12
Sample size calculation Thoranin kongsuk MD, M.Sc, M.Econ

Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

Sample size calculation Thoranin kongsuk MD, M.Sc, M.Econ

Page 2: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ
Page 3: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

การคำนวณขนาดตัวอย่าง• จำนวนตัวอย่างที่เหมาะสม คือ จำนวนตัวอย่างที่น้อยที่สุด ที่สามารถจะตอบคำถามหลักของงานวิจัยได้ (Primary research question)

• วิธีคำนวณขนาดตัวอย่างจะขึ้นกับ 1)รูปแบบการวิจัย 2)ประเภทของตัวแปร 3)สถิติที่จะใช้สรุปผล 4)วิธีการสุ่มตัวอย่างและจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา (เช่น คนกลุ่มเดียว คนสองกลุ่มหรือเปรียบเทียบกันมากกว่า ๒ กลุ่ม)

Page 4: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

Parameters ที่เกี่ยวข้องกับขนาดตัวอย่าง

1. ระดับความเชื่อมั่นหรือโอกาสผิดพลาดในการสรุปผล : ในการสรุปค่าParameters ของประชากรจากสถิติที่ได้จากตัวอย่าง ถ้าต้องการให้เกิดค่าผิดพลาด(α) ขนาดเล็กก็ต้องใช้ตัวอย่างจำนวนมาก และในการเปรียบเทียบผล ถ้าต้องการให้มีอำนาจการทดสอบสูง (β-error เล็กๆ) ขนาดตัวอย่างต้องใหญ่

2. ความแม่นยำของการประมาณค่า (precision of estimate) : ถ้าต้องการความแม่นยำมากขนาดตัวอย่างจะใหญ่

3. ความแตกต่างของผล (effect size): ในการทดสอบสมมุติฐานถ้าค่าสถิติที่เปรียบเทียบกันนั้นแตกต่างกันน้อยจะต้องใช้ตัวอย่างขนาดใหญ่

4. ความแปรปรวนของตัวแปรตาม : ถ้ามีความแปรปรวนมากจะใช้ตัวอย่างจำนวนมาก

Page 5: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

การคำนวณตัวอย่างเพื่อประมาณค่าสัดส่วนของประชากร

• สำหรับการวิจัยสำรวจหรือ Observational descriptive design ที่ตัวแปรวัดค่าเป็น Categorical data เช่น การสำรวจหา Prevalence, incidence ของโรค

• สูตรนี้ใช้กรณีประชากรมีขนาดใหญ่หรือไม่ทราบจำนวนประชากร

d (precision of estimate) เป็นค่าความต่างที่ยอมให้ค่าประมาณห่างจากค่าจริงได้เท่าไร ไม่ใช่ค่า α

Page 6: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

การคำนวณตัวอย่างเพื่อประมาณค่าเฉลี่ยของประชากร

• สำหรับการวิจัยสำรวจ Observational descriptive design ที่ตัวแปรวัดค่าเป็น Continuous data สรุปลักษณะด้วยค่าเฉลี่ย เช่น การสำรวจเพื่อประมาณค่า IQ ของเด็กไทย

e = (precision of estimate) เป็นค่าความต่างที่ยอมให้ค่าประมาณห่างจากค่าจริงได้เท่าไร ó2 = ความแปรปรวน(variance)ของตัวแปรตามที่ใช้คำนวณขนาดตัวอย่าง

Page 7: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

การปรับขนาดตัวอย่างในกรณี Dropout

n = ขนาดตัวอย่างที่คำนวณได้จากสูตรการคำนวณขนาดตัวอย่าง

nadj =ขนาดตัวอย่างที่ปรับแล้ว

R = สัดส่วนการตกสำรวจหรือสัดส่วนการสูญหายจากการติดตาม

สำหรับ Observational descriptive Study และ n ต่อกลุ่มของ Experimental

studyที่ตัดDropout จากการวิเคราะห์

n ต่อกลุ่มสำหรับ Experimental studyที่ไม่ตัดDropout จากการวิเคราะห์

(Intention to treat)

Page 8: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

การคำนวณกลุ่มตัวอย่างเพื่อเปรียบเทียบประชากร 2 กลุ่ม

1. Primary outcome ของการวิจัยคืออะไร

2. อัตราการเกิดเหตุการณ์หรือprimary outcome ในกลุ่มทดลอง

3. อัตราการเกิดเหตุการณ์หรือprimary outcome ในกลุ่มควบคุม

4. ระดับความผิดพลาดเนื่องจากการสรุปผิด(type I,II error หรือ α,β error)

สำหรับการวิจัยแบบทดลอง เปรียบเทียบ2Interventions ในกลุ่มตัวอย่าง2กลุ่ม ต้องมีข้อมูลพื้นฐานที่ใช้คำนวณขนาดตัวอย่างดังนี้

Page 9: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

ความผิดพลาดเนื่องจากการสรุปผิด• การวิจัยเปรียบเทียบผลของ Reminiscent therapy(RT)และ supportive therapy ในการลดอาการซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

ความจริง (Truth)

RT ดีกว่า RT ไม่ดีกว่าข้อสรุปจาก

การวิจัย

RT ดีกว่าการรักษาแบบเดิม (Supportive therapy)

สรุปถูก Type I error (α-error)

RT ไม่ดีกว่าการรักษาแบบเดิม (Supportive therapy)

Type II error (β-error) สรุปถูก

Page 10: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

สูตรการคำนวณขนาดตัวอย่างการวิจัยแบบทดลองเปรียบเทียบ 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน

(two independent samples

Page 11: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

โดยที่ n= ขนาดตัวอย่างn0 = จำนวนผู้เป็นโรคในกรณีต้องการหาค่าความไว หรือ

ผู้ที่ไม่เป็นโรคในกรณีต้องการหาค่าความเฉพาะp = ค่าความไว(สำหรับ screening test)หรือค่าความ

จำเพาะ (สำหรับ diagnostic test)∞ = ความผิดพลาดของการสุ่มตัวอย่างเพื่อ. สรุปค่า

สัดส่วนของประชากรe = precision of estimate

สูตรการคำนวณขนาดตัวอย่างเพื่อหาความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวินิจฉัยโรค

(1-p)

Page 12: Sample size calculation - thaidepression.com size 2.pdf · การ$นวณ*วอ,างเoอประมาณาpดqวน ของประชากร ¥ fหgบการhiยfรวจหjอ

โดยที่ P1 = อัตราการเกิดโรคในกลุ่มสัมผัสปัจจัยเสี่ยง

P2 = อัตราการเกิดโรคในกลุ่มไม่สัมผัสปัจจัยเสี่ยงP = (P1 + P2)/2

สำหรับรูปแบบการวิจัย ดังต่อไปนี้• Cohort study• Unmatched case

control study • Cross-sectional study

สูตรการคำนวณขนาดตัวอย่างเพื่อหาปัจจัยเสี่ยง