัวเพื่อใหรางกายแข็งแรงปราศจากโรค3.2.1 ประเภทของพฤติกรรมสุขภาพ เฉลิมพล ตันสกุล (2541:17) ไดแบง

พฤติกรรมสุขภาพออกเปน 3 ประเภท3.2.1.1 พฤติกรรมการปองกันโรค (Preventive Health Behavior) หมายถึง

การปฏิบัติของบุคคลในการปองกันโรค เชน การสวมหมวกกันน็อคเมื่อขี่มอเตอรไซค การสวมถุงยางอนามัยกอนมีเพศสัมพันธกับผูหญิงบริการ การพาบุตรไปฉีดวัคซีนปองกันโรค การรักษาความสะอาดของรางกาย เสื้อผา ที่อยูอาศัย เพื่อปองกันโรค เปนตน

3.2.1.2 พฤติกรรมเมื่อเจ็บปวย (Illness Behavior) การปฏิบัติที่บุคคลกระทําเมื่อรางกายมีความผิดปกติหรือเจ็บปวย เชน การเพิกเฉย การแสดงหาการรักษาพยาบาล การหลบหนีจากสังคม การนอนพักอยูบานแทนที่จะไปทํางาน พฤติกรรมที่เกิดขึ้นนี้แตละบุคคลจะมีการรับรูและการประเมินความรุนแรงของอาการ รวมทั้งการที่จะยอมรับสภาพวาตนเองอยูในสภาพที่เจ็บปวยตางกัน

3.2.1.3 บทบาทของการเจ็บปวย (Sick role Behavior) หมายถึง การปฏิบัติที่บุคคลกระทําหลังจากไดทราบผลการวินิจฉัยโรคแลว เชน การรับประทานยาตามแพทยสั่งการออกกําลังกาย การเลิกดื่มสุรา การลดหรือการงดกิจกรรมที่จะทําใหอาการของโรคเพิ่มมากขึ้น เปนตน

Page 25: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

16

3.2.2 องคประกอบของพฤติกรรม ประกอบดวย 3 สวนดวยกัน คือ3.2.2.1 พฤติกรรมดานความรู (Cognitive Domain) หมายถึง สิ่งที่แสดงให

เห็นบุคคลนั้นรูคิดเกี่ยวกับสุขภาพ หรือโรคตางๆ อยางไร พฤติกรรมดานนี้เกี่ยวของกับความรู และการจําขอเท็จจริงตาง ๆรวมทั้งการพัฒนาความสารถ และทักษะทางสติปญญา

3.2.2.2 พฤติกรรมดานเจตคติ คานิยม ความรูสึก ความชอบ (Affective Domain) หมายถึง สภาพความพรอมทางจิตใจของบุคคลเกี่ยวกับสุขภาพ พฤติกรรมดานนี้เกี่ยวของกับความสนใจ ความรูสึก ทาที ความชอบ ไมชอบ การใหคุณคา การปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุงคานิยมที่ยึดอยู เชน ความชอบ ความยินดี ความพอใจ เปนตน

3.2.2.3 พฤติกรรมดานการปฏิบัติ (Psychomotor Domain) หมายถึง สิ่งที่บุคคลปฏิบัติออกมาพฤติกรรมดานนี้เกี่ยวของกับการใชความสามารถที่แสดงออกทางรางกาย ซึ่งรวมทั้งการปฏิบัติหรือพฤติกรรมที่แสดงออกและสังเกตไดในสถานการณหนึ่งๆ เชน การไปพบแพทยหรือสาธารณสุขเมื่อเจ็บปวย

เกษศิณี สําโรง (2540:27) กลาววา พฤติกรรมสุขภาพจําแนกออกเปน 2 ลักษณะ คือ- ลักษณะแรก เปนการกระทํา (Action)และ- ลักษณะที่สอง เปนการไมกระทํา (Non Action)

พฤติกรรมสุขภาพในลักษณะที่เปนการกระทํา ไดแก การกระทําหรือการปฏิบัติของบุคคลที่มีผลดีหรือผลเสียตอสุขภาพ

สวนพฤติกรรมที่ไมเปนการปฏิบัติ ไดแก การงดเวนไมกระทํา หรือการไมปฏิบัติของบุคคลที่มีผลดีหรือผลเสียตอสุขภาพ

3.2.3 ลักษณะของพฤติกรรมสุขภาพ (เฉลิมพล ตันสกุล,2541:8)3.2.3.1 พฤติกรรมที่พึงประสงค หรือพฤติกรรมเชิงบวก (Positive Behavior)

หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลปฏิบัติแลวสงผลดีตอสุขภาพของบุคคลนั้นเอง เปนพฤติกรรมที่ควรสงเสริมใหบุคคลปฏิบัติตอไปและเพิ่มความถี่ขึ้น เชน การออกกําลังกาย การกินอาหาร การแปรงฟน เปนตน

3.2.3.2 พฤติกรรมที่ไมพึงประสงคหรือพฤติกรรมเชิงลบหรือพฤติกรรมเสี่ยง(Negative Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลปฏิบัติแลวสงผลเสียตอสุขภาพทําใหเกิดปญหาสุขภาพหรือโรค เปนพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค เชน การดื่มสุรา การสูบบุหรี่

3.2.4 ปจจัยกําหนดพฤติกรรมอนามัยHom D. (1976, อางใน บุญแสง บุญอํานวยกิจ 2542: 18)ไดเสนอตัวกําหนด หรือบงชี้

(Determinants) ของพฤติกรรมสุขภาพมนุษย

Page 26: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

17

ความเชื่อขอมูลขาวสาร จริง /เท็จแรงจูงใจความรูสึก / ความจําเปนการปฏิบัตินิสัย / ทักษะ

ภาพที่ 1 ปจจัยกําหนดพฤติกรรมอนามัย

4. แนวคิดเกี่ยวกับความเชื่อ (Beliefs)เฉลิมพล ตันสกุล(2541:48) ความเชื่อเปนการยอมขอเท็จจริงตางๆ เปนแนวคิดคนเรามีตอ

สิ่งแวดลอมอันเปนผลมาจากการไดรับประสบการณตางๆ ทําใหเกิดความเชื่อและความเขาใจตอสิ่งนั้นๆ ซึ่งความเชื่อจะมีบทบาทสําคัญตอเจตคติของบุคคลและเปนตัวกําหนดแนวทางหรือรูปแบบพฤติกรรมของบุคคลได

บุญแสง บุญอํานวยกิจ (2542:18) กลาววา พฤติกรรมสวนใหญของมนุษยเกิดจากการที่คนกระทําตามความเชื่อและขาวที่ไดรับ ความเชื่อจึงขึ้นอยูกับขอมูล ซึ่งอาจเปนขอมูลผิดหรือถูกก็ได และความเชื่อก็จะเปนตัวทําที่ออกมาในรูปของพฤติกรรม

4.1 แบบแผนความเชื่อดานสุขภาพ (Health Belief Model)แบบแผนความเชื่อดานสุขภาพเปนแบบแผนรูปแบบที่พัฒนาขึ้นมาจากทฤษฎีดานจิตวิทยา

สังคม เพื่อใชอธิบายการตัดสินใจของบุคคลเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ โดยครั้งแรกนํามาใชในการทํานายและอธิบายพฤติกรรมการปองกันโรค (Preventive Health Behavior) ตอมาดัดแปลงไปใชในการอธิบายการเจ็บปวย (Illness Behavior) และพฤติกรรมของผูปวยในการปฏิบัติตัวตามคําสั่งแพทย

การพัฒนาแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพในศตวรรษที่ 20 มีผูสนใจพฤติกรรมของมนุษยมากขึ้นกิจการรมการบริหารดาน

สาธารณสุข เนนการบริหารดานการปองกันมากกวาการรักษาแตไมไดรับความสนใจจากประชาชน

พฤติกรรมสุขภาพ

อิทธิพลจากสิ่งแวดลอม(บาน ชุมชน ที่ทํางาน สื่อมวลชน ผูใหการรักษา)

Page 27: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

18

เทาที่ควรทั้งที่ เปนบริการฟรีทุกดาน นักพฤติกรรมศาสตรและนักสาธารณสุขจึงสนใจจะคนหาสาเหตุและสภาวการณที่จะชวยใหประชาชนมีการปฏิบัติในการปองกันโรคและยอมไปตรวจสุขภาพมากขึ้น โดยเฉพาะโรควัณโรค โรคมะเร็งปากมดลูก โรคฟน ไขรูมาติค และโปลิโอ การพัฒนา HBM (Health Belief Mode) ในครั้งแรกโดย Hochbaum และคณะ เริ่มจากแนวคิดของKewinLewin ที่กลาววาโลกของการรับรูของบุคคลจะเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของบุคคลนั้นๆ คือสิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวบุคคลจะไมมีอิทธิพลตอการกระทําของบุคคล ยกเวนสิ่งแวดลอมเหลานี้ไดปรากฏอยูในใจหรือการรับรูของบุคคล ดวยเหตุนี้บุคคลจึงแสดงออกตามสิ่งที่เขาเชื่อถือ ไมวาสิ่งนั้นจะถูกตองหรือไมก็ตาม Rosenstockไดอธิบายแนวคิดของ HBM วาการที่บุคคลจะแสดงพฤติกรรมสุขภาพอยางใดอยางหนึ่งเพื่อหลีกเลี่ยงการปองกันโรค บุคคลนั้นจะตองมีความเชื่อ คือ เขามีโอกาสตอการเปนโรค อยางนอยที่สุดโรคนั้นตองมีความรุนแรงตอชีวิตของเขาพอสมควร

การปฏิบัติดังกลาวเพื่อหลีกเลี่ยงจากการเปนโรคจะกอใหเกิดผลดีกับเขา โดยชวยลดโอกาสการเสี่ยงของการเกิดโรคหรือชวยลดความรุนแรงของโรคถาเกิดปวยเปนโรคนั้นๆ และการปฏิบัติดังกลาวไมควรจะมีอุปสรรค ดานจิตวิทยาที่มีอิทธิพลตอการปฏิบัติของเขา เชน คาใชจาย เวลา ความสะดวก ความกลัว ความอาย เปนตน ตอมา Rosenstock ไดเสนอเพิ่มเติมวา ในการอธิบายพฤติกรรมการไปตรวจสุขภาพเพื่อวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มแรกนั้น นอกจากตองประกอบดวยปจจัยดังกลาวแลว ยังตองเพิ่มปจจัยความเชื่อวาเขาสามารถจะปวยเปนโรคได ถึงแมวาจะไมมีอาการก็ตาม

การวินิจฉัยพฤติกรรมสุขภาพในระยะตอมาพบวา นอกจากองคประกอบดานความเชื่อและการรับรูแลวยังมีปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพ ไดทําการปรับปรุงแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพที่ใชอธิบายและทํานายพฤติกรรมการเจ็บปวยของบุคคลโดยมีองคประกอบ 4 ประการ คือ

1. แรงจูงใจดานสุขภาพที่เกี่ยวกับประสบการณเจ็บปวย ซึ่งแสดงถึงระดับความสนใจดานสุขภาพของบุคคล

2. ภาวะคุกคามของโรคที่เกิดจากอาการ ไดแก ภาวะที่เปนอันตรายตอรางกาย และรบกวนตอการทําหนาที่

3. ประโยชนหรือคุณคาของการปฏิบัติที่ชวยลดอาการคุกคามของโรค4. อุปสรรคหรือคาใชจายของการปฏิบัตินั้นๆ ดังแผนภูมิที่จะแสดงใหเห็นตอไปนี้

Page 28: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

19

ภาพที่ 2 “ การรับรูของบุคคล” (ที่มา Becker and Makriman, 1975 : 20)

โดยสรุปการรับรูของบุคคลจะเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของบุคคลนั้นๆ คือสิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวบุคคลจะไมมีอิทธิพลตอการกระทําของบุคคล ยกเวน สิ่งแวดลอมเหลานี้ไดปรากฏอยูในใจหรือการรับรูของบุคคล ดวยเหตุผลนี้บุคคลจึงแสดงออกตาม สิ่งที่เขาเชื่อถือวา ไมวาสิ่งนั้นจะถูกตองหรือไมก็ตาม การที่บุคคลจะแสดงพฤติกรรมสุขภาพอยางใดอยางหนึ่งเพื่อหลีกเลี่ยงการเปนโรค บุคคลนั้นจะตองมีความเชื่อ คือ เชื่อวาเขามีโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคนั้นและอยางนอยที่สุดโรคนั้นตองมีความรุนแรงตอชีวิตของเขาพอสมควร เพื่อนําไปสูการปฏิบัติดังกลาวเพื่อหลีกเลี่ยงจากการเปนโรค และจะกอใหเกิดผลดีแกเขา โดยชวยลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคหรือชวยลดความรุนแรงของโรคถาเกิดปวยเปนโรคนั้นๆ และการปฏิบัติดังกลาวไมควรจะมีอุปสรรคตองฝนปฏิบัติในสิ่งที่ขัดกับความเชื่อจะรูสึกไมปลอดภัย

องคประกอบเกี่ยวของของแผนความเช่ือดานสุขภาพแนวคิดของทฤษฎีน้ีเริ่มแรกสรางขึ้นจากทฤษฎีเกี่ยวกับ “อวกาศของชีวิต” (Life Space) ซึ่ง

ไดคิดขึ้นครั้งแรกโดยนักจิตวิทยา Kurt Lewinซึ่งมีสมมติฐานวาบุคคลจะหันเหตนเองไปสูพื้นที่ที่บุคคลใหคานิยมเชิงบวกและขณะเดียวกันจะหลีกเลี่ยงจากพื้นที่ที่มีคานิยมเชิงลบ อธิบายไดวาบุคคลจะแสวงหาแนวทางเพื่อจะปฏิบัติตามคําแนะนําเพื่อการปองกันและฟนฟูสภาพตราบเทาที่

อาการแสดง

ของโรค

คุณลักษณะของบุคคล : อายุ เพศ สถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ ความสามารถ การเจ็บปวย

สิ่งชักนําทําใหเกิดการปฏิบัติ

แรงจูงใจ

ดาน

ประโยชนของการ

ปฏิบัติ

-คุณคาการลดภาวะ

คุกคามของโรค

-การคาดคะเนถึง

ประโยชนที่จะไดรับ

ภาวะคุกคามของโรค-ผลเสียจากภาวะคุกคาม

ของโรค-การคาดคะเนถึงภาวะ

คุกคามของโรค

ประโยชนของการปฏิบัติ-คุณคาการลดภาวะคุกคามของโรค-การคาดคะเนถึงประโยชนที่จะไดรับ

อุปสรรค

-คาใชจายใน

การปฏิบัติ

การตัดสินใจในการปฏิบัติ

Page 29: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

20

การปฏิบัติเพื่อปองกันโรคนั้นเปนสิ่งที่มีคาเชิงบวกมากกวาความยากลําบากที่จะเกิดขึ้น จากการปฏิบัติตามคําแนะนําดังกลาวบุคคลจะตองมีความรูสึกกลัวตอโรคหรือรูสึกวาโรคคุกคามตน และจะตองมีความรูสึกวาตนเองมีพลังที่จะตอตานโรคได (ประภาเพ็ญ สุวรรณ, สวิง สุวรรณ, 2536) ซึ่งตอมาโรเซนสตอกไดสรุป องคประกอบพื้น ฐานของแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพไวคือ การรับรูของบุคคลและแรงจูงใจ การที่บุคคลจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงจากการเปนโรคจะตองมีความเชื่อวา เขามีโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรค โรคนั้นมีความรุนแรงและมีผลกระทบตอการดําเนินชีวิต รวมทั้งการปฏิบัตินั้นจะเกิดผลดีในการลดโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคหรือชวยลดความรุนแรงของโรค โดยไมควรมีอุปสรรคดานจิตวิทยามาเกี่ยวขอ ง เชน คาใชจาย ความไมสะดวกสบาย ความเจ็บปวยและความอาย เปนตน (Rosenstock, 1974) ตอมาเบคเกอร (Becker, 1974) เปนผูปรับปรุงแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพเพื่อนํามาใชอธิบายและทํานายพฤติกรรมการปองกันและพฤติกรรมอื่นๆ โดยเพิ่มปจจัยอื่นๆ นอกเหนือจากการรับรูของบุคคลที่มีอิทธิพลตอการปฏิบัติในการปองกันโรค ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

1. การรับรูโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค (Perceived Susceptibility)การรับรูตอโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรค หมายถึง ความเชื่อของบุคคลที่มีผลโดยตรงตอการ

ปฏิบัติตามคําแนะนําดานสุขภาพทั้งในภาวะปกติและภาวะเจ็บปวย แตละบุคคลจะมีความเชื่อในระดับที่ไมเทากัน ดังนั้นบุคคลเหลานี้จึงหลีกเลี่ยงตอการเปนโรคดวยการปฏิบัติตามเพื่อปองกันและรักษาสุขภาพที่แตกตางกันจึงเปนความเชื่อของบุคคลตอความถูกตองของการวินิจฉัยโรคของแพทย การคาดคะเนถึงโอกาสของการเกิดโรคซ้ําหรือการงายที่จะปวยเปนโรคตางๆ มีรายงานการวิจัยหลายเรื่องที่ใหการสนับสนุนความเชื่อตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรความีความสัมพันธในทางบวกกับพฤติกรรมการปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาที่ เชนเมื่อบุคคลปวยเปนโรคใดโรคหนึ่ง ความรูสึกของบุคคลที่วาตนเองจะมีโอกาสปวยเปนโรคนั้นๆอีกจะมีความสัมพันธเชิงบวกกับ การปฏิบัติพฤติกรรมเพื่อปองกันโรคไมใหเกิดกับตนเองอีก (Heinze, 1962; Elling et al.,1960)

2. การรับรูความรุนแรงของโรค (Perceived Severity)เปนการประเมินการรับรูความรุนแรงของโรค ปญหาสุขภาพหรือผลกระทบจากการเกิดโรคซึ่งกอใหเกิดความพิการหรือเสียชีวิต การประเมินความรุนแรงนั้นอาศัยระดับตางๆของการกระตุนเราของบุคคลเกี่ยวกับการเจ็บปวยนั้น ซึ่งอาจจะมองความรุนแรงของการเจ็บปวยนั้นทําใหเกิดความพิการหรือตายไดหรือไมหรืออาจมีผลกระทบตอหนาที่การงาน เมื่อบุคคลเกิดการรับรูความรุนแรงของโรคหรือการเจ็บปวยแลวจะมีผลทํา ใหบุคคลปฏิบัติตามคําแนะนําเพื่อการปองกันโรค ซึ่ง จากผลการวิจัยจํานวนมากพบวา การรับรูความรุนแรงของโรคมีความสัมพันธในทางบวกกับพฤติกรรมการปองกันโรค เชน การปฏิบัติตนเพื่อปองกันอุบัติเหตุ

Page 30: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

21

3. การรับรูถึงประโยชนของการรักษาและปองกันโรค (Perceived Benefits) การรับรูถึงประโยชนของการรักษาและปองกันโรค หมายถึง การที่บุคคลแสวงหาวิธีการปฏิบัติใหหายจากโรคหรือปองกันไมใหเกิดโรคโดยการปฏิบัตินั้นตองมีความเชื่อวาเปนการกระทําที่ดีมีประโยชนและเหมาะสมที่จะทําใหหายหรือไมเปนโรคนั้นๆ ดังนั้นการตัดสินใจที่จะปฏิบัติตามคําแนะนําก็ขึ้นอยูกับการเปรียบเทียบถึงขอดีและขอเสียของพฤติกรรมนั้นโดยเลือกปฏิบัติในสิ่งที่กอใหเกิดผลดีมากกวาผลเสีย

4. การรับรูตออุปสรรค (Perceived Barriers) การรับรูตออุปสรรคของการปฏิบัติ หมายถึง การคาดการณลวงหนาของบุคคลตอการปฏิบัติพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับสุขภาพอนามัยของบุคคลในทางลบ ซึ่งอาจไดแก คาใชจาย หรือผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติกิจกรรมบางอยาง เชน การตรวจเลือดหรือการตรวจพิเศษทําใหเกิดความไมสุขสบาย การมารับบริการหรือพฤติกรรมอนามัยนั้นขัดกับอาชีพหรือการดําเนินชีวิตประจําวัน ดังนั้นการรับรูอุปสรรคเปนปจจัยสําคัญตอพฤติกรรมการปองกันโรค และพฤติกรรมของผูปวยนี้สามารถใชทํานายพฤติกรรมการใหความรวมมือในการรักษาโรคได

5. สิ่งชักนําใหเกิดการปฏิบัติ (Cues to Action) สิ่งชักนําใหเกิดการปฏิบัติเปนเหตุการณหรือสิ่งที่มากระตุนบุคคลใหเกิดพฤติกรรมที่ตองการออกมา ซึ่ง Becker, Maiman (1975) ไดกลาววา เพื่อใหแบบแผนความเชื่อมีความสมบูรณนั้นจะตองพิจารณาถึงสิ่งชักนําใหเกิดการปฏิบัติซึ่งมี 2 ดาน คือ สิ่งชักนําภายในหรือสิ่งกระตุนภายใน (Internal Cues)ไดแก การรับรูสภาวะของรางกายตนเอง เชน อาการของโรคหรือ การเจ็บปวย สวนสิ่งชักนําภายนอกหรือสิ่งกระตุนภายนอก (External Cues) ไดแก การใหขาวสารผานทางสื่อมวลชนหรือการเตือนจากบุคคลที่เปนที่รักหรือนับถือ เชน สามี ภรรยา บิดา มารดา เปนตน

6. ปจจัยรวม (Modifying Factors) ปจจัยรวม เปนปจจัยที่ไมมีผลโดยตรงตอพฤติกรรมสุขภาพ แตเปนปจจัยพื้นฐานที่จะสงผลไปถึงการรับรูและการปฏิบัติ ไดแก

- ปจจัย ดานประชากร เชน อายุ ระดับการศึกษา เปนตน- ปจจัยทางดานสังคมจิตวิทยา เชน บุคลิกภาพ สถานภาพทางสังคม กลุมเพื่อนกลุม

อางอิง มีความเกี่ยวของกับบรรทัดฐานทางสังคม คานิยมทางวัฒนธรรมซึ่งเปนพื้นฐานทําใหเกิดการปฏิบัติเพื่อปองกันโรคที่แตกตางกัน

- ปจจัยโครงสรางพื้นฐาน เชน ความรูเรื่องโรค ประสบการณเกี่ยวกับโรค เปนตน7. แรงจูงใจดานสุขภาพ (Health Motivation)แรงจูงใจดานสุขภาพหมายถึง สภาพ

อารมณที่เกิดขึ้นจากการถูกกระตุนดวยเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย ไดแก ระดับความสนใจ ความใสใจ ทัศนคติและคานิยมทางดานสุขภาพ เปนตน

Page 31: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

22

แนวคิดของ HBM โดยสรุปไดอธิบายพฤติกรรมของบุคคลในการที่จะปฏิบัติเพื่อการปองกันโรคและการรักษาโรควาบุคคลตองมีการรับรูตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค การรับรูตอความรุนแรงของโรค ซึ่งการรับรูนี้จะผลักดันใหบุคคลหลีกเลี่ยงจากสภาวะคุกคามของโรคโดยการเลือกวิธีการปฏิบัติที่คิดวาเปนทางออกที่ดีที่สุดดวยการเปรียบเทียบ ประโยชนที่ควรจะไดรับจากการปฏิบัติกับผลเสีย คาใชจายหรืออุปสรรคที่จะเกิดขึ้น นอกจากนี้แรงจูงใจดานสุขภาพและปจจัยอื่นๆ เชน ตัวแปรดานประชากร โครงสรางทางสังคม ปฏิสัมพันธและสิ่งชักจูงสูการปฏิบัติ เปนปจจัยที่มีผลตอการปฏิบัติดานสุขภาพของบุคคลนั้น

โดยสรุปแลว พฤติกรรมการปองกันและรักษาโรคนั้น ขึ้นอยูกับการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค การรับรูตอความรุนแรงของโรค ซึ่งจะเปนแรงกระตุนใหเกิดการปองกันโรคไดโดยมีการเปรียบเทียบคาใชจายหรืออุปสรรคตางๆ เปนตัวแปรในการเลือกและการตัดสินใจอีกทางหนึ่งดวย

องคประกอบที่สําคัญของแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพที่ใชอธิบายและทํานายพฤติกรรมการปองกันโรค และพฤติกรรมของผูปวยมี 5 ประการคือ

1. การรับรูตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค (Perceived Susceptibility) การรับรูตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค หมายถึง ความเชื่อหรือการคาดคะเนวาตนมีโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคหรือปญหาสุขภาพนั้นมากนอยเพียงใด และถาเปนการรับรูของผูปวยจะหมายถึงความเชื่อตอความถูกตองของการวินิจฉัยโรคของแพทย การคาดคะเนถึงโอกาสการเกิดโรคซ้ํา และความรูสึกของผูปวยวาตนเองงายตอการปวยเปนโรคตาง ๆ

2. การรับรูความรุนแรงของโรค (Perceived Severity) หมายถึงความเชื่อที่บุคคลเปนผูประเมินเองในดานความรุนแรงของโรคที่มีตอรางกาย การกอใหเกิดพิการ เสียชีวิต ความยากลําบากและการตองใชระยะเวลานานในการรักษา การเกิดโรคแทรกซอน หรือมีผลกระทบตอบทบาททางสังคมของตน ซึ่งการรับรูความรุนแรงของโรคที่กลาวถึง อาจมีความแตกตางจากความรุนแรงของโรคที่แพทยเปนผูประเมิน

การรับรูโอกาสเสี่ยงของการเปนโรครวมกับการรับรูความรุนแรงของโรค จะทําใหบุคคลรับรูถึงภาวะคุกคาม (Perceived threat) ของโรความีมากนอยเพียงใด ซึ่งภาวะคุกคามนี้เปนสวนที่บุคคลไมปรารถนาและมีความโนมเอียงที่จะหลีกเลี่ยง

3. การรับรูประโยชนที่จะไดรับและคาใชจาย (Perceived benefits and costs) เมื่อบุคคลมีความเชื่อตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค และมีความเชื่อวาโรคนั้นมีความรุนแรงหรือกอใหเกิดผลเสียตอตนแลวยังรวมถึงเวลา ความไมสะดวกสบาย ความอาย การเสี่ยงตอความไมปลอดภัย และ

Page 32: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

23

อาการแทรกซอนดวย บุคคลจะทําการประเมินคาใชจายแลวนําไปสัมพันธกับทรัพยากรที่มีอยูหรือที่จะหามาไดตลอดจนประสบการณที่ผานมาเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ แมบุคคลจะพยายามหลีกเลี่ยงจากภาวะคุกคามเหลานั้น โดยการแสวงหาการปองกันหรือรักษาโรคดังกลาว แตการที่บุคคลจะยอมรับและปฏิบัติในสิ่งใดนั้น จะเปนผลจากความเชื่อวาวิธีการนั้น ๆ เปนทางออกที่ดี กอใหเกิดผลดีมีประโยชนและเหมาะสมที่สุดจะทําใหไมปวยเปนโรค หรือหายจากโรคนั้น ในขณะเดียวกันบุคคลจะตองมีความเชื่อวาคาใชจายซึ่งเปนขอเสีย หรืออุปสรรคของการปฏิบัติในการปองกัน และรักษาโรคจะตองมีนอยกวาเมื่อเปรียบเทียบกับประโยชนที่จะไดรับ

4. แรงจูงใจดานสุขภาพ (Health motivation) แรงจูงใจดานสุขภาพ หมายถึง ระดับความสนใจและความหวงใยเกี่ยวกับสุขภาพ ความปรารถนาที่จะดํารงรักษาสุขภาพและการหลีกเลี่ยงจากการเจ็บปวย แรงจูงใจนี้อาจจากความสนใจสุขภาพโดยทั่วไปของบุคคล หรือเกิดจากการกระตุนของความเชื่อตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค ความเชื่อตอความรุนแรงของโรค ความเชื่อตอผลดีจากการปฏิบัติ รวมทั้งสิ่งเราภายนอก เชน ขาวสาร คําแนะนําของแพทย ซึ่งสามารถกระตุนแรงจูงใจดานสุขภาพของบุคคลได

5. ปจจัยรวม (Modifying factor) ปจจัยรวมนับเปนปจจัยที่มีสวนชวยสงเสริมหรือเปนอุปสรรคตอการที่บุคคลจะปฏิบัติเพื่อการปองกันโรค หรือการปฏิบัติตามคําแนะนําในการรักษาโรค ปจจัยรวมประกอบดวยตัวแปรดานประชากร เชน อายุ เพศ เชื้อชาติของบุคคล ตัวแปรดานโครงสราง เชนความซับซอน และผลขางเคียงของการรักษา ลักษณะของความยากงายของการปฏิบัติตามการใหบริการ ตัวแปรดาน ปฏิสัมพันธ เชน ชนิด คุณภาพ ความตอเนื่อง และความสม่ําเสมอของความสัมพันธ ระหวางผูใหบริการกับผูรับบริการและตัวแปรดานสนับสนุน (กลาวในแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพ สุขภาพสําหรับพฤติกรรมของผูปวยหรือสิ่งชักนําใหเกิดการปฏิบัติ (cue to action กลาวในแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพสําหรับพฤติกรรมการปองกันโรค) ไดแก สิ่งกระตุน (trigger) ที่นําไปสูการปฏิบัติที่เหมาะสม ตัวแปรเหลานี้อาจเปนสิ่งที่อยูภายในตัวบุคคล เชน อาการไมสุขสบาย เจ็บปวด ออนเพลียที่เกิดขึ้น ในตัวบุคคลนั้นเอง หรือเปนสิ่งภายนอกที่มากระตุน เชนการรณรงคหรือขาวสารจากสื่อมวลชน คําแนะนําที่ไดจากเจาหนาที่ เพื่อน หรือผูอื่น แหลงหรือผูใหคําแนะนํา บัตรนัดหรือไปรษณีย บัตรเตือน การเจ็บปวยของสมาชิกในครอบครัว แรงกดดันหรือแรงสนับสนุนทางสังคมเปนตน

สิ่งชักนําใหเกิดการปฏิบัติหรือตัวกระตุนจะตองเกิดขึ้นสอดคลองเหมาะสมกับพฤติกรรมระดับความเขมของสิ่งกระตุนที่จะกอใหเกิดพฤติกรรมที่เหมาะสม แตกตางกันไปตามระดับความพรอมดานจิตใจของบุคคลที่จะแสดงพฤติกรรม คือถามีความพรอมดานจิตใจนอยจําเปนตองอาศัยสิ่งชักนํามาก แตถามีความพรอมดานจิตใจสูงอยูแลวจะตองการสิ่งกระตุนเพียงเล็กนอยเทานั้น

Page 33: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

24

แนวคิดของแบบแผนความเช่ือดานสุขภาพ โดยสรุปไดอธิบายพฤติกรรมของบุคคลในการที่จะปฏิบัติเพื่อการปองกันโรค และการรักษาโรควาบุคคลจะตองมีการรับรูตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรค รับรูตอความรุนแรงของโรค ซึ่งการรับรูนี้จะผลักดันใหบุคคลหลีกเลี่ยงจากภาวะคุกคามของโรค โดยการเลือกวิธีการปฏิบัติที่คิดวาเปนทางออกที่ดีที่สุดดวยการเปรียบเทียบประโยชนที่จะไดรับจากการปฏิบัติกับผลเสีย คาใชจายหรืออุปสรรคที่จะเกิดขึ้นนอกจากนี้แรงจูงใจดานสุขภาพ และปจจัยรวมอื่น ๆ เชน ตัวแปรดานประชากร โครงสราง ปฏิสัมพันธ และสิ่งชักนําสูการปฏิบัตินับเปนปจจัยที่มีผลตอการปฏิบัติสุขภาพของบุคคลนั้น ๆ

กลาวไดวาการรับรูของบุคคลมีผลตอการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ สามีหญิงตั้งครรภจึงควรมีการรับรูโอกาสเสี่ยง ความรุนแรงของโรค ประโยชนและอุปสรรคในการปองกันการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งจะทําใหมีพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อปองกันการติดเชื้อเอชไอวีไดอยางถูกตอง

สุขภาพวัยผูใหญและผูสูงอายุก็เชนเดียวกบวัยเด็กที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง มีทั้งปจจัยภายในและปจจัยภายนอก ปจจัยเหลานี้อาจทําใหสุขภาพเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือเลวลงก็ได

ปจจัยภายในปจจัยภายในหมายถึง ปจจัยที่เกี่ยวกับบุคคลโดยตรงซึ่งบางปจจัยไมสามารถเปลี่ยนแปลง

ได ปจจัยภายในประกอบดวย องคประกอบ 3 อยางคือ องคประกอบทางกาย องคประกอบทางจิต และองคประกอบทางพฤติกรรมหรือแบบแผนการดําเนินชีวิต ดังนี้

1. องคประกอบทางกาย ไดแก องคประกอบที่เปนมาตั้งแตเกิด และจะเปนอยูเชนนี้ตลอดไปโดยไมอาจเปลี่ยนแปลง ไดแก

1.1 พันธุกรรม การถายทอดพันธุกรรมนั้นเปนที่ยอมรับวาทําใหมีผลตอสุขภาพของวัยผูใหญและวัยสูงอายุมาก ทั้งในทางบวกและทางลบ ในทางบวก เชน การมีอายุยืนยาวเชื่อวาเปนพันธุกรรม (บรรลุ ศิริพานิช และคณะ 2531 : 70) สวนผลในทางลบ คือทําใหเกิดผลเสียตอสุขภาพ ไดแก โรคที่ถายทอดมาทางยีนสทั้งหลาย เชน เบาหวาน ฮีโมฟเลีย ทาลัสซีเมีย เปนตน นอกจากนี้โรคมะเร็งก็อยูในระยะพิสูจนวาถายทอดทางพันธุกรรมหรือไม ซึ่งคงจะทราบคําตอบในระยะเวลาไมนานนี้ ปจจัยทางพันธุกรรมเปนปจจัยที่ไมอาจแกไขได

1.2 เชื้อชาต ิ เชื้อชาติบางเชื้อชาติปวยเปนโรคบางโรคมากกวาเชื้อชาติอื่นๆ เชน โรคโลหิตจางบางชนิดเปนในคนผิวดํามากกวาผิวขาว

Page 34: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

25

1.3 เพศ โรคบางโรคพบบอยในเพศใดเพศหนึ่ง โรคที่พบบอยในเพศหญิง เชน นิ่วในถุงน้ําดี โรคของตอมไทรอยด โรคกระดูกพรุน โรคขออักเสบ รูมาตอยด โรคที่พบบอยในชาย เชน โรคกระเพราะอาหาร ไสเลื่อน โรคทางเดินหายใจ โรคริดสีดวงทวาร

1.4 อายุและระดับพัฒนาการ โรคเปนจํานวนมากแตกตางกันตามอายุ เชน วัยกลางคนเปนโรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบมากกวาวัยหนุมสาว พัฒนาการทางดานรางกาย และจิตใจ ภาระงานพัฒนาการของแตละวัยจะมีผลกระทบตอสุขภาพ ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผูใหญและผูสูงอายุ วัยรุนเปนวัยที่อยูในระยะของการเรียน การเลียนแบบ และทดลองเขาสูบทบาทของความเปนผูใหญ ความรูเทาไมถึงการณทําใหตัดสินใจปฏิบัติสิ่งตางๆ ผิดพลาดไปโดยไมทันยั้งคิด ทําใหมีผลเสียตอสุขภาพได เชน การวิวาทยกพวกตีกัน การติดยาเสพติด การติดเชื้อจากการรวมเพศ เปนตน สิ่งเหลานี้มีแรงผลักดันมาจากพัฒนาการทางรางกายและจิตใจ ซึ่งทําใหเกิดผลเสียตอสุขภาพ ในวัยผูใหญ ภาระงานพัฒนาทําใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพทั้งทางรางการและจิตใจ เพราะเปนวัยที่ตองเลือกอาชีพ ประกอบอาชีพ เลือกคูครอง ปรับตัวในชีวิตสมรส ปรับตัวเพื่อทําหนาที่บิดามารดา ทําใหเกิดความเครียด ความวิตกกังวล และอาจไดรับอันตรายจากการประกอบอาชีพอีกดวย

2. องคประกอบทางจิต รางกายและจิตใจมีความสัมพันธกันสภาพอะไรก็ตามที่กระทบกระเทือนทางดานรางกายก็จะกระทบกระเทือนตอจิตใจดวย และสภาพอะไรก็ตามที่กระทบกระเทือนตอจิตใจก็จะมีผลใหรางกายเจ็บปวยได นอกจากนี้องคประกอบทางจิตยังเปนตัวกําหนดพฤติกรรมตางๆ อีกดวย องคประกอบเหลานี้ไดแก

2.1 อัตมโนทัศน (Self-Concept) เปนผลรวมของความรูสึกนึกคิดและการรับรูที่ลึกซึ้งและซับซอนที่บุคคลมีตอตนเองและมีอิทธิพลอยางมากในการกําหนดพฤติกรรม คือการที่บุคคลจะแสดงพฤติกรรมอยางไรนั้นขึ้นอยูกับวาบุคคลนั้นรับรูเกี่ยวกับตนเองอยางไร (Snugg, and Combs, 1959, อางถึงใน กอบกุล พันธเจริญวรกุล 2531 : 77-106) อัตมโนทัศน มีความสําคัญตอสุขภาพอยางยิ่ง โดยเฉพาะอัตมโนทัศนดานรางกาย (physical self) ถาบุคคลนั้นมองวาตนเปนคนมีรูปรางหนาตาดี เปนคนสวย หรือเปนคนรูปหลอ ก็จะมีอิทธิพลใหบุคคลนั้นพยายามบํารุงสุขภาพและรางกายของตนใหอยูในสภาพดีตอไป

อัตมโนทัศนดานการยอมรับนับถือตนเอง (self-esteem) การยอมรับนับถือตนเองเปนการรับรูเกี่ยวกับคุณคาของตนเอง บุคคลจะประเมินคุณคาของตนเองจากลักษณะที่ตนเปนอยูและเปรียบเทียบกับลักษณะที่ตนอยากใหเปน และระดับการยอมรับนับถือตนเองนี้จะสามารถเปลี่ยนอัตมโนทัศนดานตางๆ ได (กอบกุล พันธเจริญวรกุล, 2531 : 77-106) การที่บุคคลมีความแตกตางเกี่ยวกับลักษณะที่ตนเปนอยูกับลักษณะที่ตนอยากใหเปนนี้จะเปนแรงผลักดันใหบุคคลนั้นแสวงหา

Page 35: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

26

ความรูเพื่อปฏิบัติใหตนไดเปนตามที่อยากจะเปน (ประภาเพ็ญ สุวรรณและสวิง สุวรรณ 2532 : 18-19) ถาสิ่งที่แสวงหานั้นเปนเรื่องของสุขภาพ บุคคลนั้นก็จะมีสุขภาพที่ดีขึ้นไดในอนาคต เชน วัยรุนที่ประเมินตนเองวาอวน แตอยากใหตนเองผอม จะพยายามแสวงหาความรูเพื่อนํามาปฏิบัติใหตนเองผอมลง ซึ่งอาจจะออกกําลังกายหรือรับประทานอาหารใหนอยลง พฤติกรรมเหลานี้มีผลตอสุขภาพ และจะเปนไปตามอัตมโนทัศน

2.2 การรับรู (Perception) การที่บุคคลจะมีพฤติกรรมเชนใดนั้น ขึ้นอยูกับการรับรูของตนตอสิ่งตางๆ การรับรูเกี่ยวกับสุขภาพคือ รับรูวาตนเองมีสุขภาพเชนไรก็จะมีอิทธิพลตอพฤติกรรมที่คนๆ นั้นจะกระทํา คนแตละคนมีการรับรู เกี่ยวกับสุขภาพแตกตางกัน โดยเฉพาะถาฐานะทางเศรษฐกิจตางกัน จะรับรู เกี่ยวกับอาการปวยและตัดสินใจรับการรักษาตางกัน คนฐานะทางเศรษฐกิจดีจะรับรูเกี่ยวกับอาการปวยเร็วกวา (Koos 1954 quoted in Bradshaw 1988 : 12) บางคนเมื่อรูสึกวาครั่นเนื้อครั่นตัวหรือปวดเมื่อยตามตัว จะรูวาตนกําลังไมสบาย ในขณะที่บางคนเดินไมไหว หรือทํางานไมไหว จึงจะรับรูวาไมสบาย ซึ่งการรับรูเหลานี้จะเปนตัวกําหนดพฤติกรรมที่ปฏิบัติในเวลาตอมา เชนเมื่อรับรูวาปวย จะหยุดจากกงานไปพบแพทยหรือรับการรักษาตามความเชื่อของตน ซึ่งจะมีผลตอสุขภาพในเวลาตอมา การรับรูเกี่ยวกับสุขภาพของประชาชนทั่วไปจะแตกตางกับบุคลาทางการแพทย คือประชาชนทั่วไปมักจะใชอาการที่ปรากฏเปนเกณฑในการพิจารณาวาปวยหรือไม แตแพทยจะใชการตรวจพบความผิดปกติเปนตัวบงชี้การปวยหรือเปนโรค ดังนั้นประชาชนที่ไปใหแพทยตรวจบางรายแพทยอาจตรวจไมพบความผิดปกติใดๆ และบอกวาคนๆ นั้นไมไดปวย ในขณะที่บางคนไมมีอาการผิดปกติเลย เมื่อตรวจรางกายอาจพบวาเปนโรคบางอยางได ดังนั้นการรับรูเกี่ยวกับสุขภาพที่จะมีผลดีตอสุขภาพ คือ การรับรูวาบางคนอาจปวยเปนโรคไดทั้งที่ไมมีอาการผิดปกติใดๆ การรับรูวาการดูแลสุขภาพใหแข็งแรงและการปองกันโรคเปนสิ่งที่สําคัญกวาการรักษาเมื่อเจ็บปวย และรับรูวาสุขภาพเปนสิ่งมีคาเหนือสิ่งอ่ืนใด

2.3 ความเชื่อ ปกติคนเรามักไดความเชื่อมาจาก พอ แม ปู ยา ตา ยาย หรือผูที่เราเคารพเชื่อถือ จะยอมรับฟงโดยไมตองพิสูจน ความเชื่อเหลานี้เปนสวนหนึ่งของการดําเนินชีวิต ความเชื่อเมื่อเกิดข้ึนแลวมักจะเปลี่ยนแปลงยาก

ความเชื่อดานสุขภาพ (health belief) คือความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพที่คนแตละคนยึดถือวาเปนความจริง ความเชื่อดังกลาวอาจจะจริงหรือไมจริงก็ได บุคคลจะปฏิบัติตามความเชื่อเหลานี้อยางเครงครัด ไมวาจะอยูในสถานการณเชนใดก็ตาม และจะรูสึกไมพอใจถาใครไปบอกวาสิ่งที่เขาเชื่อนั้นเปนสิ่งไมถูกตอง หรือแนะนําใหเขาเลิกปฏิบัติตามความเชื่อหรือใหปฏิบัติในสิ่งที่ตรงขามกับความเชื่อ ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพในสังคมไทยมีมากมาย การปฏิบัติตามความเชื่อจะทําใหบุคคลมีความมั่นใจและรูสึกปลอดภัย ถาตองฝนปฏิบัติในสิ่งที่ขัดกับความเชื่อจะรูสึกไมปลอดภัย

Page 36: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

27

เกรงวาจะเปนอันตราย ความเชื่อที่พบไดทั่วๆ ไปเกี่ยวกับสุขภาพไดแก เชื่อวาถารับประทานไขขณะที่เปนแผล จะทําใหแผลนั้นเปนแผลเปนที่นาเกลียดเมื่อหาย ถารับประทานขาวเหนียวจะใหแผลหลายเปนแผลเปอย หญิงตั้งครรภ ถารับประทานเนื้อสัตวชนิดใด จะทําใหลูกมีพฤติกรรมเหมือนสัตวชนิดนั้น เชื่อวาการดื่มเบียรวันละ 12 แกว จะชวยปองกันการติดเชื้อของลําไส เชื่อวาถาดื่มน้ํามะพราวขณะมีประจําเดือน จะทําใหเลือดประจําเดือนหยุดไหลเปนตน ความเชื่อเหลานี้บางอยางมีผลกระทบตอสุขภาพมาก แตบางอยางไมมีผลเสียหายตอสุขภาพ

2.4 เจตคติ เจตคติเปนความรูสึกของบุคคลตอสิ่งตางๆอาจะเปนบุคคล สิ่งของหรือนามธรรมใดๆก็ได การเกิดเจตคติอาจเกิดจากประสบการณ หรือเรียนรูจากบุคคลใกลตัวก็ได เจตคติมีผลกระทบตอสุขภาพ เนื่องจากเปนสิ่งที่อยู เบื้องหลังการประพฤติปฏิบัติตางๆ เชน ถาประชาชนมีเจตคติที่ไมดีตอสถานบริการสาธารณสุข ก็อาจจะไมไปใชบริการจากสถานที่นั้น หรือเจตคติตอการรักษาแผนปจจุบันไมดีก็จะไมยอมรับการรักษาเมื่อปวย เปนตน หรือเมื่อมีเจตคติไมดีตอเจาหนาที่ เมื่อเจาหนาที่แนะนําการปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพ บุคคลนั้นอาจจะไมยอมรับฟงหรือปฏิบัติตามซึ่งทําใหมีผลตอสุขภาพได

2.5 คานิยม คอการใหคุณคาตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งคานิยมของบุคคลไดรับอิทธิพลมาจากสังคม บุคคลพยายามแสดงออกถึงคานิยมของตนทุกครั้งที่มีโอกาส คานิยมของสังคมใดสังคมหนึ่ง จะมีอิทธิพลตอการประพฤติปฏิบัติขอบุคคลในสังคมนั้นๆ อยางมาก คานิยมที่มีผลกระทบตอสุขภาพ เชน คานิยมของการดื่มเหลา สูบบุหรี่ ซึ่งแสดงถึงความมีฐานะทางสังคมสูง คานิยมของการเที่ยวโสเภณีวาแสดงความเปนชายชาตรี คานิยมที่ชวยสงเสริมสุขภาพ คือ คานิยมของความมีสุขภาพดี

2.6 ความเครียด (Stress) ภาวะเครียดมีผลกระทบตอสุขภาพทั้งทางดานบวกและลบ ทางดานบวก เชน ในระยะพัฒนาการของรางกายและจิตใจตามวัยนั้นก็เปนการกอความเครียดแกรางกาย ซึ่งถาสามารถเรียนรูและปฏิบัติภาระงานพัฒนาการจนผานพนไปไดบุคคลๆ นั้น จะเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลินในชีวิต แตละระยะของภาระงานพัฒนาการจะเต็มไปดวยความเครียด ซึ่งจะตองเรียนรูและเอาชนะเพื่อเตรียมพรอมสําหรับพัฒนาในขั้นตอไป เชนการฝกสรางสัมพันธภาพกับเพื่อนตางเพศ หรือการฝกปฏิบัติเพื่อเปนพยาบาลสิ่งเหลานี้เต็มไปดวยความเครียดเชนกัน หรือคนที่ฝกวิ่งทุกวันจะทําใหหลอดเลือดและหัวใจมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น นี่คือผลประโยชนที่ไดซึ่งมากกวาคนที่ออกกําลังแตเพียงเปดปดหรือเปลี่ยนชองโทรทัศน การฝกในครั้งแรกซึ่งเต็มไปดวยความเครียดนั้นจะทําใหแตละคนไดพัฒนาความสามารถ เกิดความมั่นใจ ความกลัวลดลง ทําใหชีวิตเต็มไปดวยคุณภาพ ซึ่งเปนการยืนยันวาความเครียดมีผลกระทบตอสุขภาพทางดานบวก ในทํานองเดียวกันความเครียดก็กอใหเกิดผลทางดานลบตอสุขภาพไดดวยเชนกัน ถา

Page 37: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

28

ความเครียดนั้นมีมากเกินความสามารถของบุคคลจะเผชิญได หรือความสามารถในการเผชิญความเครียดของบุคคลไมเหมาะสม

3. องคประกอบทางพฤติกรรม หรือแบบแผนการดําเนินชีวิต (Iife style) พฤติกรรมหรือ แบบแผนการดําเนินชีวิตประจําวันนั้นเปนองคประกอบที่มีอิทธิพลตอสุขภาพมากที่สุด เพราะเปนองคประกอบที่สามารถเปลี่ยนแปลงได ซึ่งพบวาประมาณรอยละ 50 ของประชาชนที่เสียชีวิตในอเมริกามีสาเหตุมาจากการมีแบบแผนการดําเนินชีวิตที่ไมถูกตอง (Walker et al 1988 : 89)

3.1 พฤติกรรมเกี่ยวกับอนามัยสวนบุคคล เปนพฤติกรรมที่ปฏิบัติเพื่อการมีอนามัยที่ดี ไดแก การแปรงฟน การอาบน้ํา ความสะอาดของเสื้อผา การสระผม การดูแลสุขภาพของผิวหนัง การดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ สิ่งเหลานี้เปนกิจวัตรประจําวันที่บุคคลปฏิบัติ ในการปฏิบัติกิจกรรมเหลานั้นมีทั้งปฏิบัติถูกตอง และไมถูกตอง การปฏิบัติถูกหรือไมถูกขึ้นอยูกับความเชื่อ และการรับรูเกี่ยวกับปฏิบัติของแตละคน และการตัดสินใจวาถูกตองของประชาชนทั่วไปกับบุคลากรทางแพทยอาจจะแตกตางกัน พฤติกรรมเกี่ยวกับการแปรงฟน ถาแปรงไมถูกวิธีอาจทําใหเหงือกรน และถาใชยาสีฟนที่มีสารขัดฟนคมเกินไป อาจทําใหฟนสึก และเคลือบฟนบางลง การอาบน้ําในหนาหนาวถาถูสบูบอยๆ หรืออาบดวยน้ําอุนอาจจะใหผิวแหงและคันได การทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุหรือการดูแลขณะมีประจําเดือนถาไมสะอาดพออาจเปนเหตุใหมีการติดเชื้อของมดลูกไดสิ่งเหลานี้มีผลตอสุขภาพทั้งสิ้น

3.2 พฤติกรรมการรับประทานอาหาร นิสัยการรับประทานอาหารเปนการถายทอดทางวัฒนธรรม ซึ่งแตกตางกันไปตามลักษณะทองถิ่น และความชอบของแตละคน พฤติการณรมการรับประทานมีผลกระทบตอสุขภาพมาก บางคนรับประทานอาหารจุบจิบ ชอบรับประทานอาหารประเภทขบเคี้ยว ชอบอมทอฟฟ ซึ่งจะมีผลทําใหฟนผุ บางคนไมชอบรับประทานอาหาร ประเภทผักและผลไม ทําใหมีกากอาหารนอย ทําใหเสี่ยงตอการปวยเปนมะเร็งลําไส อาหารที่ไมสะอาดทําใหทองเสีย อาหารสุกๆ ดิบๆ เชน ปลาดิบ กอน ปลา ทําใหเปนโรคพยาธิ บางคนชอบอาหารที่มีไขมันสูง อาจทําใหเปนโรคอวน หรือไขมันอุดตันในเสนเลือดเปนตน บางคนชอบหรือไมชอบอาหารประเภททําใหไดสารอาหารไมครบถวน อาหารจึงเปนองคประกอบที่สําคัญตอสุขภาพ จากการศึกษาระยะยาวเกี่ยวกับปจจัยซึ่งมีความสันพันธกับอัตราตายในวัยผูใหญพบวา 2 ประการใน 7 ประการ เกี่ยวของกับอาหารนั้นคือ อาหารเชาและน้ําหนักตัว (Breslow Engstrom : 1980 quoted in Kulbok, Earls, and Montgomery 1986 : 21-35) ซึ่งแสดงใหเห็นวาอาหารเชา ซึ่งเปนมื้ออาหารที่บุคคลสวนใหญใหความสําคัญนอย เพราะอยูในภาวะเรงรีบมีความสัมพันธกับอัตราตาย สวนน้ําหนักตัวนั้น คนที่น้ําหนักเกินมาตรฐาน หรือน้ําหนักตัวเปลี่ยนแปลงบอยก็มีความสัมพันธกับอัตราตาย กลาวโดยสรุปคือ คนที่ไมรับประทานอาหารเชา คนมีน้ําหนักเกิน

Page 38: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

29

มาตรฐานหรือน้ําหนักเปลี่ยนแปลงบอย คนที่สูบบุหรี่ ดื่มเหลา ผูที่มีพฤติกรรมเหลานี้อยางใดอยางหนึ่งจะมีโอกาสตายงายกวาบุคคลอื่น

3.3 พฤติกรรมการขับถายอุจจาระและปสสาวะ ผูที่ถายอุจจาระไมเปนเวลา ถายลําบาก อุจจาระมีลักษณะแข็งตองแบงถายอุจจาระ มีโอกาสเสี่ยงตอการปวยเปนโรคริดสีดวงทวารสูงกวาคนที่มีการขับถายเปนเวลาและถายสะดวก พฤติกรรมการกลั้นปสสาวะทําใหเกิดเปนโรคติดเชื้อของกระเพาะปสสาวะไดงาย

3.4 การพักผอนและการนอนหลับ เปนที่ทราบดีอยูแลววารางกายตองการพักผอนและการพักผอนที่ดีที่สุดคือ การนอนหลับ ผูที่พักผอนหรือนอนหลับไมเพียงพอจะมีผลเสียตอสุขภาพคือ ถาอดนอน 48 ชั่วโมง รางกายจะผลิตสารเคมีซึ่งมีโครงสรางคลาย เอส ดี 25 (S.D. 25)สารนี้มีผลใหพฤติกรรมของคนเปลี่ยนไปจากเดิม ผูที่อดนอนจะรูสึกหนักมึนศีรษะ รูสึกเหมือนตัวลอยควบคุมสติไมได ไมสนใจสิ่งแวดลอม ถาอดนอน 4 วัน รางกายจะไมผลิตสารที่สรางพลังงานแกเซล ซึ่งเปนตัวเรงปฏิกิริยาเคมีทําใหมีการปลอยพลังงานออกมาเปนเหตุใหรางกายออนเพลียตอมาจะเกิดอาการสับสน ประสาทหลอน และปรากฏอาการทางจิตขึ้น (Hayter 1980 quote in Murray and Zentner, 1985:412) ผูที่ไดรับการพักผอนไมเพียงพอหรือนอนหลับไมเพียงพอไมสามารถควบคุมตนเองใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพได ถาตองทํางานที่ตองระมัดระวังอันตราย เชน งานในโรงงานอุตสาหกรรม จะมีผลใหรางกายไดรับอุบัติเหตุ เชน เครื่องจักรตัดนิ้วมือ หรืออุบัติเหตุอื่นๆได

3.5 พฤติกรรมทางเพศ การตอบสนองความตองการทางเพศเปนความตองการพื้นฐานของมนุษยที่มีผลกระทบตอสุขภาพได ถาบุคคลนั้นมีพฤติกรรทางเพศที่ไมถูกตองเชนสําสอนทางเพศ พฤติกรรมรักรวมเพศหรือมีพฤติกรรมทางเพศแบบวิตถาร ซึ่งมีผลกระทบตอสุขภาพทั้งจากโรคติดเชื้อ เชน กามโรค โรคเอดส หรือรางกายไดรับบาดเจ็บจากการรวมเพศ แบบวิตถารหรือรุนแรงถึงขนาดสูญเสียชีวิตจากการฆาตกรรม เพราะความรักและความหึงหวงได

3.6 พฤติกรรมอื่นๆ ไดแกพฤติกรรมที่ไมใชการปฏิบัติในกิจวัตรประจําวันของบุคคลทั่วๆไป แตอาจเปนพฤติกรรมที่ปฏิบัติเปนประจําในคนบางคน พฤติกรรมเหลานี้อาจแบงเปน 2 ประเภท คือ

3.6.1 พฤติกรรมสุขภาพ ไดแก พฤติกรรมที่คนทําแลวเชื่อวาทําใหตนมีสุขภาพดี พฤติกรรมที่เกี่ยวกับการใชทรัพยากรเพื่อดูแลสุขภาพและพฤติกรรมสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับระบบชุมชน และการดูแลสุขภาพสวนรวม ดังนี้คือ

1. พฤติกรรมที่เชื่อวาทําใหตนสุขภาพดีเปนพฤติกรรมที่บุคคลปฏิบัติ เพื่อสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค เชน การออกกําลังกาย การชั่งน้ําหนัก การตรวจเตานมดวยตนเอง

Page 39: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

30

การแสวงหายาอายุวัฒนะ มารับประทาน การแสวงหาสารตางๆ ที่เชื่อวาชวยชะลอความชรามาทาหรือมารับประทาน สารเหลานี้มีมากมายที่จําหนายในทองตลาด ซึ่งโฆษณาชวนเชื่อวาสามารถฝนกฎธรรมชาติคือความชราได สิ่งเหลานี้ถือเปนอาหารสุขภาพ ไดแก วิตามิน และเกลือแรเสริม วิตามินบีรวม นอกจากนี้มีไขมุกบด นมผึ้ง บีพอลเลน (Bee-Pollen) รวมทั้งการรับประทานวิตามินอีปริมาณสูง โดยเชื่อวาสามารถปองกันการทําลายเซลสจากกระบวนการเปอรออกซิ เดชัน (peroxidation) ได รวมทั้งการใชสเตอรอยด พวกไฮโดรคอรติโซน อีพิเดอมอล โกรท แฟคเตอร(hydrocortisone epidermal growth factor = EGF) และสารอื่นๆ ที่ไปกระตุนการสรางไซคลิก เอ เอม พี (Cyclic AMP) เรียกสารเหลานี้วา เคอราติโนไซท (keratino9cytes) ซึ่งกระตุนการสรางเซลลใหม และลดการสลายตัวของเซลลเกาโดยเฉพาะเซลลผิวหนัง รวมทั้งวิตามินแคลเซี่ยมและสารจากรกของมนุษย สารจําพวกแคโรทีน ซึ่งเชื่อวาสามารถปองกันไมใหรังสีเหนือมวง (ultraviolet) ทําลายเคอราติโนไซท จึงสามารถปองกันกระบวนการชราจากแสง (photo aging) ไดนอกจากนี้ยังเชื่อวา สารจําพวกโปรเคนไฮดรอกไซดสามารถชะลอความชราได ซึ่งสารเหลานี้สวนใหญยังไมสามารถพิสูจนไดอยางชัดเจนโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร (สิรินทิพย พิบูลยนิยม, 2533:29) พฤติกรรมที่กระทําเพื่อสุขภาพดีนั้นยังตองการการคนพบและแสวงหาอีกตอไป

2. พฤติกรรมเกี่ยวกับการใชทรัพยากรเพื่อดูแลสุขภาพ เปนพฤติกรรมที่บุคคลไปรับบริการจากสถานบริการสาธารณสุข หรือบริการทางการแพทยแผนโบราณ การเลือกใชบริการแบบใดขึ้นอยูกับความเชื่อ คานิยม เจตคติและการรับรูของบุคคลนั้น ซึ่งมี 2 แนวคิด คือ อาการเจ็บปวยตางกันเลือกใชบริการตางกัน และคนตางกลุมกันเลือกใชบริการตางกัน (เบญจา ยอดดําเนิน, จรรยา เศรษฐบุตร และกฤตยา อาชวนิจกุล 2523 : 47-49) พฤติกรรมเกี่ยวกับการใชทรัพยากรเพื่อการปองกันโรค ไดแก การไปรับภูมิคุมกัน การแสวงหาขอมูลเกี่ยวกับปญหาสุขภาพ เชน อาการแสดงของมะเร็งระยะแรก การรับฟลูโอไรด เพื่อรักษาสุขภาพฟน การตรวจสอบการไดยินและการมองเห็น การตรวจหามะเร็งปากมดลูก

3. พฤติกรรมสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับระบบชุมชนและการดูแลสุขภาพสวนรวมทั้งหมด ไดแก พฤติกรรมที่เปนการอุทิศตนเพื่อเขาไปมีสวนรวมในการดูแลสุขภาพของชุมชนเปนอาสาสมัครในโครงการสุขภาพ การสนับสนุนทางดานการเงินเพื่อองคกรสุขภาพ พฤติกรรมสวนนี้เปนที่ตองการของระบบการดูแลสุขภาพปจจุบัน คือ กลวิธีสาธารณสุขมูลฐานเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชน (ปรีชา ดีสวัสดิ์ , 231 : 152)

3.6.2 พฤติกรรมเสี่ยง คือ พฤติกรรมที่ปฏิบัติแลวทําใหเกิดผลเสียตอสุขภาพหรือเสี่ยงตอการเกิดอันตรายแกรางกาย เชน การสูบบุหรี่ การดื่มเหลา การกินยาบา การขับรถเร็วภาวะเสี่ยงตอสุขภาพของผูสูบบุหรี่พบวาทําใหปวยเปนโรคหัวใจ มะเร็งปอดสูงกวาบุคคลทั่วไปเพศหญิง

Page 40: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

31

ที่สูบบุหรี่ขณะรับประทานยาคุมกําเนิดจะยิ่งเสี่ยงตอโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองมากยิ่งขึ้น และถาต้ังครรภบุตรในครรภจะมีน้ําหนักตัวนอยภาวะเสี่ยงตอสุขภาพของผูที่ดื่มเหลา ผูที่ดื่มเหลามีโอกาสเสี่ยงตอการปวยเปนตับแข็งมากกวาบุคคลทั่วไป ผูที่ เปนโรคตับแข็งในปจจุบันมีสาเหตุมาจากดื่มเหลามากกวาสาเหตุอยางอื่น พฤติกรรมการดื่มเหลาที่เปนอันตรายตอตับมากคือ ดื่มสม่ําเสมอ และดื่มในภาวะที่รางกายขาดอาหารโปรตีน นอกจากนี้ เหลายังเปนอันตรายตอกลามเนื้อหัวใจอีกดวย การดื่มเหลามักจะกอใหเกิดกรณีวิวาทและทํารายรางกายซึ่งกันและกัน อุบัติเหตุการทํารายรางกายมักมีสาเหตุนํามาจากเหลา การดื่มเหลาแลวเมา ทําใหสูญเสียการควบคุมสติตนเองอาจประกอบพฤติกรรมอื่นๆ ที่เปนอันตรายตอสุขภาพตามมา เชน การขมขืนกระทําชําเรา การรวมประเวณีกับหญิงใหบริการ โดยขาดการปองกันโรคเอดสหรือกามโรค การดื่มเหลาขณะขับขี่รถยนตหรือจักรยานยนต ทําใหเกิดอุบัติเหตุไดงาย ซึ่งอันตรายที่เกิดขึ้นนอกจากจะเปนอันตรายตอสุขภาพของตนเองแลวยังทําใหเกิดอันตรายแกสุขภาพของบุคคลอื่นและเปนการสูญเสียทรัพยสินทั้งของสวนตัวและสวนรวมอีกดวย

1. การกินยาบา ยาบาหรือยาขยันมักจะนิยมในบุคคลที่ทํางานกลางคืนโดยเฉพาะผูขับรถบรรทุก เพื่อใหมีชั่วโมงการทํางานมากขึ้น ยาบาเปนยาที่มีสวนประกอบของแอมเฟตามิน (amphetamine) เมื่อรับประทานเขาไปจะทําใหรูสึกกระปรี้กระเปรา กระฉับกระเฉงสามารถทํางานตอไปไดทั้งๆ ที่สภาพจริงๆ ของรางการตองการพักผอน ผลของยาทําใหเกิดประสาทหลอน มองเห็นทางขางหนาเปนทางแยก จึงมักหักรถเลี้ยวจนทําใหเกิดอุบัติเหตุขึ้น ซึ่งอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นมักจะรุนแรง เปนอันตรายตอชีวิตของตนเอง และผูอื่น สูญเสียทั้งทรัพยสินสวนตัว ทรัพยสินผูอื่น และทรัพยสินสวนรวมไดบอยครั้ง

2. การขับรถเร็ว มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุสูง และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นมักจะรุนแรง การขับรถเร็วอาจจะเกิดจากความเรงรีบ หรือเปนพฤติกรรมคึกคะนองของวัยรุน ทั้ง 2 กรณี เปนการกระทําที่ตั้งอยูบนความประมาท ซึ่งเปนอันตรายและเสี่ยงตอสุขภาพสูง โดยเฉพาะกับผูที่ไมไดคาดเข็มขัดนิรภัย

ปจจัยภายนอกปจจัยที่มีผลกระทบตอสุขภาพที่สําคัญ นอกจากปจจัยภายในซึ่งเปนเรื่องของบุคคลแตละ

คนแลวปจจัยภายนอกนับวามีความสําคัญไมนอยในแงของผลกระทบตอสุขภาพ ปจจัยภายนอกอาจแบงออกได ดังตอไปนี้1. องคประกอบทางสังคม แตละสังคมประกอบดวยระบบยอยหรือสถาบันสังคมที่

สําคัญ 6 ระบบ คือ ระบบครอบครัวและเครือญาติ ระบบการศึกษา ระบบการสาธารณสุข ระบบ

Page 41: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

32

เศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ ระบบการเมืองและการปกครอง ระบบความเชื่อ หรือสถาบันศาสนา สุขภาพของบุคคลในสังคมจะไดรับอิทธิพลจากระบบตางๆ เหลานี้ แตละระบบจะกระทบตอสุขภาพมากหรือนอยขึ้นอยูกับ ปทัสถาน (norm) ของสังคมนั้นๆ ประกอบดวย

1.1 ระบบครอบครัวและเครือญาติ สังคมไทยเปนสังคมแบบระบบเครือญาติ คือเครือขายทางสังคมมักจะเกี่ยวของสัมพันธกันในหมูญาติ ญาติผูใหญเปนผูที่มีอิทธิพลตอความเชื่อ และพฤติกรรมของบุคคลในครอบครัว ระบบเครือญาตินี้ถือวาการเจ็บปวยของบุคคลใดบุคคลหนึ่งไมใชเรื่องเฉพาะตัวของผูนั้น หากแตเปนเรื่องของครอบครัว ญาติพี่นอง และสังคมที่จะมีสวนชวยเหลือและรับผิดชอบ เมื่อบุคคลในครอบครัวปวย การจะไปรับการรักษาที่ใด และการปฏิบัติตัวขณะปวยจะตองทําอยางไรขึ้นอยูกับญาติผูใหญวาจะตัดสินใจอยางไรแมวาการตัดสินใจนั้นตนจะไมเห็นดวย แตก็จะตองปฏิบัติตาม ซึ่งมีผลดีในแงของจิตใจของผูปวยที่ทุกคนใหความสําคัญตอการเจ็บปวยของตน และคอยใหกําลังใจ ทําใหผูปวยมีกําลังใจในการรักษาและหายปวยเร็วขึ้น แตถาพฤติกรรมที่ตองปฏิบัตินั้นเปนการขัดตอสุขภาพก็จะทําใหเกิดผลเสียขึ้น

1.2 ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาที่จัดใหแกบุคคลในสังคมจะมีผลตอสุขภาพของบุคคลในสังคมเชนเดียวกัน การศึกษาที่ใหความสําคัญของการดูแลสุขภาพจะชวยใหเยาวชนมีพฤติกรรมเกี่ยวกับสุขภาพตางๆ อยางถูกตอง เชน การรับประทานอาหาร การออกกําลังกาย การปองกันอุบัติเหตุ พฤติกรรมเหลานี้จะติดตัวเปนลักษณะนิสัยที่กอใหเกิดผลดีตอสุขภาพเมื่อเขาสูวัยผูใหญและผูสูงอายุตอไป และเมื่อออกจากระบบโรงเรียนการศึกษานอกระบบก็จะมีผลตอพฤติกรรมของประชาขน เปนการใหขอมูลขางสารเกี่ยวกับสุขภาพใหคําแนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตน การดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บปวย สิ่งเหลานี้จะกอใหเกิดผลดีแกสุขภาพ แตถาระบบการศึกษาไมไดใหความสําคัญตอสุขภาพก็จะเกิดผลเสียแกสุขภาพได นอกจากนี้ ระดับการศึกษาของแตละคนยังเปนตัวกําหนดมาตรฐานการดํารงชีวิตอีกดวย

1.3 ระบบสาธารณสุข ระบบสาธารณสุขไทยมีทั้งระบบบริการโดยรัฐและบริการโดยเอกชนปจจุบันรัฐไดพยายามกระจายบริการสาธารณสุขใหครอบคลุมประชากรทั่วประเทศ โดยคัดเลือกผูสื่อขาวสาธารณสุข และอาสาสมัครสาธารณสุข เขามาชวยปฏิบัติงานในชุมชนของตนเอง เปนรูปแบบที่พยายามสนับสนุนและชวยใหประชาชนชวยเหลือตนเองและเพื่อนบานเกี่ยวกับการดูแลรักษาโรคหรือการเจ็บปวยที่จําเปน การรูจักระวังปองกันโรคติดตอที่สําคัญ โดยเชื่อวาระบบดังกลาวจะชวยใหสุขภาพอนามัยของประชาขนดีขึ้นกวานโยบายแบบเดิมที่รัฐใหบริการโดยใหความสําคัญกับการรักษาเมื่อเจ็บปวยมากกวาการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค

1.4 ระบบเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ ระบบเศรษฐกิจของไทยเปนแบบทุนนิยมและกําลังเปลี่ยนแปลงจากระบบเกษตรกรรมเปนระบบอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงดังกลาวมี

Page 42: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

33

ผลกระทบตอสุขภาพอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงลักษณะประชากร คือการยายถิ่น และการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ไดแก การประกอบอาชีพ สภาพความเปนอยู และวิถีชีวิต กอใหเกิดอันตรายแกสุขภาพทั้งทางกายและทางจิต โดยเฉพาะระบบงานกะ และลวงเวลา ทําใหตองปรับตัวอยางมาก ประกอบกับตองทํางานในสภาพแวดลอมที่เสี่ยงตอสุขภาพ เชน เสียงดังจากเครื่องจักร ฝุนที่เกิดจากกระบวนการผลิต ความรอนที่เกิดจากการทํางานของเครื่องจักรตางๆ เปนตน รวมทั้งลักษณะงานที่ซ้ําซาก ทาทางการทํางานที่ผิดธรรมชาติ และอันตรายที่เกิดจาก เครื่องจักร สิ่งเหลานี้ลวนมีผลตอการเจ็บปวย และสุขภาพอนามัยระยะยาวแกคนงานทั้งสิ้น ซึ่งจากการศึกษาเกี่ยวกับภาวะสุขภาพพบวา ยิ่งทํางานนานขึ้น คือนานเกิน 10 ปขึ้นไป คนงานก็ยิ่งสุขภาพแยลง (กุศล สุนทรธาดา และสุรียพร พันพึ่ง,2533:249) ระบบอุตสาหกรรมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ดังนี้

1.4.1 สภาพความเปนอยู อาจจะอยูในสิ่งแวดลอมที่ไมเหมาะสมกับสุขภาพเชนอาศัยอยูในชุมชนแออัด หรือไมมีที่อยูอาศัยที่แนนอน ภาวะแวดลอมในสังคมอุตสาหกรรม จะมีสิ่งแวดลอมที่เปนพิษมากขึ้น

1.4.2 วิถีชีวิตตองเปลี่ยนแปลงไปมีการใชเทคโนโลยีตางๆ เพื่ออํานวยความสะดวกและเปนการประหยัดเวลามากขึ้น สิ่งเหลานี้ดูเหมือนจะเปนผลดีตอสุขภาพ แตจริงๆ แลวกลับทําใหรางกายมีสมรรถภาพในการทํางานลดลง เพราะเครื่องอํานวยความสะดวกตางๆ ทําใหรางกายมีการใชกําลังงานลดลงทําใหหัวใจ ปอด หลอดเลือด กระดูกและกลามเนื้อ ไมมีความแข็งแรงพอ สิ่งเหลานี้ทําใหภาวะสุขภาพเปลี่ยนแปลงไประบบเศรษฐกิจมีความสําคัญตอสุขภาพมาก ความพรอมในการปฏิบัติตามคําแนะนําเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การดูแลสุขภาพจะแตกตางกันไประหวางกลุมที่มีรายไดสูงกับกลุมที่มีรายไดต่ํา ผูที่มีฐานะยากจน มักจะไมคอยใหความสําคัญกับการปองกันโรค โดยจะไมยอมเสียเวลาไปกับกิจกรรมเหลานั้นแตจะใหความสําคัญของการประกอบอาชีพและรายไดมากกวา จึงมีผลกระทบตอสุขภาพในลักษณะวงจรแหงความชั่วราย คือ จน-เจ็บ-โง อยูตอไป

1.5 ระบบการเมืองและการปกครอง เปนระบบที่ใหอิสระแกประชาชนที่จะกําหนดภาวะสุขภาพของตนเอง โดยรัฐใหการสนับสนุนและใหความชวยเหลือทางดานตางๆ เพื่อความมีสุขภาพดี แตเนื่องจากปญหาสุขภาพเปนสิ่งที่ประชาชนจะตองปฏิบัติดวยตนเองจึงจะแกปญหาได ปจจุบันรัฐจึงใหความสําคัญเกี่ยวกับการเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนใหเปนไปในทางที่ถูกตองเพื่อใหประชาชนเปนทรัพยากรบุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรง พรอมที่จะปฏิบัติภารกิจตางๆ ได ในทางตรงกันขามถาระบบการเมืองและการปกครองมุงแสวงหาอํานาจหรือมุงจะพัฒนาทางดานเศรษฐกิจอยางเดียวโดยไมคํานึงถึงคุณภาพของประชาชนยอมจะมีผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนอยางแนนอน ระบบการเมืองและการปกครองจึงมีผลกระทบตอสุขภาพ

Page 43: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

34

1.6 ระบบความเชื่อหรือสถาบันศาสนา ระบบความเชื่อเปนวัฒนธรรมที่ถายทอดผานระบบครอบครัวและสังคม การปฏิบัติตามความเชื่อและคานิยม ทําใหคนรูสึกปลอดภัยในการดํารงชีวิต ความเชื่อจึงเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงคอนขางยาก การทาทายตอความเชื่อและคานิยมเกาของคนยุคใหมอาจกอใหเกิดความขัดแยง ไมมั่นคง ไมแนใจ คนสวนใหญจึงหลีกเลี่ยงที่จะตองเผชิญกับความขัดแยงนี้ ระบบความเชื่อมีอิทธิพลตอสุขภาพของประชาชนในสังคมนั้น เปนอยางมาก เพราะความเชื่อเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของบุคคล กิจกรรมทางศาสนาบางอยาง อาจมีผลกระทบตอสุขภาพได เชน การรับประทานอาหารมื้อเดียว การงดอาหารบางประเภท การนั่งทาเดียวเปนเวลานานๆ สถาบันศาสนามีอิทธิพลตอสุขภาพจิตของคนไทยมากโดยเฉพาะผูสูงอายุ เปนสวนหนึ่งที่ทําใหผูสูงอายุไทยมีสุขภาพจิตที่ดี และปรับตัวเขากับวัยสูงอายุไดดี โดยมีสถาบันศาสนาเปนที่ยึดเหนี่ยวทางใจ

2. องคประกอบทางสิ่งแวดลอม มนุษยมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับสิ่งแวดลอม ปจจัยอะไรก็ตามที่ทําใหสิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป จะกระทบตอชีวิตและความเปนอยูของมนุษยดวยองคประกอบที่สําคัญของสิ่งแวดลอม ไดแก

2.1 สภาพทางภูมิศาสตร ลักษณะภูมิศาสตรที่แตกตางกัน ทําใหเกิดฤดูกาลแตกตางกันและอุณหภูมิของแตละพื้นที่แตกตางกัน ซึ่งมีผลกระทบตอสุขภาพของบุคคลโดยตรง สภาพภูมิศาสตรบางแหงเอื้ออํานวยใหสิ่งมีชีวิตบางอยางเจริญเติบโตไดดี เชน ประเทศไทย ซึ่งอยูบริเวณแถบศูนยสูตร มีโรคเวชศาสตรเขตรอนนานาชนิดเกิดขึ้นกับประชาชน โรคเหลานี้ ไดแก โรคพยาธิตางๆ ไขมาลาเรีย ซึ่งประเทศในเขตหนาวจะไมประสบกับปญหาสุขภาพเหลานี้ นอกจากนี้สภาพภูมิศาสตร ยังกอใหเกิดภัยธรรมชาติตางๆ เชน น้ําทวม แผนดินไหว พายุ ทําใหเกิดบาดเจ็บและตายเปนจํานวนมาก การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลทําใหบุคคลตองปรับตัวตอสภาพแวดลอมในแตละฤดูกาล ทําใหคนบางคนเกิดการเจ็บปวยขึ้น เชน ในฤดูฝนประชาชนจะปวยเปนไขหวัดกันมาก ในฤดูหนาวมักปวยเปนโรคภูมิแพกันมาก สวนฤดูรอนทําใหไดรับอันตรายจากการถูกสัตวมีพิษกัด ตอยหรืออุบัติเหตุจากการจมน้ํา

2.2สภาพที่อยูอาศัย ที่อยูอาศัยหรือบานเปนสิ่งแวดลอมที่อยูใกลตัวคนมากที่สุด ลักษณะบานที่ชวยสงเสริมสุขภาพ คือมีการระบายอากาศไดดี อยูหางไกลจากแหลงอุตสาหกรรม ไมมีเสียงรบกวน มีการกําจัดขยะที่ถูกวิธี มีทอระบายน้ําและมีการระบายน้ํา ไมมีน้ําทวมขัง มีสวมที่ถูกสุขลักษณะ มีน้ําดื่ม น้ําใชที่สะอาด มีความปลอดภัยจากโจรผูรายและอาชญากรรม ใชวัสดุกอสรางที่มีความคงทนถาวร ภายในบานไดรับการจัดวางสิ่งของเครื่องชางๆ อยางเปนระเบียบปลอดภัยจากการเกิดอุบัติเหตุ ไดรับการดูแลรักษาความสะอาดเปนอยางดี มีสถานที่สําหรับอํานวยความสะดวกในการทํากิจกรรมตางๆ และมีความเปนสวนตัว สภาพบานที่ไมถูกสุขลักษณะจะ

Page 44: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

35

กอใหเกิดปญหาสุขาภาพแกผูอาศัยทั้งในดานการเจ็บปวยดวยโรคติดเชื้อตางๆ และอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นไดจากความประมาท เชน ไฟไหม น้ํารอนลวก การพลัดตก หกลอม เปนตน

2.3 สภาพสิ่งแวดลอมอื่นๆ ผลกระทบตอสุขภาพอันเกิดจากมลพิษทางสิ่งแวดลอม ทั้งทางน้ํา ทางเสียง ทางอากาศ และทางดิน ทําใหเกิดโรคหรืออันตรายแกชีวิตได เชนน้ําที่ถูกปนเปอนดวยเชื้อโรคหรือสารพิษทําใหผูบริโภคเปนโรคของระบบทางเดินอาหาร เชน บิด ไทฟอยด หรือไดรับสารพิษโดยตรง การไดยินเสียงที่ดังมากๆ นานๆ ทําใหประสาทหูเสื่อม ความสามารถในการไดยินลดลง การสูดอากาศหายใจที่มีแกสพิษ หรือสารพา ทําใหเปนโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและเกิดการระคายเคืองของระบบหายใจ โดยเฉพาะสารตะกั่วที่อยูในบรรยากาศจากการเผาไหมน้ํามันเชื้อเพลิง ทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพหลายประการ เชน โลหิตจางระบบประสาทถูกทําลาย เปนตน การรับประทานอาหารซึ่งปลูกในดินที่มีสารพา รางกายก็จะเกิดโรคจากสารพิษเหลานั้น ดินที่มีพยาธิ เชน พยาธิปากขอ จะติดตอมาสูคนคนที่ เหยียบย่ําไปบนดินโดยไมสวมรองเทาได

สรุปเปนสิ่งมีชีวิตที่เปนระบบเปด การมีสุขภาพดีจะตองอาศัยปจจัยหลายอยางประกอบกัน การ

เขาใจเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลกระทบตอสุขภาพ จะชวยใหคนรูจักปรับปรุงใหตนเองมีสุขภาพที่ดีที่สุด โดยหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยงตางๆ และมีสวนรวมในการดูแลและปรับปรุงสิ่งแวดลอมใหเหมาะสมกับการดํารงชีวิตเพื่อการมีสุขภาพดีตลอดไป

5.แนวคิดเกี่ยวกับการรับรู (Perception)การรับรู ถือวาเปนกระบวนการจิตวิทยาพื้นฐานของบุคคล เพราะถาปราศจากซึ่งการรับรู

แลวบุคคลจะไมสามารถมี ความจํา ความคิด หรือการเรียนรู การรับรูเกี่ยวกับเหตุการณตางๆ เปนขั้นเปนตอนดังน้ี บุคคลรับพลังงานจากสิ่งเราซึ่งจะเราประสาทสัมผัสจะเขารหัสพลังงานนั้นผานมาทางเสนประสาท และเสนประสาทจะสงขอมูลตอไป ยังสมอง ซึ่งขั้นสุดทายของกระบวนการจะเปนการรับรูเกี่ยวกับสิ่งเรานั้นๆ ในกระบวนการนี้ความใสใจ (Attention) ของบุคคลจะแสดงถึงความรูสึกสํานึกถึงที่พุงไปที่สิ่งของที่เปนสิ่งเราประสาทสัมผัส และการรับรูจะแสดงถึงลักษณะของสิ่งของในรูปราง เสียง ความรู รส และกลิ่น (ประภา สุวรรณและสวิง สุวรรณ, 2532:29)

5.1 ความหมายของการรับรูสุปราณี สนธิรัตน (2529:164) ไดใหความหมายของการรับรูไววา การรับรู หมายถึง การที่

บุคคลสําเนียกและมีปฏิกิริยาตอสิ่งเรา โดยปกติเรารับรู โดยผานระบบรับสัมผัส ซึ่งไดแก ระบบรี

Page 45: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

36

เซ็บเตอรใน ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง และกลามเนื้อ ขาวสารที่ระบบรับสัมผัสจากสิ่งแวดลอมจะถูกสงตอไปยังสมอง เพื่อใหเกิดความรูสึกเปน การไดเห็น การไดกลิ่น การไดรส ความรูสึกรอน หนาว เจ็บปวด พฤติกรรมความรูสึกเปนการตอบสนองขั้นแรกสุดของเราตอการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม สมองจะตีความสิ่งที่รูสึกตอไปอีกขึ้นหนึ่งเปนการรับรู วาสิ่งที่เห็น ไดยิน หรือรูสึกนั้นคืออะไร

ไพบูลย เทวรักษ (2532:58) ไดใหความหมายของการรับรูไววา การรับรู หมายถึง กระบวนการตีความสิ่งเราจากการรับสัมผัสของอวัยวะสัมผัสตางๆ ทั้งนี้ตองอาศัยประสบการณเดิมหรือการเรียนรูและการคิด

กันยา สุวรรณแสง (อางถึงในบัณฑิต เผาวัฒนา, 2548:หนา7) ไดใหความหมายของการรับรู ไววา การรับรู หมายถึงกระบวนการที่เกิดภายในตัวของแตละบุคคล และการรับรูเกิดขึ้นกับสิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัว โดยการสัมผัส การไดเห็น การไดยิน การรูสึก การไดกลิ่น การสัมผัสซึ่งสิ่งเราเหลานี้จะผานทางประสาทสัมผัสและแปลออกมาโดยการอาศัยประการณเดิม

อรพิน อนันตริยกุล (2544:19) ไดกลาวถึง การรับรูไววา การรับรู หมายถึง กระบวนการดานความคิดและจิตใจของบุคคลที่สมองจะตองแปลความหมายจากสิ่งเราที่มาสัมผัสกับบุคคลและแสดงออกอยางมีจุดหมาย โดยอาศัยความรูเดิมและประสบการณเดิมเปนองคประกอบทําใหการรับรูมีอิทธิพลตอพฤติกรรม โดยบุคคลจะเขาใจสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยางเหตุผลหรือไมมีเหตุผลหรือเปนไปในทางบวกหรือลบก็ได ซึ่งจะมีผลทําใหบุคคลมีแนวโนมที่จะปฏิบัติตามแนวคิดหรือการรับรูนั้นๆ

ณัฐศรุต นนทธี (อางถึงใน เปรมมิกา ปลาสุวรรณ, 2549 :หนา8) กลาววาความหมายของการรับรู หมายถึง การแสดงออกถึงความรู ความเห็นซึ่งเกิดขึ้นจากการตีความ การสัมผัสระหวางอวัยวะตางๆ ของรางกายกับสิ่งแวดลอมซึ่งเปนสิ่งเรา โดยมีการใชประสบการณเดิมชวยในการใหความหมายแหงการสัมผัสนั้นๆ

กมลวัฒน ยะสารวรรณ (2547) การรับรู หมายถึง กระบวนการแปรความหมายตอสิ่งเราที่มากระทบประสาทสัมผัสของเราและแปลความหมายอยางไรนั้นขึ้นอยูกับประสบการณในอดีตของแตละบุคคล

ปจจัยที่มีผลตอการรับรูเทพพนม เมืองแมน และสวิง สุวรรณ (อางถึงใน กมลวัฒน ยะสารวรรณ, 2547:หนา 7)

กลาววาสิ่งที่มีผลตอการรับรูของบุคคล ไดแก ประสบการณเดิม สถานการณ ความตองการและหนาที่รับผิดชอบของบุคคล

Page 46: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

37

ดังนั้นสามารถกลาวไดวา การรับรูถือวาเปนกระบวนการแปลความหมายจากการสัมผัสการรับรูของแตละบุคคลนั้นแตกตางกันตองอาศัยปจจัยหลายอยาง และปจจัยที่สําคัญ คือ ความสนใจตอสิ่งเราซึ่งมีผลตอการเลือกรับรู นอกจากนี้การจะรับรูไดดีมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับสิ่งที่มีอิทธิพลตอการรับรูของบุคคล เชน อวัยวะสัมผัส และประสบการณที่ผานมา

5.2 กระบวนการของการรับรู (Perception Process)ศิริโสภาคย บูรพาเดชะ (2529:93-97) กลาววา กระบวนการของการรับรูตองประกอบดวย

อาการสัมผัส หมายถึง อาการที่อวัยวะสัมผัสตางๆ เชน หู ตา ลิ้น จมูก ไดรับสิ่งเราอันไดแก เหตุการณ หรือวัตถุของสิ่งใดๆ และโดยปกติคนเราเม่ือไดสัมผัสก็จะแปลความหมายของการสัมผัสตามประสบการณ

การแปลความหมายของอาการสัมผัส เมื่ออวัยวะรับสัมผัส อินทรียก็จะทําการแปลความหมายของสิ่งเรา ซึ่งการจะรับรูและแปลความหมายไดถูกตองน้ันตองอาศัยปจจัย 2 ประการคือ

1. ปจจัยทางดานสรีระ (Physiological Factor) ไดแก- ขนาดของสิ่งเรา คือ สิ่งเราตางๆ ที่มาเราอวัยวะสัมผัส จะตองมีพลังอยางนอยที่สุด

พอที่จะทําใหอวัยวะรับสัมผัสเกิดความรูสึกได- ความเหนื่อยลา คือ ความเหนื่อยลาที่เกิดขึ้นไดทั้งทางกายและทางใจ ซึ่งจะสงผลให

การทํางานของรางกายและเซลลประสาททํางานชาลงทําใหการรับรูของบุคคลเกิดความผิดพลาด- อายุ คือ คนที่มีอายุมากขึ้น อวัยวะรับสัมผัสและระบบประสาทจะลดลง

2. ปจจัยทางดานจิตวิทยา ไดแก- ความตั้งใจ คือ ความตั้งใจเปนการเตรียมความพรอมของมนุษยเพื่อรับสัมผัสใหได

ชัดเจน เปนสิ่งที่มนุษยเลือกตอบสนองแกสิ่งเราบางชนิด ทั้งๆที่อาจมีสิ่งเราหลายชนิดเกิดขนในขณะนั้น

- สติปญญา เปนปจจัยที่ชวยในการรับรูของบุคคล เพราะสามารถเขาใจสิ่งตางๆ เหตุการณตางๆ สถานการณตางๆ ไดอยางรวดเร็ว ผูที่มีสติปญญาเฉลียวฉลาดจะไดเปรียบในเรื่องการรับรูไดแมนยําและเร็วกวาผูที่มีสติปญญาดอย คุณภาพชีวิตถาจิตใจของเราเหนื่อยหนายไมแจมใสยอมจะมีผลกระทบกระเทือนตอความคิดความเขาใน

- บุคลิกภาพ บุคคลที่มีบุคลิกภาพที่แตกตางจะมีการรับรูตอสิ่งเราไมเหมือนกัน เชน ผูที่มีบุคลิกภาพเปดเผยชอบสังคมกับผูที่มีบุคลิกภาพเก็บตัวจะรับรูสิ่งใดสิ่งหนึ่งในทางตรงกันขามกันเสมอ

3. ประสบการณหรือความรูเดิม

Page 47: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

38

อรพินท อนันตริยกุล (2544:20) กลาววา การรับรูเปนสิ่งที่ทําใหปจเจกบุคคลมีความแตกตาง ไมมีบุคคลใดที่จะมีการรับรูที่เหมือนกับบุคคลอื่นทุกประการเพราะเมื่อบุคคลไดรับสิ่งเราหรือสิ่งรับรูก็จะประมวลสิ่งรับรูนั้นเปนประสบการณที่มีความหมายเฉพาะของตนและมีพฤติกรรมการแสดงออกตามคุณคาที่ตนเปนผูใหกําเนิดและการตัดสินใจ กลาวคือการใสใจของบุคคลจะเปนพื้นฐานในการนําขอมูลตางๆ จากสิ่งเราเขาสูกระบวนการรับรูโดยผานประสาทสัมผัส และอวัยวะรับสัมผัส อันไดแก หู ตา จมูก ลิ้น และ ผิวกาย โดยอาศัยความรูและประสบการณเดิมในการแปลความรูสัมผัส เชน เห็นเปนภาพ ไดยินเสียง รูกลิ่น รูรส หรือรูสึกถึงความออนนุม ความกระดาง แตถาไมเคยเรียนรู หรือไมเคยมีประสบการณมากอนบางก็จะบอกไมไดวาสิ่งที่รับสัมผัสนั้นคืออะไร ซึ่งทางจิตวิทยาไมถือเปนการรับรู (กันยา สุวรรณ, 2532:130) เมื่อขอมูลตางๆ ถูกยอมเขาสูระบบความคิดแลวบุคคลจะเลือกจัดระบบขอมูลและทําใหอยูในรูปที่งายตอการรับรูมากขึ้น โดยตัดสิ่งที่เปนรายละเอียดซับซอนและสับสนทิ้งไปและขั้นตอนสุดทายของกระบวนการรับรูมากขึ้นโดยตัดสิ่งที่เปนรายละเอียดซับซอนและสับสนทิ้งไปและขั้นตอนสุดทายของกระบวนการรับรูเปนการที่บุคคลทําความเขาใจหรือแปลความหมายของขอมูลนั้นๆ ซึ่งจะทําใหบุคคลตัดสินใจและผลของการแสดงออกก็จะเปนขอมูลปอนกลับสูกระบวนการรับรูอีกครั้งเปนวงจรตอเนื่องกันไป (อรพินท อนันตริยกุล, 2544:20)

5.3 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการรับรูของบุคคลเนื่องจากการรับรูมีผลตอพฤติกรรมของบุคคลนั้นเปนอยางมาก บุคคลมีการรับรูที่แตกตางกันบางครั้งรับรูสิ่งเราเดียวกันแตตีความหมายตางกันมีผลตอพฤติกรรมที่แตกตางกันไปดวยแตบางครั้งรับรูสิ่งเราตางกันแตอาจมีพฤติกรรมเหมือนกันได ดังนั้นเพื่อใหสามารถทําความเขาใจถึงการรับรูของบุคคลอันนําไปสูการทําความเขาใจและแนวโนมของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอยางถูกตองจึงควรทําความเขาใจถึงปจจัยตางๆ ที่มีตอการรับรูของบุคคลซึ่งสามารถแบงได 2 ปจจัยหลัก คือ (สุรางค มันยานนท 2544:283-285)

5.3.1 คุณลักษณะของผูรับรู การรับรูครั้งหนึ่งๆ ที่มีประสิทธิภาพขึ้นอยูกับลักษณะของผูรับรูเปนสําคัญดวยประการหนึ่งคุณลักษณะของผูรับรูที่สําคัญมีดังนี้

5.3.1.1 ความสมบูรณดานกายภาพ อันไดแก อวัยวะสัมผัส ระบบประสาทสัมผัสและสมองเพราะอวัยวะรับสัมผัสนั้นเปนดานแรกของการรับสิ่งเรา ถาเสื่อมคุณภาพไป เชน หูหนวก ตาบอด ตาบอดสี สายตายาว สายตาสั้น สายตาเอียง ระบบประสาททั้งหลายชํารุด สมองบางสวนชํารุด ทุกกรณีดังกลาวขางตนลวนมีผลตอกระบวนการรับรูทั้งสิ้น การทําความเขาใจปจจัยสมบูรณของอวัยวะทั้งหมดที่เกี่ยวกับการรับรู จะทําใหเขาใจถึงลักษณะการรับรูและการสงเสริม

5.3.1.2 ลักษณะดานจิตวิทยาของผูรับรู กระบวนการรับรูเปนเรื่องที่มีความซับซอนพอสมควรซึ่งไมใชเรื่องสรีระวิทยาที่จะรับสัมผัสเปนลักษณะนั้นๆ เทานั้นแตยังครอบคลุม

Page 48: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

39

ไปถึงการเลือกการรับรูที่แตกตางกันการแปลความหมายออกมาเปนสิ่งที่มีความหมายสําหรับบุคคลนั้นมีความแตกตางกันอีกดวย ดังนั้นการรับรูจะมีความหมายเพียงใดนั้นยอมตองอาศัยปจจัยดานจิตวิทยาหลายอยางที่สําคัญคือ

- ความตองการ ความตองการเดิมของบุคคลจะทําใหเกิดความตั้งใจที่จะรับรู เชน บุคคลทีรอรถประจําทางของตนก็จะสนใจแตเฉพาะรถสีนั้น

- ประสบการณเดิม บุคคลที่ประสบการณเดิมมากนอยแตกตางกัน มีผลทําใหการตีความสิ่งตางๆ แตกตางกันดวย เชน บางคนคลุกคลีกับสุนัขมาตั้งแตเด็กเมื่อมาพบสุนัขก็รูสึกวาสุนัขเปนสัตวนารัก ซื่อสัตย ตรงขามกับบุคคลที่สัมผัสแตความดุรายของสุนัขมาตลอดเมื่อพบสุนัขก็จะตีความวาเปนสัตวที่นากลัว ดุราย เปนอันตรายตอบุคคล เปนตน

- สภาพจิตใจหรือสภาวะของอารมณ สภาพจิตใจของบุคคล เชน ความทุกข ความสุข ความเศรา ยอมมีผลตอการรับรูและการตีความ คนที่ความทุกข ความเศรา บางครั้งอาจตีความหมายไปในทางลบได เชน คนยิ้มใหอาจมองเห็นวาเปนการเยาะเยย ตรงขามกับคนที่มีความสุขแมบุคคลอื่นแสดงพฤติกรรมใดๆ มักจะตีความไปดานดีเสมอ เปนตน นอกจากนั้นความเครียดจากความทุกข ไมสบายใจยังกอใหเกิดความไมพรอมในการรับรู หมายถึง ไมใสใจที่จะรับรูสิ่งแวดลอมใดๆ เชน ผูบริหารที่กําลังมีปญหาก็จะครุนคิดและรับรูเฉพาะเรื่องนั้นๆ จนไมคิดจะรับรูสิ่งอื่นๆ

- ทัศนคติ หมายถึง ความรูสึกที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งวาไมดี ซึ่งมีผลตอการรับรูครั้งใหมเปนอยางมาก เชน คนที่มีทัศนคติที่ดีตอกันก็จะตีความหมายของการกระทําของอีกฝายหนึ่งไปในทางดีเสมอ ตรงขามถาบุคคลที่มีทัศนคติที่ไมดีตอกันก็มักจะแปลความพฤติกรรมไปในทางลบเสมอ ลักษณะเชนนี้จะทําใหการแปลความหมายผิดพลาดเพราะจะใชความรูสึกเดิมของตนเปนตัวตัดสิน

- ความตั้งใจ เนื่องจากสิ่งเราของบุคคลนั้นมีอยูมากมายความตั้งใจจะทําใหเกิดการเลือกรับรูอยางเฉพาะเจาะใจ โดยรับรูไดถึงรายละเอียดของสิ่งเรา ทําใหการรับรูครั้งนั้นมีโอกาสเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

- อิทธิพลสังคมหรือวัฒนธรรม สภาพความเปนอยูของสังคมและลักษณะของวัฒนธรรม ปทัศถาน เปนกรอบของการอางอิง จารีต ประเพณี คานิยม เปนเครื่องกําหนดการรับรูของบุคคลทําใหคนแตละกลุมรับรูสิ่งตางๆ แตกตางกันออกไป

- ความรูสึกสบายใจ สนุกสนาน บุคคลมีแนวโนมที่จะเลือกรับรูสิ่งเราที่กอใหเกิดความสุขสบายใจมากกวาสิ่งเราที่ทําใหเกิดความทุกขใจ เชน มักชอบพูดคุยกับคนที่คุยแลวทําใหสบายใจมากกวา

Page 49: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

40

- คานิยมและความสนใจ เมื่อบุคคลที่มีคานิยมที่มีผลตอสิ่งใดก็มักจะทําใหเกิดความสนใจและความตั้งใจ ซึ่งจะทําใหเกิดความมุงมั่นและใสใจที่จะรับรูสิ่งเรานั้นมากกวาสิ่งเราอื่น

- แรงจูงใจ เมื่อบุคคลเกิดแรงจูงใจจะทําใหเกิดความตองการเมื่อเกิดความตองการการกระทําสิ่งใดจะทําใหเกิดแรงกระตุนใหเกิดการรับรูสิ่งนั้นๆ ไดดี

- แรงกระตุนจากสังคม ตามปกติบางครั้งเราไมคิดที่จะสนใจรับรูสิ่งเราบางอยาง แตเมือเกิดภาระจากสังคมขณะนั้นจะทําใหเกิดความสนใจรับรูมากขึ้น

- เชาวปญญา คนที่มีสติระดับปญญาจะรับรูและตีความหมายไดอยางมีเหตุผลมากกวาคนที่มีระดับสติปญญาต่ํา

- ความพรอมหรือการเตรียมความพรอมที่จะรับรูและการคาดหวังลวงหนาเมื่อบุคคลเตรียมการที่จะรับรูสิ่งใดสิ่งหนึ่งก็จะมีโอกาสที่จะพยายามรับรูใหเปนไปตามสิ่งที่เตรียมการไวนั้น

5.3.1.3 คุณลักษณะของสิ่งเราบางครั้งการรับรูของบุคคลเกิดขึ้นไดจากคุณสมบัติของสิ่งเราที่มีลักษณะดึงดูดใจจูงใจใหเกิดการรับรู คุณลักษณะของสิ่งเราที่นาสนใจมีลักษณะดังนี้

- การเปลี่ยนแปลงของสิ่งเรา บางครั้งความปกติธรรมดาหรือความคงที่ของสิ่งเราทําใหไมสนใจที่จะรับรูแตสิ่งนั้นมีการเปลี่ยนแปลงหรือผิดไปจากปกติจะทําใหเกิดความสนใจที่รับรูแตถาสิ่งเรานั้นมีการเปลี่ยนแปลงหรือผิดไปจากปกติจะทําใหเกิดความสนใจที่รับรู

- ความแตกตางของสิ่งเรา สิ่งเราที่มีความแปลกหรือแตกตางจากลุมจะสามารถดึงดูดใหเกิดการรับรูไดดี

- การเกิดซ้ําๆ กันของสิ่งเรา การที่มีสิ่งเราเกิดขึ้นซ้ําๆ กันสามารถเกิดการรับรูไดดี เชน การโฆษณาในทีวี ซึ่งเราจําไดโดยไมตั้งใจที่จะจํา เปนตน

- ขนาดหรือความเขมของสิ่งเรา สิ่งเราที่มีขนาดใหญจะสามารถเราความสามารถใหมากกวาขนาดเล็กจิ๋ว หรือการใชเสียงประชาสัมพันธที่ออกเสียงเนนใหดังกวาระดับเสียงปกติมักจะไดรับความสนใจมากกวา

- ความเคลื่อนไหวของสิ่งเรา สิ่งเราที่มีการเคลื่อนไหวจะสามารถกระตุนการรับรูไดดีกวาสิ่งเราที่นิ่งอยูกับที่ เชน บุคคลจะสนใจที่จะดูเทปวีดีโอมากกวาภาพจากสไลด เปนตน

Page 50: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

41

6. แนวคิดเกี่ยวกับแรงสนับสนุนทางสังคมความหมายของการสนับสนุนทางสังคมแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมจะสัมพันธกับเครือขายทางสังคม ซึ่งนักวิชาการ

สังคมศาสตรไดใหความสําคัญและทําการศึกษาวิเคราะหอยางจริงจัง ตั้งแต Fritz Heider นักมานุษยวิทยา เผยแพรบทความเรื่อง “Attitudes and Cognitive Organization” เมื่อป ค.ศ. 1946 และอธิบายวาปกติมนุษยมีความสัมพันธตอกันทําใหมนุษยโยงใยเขาดวยกันเปนเครือขายสังคม ตอมาก็มีทั้ง นักจิตวิทยา นักสังคมวิทยานักมนุษยวิทยา และนักสังคมสงเคราะห หันมาศึกษาอยางจริงจังเกี่ยวกับความสัมพันธของบุคคลที่โยงใยกันเปนเครือขาย (บุญเยี่ยม ตระกูลวงศ , 2538)

Caplan (1976) อธิบายวา การสนับสนุนทางสังคม หมายถึง วัตถุดิบที่ผูใหอาจจะเปนบุคคลหรือกลุมคนมอบใหกับผูรับโดยตรงวัตถุดิบนี้อาจจะเปนวัตถุหรือไมใชวัตถุทั้งนี้เพื่อสนองความตองการของผูรับซึ่งทําใหผูรับเกิดความสุขกายและใจ

บุญเยี่ยม ตระกูลวงศ (2538)ไดสรุปความหมายของการสนับสนุนทางสังคม หมายถึง สิ่งที่ “ผูรับแรงสนับสนุน” ไดรับการชวยเหลือดานขอมูลขาวสาร วัสดุสิ่งของ การสนับสนุนดานจิตใจจาก “ผูใหการสนับสนุน” ซึ่งอาจเปนบุคคลหรือกลุมคมและมีผลทําใหผูรับไดปฏิบัติในทิศทางที่ผูรับตองการ

หลักการของการสนับสนุนทางสังคมPilisuk (1982) กลาวถึงหลักของการใหแรงสนับสนุนทางสังคม ประกอบดวย1. มีการติดตอสื่อสารระหวางผูใหและผูรับการสนับสนุน2. ลักษณะการติดตอสัมพันธจะตองประกอบดวย

2.1 ขอมูลขาวสารที่มีลักษณะทําใหผูรับเชื่อวามีคนเอาใจใส มีความรัก ความหวังดี ในตนอยางจริงจัง

2.2 ขอมูลขาวสารนั้นเปนขาวสารที่มีลักษณะทําใหผูรับรูสึกวาตนเองมีคุณคาและเปนที่ยอมรับในสังคม

3. ปจจัยนํามาของการสนับสนุนทางสังคมอาจอยูในรูปของขอมูลขาวสาร วัสดุสิ่งของหรือทางดานจิตใจ

4. การชวยใหผูรับไดบรรลุถึงจุดมุงหมายที่ตองการ

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมพฤติกรรม หมายถึง กิจกรรมทุกประเภทที่มนุษยกระทําไมวาสิ่งนั้นจะสังเกตไดหรือไมได

เชน การทํางานของหัวใจ การทํางานของกลามเนื้อการเดิน การพูด การคิด ความรูสึก ความชอบ

Page 51: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

42

ความสนใจ เปนตน นักจิตวิทยาเชื่อวาพฤติกรรมเปนผลที่เกิดจากการทําปฏิกิริยาของมนุษยหรืออินทรีย (organize) กับสิ่งแวดลอม (environment) (ประภาเพ็ญ สุวรรณ, 2538, หนา 15-27) พฤติกรรมของอินทรียที่ไดจากการทําปฏิกิริยากับสิ่งแวดลอมนั้นจะมีผลออกมาในรูปแบบ ทั้งที่สังเกตไดดวยบุคคลอื่นและสังเกตไมได แตสามารถจะวินิจฉัยวามีหรือไมมี โดยใชวิธีการหรือเครื่องมือทางดานจิตวิทยาพฤติกรรมดังกลาวมีสวนประกอบอยู 2 สวนดวยกัน คือ

1. พฤติกรรมทางดานพุทธิปญญา (cognitive domain)พฤติกรรมดานนี้เกี่ยวของกับความรู ความจํา ขอเท็จจริงตางๆ รวมทั้งการพัฒนาความสามารถและทักษะทางสติปญญาการใชวิจารณญาณเพื่อประกอบการตัดสินใจ พฤติกรรมดานพุทธิปญญาประกอบดวยความสามารถในระดับตางๆ ดังนี้

1.1 ความรู (knowledge) ความรูในที่นี้เปนพฤติกรรมขั้นตน ซึ่งผูเรียนเพียงแตจําไดอาจจะโดยนึกไดหรือโดยการมองเห็นไดยินก็จําได ความรูในขั้นนี้ ไดแก ความรูเกี่ยวกับคําจํากัดความ ความหมายขอเท็จจริง ทฤษฎี กฎ โครงสราง วิธีแกปญหา เปนตน

1.2 ความเขาใจ (comprehension) เมื่อบุคคลไดมีประสบการณกับขาวสารหนึ่งๆ อาจจะโดยการฟง ไดอาน หรือไดเขียนเปนที่คาดวาบุคคลนั้นจะทําความเขาใจกับขาวสารนั้นๆ ความเขาใจนี้อาจจะแสดงออกในรูปของทักษะหรือความสามารถตอไปนี้

1.2.1 การแปล (translation) หมายถึง ความสามารถในการเขียนบรรยายเกี่ยวกับขาวสารนั้นๆ โดยใชคําพูดของตนเองซึ่งอาจจะออกมาในรูปที่แตกตางจากเดิมหรือออกมาในภาษาอื่นแตความหมายยังเหมือนเดิม

1.2.2 การใหความหมาย (interpretation) หมายถึง การใหความหมายตอสิ่งตางๆ หรือขาวสารตางๆ ซึ่งอาจออกมาในรูปความคิดเห็นหรือขอสรุปตามที่บุคคลนั้นเขาใจ

1.2.3 การคาดคะเน (extrapolation) หมายถึง ความสามารถในการตั้งความคาดหมาย หรือคาดหวังวาอะไรจะเกิดขึ้น ซึ่งความสามารถนี้จะเกิดจากความเขาใจสภาพการณและแนวโนมที่อธิบายไวในขาวสารนั้นๆ

1.3 การประยุกตหรือการนําความรูไปใช (application) หมายถึง ในการนําความรูไปใชเปนพฤติกรรมขั้นหนึ่งในหมวดพุทธิปญญาซึ่งจะตองอาศัยความสามารถหรือทักษะดานความเขาใจการนําความรูไปใชนี้อีกนัยหนึ่งก็คือ การแกปญหานั่นเอง

1.4 การวิเคราะห (analysis) ความสามารถในการวิเคราะหเปนขั้นหนึ่งของพฤติกรรมทางดานพุทธิปญญา ซึ่งอาจแบงเปนความสามารถขั้นยอยๆ ได 2 ขั้นตอนดวยกัน

คือความสามารถในขั้นที่ 1 ผูเรียนสามารถแยกแยะองคประกอบของปญญาหรือสภาพการณออกเปนสวนๆ เพื่อทําความเขาใจกับสัดสวนตางๆ ใหละเอียด

Page 52: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

43

ความสามารถในขั้นที่ 2 ผูเรียนสามารถมองเห็นความสัมพันธอยางแนชัดระหวางสวนประกอบเหลานั้น

2. พฤติกรรมดานทัศนคติ คานิยม ความรูสึกความชอบ (affective domain) พฤติกรรมดานนี้หมายความถึง ความสนใจ ความรูสึก ทาที ความชอบ ไมชอบ การใหคุณคา การปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุงคานิยมที่ยึดถืออยู พฤติกรรมดานนี้ยากตอการอธิบาย เพราะเกิดภายในจิตใจของบุคคล ซึ่งตองใชเครื่องมือพิเศษในการวัดพฤติกรรมเหลานี้ เพราะความรูสึกภายในของคนนั้นยากตอการที่จะวัดจากพฤติกรรมท่ีแสดงออกมาภายนอก

การเกิดพฤติกรรมดานทัศนคติ แบงออกเปนขั้นตอน ดังนี้1. การรับรู (receiving)2. การตอบสนอง (responding)3. การใหคา (valuing)4. การจัดกลุม (organization)5. การแสดงคุณลักษณะตามคานิยมที่ยึดถือ(characterization by value or value complex)

เพื่อใหเขาใจสวนประกอบของขั้นตอนของการเกิดพฤติกรรมทางดานทัศนคติ ความรูสึกใหชัดเจนยิ่งขึ้นจะขยายความของขั้นตอนตางๆ ใหชัดเจนดังตอไปนี้

5.1 การรับหรือการใสใจ (receiving or attending) ขั้นของการรับหรือการใสใจนี้เปนขั้นที่แสดงวาบุคคลนั้นไดถูกหรือมีภาวะจิตใจที่พรอมที่จะรับสิ่งเรานั้นหรือใหความสนใจตอสิ่งเรานั้น การรับหรือการใสใจนี้เปนขั้นของสภาพจิตใจขั้นแรกที่จะนําไปสูสภาพจิตใจในขั้นตอไป แตเนื่องจากคนเรามีประสบการณเดิมซึ่งอาจจะไดจากการเรียนรู (ชนิดเปนทางการหรือไมเปนทางการก็ได) จากประสบการณเดิมนี้เองบุคคลนั้นอาจจะมีสภาพจิตใจขั้นของการรับหรือการใสใจพรอมแลวโดยไมตองถูกกระตุนใหเกิดขึ้นก็ไดในขั้นของการรับนี้มีสวนประกอบยอย 3 สวน ซึ่งถือวาเปนสวนประกอบที่จะเกิดตอเนื่องกันสวนประกอบยอยมีดังน้ี

5.1.1 ความตระหนัก (awareness) ความตระหนักนี้เกือบจะคลายพฤติกรรมขั้นแรกของพฤติกรรมดานพุทธิปญญา (cognitive domain) คือความรูเกี่ยวกับขอเท็จจริง (knowledge) ไดอธิบายมาแลวแตมีความแตกตางตรงที่วาความตระหนักนี้ไมไดเกี่ยวของกับการจําหรือความสามารถที่จะระลึกไดแตความตระหนักหมายถึงการที่บุคคลไดฉุกคิดหรือการเกิดขึ้นในความรูสึกวามีสิ่งหนึ่งมีเหตุการณหนึ่งซึ่งการรูสึกวามีหรือการไดฉุดคิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งนี้เปนความรูสึกที่เกิดขึ้นในสภาวะของจิตใจแตไมไดแสดงวาบุคคลนั้นสามารถจําไดหรือระลึกไดถึงลักษณะเฉพาะบางอยางของสิ่งนั้น

Page 53: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

44

5.1.2 ความยินดีหรือความเต็มใจที่จะรับ (willingness to receive) ในขณะที่ผูเรียนเกิดความพึงพอใจที่จะรับสิ่งที่มากระตุนความรูสึกเอาไว เชน การใหความสนใจอยางดีในขณะที่ผูอื่นกําลังพูด เปนตน

5.1.3 การเลือกรับหรือการใสใจ (controlled or selected attention) สภาวะจิตใจในขั้นนี้เปนผลสืบเนื่องมาจากการเกิดขึ้นขั้นที่ 1.1 และ 1.2 ดังกลาวมาแลว เมื่อมีสิ่งเรามาเราหรือมีสถานการณบางอยางเกิดขึ้นบุคคลนั้นจะเลือกรับหรือเลือกใสใจเฉพาะสิ่งที่ เขาชอบหรือสถานการณที่เขาไมชอบพฤติกรรม พฤติกรรมในขั้นนี้อาจแสดงใหเห็นโดย “จากการฟงดนตรีบุคคลนั้นสามารถบอกถึงความแตกตางของอารมณบอกความหมายบอกไดถึงเครื่องดนตรีชนิดตางๆ ที่ใชประกอบการขึ้นเปนเสียงดนตรีนั้น”

6. การตอบสนอง (responding)พฤติกรรมในขั้นนี้เกิดตอเนื่องจากพฤติกรรมในขั้นที่ 1 คือ การรับหรือการใหความสนใจตอสถานการณหรือตอสิ่งเราตางๆ ในขั้นนี้บุคคลจะถูกจูงใจใหเกิดความใสใจอยางเต็มที่ซึ่งหมายความวาบุคคลนั้นไดเกิดความรูสึกผูกมัดตัวเองตอสิ่งเราหรือสถานการณที่มากระตุน ความรูสึกผูกมัดนี้ยังเปนเพียงความรูสึกขั้นตนจึงยืนยันไมไดแนนอนวาบุคคลนั้นมี “ทัศนคติ” หรือ “คานิยม” ในทางใดทางหนึ่งตอสถานการณหรือสิ่งเรานั้นๆ ในขั้นนี้อาจกลาวไดวา บุคคลเกิด “ความสนใจ” อยางแทจริง ซึ่งถาความสนใจเกิดขึ้นก็หมายความวาผูเรียนไดมีสวนเกี่ยวของหรือมีความรูสึกผูกมัดกับวัตถุสิ่งของสถานการณหรือปรากฏการณใดปรากฎการณหนึ่ง ซึ่งจะทําใหบุคคลนั้นพยายามทําปฏิกิริยาตอบสนองบางอยางหรือไดรับความพึงพอใจจากการมีสวนรวมหรือจากการทํากิจกรรมนั้นพฤติกรรมขั้นการตอบสนองนี้มีสวนประกอบยอย 3 สวนประกอบ คือ

6.1 การยินยอมในการตอบสนอง (acquiescence in responding) ในขั้นนี้อาจใชคําวา “เชื่อฟง” แทนพฤติกรรมที่แสดงวามีการยินยอมในการตอบสนองแตการทําปฏิกิริยาตอบสนองของบุคคลในขั้นนี้ไมไดแสดงวาเขายอมรับถึงความจําเปนหรือประโยชนจากการทําปฏิกิริยานั้นๆ ตัวอยางของพฤติกรรมในขั้นนี้ ไดแก การยินดีที่จะปฏิบัติตามกฎหมายทางดานสุขภาพอนามัย เชื่อฟงกฎเกณฑการเลนตางๆ

6.2 ความเต็มใจที่จะตอบสนอง (willingness to respond) ในขั้นนี้บุคคลเกิดความรูสึกผูกมัดที่จะทําปฏิกิริยาบางอยางซึ่งไมใชเพียงเพื่อจะหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่ไมพึงพอใจหรือหลีกเลี่ยงการลงโทษแตจะเนื่องจากความเต็มใจของบุคคลนั้นจริงๆ อาจจะกลาวไดวาบุคคลนั้นเกิดความสมัครใจที่จะกระทําซึ่งเปนผลมาจากการเลือกของบุคคลนั้นเองตัวอยางของพฤติกรรมในขั้นนี้ไดแกการยอมรับความรับผิดชอบในอันที่จะปรับปรุงสุขภาพของตนเองและความรับผิดชอบตอสุขภาพอนามัยของบุคคลอื่น

Page 54: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

45

6.3 ความพอใจในการตอบสนอง (satisfaction in response) พฤติกรรมขั้นนี้สืบเนื่องมาจากการเต็มใจที่จะตอบสนองเมื่อบุคคลทําปฏิกิริยาบางอยางไปแลวบุคคลนั้นเกิดความรูสึกพอใจซึ่งเปนสภาวะทางอารมณของบุคคลอาจจะออกมาในรูปความพอใจความสนุกสนาน เปนตน ตัวอยางพฤติกรรมในขั้นนี้ไดแกการเกิดความรูสึกยินดีในการอานหนังสือเกิดความรูสึกพอใจในการไดสนทนากับบุคคลอื่นเปนตน

7. การใหคาหรือหรือการเกิดคานิยม (valuing) คําวา “คานิยม” นี้มักจะถูกใชบอยๆ ในการเขียนวัตถุประสงคทางการศึกษาซึ่งการที่ เราใหคานิยมตอสิ่งหนึ่งสิ่งใดภาวะการณใดภาวะการณหนึ่งนั้น หมายถึงวาสิ่งนั้นหรือภาวการณนั้นมีคุณคาตอตัวเราการใหคานี้เกิดจากประสบการณและการประเมินคาของบุคคลนั้นเองและขณะเดียวกันก็เปนผลจากสังคมดวยสวนหนึ่งพฤติกรรมขั้นนี้อาจจะอธิบายใหชัดเจนโดยใชคําวา “ความเชื่อ” หรือ “ทัศนคติ” ในขั้นนี้บุคคลกระทําปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมซึ่งแสดงวาเขายอมรับหรือรับรูวาสิ่งนั้นเปนสิ่งที่มีคุณคาสําหรับตัวเขาหรือแสดงวาเขามีคานิยมอยางใดอยางหนึ่งในขั้นนี้เราจะไมพิจารณาถึงความสัมพันธของคานิยมตางๆ แตจะพิจารณาเฉพาะถึงขบวนการยอมรับในตัวบุคคลเกี่ยวกับสิ่งที่ เขาเกิดความตระหนักใหอยูในภาวะที่เขาสามารถบังคับไดหรือเปนสิ่งที่เปนของเขาอยางแทจริงพฤติกรรมขั้นนี้สวนมากมักจะใชคําวา “ทัศนคติ” และ “คานิยม”

8. การจัดกลุม (organization) เมื่อบุคคลเกิดคานิยมตางๆ ขึ้นแลวซึ่งหมายความวาคานิยมที่เขามีนั้นจะมีหลายชนิดจึงมีความจําเปนที่จะตองจัดระบบของคานิยมตางๆ ใหเขากลุมโดยพิจารณาถึงความสัมพันธระหวางคานิยมเหลานั้นการจัดกลุมคานี้แบงเปนสวนประกอบดังนี้

8.1 การจัดกลุมคานิยมพฤติกรรมในขั้นนี้จะเปนสวนที่เกิดเพิ่มเติมของขั้นที่ 3 (การใหคา) บุคคลจะสามารถมองเห็นวาสิ่งที่เขาใหคาใหมนี้มีสวนสัมพันธเกี่ยวของกับคานิยมที่เขามีอยูเดิมหรือที่กําลังจะมีตอไปอยางไรบางการเกิดความคิดนี้อาจจะออกมาในลักษณะเปนนามธรรมหรือออกมาในรูปสัญลักษณก็ได ตัวอยางพฤติกรรมในขั้นนี้ ไดแกการพยายามที่แสดงใหเห็นถึงลักษณะของสิ่งของบางอยางซึ่งเก่ียวของกับศิลปะที่เขานิยมชมชอบ

8.2 การจัดระบบของคานิยมในขั้นนี้บุคคลจะนําคานิยมตางๆ ที่ เขามีอยูมาจัดระบบอาจเปนการเรียงลําดับโดยพิจารณาถึงความสัมพันธของคานิยมเหลานั้นซึ่งจะเปนที่มาของการกําหนดปรัชญาของชีวิตของบุคคลนั้นหรืออาจจะออกมาในรูปแบบสังเคราะหคานิยมตางๆ และจากการสังเคราะหนี้บุคคลนั้นก็จะไดคานิยมใหมสําหรับตัวเองขึ้นมาตัวอยางพฤติกรรมในขั้นนี้ไดแก การวางแผนเกี่ยวกับการพักผอนของตนเองเพื่อเปนเกณฑในการปฏิบัติและใหเกิดความสมดุลกับกิจกรรมอื่นๆ ที่มี (ประภาเพ็ญ สุวรรณ, 2538, หนา 26 อางถึงในเชิดชัย โชติสุทธิ์, 2543:หนา 217)

Page 55: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

46

9. การแสดงลักษณะตามคานิยมที่ยึดถือ(characterization by a value or valuecomplex) พฤติกรรมนี้ถือวาเปนสวนประกอบหนึ่งของกระบวนการซึมซับ ในขั้นนี้ “คานิยม” ตางๆ จะอยูในสวนประกอบของคานิยมตางๆ ของบุคคลเฉพาะถือวาบุคคลมีคานิยมหลายชนิด และบุคคลก็จัดอับดับคานิยมเหลานี้อาจเรียงลําดับจากที่ดีสุดถึงดีนอยสุดที่เราเรียกวา “ลําดับคานิยม” คานิยมเหลานี้จะเปนตัวควบคุมพฤติกรรมของบุคคล เชื่อกันวาบุคคลจะแสดงปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมตางๆ โดยมีผลจากคานิยมที่เขามีหรือรับเอาไวพฤติกรรมในขั้นนี้มีสวนประกอบสองสวนคือ

9.1 การวางหลักทั่วไป (generalized set) พฤติกรรมในขั้นนี้แสดงใหเห็นถึงความพรอมที่จะปฏิบัติสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือในแนวทางใดแนวทางหนึ่งอาจเปนสิ่งที่เกิดขึ้นโดยไมรูตัวแตเปนสิ่งที่จะเปนแนวทางของการปฏิบัติบางอยางหลักทั่วไปที่จะเกิดขึ้นนี้จะปรากฏฐานของบุคคลในการที่จะแกไขหรือควบคุมปญหาตางๆ ในสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับตัวบุคคลนั้นและเปนรากฐานใหเกิดการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพตัวอยางของพฤติกรรมในขั้นนี้ไดแกความพรอมที่จะปรับปรุงแกไขกฎเกณฑตางๆ และเปล่ียนแปรงการปฏิบัติบางอยางตามขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น (ประภาเพ็ญ สุวรรณ, 2538:หนา 26)

9.2 การแสดงลักษณะ (characterization) พฤติกรรมในขั้นนี้เปนพฤติกรรมขั้นสูงสุดของกระบวนการซึมซับซึ่งแสดงใหเห็นถึงหรือสังเกตไดโดยบุคคลอื่นการแสดงลักษณะนี้จะเปนสิ่งที่คอนขางถาวรซึ่งสืบเนื่องมาจากคานิยมที่บุคคลนั้นยึดมั่นอยูพฤติกรรมในขั้นนี้อาจจะแสดงใหเห็นโดยผูเรียนผานกระบวนการเรียนรูตัวอยางพฤติกรรมในขั้นนี้ไดแก การสรางปรัชญาชีวิตสําหรับตัวเองการคิดกฎตางๆ ในการปฏิบัติตนโดยพิจารณาถึงเหตุผลทางดานศีลธรรมจรรยาและดานหลักประชาธิปไตย

พฤติกรรมดานการปฏิบัติ (psychomotor domain) พฤติกรรมดานนี้ เปนการใชความสามารถที่แสดงออกทางรางกาย ซึ่งรวมทั้งการปฏิบัติ หรือพฤติกรรมที่แสดงออกและสังเกตไดในสถานการณหนึ่งๆ หรืออาจจะเปนพฤติกรรมที่ลาชาคือบุคคลไมไดปฏิบัติหนาที่แตคาดคะเนวาอาจจะปฏิบัติในโอกาสตอไปพฤติกรรมการแสดงออกนี้เปนพฤติกรรมขั้นสุดทายที่เปนเปาหมายของการศึกษา ที่จะตองอาศัยพฤติกรรมระดับตางๆ ที่ไดกลาวมาแลวเปนสวนประกอบพฤติกรรมดานนี้เมื่อแสดงออกมาจะสามารถประเมินไดงายแตกระบวนการจะกอใหเกิดพฤติกรรมนี้ตองอาศัยระยะเวลาและการตัดสินในหลายขั้นตอน (เชิดชัย โชติสุทธิ์, 2543:หนา 22)

Page 56: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

47

7.งานวิจัยที่เกี่ยวของยุพาภร ศรีจันทร ( 2548)ไดศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็ง

ปากมดลูกของสตรี ตําบลปาสัก กิ่งอําเภอซาง จังหวัดพะเยา ผลการศึกษาพบวา การรับรูถึงโอกาสเสี่ยงการเกิดโรค การรับรูถึงความรุนแรงของโรค การรับรูถึงอุปสรรคของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีคะแนนเฉลี่ยสงเสริมใหไปตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสวนใหญอยูในระดับปานกลางการรับรูถึงประโยชนการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับสูงจากการวิเคราะหความสัมพันธพบวา อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และการรับรูถึงอุปสรรคของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีความสมพันธไปรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จิรนันท มงคลดี (2548:62-73) ไดศึกษาความคิดเห็นตอการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีตําบลสะลวง อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม พบวาสาเหตุที่กลุมตัวอยางไปรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก เพราะกลัวเปนมะเร็งปากมดลูกและมีการรณรงคใหไปตรวจและไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกจากอาสาสมัครสาธารณสุข สวนการรับรูประโยชนของการไปตรวจ พบวามีประโยชนถามะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มแรก ก็สามารถรักษาใหหายขาดได สวนสาเหตุที่กลุมตัวอยางไมไปตรวจที่เอยถึงมากที่สุดคือไมมีอาการผิดปกติใดๆ

กุลธิดาพร กีฬาแปง(2548:47-54) ไดศึกษาปจจัยที่มีกระทบตอพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกของแรงงานสตรีที่ทํางานในโรงานเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลําพูนพบวา สาเหตุที่กลุมตัวอยางไมไปตรวจมะเร็งปากมดลูกคือไมมีอาการผิดปกติใดๆรอยละ 58.3 รองลงมาคือ อายุ รอยละ 16.6 สวนสาเหตุที่ไปตรวจ คือ ตรวจหลังคลอด รอยละ 44.6 รองลงมา คือ ไดรับคําแนะนําจากเจาหนาที่รอยละ 24.1 และสวนใหญไดรับขอมูลขาวสารจากเอกสาร หนังสือ หรือวารสารเกี่ยวกับสุขภาพรอยละ 31.1

เพ็ญพักตร ลูกอินทร และคณะ(2549) ไดศึกษาเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกของสตรีวัย 30 – 60 ป ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมการปองกันมะเร็งปากมดลูก โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ( Mean =23.02 S.D=3.02 ซึ่งที่มีความสัมพันธตอพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกของสตรี 30 –60 ป คือการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูกอยางนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ0.01 การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการมีพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูก อยางนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001

Page 57: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

48

พจนา สวนศรี และคณะ(2549)ไดศึกษาในเรื่องพฤติกรรม ปญหาอุปสรรค และทัศนคติตอการตรวจมะเร็งปากมดลูกในผูมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกในเขตอําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ของโรงพยาบาลพระพุทธชินราช พบวา อายุของผูเขารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกสวนใหญอยูในชวง 40-44ป และพฤติกรรมการเขารับการคัดกรองตรวจมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับที่เหมาะสมคือ มีผูมาตรวจตอเนื่อง(3ครั้งใน5ป)รอยละ38 และกลุมที่มาตรวจครั้งเดียวพบนอยรอยละ 18 นอกจากนี้ยังพบวาเหตุผลหลักที่ผูมารับบริการไมตอเนื่อง เนื่องจากไมมีอาการและเคยตรวจแลวไมเปนมะเร็งจึงไมมาตรวจอีก ซึ่งควรจะตองใหความรูที่ถูกตองกับผูมารับบริการ

อุสุมพร ปุรินทราภิบาล(2549) ศึกษาประสิทธิภาพผลของโปรแกรมสุขศึกษาตอการรับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกในสตรีที่มีบุตรจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยสุมตัวอยาง อยางงายจากมารดานักเรียนอนุบาล จํานวน 100 คน แบงเปนกลุมทดลอง 58 คน และกลุมเปรียบเทียบ 52 คนใชวิธีสอนสุขศึกษากลับกลุมทดลอง 2 ครั้ง และกระตุนเตือนโดยไปรษณียบัตร 2 ครั้ง เปนเวลา 6 สัปดาห ผลการทดลองพบวา ตัวแปรเก่ียวกับการรับรูตอโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค กับการรับรูตอความรุนแรงของโรค การรับรูตอผลดีละอุปสรรคจากการปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาที่ดีขึ้นกวากอนการจัดโปรแกรม ( P< 0.001) สวนความสําคัญของตัวแปรเกี่ยวกับการรับรูทั้ง 3 ดาน การรับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกพบวา การรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค และความรุนแรงของโรคมีความสันพันธกับการมารับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก

ยี่สุน อุมทรัพย (2549) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกในหญิงวัยเจริญพันธุที่สมรสแลวในเขตตาวัง อําเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร พบวาปจจัยที่สัมพันธกับการเกิดมะเร็งปากมดลูกคือ ปจจัยดานการศึกษา การรับรู เรื่องโรคดานการศึกษา กลุมที่ตรวจมีการศึกษาดีกวากลุมไมตรวจ และการรับรูวามีคนในหมูบานเปนมะเร็งปากมดลูกหรือคนที่รูจักกันเปนมะเร็งปากมดลูกเปนปจจัยสงเสริมใหมาตรวจมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น จากการทดสอบความสัมพันธของปจจัยระดับดานการศึกษา กับการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ( p-value =0.02 )

อัญชลี จุติดํารงพันธ (2549) ศึกษาการประยุกตใชรูปแบบความเชื่อมั่นดานสุขภาพ รวมกับกระบวนการกลุมในการสงเสริมพฤติกรรมการตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรี อําเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการศึกษาพบวา การรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรูผลดีและความตั้งใจในการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก เมื่อเปรียบเทียบหลังการทดลองระหวางกลุมสตรีทดลองและกลุมเปรียบเทียบพบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 58: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

49

สาวิตรี พรสินศิริรักษ (2550 : 123 -124)ไดศึกษา ปจจัยที่สัมพันธกับพฤติกรรมการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกของสตรีมุสลิม จังหวัดกระบี่ผลการศึกษาพบวามีปจจัยนําปจจัยเอื้อ และปจจัยเสริมโดยสวนรวมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 โดยมีปจจัยนําปจจัยเอื้อและปจจัยเสริมสามารถอธิบายพฤติกรรมการไปรับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรีไทยมุสลิม ไดรอยละ 32 (R² = 0.322 )สวนตัวแปรใน 3กลุมปจจัยที่พบวามีความสัมพันธและสามารถอธิบายพฤติกรรมการไปรับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรีไทยมุสลิมไดมากที่สุดความรู เรื่อง มะเร็งปากมดลูก ( Beta=0.38) รองลงมาไดแกอายุ เปนตน

เสริมทรัพย พุมพุทรา (2551)ไดศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการตรวจสอบมะเร็งปากมดลูกของแกนนําสตรีดานสุขภาพที่สมรสแลวในเขตอําเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาทผลการศึกษา พบวา แกนนําสตรีดานสุขภาพที่สมรสแลว เคยไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกรอยละ 71.70 และเคยใหคําแนะนําบุคคลใกลชิดมาตรวจมะเร็งปากมดลูกรอยละ 91.70 และมีความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับปานกลางรอยละ 86.70 และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูก อยูในระดับปานกลาง รอยละ 78.30

จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของพบวากลุมสตรีกลุมเสี่ยงยังขาดการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกที่ถูกตอง รวมทั้งยังมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนที่ไมถูกตอง จึงทําใหมีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรค ดังนั้นผูศึกษาจึงมีความสนใจที่จะทําการศึกษา เพื่อใชผลการศึกษาในการวางแผนการปฏิบัติงานและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกตอไป

Page 59: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

50

กรอบแนวคิดในการศึกษา

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ภาพที่ 3 กรอบแนวคิด

ปจจัยภายในตัวบุคคล1.ความรูเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก2.ทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก3.การรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก -การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก -การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งมะเร็งปากมดลูก -การรับรูผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูก

พฤติกรรมการมารับบริการ

ตรวจมะเร็งปากมดลูก

ปจจัยภายนอกตัวบุคคลแรงสนับสนุนทางสังคม

-สมาชิกในครอบครัว-เพื่อน-บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข /

สื่อมวลชน

ปจจัยชีวสังคม-อายุ-สถานภาพการสมรส-ระดับการศึกษา-อาชีพ-รายได

Page 60: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

51

สมมติฐานในงานวิจัย1. ปจจัยชีวทางสังคม ไดแก อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดมี

ความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก2. ปจจัยภายในตัวบุคคล ไดแก ความรูกับมะเร็งปากมดลูก ทัศนคติของการมารับบริการ

ตรวจมะเร็งปากมดลูกการรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

3. ปจจัยภายนอกตัวบุคคลไดแกแรงสนับสนุนทางสังคมสมาชิกในครอบครัวเพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชนมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

Page 61: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(52)

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

รูปแบบการศึกษาการศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) เพื่อศึกษาปจจัยที่สัมพันธ

กับการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรี โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา อ.ศรีราชา จ. ชลบุรี

ประชากรเปาหมายประชากรเปาหมาย คือ สตรีอายุ 30-60 ป ทั้งที่เคยตรวจและไมเคยตรวจมะเร็งปากมดลูกที่

ปจจุบันมารับการตรวจที่แผนกสูตินรีเวชโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา รวมทั้งหมด 596 คน ( ป พ.ศ 2558)

กลุมตัวอยางจํานวนที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ สตรีอายุ 30 - 60 ป ที่อาศัยอยูในเขตความรับผิดชอบ

ของแผนกสูตินรีเวช โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา

ขนาดของกลุมตัวอยางการกําหนดขนาดตัวอยาง ผูศึกษาไดคิดตามสูตรของ ทาโร ยามาเน (Taro Yamane´)

(บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ,์ 2551) ดังนี้สูตร n =

21 Ne

N

n = ขนาดตัวอยางN = จํานวนประชากรe = ความคลาดเคลื่อนในการสุม (Sampling error) 0.05

แทนคาสูตร n =2)05.0(5961

596

ไดขนาดตัวอยาง n = 239.36เพื่อความเหมาะสมในการศึกษาผูศึกษาจึงขยายกลุมตัวอยางเปน 240 คน

Page 62: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

53

ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือในการวิจัยแบบสอบถามที่ใชเปนเครื่องมือในการศึกษาครั้งนี้ มีขั้นตอนในการสรางดังน้ี1. ศึกษาคนควารายละเอียด ขอมูลพื้นฐาน แนวคิด ทฤษฎี และพฤติกรรมการมารับ

บริการตรวจมะเร็งปากมดลูก จากตํารา เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของตลอดคําแนะนําจากอาจารยที่ควบคุมการทําวิทยานิพนธจํานวน 2 ทาน โดยใหมีเนื้อหาครอบคลุมของการศึกษา

2. กําหนดขอบเขตประเด็นปญหาและมิติของตัวแปรที่จะใชในการสรางแบบสอบถามและกําหนดขอคําถามตางๆตามกรอบแนวคิด

3. สรางแบบสอบถามใหครอบคลุมตัวแปร ตามกรอบแนวคิด ตองการศึกษา ขอความในและแบบสอบถามเปนเชิงบวกและเชิงลบ และกําหนดเกณฑในการใหคะแนนในแตละขอ

4. นําแบบสอบถามที่สรางขึ้นปรึกษาอาจารยที่ควบคุมวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความถูกตอง ชัดเจนภาษาที่ใช และความตรงในเนื้อหา แลวนํามาปรับปรุงแกไขกอนนําเครื่องมือไปทดลองใชการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

ผูศึกษาจึงมีการตรวจสอบเครื่องมือดังนี้ หาความตรงตามเนื้อหาวาถูกตองและเหมาะสม โดยผูทรงคุณวุฒิ 4 ทาน (ภาคผนวก)

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ1. การหาคาความเที่ยงของเนื้อหา (Content Validity)ผูวิจัยนําแบบสอบถามที่สรางขึ้น

นําไปใหผูทรงคุณวุฒิ(ภาคผนวก)ที่มีประสบการณดานวิชาการ ดานการบริหาร และดานการจัดการสรางเสริมสุขภาพ จํานวน 4 ทาน ตรวจสอบและพิจารณาความถูกตองของเนื้อหา ความรัดกุมในการใชภาษา การตีความของขอคําถาม รวมทั้งคําแนะนําและขอเสนอแนะในการปรับปรุงแกไขและนําขอเสนอแนะมาปรับปรุงแกไขแบบสอบถามรวมกับอาจารยที่ปรึกษา

2. การหาความเที่ยง(Reliability)ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามที่ผานการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และไดรับการปรับปรุงแกไขแลวนําไปทดลองใช (try out) กับกลุมแผนกสูตินรีเวชโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา รวมทั้งหมด 596คน ( ป พ.ศ 2558) ซึ่งมีลักษณะตรงตามเกณฑของกลุมตัวอยางที่ศึกษา และนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหหาความเชื่อมั่นโดยใชสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Alpha Cronbach Coefficient) เปนโปรแกรมสําเร็จรูป ไดคาความเชื่อมั่น ดังนี้

Page 63: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

54

แบบวัด ความเชื่อมั่นความรูเรื่องมะเร็งปากมดลูก .724ทัศนคติของการมารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก .875การรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก .705แรงสนับสนุนทางสังคม .958พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก .923แบบสอบถามรวมทั้งฉบับ .938

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาเครื่องมือที่ใชในการศึกษาการศึกษาครั้งนี้ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล โดยผูศึกษาไดนํา

เครื่องมือ มาเปนแนวทางในการคิดเครื่องมือครั้งนี้ขึ้นใหม ซึ่งเปนการศึกษาปจจัยที่สัมพันธกับพฤติกรรมการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกเชนเดียว แบบสอบถามที่ใชแบงออกเปน6 สวน คือ

สวนที่ 1 ปจจัยชีวสังคมอายุเปนขอคําถามประเภทปลายเปดและปลายปด เกี่ยวกับอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได จํานวน 5 ขอ

สวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก ไดแก สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก อาการของโรคมะเร็งปากมดลูก การปองกันมะเร็งปากมดลูก และการรักษาโรคมะเร็งปากมดลูก จํานวน 20 ขอลักษณะของคําถามเปนแบบเลือกตอบวา “ถูก” “ผิด” และ “ไมทราบ” โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ขอคําถามเชิงบวก ขอคําถามเชิงลบตัวเลือก คะแนน ตัวเลือก คะแนนตอบถูกตอง 1 ตอบถูกตอง 0ตอบผิด 0 ตอบผิด 1ตอบไมทราบ 0 ตอบไมทราบ 0

การแปลผลแบงระดับความรูเกี่ยวกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก แบงออกเปน3 ระดับโดยพิจารณาจากเกณฑเฉลี่ยของระดับความรูจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ไดคือ DSX .

2

1 ซึ่งมีระดับคะแนนดังนี้

Page 64: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

55

ระดับสูง หมายถึง คะแนนมากกวา DSX .2

1

ระดับปานกลาง หมายถึง คะแนนระหวาง DSX .2

1

ระดับต่ํา หมายถึง คะแนนนอยกวา DSX .2

1

สวนที่ 3 แบบวัดทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก ลักษณะคําตอบเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มี 4 ระดับจํานวน10ขอโดยผูตอบแบบสอบถามมีทัศนคติในลักษณะเห็นดวยอยางอยางยิ่ง เห็นดวย ไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหเลือกตอบเพียง 1 ตัวเลือก เกณฑการใหคะแนน

ขอคําถามเชิงบวก ขอคําถามเชิงลบ

การแปลผลแบงระดับทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก แบงออกเปน3 ระดับโดยพิจารณาจากเกณฑเฉลี่ยของระดับความรูจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ไดคือ DSX .

2

1 ซึ่งมีระดับคะแนนดังนี้

ระดับสูง หมายถึง คะแนนมากกวา DSX .2

1

ระดับปานกลาง หมายถึง คะแนนระหวาง DSX .2

1

ระดับต่ํา หมายถึง คะแนนนอยกวา DSX .2

1

สวนที่4 การรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก ไดแก การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งปากมดลูก การรับรูความรุนแรงของการเกิดมะเร็งปากมดลูก การรับรูผลดีในการเกิดมะเร็งปากมดลูกลักษณะ คําตอบเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มี 4 ระดับ จํานวน 29 ขอโดย

ตัวเลือก คะแนน ตัวเลือก คะแนนเห็นดวยอยางยิ่ง 4 เห็นดวยอยางยิ่ง 1เห็นดวย 3 เห็นดวย 2ไมเห็นดวย 2 ไมเห็นดวย 3ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 4

Page 65: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

56

ผูตอบแบบสอบถามมีการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก ในลักษณะ เห็นดวยอยางอยางยิ่งเห็นดวยไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหเลือกตอบเพียง 1 ตัวเลือก เกณฑการใหคะแนน

ขอคําถามเชิงบวก ขอคําถามเชิงลบ

การแปลผลแบงระดับการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก แบงออกเปน3 ระดับโดยพิจารณาจากเกณฑเฉลี่ยของระดับความรูจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ไดคือ DSX .

2

1

ซึ่ง

มีระดับคะแนนดังนี้

ระดับสูง หมายถึง คะแนนมากกวา DSX .2

1

ระดับปานกลาง หมายถึง คะแนนระหวาง DSX .2

1

ระดับต่ํา หมายถึง คะแนนนอยกวา DSX .2

1

สวนที่ 5 แรงสนับสนุนทางสังคมไดแก สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางกรแพทยและสาธรณสุข/สื่อมวลชน คําตอบเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มี 4 ระดับ จํานวน 24 ขอโดยผูตอบแบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมในลักษณะ เห็นดวยอยางอยางยิ่ง เห็นดวย ไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหเลือกตอบเพียง 1 ตัวเลือก เกณฑการใหคะแนน

ขอคําถามเชิงบวก ขอคําถามเชิงลบ

ตัวเลือก คะแนน ตัวเลือก คะแนนเห็นดวยอยางยิ่ง 4 เห็นดวยอยางยิ่ง 1เห็นดวย 3 เห็นดวย 2ไมเห็นดวย 2 ไมเห็นดวย 3ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 4

ตัวเลือก คะแนน ตัวเลือก คะแนนมาก 4 มาก 1ปานกลาง 3 ปานกลาง 2นอย 2 นอย 3ไมไดรับเลย 1 ไมไดรับเลย 4

Page 66: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

57

การแปลผลแบงระดับแรงสนับสนุนทางสังคมแบงออกเปน3 ระดับโดยพิจารณาจากเกณฑเฉลี่ยของระดับความรูจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ไดคือ DSX .

2

1 ซึ่งมีระดับคะแนนดังนี้

ระดับสูง หมายถึง คะแนนมากกวา DSX .2

1

ระดับปานกลาง หมายถึง คะแนนระหวาง DSX .2

1

ระดับต่ํา หมายถึง คะแนนนอยกวา DSX .2

1

สวนที่ 6 พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก คําตอบเปนมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มี 4 ระดับ จํานวน 30 ขอโดยผูตอบแบบสอบถาม พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก ในลักษณะเห็นปฏิบัติมากที่สุด ปฏิบัติมาก ปฏิบัตินอย ปฏิบัตินอยที่สุด ใหเลือกตอบเพียง 1 ตัวเลือก เกณฑการใหคะแนน

ขอคําถามเชิงบวก ขอคําถามเชิงลบ

การแปลผลแบงระดับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก แบงออกเปน 3 ระดับ โดยพิจารณาจากเกณฑเฉลี่ยของระดับความรูจากคามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนที่ไดคือ

DSX .2

1 ซึ่งมีระดับคะแนนดังนี้

ระดับสูง หมายถึง คะแนนมากกวา DSX .2

1

ระดับปานกลาง หมายถึง คะแนนระหวาง DSX .2

1

ระดับต่ํา หมายถึง คะแนนนอยกวา DSX .2

1

ตัวเลือก คะแนน ตัวเลือก คะแนนปฏิบัติมากที่สุด 4 ปฏิบัติมากที่สุด 1ปฏิบัติมาก 3 ปฏิบัติมาก 2ปฏิบัตินอย 2 ปฏิบัตินอย 3ปฏิบัตินอยที่สุด 1 ปฏิบัตินอยที่สุด 4

Page 67: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

58

การสรางและพัฒนาคุณภาพเครื่องมือการสรางและการพัฒนาคุณภาพเครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ มีขั้นตอนดังนี้ คือ- ทําการศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวของ- กําหนดโครงสรางของเนื้อหาแบบสัมภาษณ- สรางแบบสอบถามตามโครงสรางที่กําหนดไว- นําแบบสอบถามที่สรางเสร็จเรียบรอย เสนออาจารยที่ปรึกษา และใหนักวิชาการ

ตรวจสอบความถูกตองเหมาะสม ตรงตามเนื้อหาและความครบถวนของเนื้อหาแลวนํามาปรับปรุงแกไข เพื่อใหแบบสอบถามมีความชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาที่ตองการวัด และใชภาษาที่ถูกตองเหมาะสม

- นําแบบสอบถามที่ผานการตรวจสอบ และแกไขแลวไปทดลองใชเก็บขอมูล (Try out) กับสตรีอายุ 30-60 ป ซึ่งเปนผูมารับบริการตรวจทางสูตินรีเวชในโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา จํานวน 30 คน แลวนํามาหาคุณภาพของเครื่องมือ โดยการทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ดวยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Conbach’s alpha coefficient) วิเคราะหโดยใชคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ

วิธีการดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล1. ผูวิจัยขอหนังสือแนะนําตัวจากผูอํานวยการโครงการสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเกริก สงถึงผูอํานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา เพื่อขออนุมัติเก็บรวบรวมขอมูลวิจัย

2. ผูวิจัยติดตอประสานงานกับผูอํานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา เพื่อชี้แจงวัตถุปะสงคและขอความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูลพรอมทั้งชี้แจงลักษณะกลุมตัวอยางที่ตองการ โดยแนบแบบสอบถามที่จัดเตรียมไวเปนชุดสําหรับกลุมตัวอยาง และขอความรวมมือใหชวยรวบรวมแบบสอบถามคืนแกผูวิจัย

3. เก็บแบบสอบถามกลับคืน และนําแบบสอบถามที่ไดรับมาตรวจสอบครบถวนสมบูรณของขอมูล

Page 68: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

59

การวิเคราะหขอมูล นําแบบสอบถามทั้งหมดมาตรวจสอบความสมบูรณ ลงรหัสที่กําหนด บันทึกขอมูลจาก

แบบสอบถาม และนําแบบสอบถามที่ตรวจสอบความสมบูรณแลวมาวิเคราะหขอมูลโดยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป สถิติที่นํามาใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก

1. ขอมูลสวนบุคคล ไดแก เพศ สถานภาพสมรส การศึกษา อาชีพ รายได ภาวะสุขภาพนํามาวิเคราะหดวยสถิติเชิงพรรณนา ไดแก รอยละ คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่ออธิบายใหเห็นลักษณะของขอมูล

2. การวิเคราะห ความรูเกี่ยวกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก การรับรูเกี่ยวกับ โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรูผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูก

3. ทําการเก็บแบบสอบตั้งแตวันจันทรถึงวันศุกร เวลา 08.00น-16.00 น วันที่ 11 – 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 แผนกสูตินรีเวช โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีรา ชลบุรี

ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติดังนี้1. สถิติแบบพรรณนา ไดแกการวิเคราะหหาคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน2. สถิติวิเคราะหหาความสัมพันธระหวาตัวแปรอธิบายและตัวแปรตามดานพฤติกรรม

การมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก ดวยคาไคแสควร3. การใชสถิติวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธดวยวิธีของเพียรสัน (Pearson’s

Product Moment Correlation Coefficient) เพื่อหาความสัมพันธระหวางปจจัยภายใน และปจจัยภายนอกกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา

Page 69: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(60)

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษา เรื่อง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา โดยเก็บรวบรวมขอมูลจากตัวอยางที่เปนสตรีอายุ30-60ปที่มารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก จํานวนตัวอยาง 240 คน รวบรวมขอมูลโดยใหกลุมตัวอยางสอบแบบสอบถามดวยตนเองและสงคืนทีหลังตอบแบบสอบถามเสร็จ ระยะเวลาในการรวบรวมขอมูลตั้งแตวันที่11 กรกฎาคม2559 ถึงวันที่ 15 กรกฎาคม 2559 ครบสมบูรณ ผลการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปแสดงผลวิเคราะห ประกอบคําบรรยาย โดยนําเสนอเปน 6 สวนดังนี้

สวนที่ 1 ผลการวิเคราะหขอมูลปจจัยชีวสังคมของกลุมตัวอยาง ประกอบดวย อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได

สวนที่ 2ผลการวิเคราะหตัวแปรตน ไดแกปจจัยภายในตัวบุคคล- ความรูกับมะเร็งปากมดลูก- ทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก- การรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

o การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกo การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งมะเร็งปากมดลูกo การรับรูผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูก

สวนที่ 3 ผลวิเคราะหตัวแปรตนปจจัยภายนอกตัวบุคคล- แรงสนับสนุนทางสังคม- สมาชิกในครอบครัว- เพื่อน- บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชน

สวนที่ 4 พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

สวนที่ 5 ผลการวิเคราะหสมมติฐาน

Page 70: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

61

ตารางที1่ จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามคุณลักษณะปจจัยชีวทางสังคม

(n=240)

คุณลักษณะทางปจจัยสังคม จํานวน(คน) รอยละอายุ นอยกวา 40 ป 149 62.0 40-45ป 39 16.3 46-50 ป 29 12.151 ป ขึ้นไป 23 9.6สถานภาพโสด โสด 85 37.0คู 112 47.0หมาย 6 2.0 แยก 23 7.0หยาราง 14 7.0ระดับการศึกษาไมไดเรียน 2 8.0ประถมศึกษา 15 6.2มัธยมศึกษาตอนตน 12 5.0มัธยมศึกษาตอนปลาย/ป.ว.ช 30 10.5อนุปริญญา/ป.ว.ส 38 13.1ปริญญาตรี 133 53.2สูงกวาปริญญาตรี 10 4.0อาชีพรับราชการ 26 10.8รัฐวิสาหกิจ 22 9.2เกษตรกรรม 14 5.8รับจาง 88 36.7คาขาย 34 14.2กรรมกร 56 23.3

Page 71: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

62

ตารางที1่ (ตอ)

(n=240)

จากตารางที่1 พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีอายุนอยกวา 40ป รอยละ 62 สถานภาพเปนคู

รอยละ47.1 ระดับการศึกษาเปนระดับปริญญาตรีรอยละ 55.4 มีอาชีพรับจางจํานวน รอยละ 36.7

และผูมีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 15,001 บาทขึ้นไป รอยละ 71.3

ตารางที่2 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับความรู เกี่ยวกับโรคมะเร็ง ปากมดลูก (n=240)

ระดับความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก จํานวนคน รอยละระดับความรูสูง 73 30.42ระดับความรูปานกลาง 95 39.58ระดับความรูนอย 72 30.00

X =9.40, S.D = 33.90, Max =20 คะแนน, Min = 0 คะแนน

จากตารางที่2 พบวากลุมตัวอยางมีความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับปานกลางรอยละ39.58 รองลงมามีความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับนอย รอยละ30.00

คุณลักษณะทางปจจัยสังคม จํานวน(คน) รอยละรายไดเฉลี่ย

ไมเกิน 1,000 2 0.8

1,001-3,000 6 2.5

3,001-5,000 12 5.0

5,000-1,5000 49 20.4

15,001ขึ้นไป 171 71.3

Page 72: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

63

ตารางที่3 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับทัศนคติการมารับบริการการตรวจมะเร็งปากมดลูก

(n=240)ระดับทัศนคติการมารับบริการการตรวจมะเร็งปากมดลูก จํานวนคน รอยละระดับทัศนคติที่ดี 83 34.60ระดับทัศนคติปานกลาง 76 31.70ระดับทัศนคติไมดี 81 33.70

X = 19.47, S.D = 6.67, Max = 39 คะแนน, Min = 10 คะแนน

จากตารางที่3 พบวากลุมตัวอยางมีทัศนคติการมารับบริการการตรวจมะเร็งปากมดลูก อยูในระดับที่ดี รอยละ 34.60 รองลงมามีทัศนคติที่อยูในระดับที่ไมดี รอยละ 33.70

ตารางที่4 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการรับรูโอกาสเสี่ยงเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก

(n=240)ระดับการรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก จํานวนคน รอยละระดับมาก 57 23.80ระดับปานกลาง 110 45.80ระดับนอย 73 30.40

X = 27.9, S.D = 4.83, Max 40 คะแนน, Min = 11คะแนน

จากตารางที่4 พบวากลุมตัวอยางที่มีระดับการรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกอยูระดับปานกลางรอยละ 45.80 และรองลงมาอยูในระดับนอยกวารอยละ 23.80

Page 73: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

64

ตารางที5่ จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก

(n=240)ระดับการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก จํานวนคน รอยละระดับมาก 58 24.17ระดับปานกลาง 118 49.16ระดับนอย 64 26.67

X =26.17, S.D = 4.48, Max =36 คะแนน, Min = 16 คะแนน

จากตารางที่5 พบวากลุมตัวอยางที่มีระดับการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับปานกลางรอยละ49.20 และรองลงมาอยูในระดับมากสุดรอยละ24.20

ตารางที6่ จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการรับรูผลดีในการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก (n=240)

ระดับการรับรูผลดีในการตรวจโรคมะเร็งปากดลูก จํานวนคน รอยละระดับมาก 66 27.50ระดับปานกลาง 94 39.20ระดับนอย 80 33.30X = 29.12, S.D = 3.89, Max = 40 คะแนน, Min = 20 คะแนน

จากตารางที่6 พบวากลุมตัวอยางที่มีระดับการรับรูผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับปานกลางรอยละ 39.20 รองลงมาอยูในระดับนอยรอยละ33.30

Page 74: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

65

ตารางที7่ จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามคุณลักษณะแรงสนับสนุนทางสังคม จากสมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชน (n=240)

ระดับแรงสนับสนุนทางสังคม จํานวนคน รอยละระดับมาก 87 36.20ระดับปานกลาง 81 33.80ระดับนอย 72 30.00

X 64.18, S.D = 14.35, Max = 96คะแนน, Min = 24คะแนน

จากตารางที่7 พบวากลุมตัวอยางลักษณะแรงสนับสนุนทางสังคม จากสมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชนที่มีระดับมากสุดรอยละ 36.20 รองลงมาอยูในระดับนอยรอยละ 30.00

สวนที่4 พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกตารางที่8 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามคุณลักษณะพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก (n=240)

ระดับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก จํานวนคน รอยละระดับมาก 81 33.80ระดับปานกลาง 77 32.00ระดับนอย 82 34.20

X 86.70, S.D = 17.04, Max =120 คะแนน, Min =37 คะแนน

จากตารางที่8 พบวากลุมตัวอยางพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปกมดลูกที่มีระดับนอยรอยละ 34.20 และรองลงมาอยูในระดับมากรอยละ33.8

Page 75: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

66

ตารางที9่ ความสัมพันธระหวางปจจัยชีวทางสังคมไดแก อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได กับ พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของกลุมตัวอยาง (n=240)

ระดับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

ปจจัยชีวทางสังคมดี ปานกลาง ควรปรับปรุง

รวม X/2 df P-value

จํานวน(รอยละ)

จํานวน(รอยละ)

จํานวน(รอยละ)

อายุ 5.517 6 .479นอยกวา 40ป 53(21.1) 44(18.13) 52(21.7) 149(62.1)40ป –45ป 9(3.8) 18(7.5) 12(5.0) 93(16.3)46ป-50ป 9(3.8) 9(3.8) 11(4.6) 29(12.1)50 ปขึ้นไป 10(4.2) 6(2.5) 7(2.9) 23(9.6)รวม 81(33.8) 77(32.1) 81(34.2) 240(100)สถานภาพสมรส 9.010 8 .341โสด 37(15.4) 27(11.3) 31(12.9) 95(39.6)คู 37(15.4) 41(17.1) 35(14.6) 113(47.1)หมาย 1(0.4) 1(0.4) 4(1.7) 6(25)แยก 3(1.3) 2(0.8) 2(0.8) 7(2.9)หยาราง 3(1.3) 6(2.5) 10(4.2) 19(7.9)รวม 81(33.8) 77(32.1) 82(34.2) 240(100)การศึกษา 16.922 12 .153ไมไดเรียน 0(0.0) 0(0.0) 0(0.8) 2(0.8)ประถมศึกษา 7(2.9) 7(2.9) 1(0.4) 15(6.3)มัธยมศึกษาตอนตน 3(1.3) 3(1.3) 5(2.5) 12(5.2)มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 5(2.1) 12(5.0) 13(5.4) 30(12.5)อนุปริญญา/ปวส. 11(4.6) 12(5.0) 15(6.3) 38(15.8)ปริญญาตรี 51(21.3) 39(16.3) 43(17.9) 133(55.4)สูงกวาปริญญาตรี 4(1.7) 4(1.7) 2(0.8) 10(4.2)รวม 81(33.8) 77(32.1) 82(34.2) 240(100)

Page 76: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

67

ตารางที่9 (ตอ) (n=240)

*P <.05

จากตารางที่ 9 พบวาปจจัยชีวทางสังคมไดแก อาชีพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 สวนอายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา รายได ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรี เปนการยอมรับสมมติฐานเปนบางสวน

ระดับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

ปจจัยชีวทางสังคมดี ปานกลาง ควรปรับปรุง

รวม X/2 df P-value

จํานวน(รอยละ)

จํานวน(รอยละ)

จํานวน(รอยละ)

อาชีพ 44.286 40 .000รับราชการ/พนักงานของรัฐ

14(5.8) 8(3.3) 4(1.7) 26(10.8)

รัฐวิสาหกิจ 6(2.5) 11(4.6) 5(2.1) 22(9.2)

เกษตรกรรม 7(2.9) 5(2.1) 2(0.8) 14(5.8)

รับจาง 18(7.5) 31(12.9) 39(16.3) 88(36.7)

คาขาย 4(1.7) 16(6.7) 14(5.8) 34(14.2)

อื่นๆ 32(13.3) 6(2.5) 18(7.5) 56(23.3)

รวม 81(33.8) 77(32.1) 82(34.2) 240(100)

รายได 8.796 8 .360ไมเกิน1,000บาท 1(0.4) 1(0.4) 0(0.0) 2(0.8)

1,001-3,000บาท 0(0.0) 4(1.7) 2(0.8) 6(2.5)

3,001-5,000บาท 5(2.1) 5(2.1) 5(2.1) 12(5.0)

5,001-150,00บาท 20(8.3) 12(5.0) 17(7.1) 49(20.4)

15,001ขึ้นไป 55(22.9) 55(22.9) 61(25.4) 171(71.3)

รวม 81(33.8) 77(32.1) 82(34.2) 240(100)

Page 77: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

68

ตารางที่10 ความสัมพันธระหวางปจจัยภายในตัวบุคคลกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของกลุมตัวอยาง

(n=240)พฤติกรรมการมารับบริการตรวจ

มะเร็งปากมดลูกปจจัยภายในตัวบุคคลคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ P-value

-ความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก .213** .001-ทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก .321** .000-การรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกo การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก

.449** .000

o การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งมะเร็งปากมดลูก

.403** .000

o การรับรูผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูก .398** .000*P <.05 จากตารางที่10 พบวาปจจัยภายในตัวบุคคล ไดแกความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและการรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 จึงเปนการยอมรับสมมติฐาน

ตารางที่ 11 ความสัมพันธระหวางปจจัยภายนอกตัวบุคคลกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของกลุมตัวอยาง

(n=240)พฤติกรรมการมารับบริการตรวจ

มะเร็งปากมดลูกปจจัยภายนอกตัวบุคคลคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ P-value

-แรงสนับสนุนทางสังคม สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชน

.584** .000

*P <.05

Page 78: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

69

จากตารางที่11 พบวาปจจัยภายนอกตัวบุคคล ไดแก-แรงสนับสนุนทางสังคม สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชนมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 จึงเปนการยอมรับสมมติฐาน

Page 79: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(70)

บทที่ 5

บทสรุป อภิปราย และขอเสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็ง ปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางคุณลักษณะปจจัยชีวทางสังคม ปจจัยภายในตัวบุคคล ไดแกความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและการรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก ปจจัยภายนอกตัวบุคคล ไดแก แรงสนับสนุนทางสังคม สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชน กับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ.ศรีราชา เพื่อใหทราบถึงปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกสามารถนําผลการวิจัยไปใชเปนแนวทางในการปองกันมะเร็งปากมดลูก

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ไดดําเนินการที่แผนกสูตินรีเวชโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรีใชการสุมตัวอยางอยางงายจากประชากรหญิงอายุ 30-60 ที่มารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกที่แผนกสูตินรีเวชโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา มีกลุมตัวอยางจํานวน 240 คน

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้นเองและรวบรวมเปนบางสวน โดยผานการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 4 ทาน และไดทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดยการนําแบบสอบถามไปทดสอบกับสตรีอายุ 30-60 ปที่มารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกที่แผนกสูตินรีเวชโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชาที่มีลักษณะใกลเคียงกับกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน และนํามาคํานวณหาระดับความเชื่อมั่นของเครื่องมือดวยวิธีของ Cronbach’s Alpha Coefficient วิเคราะหโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปไดคาของความเชื่อมั่นของแบบสอบถามรวมทั้งหมดเทากับ .938

เริ่มดําเนินการศึกษาตั้งแตเดือนตุลาคม 2557ถึง พฤษภาคม 2558 นําขอมูลมาวิเคราะหโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ตามลักษณะขอมูลและสมมติฐาน ซึ่งไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะหความสัมพันธคุณลักษณะของประชากรและสังคมกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยใชสถิติ Chi-Square test วิเคราะหหาความสัมพันธระหวาง

Page 80: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

71

ปจจัยชีวสังคม ปจจัยภายในตัวบุคคล ปจจัยภายนอกตัวบุคคล กับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรี โดยใชคาสัมประสิทธิ์ของเพียรสัน ซึ่งสรุปผลการวิจัยไดดังนี้

ปจจัยชีวทางสังคม ไดแก อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได สวนใหญมีอายุนอยกวา 40ป รอยละ 62 สถานภาพคูสวนใหญจํานวน113คน รอยละ47.1 ระดับการศึกษาสวนใหญเปนระดับปริญญาตรี จํานวน 133 คน รอยละ 55.4 อาชีพของกลุมตัวอยางสวนใหญมีอาชีพรับจาง จํานวน 88 คน รอยละ 36.7 และกลุมผูมีรายไดสวนใหญเฉลี่ยตอเดือน 15,001 บาทขึ้นไป จํานวน 171 คน รอยละ 71.3 อาชีพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 สวนอายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา รายได ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรี เปนการยอมรับสมมติฐานเปนบางสวน

ปจจัยภายในตัวบุคคล ไดแก ความรูกับมะเร็งปากมดลูก ทัศนคติของการมารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก การรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกพบวาปจจัยภายในตัวบุคคล ไดแกความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและการรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 จึงเปนการยอมรับสมมติฐาน

ปจจัยภายนอกตัวบุคคล ไดแก แรงสนับสนุนทางสังคม สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางสาธารณสุข/สื่อมวลชน สวนใหญที่มีระดับมากสุดคิดเปนรอยละ 36.20 รองลงมาอยูในระดับนอยคิดเปนรอยละ 30.00 มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจ มะเร็งปากมดลูกของสตรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 จึงเปนการยอมรับสมมติฐาน

อภิปรายผลจากการศึกษาปจจัยทางชีวสังคมพบวาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับ

บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีขอโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัด ชลบุรี มีความสัมพันธกับการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรี ตําบลปาสัก กิ่งอําเภอซาง จังหวัดพะเยา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ซึ่งสอดคลองกับ ยุพาพร ศรีจันทร (2548)

กลาวไดวาปจจัยชีวทางสังคม อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได มีความสัมพันธกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก สวนใหญอายุ นอยกวา 40 ปรอยละ 62% สถานภาพคู รอยละ 47.1% ระดับการศึกษาเปนระดับปริญญาตรี รอยละ55.4 อาชีพรับจาง รอยละ 36.7% เฉลี่ยตอเดือน 15,001 รอยละ71.3

Page 81: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

72

ปจจัยภายในตัวบุคคล ไดแกความรูเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก ทัศนคติของการมารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก การรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกมีความสัมพันธกับการมาตรวจมะเร็งปากมดลูกพบวากลุมตัวอยางมีระดับการรับรูสวนใหญอยูในระดับปานกลางคิดเปนรอยละ 39.20 มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ซึ่งสอดคลองกับเพ็ญพักตร ลูกอินทรและคณะ (2549)ไดศึกษาเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกของสตรีวัย 30 – 60 ป ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมการปองกันมะเร็งปากมดลูก โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ( Mean = 23.02, S.D=3.02 ซึ่งที่มีความสัมพันธตอพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกของสตรี 30 – 60 ป คือการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก

กลาวไดวาปจจัย ดานทัศนคติของการมารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก กลุมสตรีที่สนใจและสตรีที่มารับบริการการตรวจมะเร็งปากมดลูกมีความรูในเรื่องของมะเร็งปากมดลูกและมีความคิดความรูสึกในดานทัศนคติที่ดีในการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

ปจจัยภายนอกตัวบุคคลไดแก แรงสนับสนุนทางสังคม สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวนชน มีความสัมพันธกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก จากการศึกษาพบวากลุมตัวอยางลักษณะแรงสนับสนุนทางสังคม จากสมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชนที่มีระดับมากสุดคิดเปนรอยละ 36.20 ซึ่งสอดคลองกับ เสริมทรัพย พุมพุทรา (2551) ไดศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการตรวจสอบ มะเร็งปากมดลูกของแกนนําสตรีดานสุขภาพที่สมรสแลวในเขตอําเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาทผลการศึกษา พบวาแกนนําสตรีดานสุขภาพที่สมรสแลว เคยไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกรอยละ 71.70 และเคยใหคําแนะนําบุคคลใกลชิดมาตรวจมะเร็งปากมดลูกรอยละ 91.70 และมีความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับปานกลางรอยละ 86.70 และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูก อยูในระดับปานกลาง รอยละ 78.30

กลาวไดวา ปจจัยภายนอกตัวบุคคล แรงสนับสนุนทางสังคม สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขและสื่อมวนชน มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05 ซึ่งทําใหกลุมสตรีมีความสนใจและในการดูแลตนเองที่จะรับบริการในการตรวจมะเร็งปากมดลูก

สมมติฐานที่ 1 ปจจัยชีวทางสังคมไดแก อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได มีความสัมพันธกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก จากการศึกษาพบวาอาชีพมีพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีในระดับสวนใหญมีอาชีพรับจาง จํานวน 88 คน รอยละ 36.7 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ซึ่งสอดคลองกับ ยุพาพร ศรีจันทร( 2548)

Page 82: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

73

ไดศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรี ตําบลปาสัก กิ่งอําเภอซาง จังหวัดพะเยา ผลการศึกษาพบวา การรับรูถึงโอกาสเสี่ยงการเกิดโรค การรับรูถึงความรุนแรงของโรค การรับรูถึงอุปสรรคของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีคะแนนเฉลี่ยสงเสริมใหไปตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสวนใหญอยูในระดับปานกลางการรับรูถึงประโยชนการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับสูงจากการวิเคราะหความสัมพันธพบวา อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และการรับรูถึงอุปสรรคของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมีความสมพันธไปรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

สมมติฐานที่ 2 ปจจัยภายในตัวบุคคล ไดแกความรูเรื่องโรคมะเร็งปามดลูก ทัศนคติของการมารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก การรับรูการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก มีความสัมพันธกับการมาตรวจมะเร็งปากมดลูกพบวากลุมตัวอยางมีระดับการรับรูสวนใหญอยูในระดับปานกลางคิดเปนรอยละ 39.20 มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจ มะเร็งปากมดลูกของสตรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ซึ่งสอดคลองกับเพ็ญพักตร ลูกอินทรและคณะ (2549)ไดศึกษาเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกของสตรีวัย 30 – 60 ป ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุพรรณบุรี ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมการปองกัน มะเร็งปากมดลูก โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ( Mean =23.02 S.D=3.02 ซึ่งที่มีความสัมพันธตอพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกของสตรี 30–60 ป คือการรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูกอยางนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการมีพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูก อยางนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และสอดคลองกับ อุทุมพร ปุรินทราภิบาล (2549) ศึกษาประสิทธิภาพผลของโปรแกรมสุขศึกษาตอการรับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกในสตรีที่มีบุตรจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยสุมตัวอยาง อยางงายจากมารดานักเรียนอนุบาล จํานวน 100 คน แบงเปนกลุมทดลอง 58 คน และกลุมเปรียบเทียบ 52 คนใชวิธีสอนสุขศึกษากลับกลุมทดลอง 2 ครั้ง และกระตุนเตือนโดยไปรษณียบัตร 2 ครั้ง เปนเวลา 6 สัปดาห ผลการทดลองพบวา ตัวแปรเกี่ยวกับการรับรูตอโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค กับการรับรูตอความรุนแรงของโรค การรับรูตอผลดีละอุปสรรคจากการปฏิบัติตามคําแนะนําของเจาหนาที่ดีขึ้นกวากอนการจัดโปรแกรม (P< 0.001) สวนความสําคัญของตัวแปรเกี่ยวกับการรับรูทั้ง 3 ดาน การรับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกพบวา การรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรค และความรุนแรงของโรคมีความสัมพันธกับการรับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูก

Page 83: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

74

สมมติฐานที่ 3 ปจจัยภายนอกตัวบุคคลไดแก แรงสนับสนุนทางสังคม สมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวนชน มีความสัมพันธกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก จากการศึกษาพบวาพบวากลุมตัวอยางลักษณะแรงสนับสนุนทางสังคม จากสมาชิกในครอบครัว เพื่อน บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข/สื่อมวลชนที่มีระดับมากสุดคิดเปนรอยละ 36.20 ซึ่งสอดคลองกับ เสริมทรัพย พุมพุทรา (2551)ไดศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการตรวจสอบมะเร็งปากมดลูกของแกนนําสตรีดานสุขภาพที่สมรสแลวในเขตอําเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาทผลการศึกษา พบวา แกนนําสตรีดานสุขภาพที่สมรสแลว เคยไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกรอยละ 71.70 และเคยใหคําแนะนําบุคคลใกลชิดมาตรวจมะเร็งปากมดลูกรอยละ91.70 และมีความรูเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับปานกลางรอยละ86.70 และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับปานกลางรอยละ78.30

ขอเสนอแนะจากผลการวิจัยทําใหทราบถึงพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรี

โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ผูวิจัยจึงขอเสนอแนะดังนี้

1. จากการวิจัยพบวา พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรีมีพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกอยูในระดับนอย ดังนั้นหนวยงานจึงควรมีนโยบายใหสตรีที่มีอายุตั้งแต 30-60 ป มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยเนนการใหความรู เกี่ ยวกับการมารับบริการตรวจ มะเร็งปากมดลูกและความรูเรื่องของมะเร็งปากมดลูกรวมทั้งการปฏิบัติตนและการดูแลตนเองกอนและหลังการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

2. จากการวิจัยพบวา พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี มีความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก อยูในระดับนอย รอยละ30.00 ดังนั้นหนวยงานจึงควรมีนโยบายใหความรูกับสตรีที่มีอายุตั้งแต 30-60 ป มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยเนนการใหความรูเกี่ยวกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและความรูเรื่องของมะเร็งปากมดลูกรวมทั้งการปฏิบัติตนและการดูแลตนเองกอนและหลังการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

3. จากการวิจัยพบวา พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรีมีทัศนคติการมารับบริการการตรวจมะเร็งปากมดลูก อยูในระดับกลาง รอยละ31.70 ดังนั้นจึงควรมีนโยบายใหความรูกับสตรีที่มีอายุ

Page 84: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

75

ตั้งแต 30-60 ป มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยเนนการใหความรูเกี่ยวกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและความรูเรื่องของมะเร็งปากมดลูกรวมทั้งการปฏิบัติตนและการดูแลตนเองกอนและหลังการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก

4. จากการวิจัยพบวา พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี มีทัศนคติการมารับบริการการตรวจมะเร็งปากมดลูก อยูในระดับกลาง รอยละ 31.70 ดังนั้นจึงควรมีนโยบายใหความรูกับสตรีที่มีอายุตั้งแต 30-60 ป มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยเนนการใหความรูและกิจกรรมที่เกี่ยวกับการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพื่อใหเกิดความรูสึกที่ดีตอการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพื่อประโยชนของผูมารับบริการ

ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป1. ประสิทธิภาพของโปรแกรมสุขศึกษาในการสงเสริมใหกลุมสตรีมารับบริการตรวจ

มะเร็งปากมดลูกโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา2. ความเครียดของกลุมสตรีที่มารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก โรงพยาบาลสมเด็จ

พระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา

Page 85: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(76)

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

กันยา สุวรรณแส. จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพอักษรพิทยา, 2532.

จตุพล ศรีสมบูรณ. ฮิวแมนแพปพิลโลมําวรัส และมะเร็งปากมดลูก. กรุงเทพมหานคร : ทิม (ประเทศไทย), 2549. หนา 1-202.

เฉลิมพลตันสกุล. (2541). พฤติกรรมศาสตรสาธารณสุข. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สหประชาพาณิชย, 2541.

เชิดชัย โชติสุทธิ์. การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543.

เบญจา ยอดดําเนิน จรรยา เศรษฐบุตร และกฤตยา อาชวนิจกุล. ทฤษฎีและการศึกษาทางสังคมวิทยา มานุษยวิทยาการแพทย. กรุงเทพฯ : โคงการเผยแพรขาวสารและการศึกษาดานประชากร สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2523.

บุญเยี่ยม ตระกูลวงศ. สังคมวิทยาการแพทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ชวนพิมพ , 2528.

ประภาเพ็ญ สุวรรณและสวิง สุวรรณ. พฤติกรรมศาสตร พฤติกรรมสุขภาพและสุขศึกษา.กรุงเทพมหานคร: คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2532.

ไพบูลย เทวรักษ. จิตวิทยา : ศึกษาพฤติกรรมภายนอกและภายใน . พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ศรีมงคลการพิมพ, 2532.

เพ็ญพักตร ลูกอินทร จักรกฤษณ ลูกอินทร อาคมโพธิ์สุวรรณและวรางคณา คุมสุข. “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกของสตรีวัย 30-60 ป ในเขตอําเภอเมือง จ.สุพรรณบุร.ี” สุพรรณบุร:ี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี, 2549.

Page 86: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

77

(77)

บรรณานุกรม

สุปราณี สมธิรัตนและคณะ.จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: เนติกุลการพิมพ, 2529.

ยุภาพร ศรีจันทร. “ปจจัยที่เกี่ยวของกับการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของสตรี

ตําบลปาสัก กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา.” วิทยานิพนธ มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2548.

วิจารณ พานิช. สถานศึกษากับการจัดการความรูเพื่อสังคม. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พิมพดี จํากัด, 2547.

สาวิตรี พรสินศิริรักษ. “ปจจัยที่สัมพันธกับพฤติกรรมการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกของสตรีมุสลิม จังหวัดกระบี่.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2550.

ศิริโสภาคย บูรพาเดชะ. จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2529.

อัญชลี จุติดํารงพันธ. “การประยุกตใชรูปแบบความเชื่อดานสุขภาพรวมกับกระบวนการกลุมในการสงเสริมพฤติกรรมการมาตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรี อําเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช.” นนทบุรี, กระทรวงสาธารณสุข, 2549.

อุสุมพร ปุรินทราภิบาล. “ประสิทธิภาพผลของโปรแกรมสุขศึกษาตอการรับบริการตรวจเซลลมะเร็งปากมดลูกในสตรีที่มีบุตรจังหวัดนครศรีธรรมราช.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2549.

Page 87: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

77

บรรณานุกรม(ตอวารสาร

กอบกุล พันธเจริญกุล. มโนมติในการพยาบาลแบบองครวม. เอกสารประชุมวิชากรคณะแพทยศาสตร ครั้งที่ 1 หองบรรยายจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล, 2531.

วศิน โพธิ์พฤกษ และ ยุวดี อําพล. การพัฒนารูปแบบการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกศูนยแพทย

ชุมชนตลุกดู อําเภอทับทัน จังหวัดอุทัยธานี. วารสารโรคมะเร็ง, 2551: 28(1):4-12.

เสริมทรัพย พุมพุทรา. พฤติกรรมการตรวจสอบมะเร็งปากมดลูกของแกนนําสตรีดานสุขภาพที่สมรสแลวในเขตอําเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท. วารสารโรงพยาบาลชัยนาท 11, 24 (มกราคม-มิถุนายน 2551): 51-60.

เอกสารอื่น ๆ

กุลธิดาพร กีฬาแปง. “ปจจัยที่มีผลกระทบตอพฤติกรรมการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกของแรงงานสตรีที่ทํางานในโรงงานเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลําพูน.” ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการสงเสริมสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2548.

จิรนันท มงคลดี. “ความคิดเห็นตอการตรวจ มะเร็งปากมดลูกของสตรี ตําบลสะลวง อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม.” การคนควาแบบอิสระ ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา สาธารณสุขศาสตร คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2548.

Books

Bandura, A. (1977). Self-efficacy: Toward a unifying theory of behavioral change.Psychology Review, 84: 199-215.

Page 88: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

78

Cronbach, L.J. (1990). Essential of Psychological Testing (5th ed.). New York: Harpet Colins.

Caplan, G. (1974). Support System and Community Mental Health: Lecture on Concept Development. Behavioral Publications, New York.

Gentle, P. (1994). High and Low exercisers among 14 and 15 years old children School of Postgraduate Medicine, University of Exerter.

Green, Lawrence. (1980). Educational Approach. 2nded. Toronto: Mayfield Publishing Company.

Green, L.W.and Kreuter. (1999). Health Promotion Planning: An Education and Environment Approach. Mayfield Publishing Company, Toronto.

Pender, N. J. (1982). Health Promotion in Nursing Practice. Appleton Century Grofits, New York. 497p.

Pender, N. J. (1996). Health Promotion in Nursing practice. (3eded.). Norwalk: Appleto & Lange, Connecticut.

Pillisuk, M. (1982). “Delivery of Social Supports: The Social Innovation,” American Journal of Orthopsychiatry. 52: 20-31.

Rosenstock, I.M. (1974). Historical Origin of Health Belief Model. Health EducationMonographs, 2 No 4.

Sechrist, K. R., Walker, S.N., & Pender, N.J. (1987). Development and Psychometric Evalua tion of the exercise benefits / barriers scale. Research in Nursing & Health, 10, 357-365.

Simson, W.M. (1986). Exercise: Precriptions for the elderly. Geriatics, 41, 65-100.

Page 89: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

79

Volpicelli, N. A., & Spector, M. H. (1988) Sport and Gastrointestinal tract and liver. In O. Appenzeiier (2ed.). Sport medicine: Fitness, training and injuries Baltimore: Urban & Schwarzenberg.

W HO. (1986). Ottawa Charter for Health Promotion. The first international conference On Health Promotion, Ontario, Canada.

Yamane, Taro. (1973). Statistics: An introductory analysis. New York: Harper and Row International.

Page 90: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(81)

ภาคผนวก

Page 91: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

82

ภาคผนวก กรายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย

Page 92: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

83

รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย

1. นายแพทยอรรถพร พันธพานิช สูติแพทย แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2540วุฒิบัตรผูมีความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขา สูติศาสตร-นรีวิทยา คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม 2547ประกาศนียบัตรผูมีความรูความชํานาญ สาขาการใชกลองสองตรวจเพื่อการวินิจฉัยและรักษาทางนรีเวชคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลโรงพยาบาลสมิติเวชศรีราชา 2552

2. พ.ต.หญิง ดร.ณัฐกฤตา ศิริโสภณ อาจารยศษ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา)มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2556วท.ม. (สุขศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2546พย.บ. (พยาบาล) มหาวิทยาลัยมหิดล 2542มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร(วิทยาเขตบางเขน)

3.แพทยหญิงพิชามญช พิทักษไพบูลยกุล แพทยหญิง ระดับ 5พ.บ. คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย2555 โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา

4.แพทยหญิงวรพัจนี วรปญญา แพทยหญิง ระดับ 5พ.บ.คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดล 2556 โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา

Page 93: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

84

ภาคผนวก ขแบบสอบถามการวิจัย

Page 94: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

85

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

เรื่อง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา

คําชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม1. แบบสอบถามชุดนี้จัดทําขึ้นสําหรับสตรีอายุ 30 – 60 ป เพื่อศึกษาปจจัยที่มี

ความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก2. ขอความรวมมือจากทุกทาน กรุณาตอบตามความเปนจริง ขอมูลที่ไดมาจะเก็บไวเปน

ความลับ การวิเคราะหและนําเสนอจะออกมาเปนภาพรวมเทานั้น3. แบบสอบถามชุดนี้ประกอบดวย 6 สวน คือ

สวนที่ 1 ปจจัยชีวทางสังคม จํานวน 5 ขอสวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก จํานวน 20 ขอสวนที่ 3 ทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก 10 ขอสวนที่ 4 การรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก 29 ขอสวนที่ 5 แรงสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็ง

ปากมดลูก 24 ขอสวนที่ 6 พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก 30 ขอ

โปรดอานคําชี้แจงของแตละขอใหเขาใจกอนตอบคําถาม และกรุณาตอบทุกขอในแตละสวนของแบบสอบถาม

ผูวิจัยขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ดวย ที่ทานไดใหความรวมมือเปนอยางดี

อินทิรา สิทธิโคตรนักศึกษาปริญญาโท (ภาคพิเศษ)

โครงการหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

Page 95: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

86

สวนที่ 1 ปจจัยชีวทางสังคม

คําชี้แจง จงเติมขอความลงในชองวางใหสมบูรณและทําเครื่องหมาย ลงใน หนาขอความ

ซึ่งเห็นวาถูกตองและตรงกับความเปนจริงของทานมากที่สุดเพียงขอเดียว

1. ปจจุบันทานมีอายุ.................ป

2. ปจจุบันทานมีสถานภาพสมรสอยางไร

1 โสด 2 คู

3 หมาย 4 แยก

5 หยาราง

3. ระดับการศึกษาสูงสุดของทาน

1 ไมไดเรียน 2 ประถมศึกษา

3 มัธยมศึกษาตอนตน 4 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.

5 อนุปริญญา/ปวส. 6 ปริญญาตรี

7 สูงกวาปริญญาตรี

4.ทานประกอบอาชีพอะไร

1 รับราชการ/พนักงานของรัฐ 2 รัฐวิสาหกิจ

3 เกษตรกรรม 4 รับจาง

5 คาขาย 6 อื่น ๆ ระบุ..............................

5.รายไดเฉลี่ยของครอบครัวทานกี่บาทตอเดือน

1 ไมเกิน 1,000 บาท 2 1,001-3,000 บาท

3 3,001-5,000 บาท 4 5,001-15,000 บาท

5 15,001 บาท ขึ้นไป

Page 96: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

87

สวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกคําชี้แจง ในสวนนี้ตองการทราบความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก ขอใหทานทําเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความรูของผูถูกสอบถามมากที่สุดเพียงขอละ 1 คําตอบ ซึ่งในแตละขอมีความหมายดังนี้ถูก หมายถึง ขอความนั้นตรงกับความรูของผูถูกสอบถามเปนสวนใหญหรือทั้งหมดผิด หมายถึง ขอความนี้ไมตรงกับความรูของผูถูกสอบถามเลยไมทราบ หมายถึง ขอความนี้ผูถูกสอบถามไมมีความรูเกี่ยวกับขอมูลที่ถูกสอบถาม

ขอ ประเด็นคําถาม ถูก ผิด ไมทราบสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก

1. ผูหญิงที่คลอดลูกคนแรกตั้งแตอายุนอยไมเสี่ยงตอการเปนโรคมะเร็งปากมดลูก

2. ผูหญิงที่มีการอักเสบของปากมดลูกทุกคนจะเปนมะเร็งปากมดลูก3. ผูหญิงที่สูบบุหรี่ทําใหมีโอกาสเปนมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น4. ผูหญิงที่มีบุตรหลายคน มีโอกาสเปนมะเร็งปากมดลูกมากกวา

ผูหญิงที่มีบุตรนอยหรือไมมีบุตร5. สามีที่ชอบเที่ยวผูหญิงทําใหภรรยามีโอกาสเปนมะเร็งปากมดลูก

มากขึ้นอาการของโรคมะเร็งปากมดลูก

6. ผูที่เปนมะเร็งปากมดลูกทุกรายตองมีเลือดออกทางชองคลอดเปนจํานวนมาก

7. โรคมะเร็งปากมดลูกพบในสตรีที่มีอายุตั้งแต 30 ปขึ้นไป8. มีเลือดออกกระปริดกระปรอย ปวดทองนอย ตกขาวมีกลิ่นเหม็น

เปนอาการของโรคมะเร็งปากมดลูก9. อาการซีด ออนเพลีย เบื่ออาหารน้ําหนักลด เปนอาการของ

โรคมะเร็ง ปากมดลูกในระยะลุกลาม10 การเปนมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามไมมีอาการเจ็บปวดใดๆ

การปองกันโรคมะเร็งปากมดลูก11 ผูหญิงอายุ 35 ป ขึ้นไป ควรไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกอยาง

นอยปละ 1 ครั้ง

Page 97: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

88

ขอ ประเด็นคําถาม ถูก ผิด ไมทราบ

การปองกันโรคมะเร็งปากมดลูก(ตอ)12 การตรวจมะเร็งปากมดลูกหากเปนระยะเริ่มแรกไมสามารถตรวจ

พบได13 โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถปองกันได14 หากทานมีความรูที่จะสังเกตอาการผิดปกติของตนเองได เชน ตก

ขาวหรือมีเลือดออก ก็ไมจําเปนตองไปตรวจมะเร็งปากมดลูก

15 การตรวจหามะเร็งปากมดลูกจะตรวจเมื่อมีอาการแลวเทานั้นการรักษาโรคมะเร็งปากมดลูก

16 โรคมะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มแรกสามารถรักษาใหหายขาดได17 โรคมะเร็งปากมดลูกรักษาไดโดยการผาตัดเทานั้น18 ปจจุบันยาหมอแผนโบราณสามารถรักษามะเร็งปากมดลูกให

หายขาดได19 ผูหญิงที่เปนมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามไมสามารถรักษาใหหาย

ได20 การรักษาโรคมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาไดหลังจากการตรวจ

พบความผิดปกติ

Page 98: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

89

สวนที่ 3 ทัศนคติของการมารับบริการการตรวจมะเร็งปากมดลูกคําชี้แจง กรุณาทําเครื่องหมาย √ ลงในชองวางตามความรูสึกนึกคิดของทานเพียงขอเดียว

เทานั้น ตามความเปนจริง โดยมีหลักเกณฑดังนี้เห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ขอความนั้นตรงกับความรูสึกนึกคิดของทานมากที่สุดเห็นดวย หมายถึง ขอความนั้นตรงกับความรูสึกนึกคิดของทานมากไมเห็นดวย หมายถึง ขอความนั้นไมตรงกับความรูสึกนึกคิดของทานไมเห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ขอความนั้นไมตรงกับความรูสึกนึกคิดของทานมากที่สุด

ขอ คําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวย ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

1. ขาดความรูเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อปองกันโรคมะเร็งปากมดลูก

2. อายเจาหนาที่ซึ่งเคยพบหนาตาและเห็นกันบอยครั้ง3. ไมมีเวลา4. สตรีบางคนคิดวาตนเองมีสุขภาพที่แข็งแรงดีอยูแลว

ไมมีปญหาในการมีเพศสัมพันธ จึงคิดวาจะมาตรวจตอนไมสบาย

5. เสียเวลาในการรอตรวจนานจึงไมไปรับการตรวจ6. สตรีบางสวนพบวาไมมีการรณรงคใหมาตรวจคัด

กรองมะเร็งปากมดลูก7. สตรีบางสวนมีภาระที่จะตองดูแลครอบครัวและญาติ

จึงไมสามารถมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกได8. ทางเลือกที่หลากหลายในการตรวจคัดกรองมะเร็ง

ปากมดลูก9. คิดวาสถานพยาบาลหรือสถานีอนามัยไมสะดวกและ

สะอาด10. ขาดความเชื่อมั่นหรือมีอคติกับบุคลากรบางทานจึง

ไมไปคัดกรองมะเร็งปาดมดลูก

Page 99: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

90

สวนที่ 4 การรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก

คําชี้แจง กรุณาทําเครื่องหมาย √ ลงในชองวางตามความรูสึกนึกคิดของทานเพียงขอเดียวเทานั้น ตามความเปนจริง โดยมีหลักเกณฑดังนี้

เห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ขอความนั้นตรงกับความรูสึกนึกคิดของทานมากที่สุดเห็นดวย หมายถึง ขอความนั้นตรงกับความรูสึกนึกคิดของทานมากไมเห็นดวย หมายถึง ขอความนั้นไมตรงกับความรูสึกนึกคิดของทานไมเห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ขอความนั้นไมตรงกับความรูสึกนึกคิดของทานมากที่สุด

ขอ คําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวย ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

การรับรูโอกาสเสี่ยงตอ การเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก1. ทานเปนบุคคลหนึ่งที่ควรรับการตรวจมะเร็งปาก

มดลูก2. ผูหญิงที่ไมมีสามีหรือไมเคยคลอดบุตรไมเสี่ยงตอ

การเปนโรคมะเร็งปากมดลูก3. ผูหญิงที่มีบุตรมากมีโอกาสเปนมะเร็งปาดมดลูกสูง4. ผูหญิงที่กินหรือฉีดยาคุมกําเนิดควรตรวจมะเร็งปาก

มดลูกทุกป5. ผูหญิงที่ไมไดกินหรือฉีดยาคุมกําเนิดไมเสี่ยงตอ

โรคมะเร็งปากมดลูก6. ผูหญิงที่มีความผิดปกติของปากมดลูกเรื้อรังมีโอกาส

เปนมะเร็งปากมดลูก7. ผูหญิงโสดไมเสี่ยงตอการเปนมะเร็งปากมดลูก8. การแตงงานตั้งแตอายุยังนอยเพิ่มโอกาสเสี่ยงตอการ

เปนมะเร็งปากมดลูกสูง9. ผูหญิงที่มีเพศสัมพันธกับผูชายหลายคนมีโอกาสเสี่ยง

ตอการเปนมะเร็งปากมดลูกสูง10 การปองกันโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธชวยลดโอกาส

เสี่ยงตอการเปนมะเร็งปากมดลูก

Page 100: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

91

ขอ คําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวย ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

การรับรูความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูก11. การรักษาโรคมะเร็งปากมดลูกรักษาโดยการผาตัด

เทานั้น12. มะเร็งปากมดลูกสามารถลุกลามไปที่อวัยวะอื่นได

เชน ที่ตับ ทําใหเสียชีวิตได13. ผูที่เปนมะเร็งปากมดลูกควรไดรับการรักษาทุกคนเพื่อ

ปองกันการแพรกระจาย14. หากมะเร็งกระจายไปยังอวัยวะตาง ๆ แลว รักษาไม

หาย15. โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถตรวจพบไดเมื่อมีอาการ

ผิดปกติเกิดขึ้นแลวเทานั้น16. โรคมะเร็งปากมดลูกไมมีทางปองกันและไมสามารถ

รักษาใหหายได17. โรคมะเร็งปากมดลูกไมทําใหเสียชีวิตถาไดรับการ

รักษาตั้งแตระยะเริ่มแรก18. ผูที่เปนโรคมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามอาจถึงตายได19. มะเร็งปากมดลูกจะทําใหเสียคาใชจายในการรักษาสูง

การรับรูผลดีในการตรวจมะเร็งปากมดลูก20. การตรวจพบมะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มแรกสามารถ

รักษาใหหายขาดได21. การตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกปชวยลดการตายของ

สตรีดวยโรคมะเร็งปากมดลูก22. ผูหญิงที่ผาตัดมดลูกออกไปแลวไมจําเปนตองตรวจ

มะเร็งปากมดลูก23. การตรวจมะเร็งปากมดลูกเปนการคัดกรองโรคเทานั้น

ปองกันโรคมะเร็งไมได

Page 101: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

92

ขอ คําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวย ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

24. การปองกันโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธชวยลดโอกาสเสี่ยงตอการเปนมะเร็งปากมดลูก

25. หากตรวจมะเร็งปากมดลูกแลวผลการตรวจปกติ แสดงวาไมเปนมะเร็งปากมดลูกไมตองไปตรวจซ้ําอีก

26. ถาตรวจมะเร็งปากมดลูกประจําปองกันมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามได

27. ผูหญิงที่ตรวจมะเร็งปากมดลูกเปนประจําและผลการตรวจปกติควรตรวจซ้ํา ทุก 3 ป

28. สถานีอนามัยใกลบานทานสามารถใหบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกได

29. ใน 1 ปที่ผานมาทานไดตรวจมะเร็งปากมดลูกแลว

Page 102: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

93

สวนที่ 5 แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมจาก/สมาชิกในครอบครัว /เพื่อน/ บุคลากรทางการแพทย/สาธารณสุข และสื่อมวลชนคําชี้แจง จงพิจารณาขอความในรายการและทําเครื่องหมายลงในชองที่กําหนดใหทายขอความนั้นๆใหตรงกับความเปนจริงของผูถูกสอบถามมากที่สุดโดยแตละขอมีความหมายดังนี้มาก หมายถึง ขอความนั้นไดรับการสนับสนุนจากสมาชิกในครอบครัวฯ อยางมากปานกลาง หมายถึง ขอความนั้นไดรับการสนับสนุนจากสมาชิกในครอบครัวฯปานกลางนอย หมายถึง ขอความนั้นไดรับการสนับสนุนจากสมาชิกในครอบครัวฯนอยไมไดรับเลย หมายถึง ขอความนั้นไมไดรับการสนับสนุนจากสมาชิกในครอบครัวฯเลย

ขอ ประเด็นคําถาม มากปานกลาง

นอยไมไดรับเลย

การสนับสนุนจากสมาชิกในครอบครัว

1. ทานไดรับคําแนะนําวิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูก

2. ทานไดรับการกระตุนใหตรวจมะเร็งปากมดลูก

3. ทานไดรับคําชื่นชมจากครอบครัวเมื่อทานเขาตรวจมะเร็งปากมดลูก

4. บุคคลในครอบครัวพาทานไปตรวจมะเร็งปากมดลูก

5. ทานไดรับกําลังใจจากครอบครัวเมื่อทานตรวจมะเร็งปากมดลูก

6. ทานไดรับคําแนะนําในการตรวจมะเร็งปากมดลูกจากครอบครัว

7. ทานไดรับบริการการดูแลหลังการตรวจมะเร็งปากมดลูกจากครอบครัว

8. ทานไดรับสื่อสิ่งพิมพเรื่องความรูเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูกจากครอบครัวการสนับสนุนจากเพื่อน

9. ทานไดรับคําแนะนําการตรวจมะเร็งปากมดลูกจากเพื่อน

10. ทานไดรับการชักชวนตรวจมะเร็งปากมดลูกจากเพื่อน

11. ทานตรวจมะเร็งปากมดลูกเนื่องจากมีเพื่อนคุยเพื่อนเยอะ

Page 103: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

94

ขอ ประเด็นคําถาม มากปานกลาง

นอยไมไดรับเลย

12. ทานไดรับการดูแลเรื่องตรวจมะเร็งปากมดลูกจากเพื่อน13. ทานไดแสดงความคิดเห็นในกลุมเพื่อนที่ตรวจมะเร็ง

ปากมดลูกที่อยูในชวงวัยเดียวกันการสนับสนุนจากบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข

14. เมื่อเกิดการบาดเจ็บจากการตรวจมะเร็งปากมดลูกทานไดรับความชวยเหลือจากบุคลากรทางการแพทยสาธารณสุข

15. ทานไดรับคําแนะนําการดูแลตัวเองกอนและหลังการตรวจมะเร็งปากมดลูกจากบุคลากรทางการแพทยสาธารณสุข

16. บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขจัดเตรียมสถานที่ตรวจมะเร็งปากมดลูกใหทาน

17. บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขไดรวมในการตรวจมะเร็งปากมดลูกกับทานดวย

18. ทานไดรับความรูเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูกจากบุคลากรทางการแพทยสาธารณสุข

19. ทานไดรับความรูเรื่องการตรวจมะเร็งปากมดลูกสําหรับผูสูงอายุจากบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขการสนับสนุนจากสื่อมวลชน

20. ทานไดรับแรงบันดาลใจการตรวจมะเร็งปากมดลูกจาก วิทยุ โทรทัศน อินเตอรเน็ต

21. ทานไดความรูเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูกจากการอานหนังสือพิมพ วารสาร

22. ทานไดรับความรูการตรวจมะเร็งปากมดลูกจากการประชาสัมพันธของชมรมผูสูงอายุ

23. ทานไดรับขาวสารจากสื่อวิทยุชุมชนเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูกของผูสูงอายุ

24. ทานไดรับขาวสารจากปายโฆษณาของชมรมผูสูงอายุ

Page 104: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

95

สวนที่ 6 แบบสอบถามพฤติกรรมการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย√ลงในชองวางที่ตรงกับการปฏิบัติตนของทานมากที่สุด เพียงขอเดียวในแตละขอคําถาม โดยมีหลักเกณฑดังนี้ปฏิบัติมาก หมายถึง ทานปฏิบัติเปนประจําสม่ําเสมอทุก 1 เดือน และใหความสําคัญ

ตอการปฏิบัติปฏิบัติคอนขางมาก หมายถึง ทานปฏิบัติเปนสวนใหญแตไมสม่ําเสมอ ใน 3 เดือนปฏิบัติคอนขางนอย หมายถึง ทานปฏิบัติเปนครั้งคราว นานๆ ครั้ง หรือ 1 ครั้งใน 6 เดือน หรือ

ปฏิบัติเมื่อทานนึกขึ้นไดปฏิบัตินอย หมายถึง ทานไมปฏิบัติเลยหรือไมเคยตรวจมะเร็งปากมดลูกเลย

ขอ ขอคําถามปฏิบัติ

มาก

ปฏิบัติ

คอนขางมาก

ปฏิบัติ

คอนขางนอย

ปฏิบัติ

นอย

1. ทานไปรับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูกอยางนอยปละ 1 ครั้ง

2. ทานไปรับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก เนื่องจากไดรับของขวัญเปนที่ระลึก

3. ทานไปรับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก เนื่องจากไมตองเสียคาใชจาย

4. ทานไปตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก เนื่องจากสมาชิกในครอบครัวของทานแนะนําใหไปตรวจ

5. เมื่อทานมีอาการของการเปนมดลูกอักเสบทานรอดูอาการสักระยะกอนแลวจึงไปพบแพทยหรือเจาหนาที่สาธารณสุข

6. ทานไปรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกครั้งเมื่อไดรับคําเชิญ

7. เมื่อมีประจําเดือนผิดปกติ มีเลือดออกมากหรือกะปดกะปรอยทานไปพบแพทยทันที

Page 105: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

96

ขอ ขอคําถามปฏิบัติ

มาก

ปฏิบัติ

คอนขางมาก

ปฏิบัติ

คอนขางนอย

ปฏิบัติ

นอย

8. ทานไปรับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก เนื่องจากสถานที่เหมาะสม มีอุปกรณทันสมัย

9. ถาทานมีอาการเจ็บทองนอย ภายหลังมีเพศสัมพันธทานไปพบแพทยทันที

10. ถาทานเปนโรคเริมหรือหูดที่อวัยวะสืบพันธุทานไปพบแพทยทันที

11. ถาทานมีเลือดออกหลังจากการรวมเพศมากกวา 1 ครั้ง ทานไปพบแพทยทันที

12. ถาทานมีอาการเจ็บทองนอยรวมกับการมีประจําเดือนทานจะไปพบแพทยทันที

13. ทานไปตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เนื่องจากเจาหนาที่บริการดี

14. ทานสังเกต ลักษณะสี กลิ่นของสิ่งที่ขับหลั่งจากชองคลอดเปนประจํา

15. ทานไดรับการติดตอจากเจาหนาที่เพื่อติดตามผลการรักษา

16. ทานเกิดความวิตกกังวลเนื่องจากมีบุคคลในครอบครัวเปนโรคมะเร็งปากมดลูก

17. สถานที่ตรวจอยูใกลบาน สะดวกในการเดินทางไปกลับ

18. ทานไปรับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก เนื่องจากคาใชจายถูกกวาโรงพยาบาลเอกชน

19. ทานมีความประทับใจตอแพทยที่ตรวจ

20. ทานรูสึกเกรงใจเจาหนาที่

Page 106: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

97

ขอ ขอคําถามปฏิบัติ

มาก

ปฏิบัติ

คอนขางมาก

ปฏิบัติ

คอนขางนอย

ปฏิบัติ

นอย

21. ทานมีอาการมีเลือดออกผิดปกติ22. ทานคิดวาจะเปนมะเร็งปากมดลูก23. ทานตรวจหลังคลอด24. ทานตองการไปตรวจสุขภาพประจําป25. ทานไดรับการชักชวนจากเพื่อนรวมงาน26. ทานมีทัศนคติที่ดีตอการรับการตรวจมะเร็ง

ปากมดลูก27. มีปจจัยเสี่ยงเพราะสามีไมใชถุงยางอนามัย

เวลามีเพศสัมพันธกับหญิงบริการ28. ทานสังเกตความผิดปกติบริเวณอวัยวะเพศ

เชน ตุม ผื่น ติ่งเนื้อ หรือแผลประจํา29. ทานไปรับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก

ทุกครั้งตามที่หมอนัด30. เมื่อมีปญหาเกี่ยวกับระบบสืบพันธุไป

ปรึกษาแพทยเจาหนาที่สาธารณสุขใกลบาน

Page 107: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

แบบสอบถามการวิจัย

เรื่อง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกของสตรีโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ. ศรีราชา

คําชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม1. แบบสอบถามชุดนี้จัดทําขึ้นสําหรับสตรีอายุ 30 – 60 ป เพื่อศึกษาปจจัยที่มี

ความสัมพันธกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก2. ขอความรวมมือจากทุกทาน กรุณาตอบตามความเปนจริง ขอมูลที่ไดมาจะเก็บไวเปน

ความลับ การวิเคราะหและนําเสนอจะออกมาเปนภาพรวมเทานั้น3. แบบสอบถามชุดนี้ประกอบดวย 6 สวน คือ

สวนที่ 1 ปจจัยชีวทางสังคม จํานวน 5 ขอสวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก จํานวน 20 ขอสวนที่ 3 ทัศนคติของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก 10 ขอสวนที่ 4 การรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก 29 ขอสวนที่ 5 แรงสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปาก

มดลูก 24 ขอสวนที่ 6 พฤติกรรมการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก 30 ขอ

โปรดอานคําชี้แจงของแตละขอใหเขาใจกอนตอบคําถาม และกรุณาตอบทุกขอในแตละสวนของแบบสอบถาม

ผูวิจัยขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ดวย ที่ทานไดใหความรวมมือเปนอยางดี

อินทิรา สิทธิโคตรนักศึกษาปริญญาโท (ภาคพิเศษ)

โครงการหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

Page 108: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

สวนที่ 1 ปจจัยชีวทางสังคม

คําชี้แจง จงเติมขอความลงในชองวางใหสมบูรณและทําเครื่องหมาย ลงใน หนาขอความ

ซึ่งเห็นวาถูกตองและตรงกับความเปนจริงของทานมากที่สุดเพียงขอเดียว

1. ปจจุบันทานมีอายุ.................ป

2. ปจจุบันทานมีสถานภาพสมรสอยางไร

1 โสด 2 คู

3 หมาย 4 แยก

5 หยาราง

3. ระดับการศึกษาสูงสุดของทาน

1 ไมไดเรียน 2 ประถมศึกษา

3 มัธยมศึกษาตอนตน 4 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.

5 อนุปริญญา/ปวส. 6 ปริญญาตรี

7 สูงกวาปริญญาตรี

4.ทานประกอบอาชีพอะไร

1 รับราชการ/พนักงานของรัฐ 2 รัฐวิสาหกิจ

3 เกษตรกรรม 4 รับจาง

5 คาขาย 6 อื่น ๆ ระบุ..............................

5.รายไดเฉลี่ยของครอบครัวทานกี่บาทตอเดือน

1 ไมเกิน 1,000 บาท 2 1,001-3,000 บาท

3 3,001-5,000 บาท 4 5,001-15,000 บาท

5 15,001 บาท ขึ้นไป

Page 109: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

สวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกคําชี้แจง ในสวนนี้ตองการทราบความรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก ขอใหทานทําเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความรูของผูถูกสอบถามมากที่สุดเพียงขอละ 1 คําตอบ ซึ่งในแตละขอมีความหมายดังนี้ถูก หมายถึง ขอความนั้นตรงกับความรูของผูถูกสอบถามเปนสวนใหญหรือทั้งหมดผิด หมายถึง ขอความนี้ไมตรงกับความรูของผูถูกสอบถามเลยไมทราบ หมายถึง ขอความนี้ผูถูกสอบถามไมมีความรูเกี่ยวกับขอมูลที่ถูกสอบถาม

ขอ ประเด็นคําถาม ถูก ผิด ไมทราบสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก

1. ผูหญิงที่คลอดลูกคนแรกตั้งแตอายุนอยไมเสี่ยงตอการเปนโรคมะเร็งปากมดลูก

2. ผูหญิงที่มีการอักเสบของปากมดลูกทุกคนจะเปนมะเร็งปากมดลูก

3. ผูหญิงที่สูบบุหรี่ทําใหมีโอกาสเปนมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น

4. ผูหญิงที่มีบุตรหลายคน มีโอกาสเปนมะเร็งปากมดลูกมากกวาผูหญิงที่มีบุตรนอยหรือไมมีบุตร

5. สามีที่ชอบเที่ยวผูหญิงทําใหภรรยามีโอกาสเปนมะเร็งปากมดลูกมากขึ้นอาการของโรคมะเร็งปากมดลูก

6. ผูที่เปนมะเร็งปากมดลูกทุกรายตองมีเลือดออกทางชองคลอดเปนจํานวนมาก

7. โรคมะเร็งปากมดลูกพบในสตรีที่มีอายุตั้งแต 30 ปขึ้นไป8. มีเลือดออกกระปริดกระปรอย ปวดทองนอย ตกขาวมี

กลิ่นเหม็น เปนอาการของโรคมะเร็งปากมดลูก9. อาการซีด ออนเพลีย เบื่ออาหารน้ําหนักลด เปนอาการ

ของโรคมะเร็ง ปากมดลูกในระยะลุกลาม10 การเปนมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามไมมีอาการเจ็บปวด

ใดๆ

Page 110: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

ขอ ประเด็นคําถาม ถูก ผิด ไมทราบการปองกันโรคมะเร็งปากมดลูก

11 ผูหญิงอายุ 35 ป ขึ้นไป ควรไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกอยางนอยปละ 1 ครั้ง

12 การตรวจมะเร็งปากมดลูกหากเปนระยะเริ่มแรกไมสามารถตรวจพบได

13 โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถปองกันได14 หากทานมีความรูที่จะสังเกตอาการผิดปกติของตนเองได

เชน ตกขาวหรือมีเลือดออก ก็ไมจําเปนตองไปตรวจมะเร็งปากมดลูก

15 การตรวจหามะเร็งปากมดลูกจะตรวจเมื่อมีอาการแลวเทานั้นการรักษาโรคมะเร็งปากมดลูก

16 โรคมะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มแรกสามารถรักษาใหหายขาดได

17 โรคมะเร็งปากมดลูกรักษาไดโดยการผาตัดเทานั้น18 ปจจุบันยาหมอแผนโบราณสามารถรักษามะเร็งปาก

มดลูกใหหายขาดได19 ผูหญิงที่เปนมะเร็งปากมดลูกระยะลุกลามไมสามารถ

รักษาใหหายได20 การรักษาโรคมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาไดหลังจาก

การตรวจพบความผิดปกติ

Page 111: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

สวนที่ 3 ทัศนคติของการมารับบริการการตรวจมะเร็งปากมดลูกคําชี้แจง จงพิจารณาขอความในรายการและทําเครื่องหมาย ลงในชองที่กําหนดใหทาย

ขอความ นั้น ๆ ใหตรงกันความรูสึกหรือความคิดเห็นของผูถูกสอบถามมากที่สุดเพียงขอละหนึ่ง

คําตอบ โดยแตละขอมีความหมายดังนี้

เห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ขอความนั้นตรงกับความรูสึกหรือความคิดเห็นของผู

ถูกสอบถามอยางมาก

เห็นดวย หมายถึง ขอความนั้นตรงกับความรูสึกหรือความคิดเห็นของผูถูก

สอบถามคอนขางมาก

ไมเห็นดวย หมายถึง ขอความนั้นไมตรงกับความรูสึกหรือความคิดเห็นของผูถูก

สอบถาม

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ขอความนั้นไมตรงกับความรูสึกหรือความคิดเห็นของผูถูก

สอบถามเปนอยางมาก

Page 112: 2559mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Intira_ Sittikote.pdf · (2) Thesis Title Factors Relating to Behaviors on Getting Cervical Cancer in the Women at Queen SavangVadhana

(98)

ประวัติผูศึกษา

ชื่อ นางสาวอินทิรา สิทธิโคตรวัน/เดือน/ปเกิด 21 เมษายน 2519สถานที่เกิด อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิประวัติการศึกษา พ.ศ. 2538

ประกาศนียบัตรผูชวยพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทยพ.ศ. 2552 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ตําแหนง พยาบาล/สาธารณสุข สถานพยาบาลแพทยแผนจีนมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ประสบการณทํางาน พ.ศ. 2538-2556 ตําแหนงผูชวยพยาบาล โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชาพ.ศ.2556-2557 พยาบาล/สาธารณสุข ประจํา บริษัท KCEอิเล็กทรอนิกส นิคมลาดกระบังพ.ศ. 2558 – ปจจุบัน พยาบาล/สาธารณสุข สถานพยาบาลแพทยแผนจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม