57
1 บทคัดยอ การศึกษาคนควาครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อ 1) หาประสิทธิภาพของเอกสาร ประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปที3 ตามเกณฑ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์กอนและหลังการใช เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปที3 กลุมตัวอยางไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที3 หอง 2 โรงเรียนเซนต หลุยส ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 จํานวน 50 คน เครื่องมือที่ใชในการคนควา ไดแก เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปที3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล เปนคารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบคาที (t – test) ผลการศึกษาพบวา 1. ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียน ศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปที3 มีประสิทธิภาพเทากับ 87.52 / 83.30 แสดงวา เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปที3 ที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนดวยเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระ การเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปที3 หลังเรียนสูง กวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

1

บทคัดยอ

การศึกษาคนควาครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพ่ือ 1) หาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ตามเกณฑ 80/80 2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิกอนและหลังการใชเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 กลุมตัวอยางไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 หอง 2 โรงเรียนเซนตหลุยส ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2553 จํานวน 50 คน เครื่องมือท่ีใชในการคนควา ไดแก เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลเปนคารอยละ คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานและการทดสอบคาที (t – test)

ผลการศึกษาพบวา 1. ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีประสิทธิภาพเทากับ 87.52 / 83.30 แสดงวา เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80

2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนดวยเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระ การเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

Page 2: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

2

บทท่ี 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา วิชาศิลปะเปนวิชามุงสงเสริมใหนักเรียนเกิดความรัก ความนิยมชมช่ืน ความซาบซ้ึงในความงาม ความมีคุณคาในทางจิตใจ และมุงเสริมใหมีความคิดริเริ่มสรางสรรคโดยแสดงในทางท่ีดีงาม เปนประโยชนตอตนเองและสังคม พะนอม แกวกําเนิด (2533, หนา 33-34) จุดมุงหมายของกลุมวิชาศิลปะยังเปนการใหการศึกษาท่ีจะชวยใหผูเรียนซ่ึงกําลังอยูในชวงวัยรุนไดเกิดการเรียนรู เพ่ือพัฒนา ตนเองท้ังทางดานรางกาย อารมณ สังคมและสติปญญา โดยมุงเนนการสรางแบบพฤติกรรมใหมีบุคลิกภาพท่ีดี มีคุณธรรม มีสุนทรียะ และอุปนิสัยท่ีพึงประสงค กระทรวงศึกษาธิการ (2545, หนา 10) การสอนศิลปะในโรงเรียนมิไดมุงเนนใหเดก็เปนศิลปน แตมุงเนนพัฒนาการทางศิลปะท่ีมีอยูในตัวเด็กใหพัฒนาไปจนถึงขีดสุด จากการแสดงออกทางความคิดสรางสรรคตามระดับอายุและขีดความสามารถในการสอนศิลปะจะตองไมคํานึงถึงผลประโยชนของผลงาน แตควรคํานึงถึงกระบวนการทํางาน ซ่ึงจะนําไปสูพัฒนาการทางดานทัศนคติ อันไดแกความรูสึกอารมณ ความสนใจ คานิยม รสนิยมท่ีดี อันเปนเปาหมายของศิลปศึกษา วิชัย วงษใหญ (2521, หนา 2) อางถึงใน บํารุง สุวรรณโชติ 2546 ความสําคัญของวิชาศิลปศึกษาดังกลาว จึงชวยใหนักเรียน เกิดการเรียนรูท่ีจะชวยพัฒนานักเรียนในทุก ๆ ดานใหเติบโตขึ้นอยางมีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิต อยูในสังคมไดอยางสงบสุข กระบวนการเรียนการสอนศิลปะในในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษานี้ จะเนน การใหอิสระแกผูเรียนในการแสดงออกเฉพาะตัว เปดโอกาสใหผูเรียน ใชจินตนาการความคิดสรางสรรคใหผูเรียนไดเกิดการพัฒนาท้ังในดานรางกาย อารมณ และสังคม โดยใชกระบวนการปฏิบัติกิจกรรม ศิลปะตาง ๆ มะลิฉัตร เอ้ืออานันท (ม.ป.ป., หนา 1) การท่ีจะใหนักเรียนเกิดการเรียนรู โดยเปล่ียนพฤติกรรมไปสูจุดประสงคตามท่ีหลักสูตรกําหนดตองอาศัยกระบวนการเรียนของนักเรียนและกระบวนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพของครู กมล สุดประเสริฐและคณะ (2523, หนา 139) อางถึงใน บํารุง สุวรรณโชต ิ2546 ครูจึงควรมีความรูดานศิลปะและมีทักษะในส่ิงท่ีจะสอนเปนอยางดี จะทําใหมองเห็นภาพรวมของการจัดกระบวนการเรียนการสอนไดอยางกวางและลึก วิชัย วงษใหญ (2528, หนา 42) และตระหนักเสมอวาบทบาท ของผูสอนนั้น จะตองมีบทบาทความเปนครูนําบทบาทการเปนศิลปน เพราะเรากําลังใหการศึกษาศิลปะแกนักเรียน วิชัย วงษใหญ (2539, หนา 113) ครูผูสอนศิลปศึกษานี้เปนผูท่ีมีบทบาทอยางสูงในการท่ีจะสงเสริมพัฒนาความคิดสรางสรรคใหเกิดขึ้นใน

Page 3: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

3

ตัวเด็กดวยมีการจัดกิจกรรมทางศิลปะท่ีเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงดานความคิดสรางสรรค และฝมืออยางสมบูรณ นอกจากนนั้นยังตองเปนผูสรางบรรยากาศส่ิงแวดลอมในช้ันเรียนเพ่ือเปนการกระตุนยั่วยุ ใหเด็กกลาแสดงออกอยางมีความเช่ือม่ัน กรมวิชาการ (2527, หนา 42) ครูผูสอนท่ีไมมีความชํานาญการเฉพาะวิชา จะจัดการเรียนการสอนไปตามท่ีหลักสูตรกําหนด นักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษทางดานศิลปะเปนเลิศไมไดรับการสงเสริมจากครูท่ีจะชวยพัฒนาความสามารถนั้นใหโดดเดนออกมา นักเรียนท่ีไมมีความสามารถพิเศษเฉพาะวิชาหรือไมชอบวิชาแขนงนี้มักเกิดความเบ่ือหนาย ไมรูจะเรียนไปเพ่ืออะไร พินิจ ภวังคคะรัด (2513, หนา 114) อางถึงในบํารุง สุวรรณโชติ 2546 ไดใหความสําคัญของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาวา ถาจัดใหถูกตองและเหมาะสม บทเรียนจะชวยสรางความม่ันใจใหแกนักเรียนมากการฝกปฏิบัติวิชาศิลปศึกษา นอกจากความพรอมในตัวบุคคลแลว ยังตองมีความพรอมทางดานวัสดุ อุปกรณท่ีจะใชเปนส่ือในการแสดงออกและพรอมดวยส่ือการสอน อีกดวย เพราะส่ือการสอนท่ีดี จะเปนส่ิงท่ีชวยสรางความรู ความเขาใจ และในอีกแงหนึ่ง จะเปนตัวกระตุนใหมีการแสดงออกเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ วิรุณ ตั้งจริญ (2526, หนา 109) การจัดการเรียนการสอนศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป ของเด็ก ควรคํานึงถึงความถนัด ความสามารถ และความสนใจของเด็กในแตละวัย ครูผูสอนควรจัดกิจกรรมสงเสริมพัฒนาการดานตาง ๆ ใหกับเด็กอยางถูกตองและตรงกับวัย การจัดบรรยากาศในหองเรียนควรเปนระเบียบเรียบรอยจัดใหอํานวยความสะดวกสําหรับนักเรียน ทําใหนักเรียนกระตือรือรนท่ีอยากจะเรียน มากยิ่งขึ้น การใชเวลาในการอธิบายเนื้อหา ไมควรใชเวลามากเกินไปจะทําใหผูเรียนขาดความสนใจและเบ่ือหนาย อธิบายเนื้อหาและหัวขอท่ีสําคัญกอน และอธิบายรายละเอียดของเนื้อหา ควรมีส่ือหรืออุปกรณประกอบการสอน เพ่ืองายตอความเขาใจ มองเห็นภาพพจน และเปนส่ิงท่ีสนใจของนักเรียน การบริหารงานของโรงเรียนมุงเนนทางดานวัตถุ เพราะการประเมินผลงาน การบริหารงานของโรงเรียนเนนในดานนี้มาก ผลการเรียนจากจํานวนอัตราเด็กสอบไดและตก ก็เปนสวนท่ีทําใหผูบริหารเนนในกลุมทักษะมากกวากลุมศิลปะ การจัดสรรงบประมาณมักเนน ไปทางดานธุรการและการจัดมากกวาวัสดุท่ีจะชวยในการเรียนของเด็กทําใหผูสอนตองขวนขวายจัดการเองขาดบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถเฉพาะในสถานศึกษา ครูท่ีไมมีความรูสวนใหญมักขาดประสบการณ ขาดความม่ันใจในการสอนขาดผูแนะนําแนวทาง ผูบริหารและครูท่ีมีพ้ืนฐานสาขาวิชาอ่ืน ๆ ในบางครั้งมักมองวาศิลปะเปนวิชาท่ีไมสําคัญ เปนเพียงวิชาท่ีสนับสนุนการเรียนการสอนเทานั้น นักเรียนและผูปกครองมีทัศนคติท่ีไมดี สวนใหญคิดวาเปนวิชาท่ีไมจําเปน ในชีวิตประจําวันของนักเรียนและไมมีผลตอการศึกษาตอ ถาโรงเรียนจัดจะรูสึกวาเสียเวลา อยากใหรู อานออกเขียนไดมากกวา นักเรียนมักจะสนใจศิลปะ ดนตรี ท่ีแพรหลายอยูในวิทยุและโทรทัศนมากกวาในหลักสูตร ขาดความสนใจและไมกลาแสดงออก ครูผูสอนและโรงเรียน ขาดส่ือการเรียน เชน เอกสารคนควา แผนการสอน อุปกรณชวยในการจัดกิจกรรม ทําใหคร ู

Page 4: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

4

ไมสามารถสอนไดตามแผนการสอน การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนปจจุบันยังไมบรรลุเปาหมายเทาท่ีควร เนื่องมาจากปญหาหลาย ๆ ดานประกอบดวยกัน การบริหารงาน การจัดสรรงบประมาณ ทัศนคติของผูบริหาร ผูสอน ผูเรียน ความขาดแคลนผูสอน ความขาดแคลนอุปกรณส่ือการเรียนการสอน (วาสนา เพ่ิมพูน, 2542, หนา 150-162) ผูวิจัยตระหนักถึงความสําคัญและปญหาท่ีกลาวมาขางตน และเช่ือวาหากผูสอน มีความสามารถในการจัดทําเอกสารประกอบการเรียน ส่ือการสอนท่ีสอดคลองกับความตองการของหลักสูตรและสภาพแวดลอมในโรงเรียนภายในโรงเรียน จะชวยแกปญหาตาง ๆ ไดทุกกรณี ดังนั้นผูรายงานจึงทําการศึกษาคนควา จัดทําและพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระ การเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ใหสอดคลองกับความตองการของหลักสูตรขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงกําหนดความรูท้ังทางทฤษฎีและการปฏิบัติท่ีมีความสอดคลองกับธรรมชาติของผูเรียน เพ่ือพัฒนา ศิลปะนิสัยของตนเอง ใหเห็นคุณคาของศิลปะกับชีวิตประจําวันเพ่ือพัฒนาบุคลิกภาพเพ่ือสงเสริมการแสดงออก เกิดการนิยมชมช่ืน อันจะนําไปสูการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทยเปนพ้ืนฐานไปสูงานอดิเรกหรือการประกอบอาชีพ กระทรวงศึกษาธิการ (2545, หนา 124) ท้ังนี้ ตามหลักสูตรขั้นพ้ืนฐาน ชวงช้ันท่ี 1 ไปใชในการพัฒนาการสอนวิชาศิลปศึกษา เปนแนวทางในการพัฒนาตนเอง พัฒนาการจัดการจัดการเรียนการสอน อีกท้ังเพ่ือพัฒนาทักษะ ทางดานศิลปะมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงคและมีเจตคติท่ีดีตอวิชาศิลปศึกษาของนักเรียนใหดียิ่งขึ้นตอไป ความมุงหมายของการศึกษาคนควา 1. เพ่ือหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ตามเกณฑ 80/80 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิกอนและหลังการใชเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ความสําคัญของการศึกษาคนควา 1. ไดเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 อยางมีประสิทธิภาพ 2. เปนแนวทางสําหรับครูในการสรางเอกสารประกอบการเรียนกลุมสาระการเรียนรู (ทัศนศิลป) ท่ีมีกิจกรรมอยางหลากหลายใหแกนักเรียน

Page 5: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

5

ขอบเขตการศึกษาคนควา ประชากร ประชากร ไดแก นักเรียนช้ันช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนเซนตหลุยส จํานวน 300 คน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 หอง 2 โรงเรียนเซนตหลุยส จํานวน 50 คน ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2553 ไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง (purposive) นิยามศัพทเฉพาะ 1. เอกสารประกอบการสอน หมายถึง เอกสารท่ีใชประกอบการเรียนวิชาใดวิชาหนึ่ง ตามหลักสูตรท่ีใชในสถานศึกษา มีหัวขอครบถวนตามรายละเอียดของวิชาท่ีกําหนดไวในหลักสูตร 2. ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน หมายถึง สัดสวนระหวางคะแนนเฉล่ียของนักเรียนท้ังหมด ท่ีทําแบบฝกหัดระหวางเรียนไดถูกตอง กับคะแนนเฉล่ียของนักเรียนท้ังหมด ท่ีทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิไดถูกตอง 3. เกณฑมาตรฐาน 80/80 หมายถึง เกณฑท่ีผูรายงานใชเปนแบบมาตรฐาน ในการพิจารณาหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน ตามเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด 80/80 3.1 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉล่ียของนักเรียนกลุมตัวอยางท้ังหมดท่ีทําเอกสารประกอบการเรียน ไดถูกตองรอยละ 80 3.2 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉล่ียของนักเรียนกลุมตัวอยางท้ังหมดท่ีทํากิจกรรมแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิหลังการทําเอกสารประกอบการเรียน ไดถูกตองรอยละ 80 4. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลการทดสอบความรูความเขาใจ ของนักเรียนเกี่ยวกับเอกสารประกอบการเรียน และหลังทําเอกสารประกอบการเรียน 5. ทัศนศิลป (Visual ART) หมายถึง ศิลปะท่ีมองเห็น เปนศิลปะท่ีสามารถ สัมผัสรับรูและช่ืนชมความงามไดดวยตา และสงผลกระทบไปสูสมองและจิตใจ ทัศนศิลปเปนสวนหนึ่งของ “วิจิตรศิลป” (Fine Art) ซ่ึงเปนศิลปะท่ีสนองความตองการดานอารมณ จิตใจ แบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรม

Page 6: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

6

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาต ิ 2. หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 3. การจัดหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป 4. ความหมายของเอกสารประกอบการเรียน 5. ทฤษฏีทางการสอนศิลปะ 6. การหาประสิทธิภาพ 7. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติไดกําหนดแนวการจัดการศึกษา โดยยึดหลักผูเรียน เปนหัวใจของการปฏิรูปการศึกษา เพ่ือสงเสริมใหผูเรียนเกิดการพัฒนาตามจุดมุงหมายให เปนคนเกง ดี และมีความสุข 1. การจัดการศึกษา : ผูเรียนสําคัญท่ีสุด ในการจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติเต็มตามศักยภาพ 2. หลักสูตรและเนื้อหาสาระการเรียนรู การจัดการศึกษาทุกประเภท ทุกระดบั ตองเนนความสําคัญ 3 สวน คือ ความรู คุณธรรม และกระบวนการเรียนรูโดยบูรณาการความเหมาะสมของแตละระดับการศึกษา 2.1 ความรูเรื่องเกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธของตนเองและสังคม 2.2 ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี 2.3 ความรูเกีย่วกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใชภูมิปญญา 2.4 ความรูและทักษะดานคณิตศาสตรและดานภาษาไทย เนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง 2.5 ความรูและทักษะในการประกอบอาชีพ และการดํารงชีวิตอยางมีความสุข 3. การจัดกระบวนการเรียนรู

Page 7: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

7

การจัดกระบวนการเรียนรู คือ เปนสวนสําคัญท่ีสุด เพราะเปนสวนท่ีสงผลกระทบตอตัวผูเรียนโดยตรง พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ไดกําหนดเรื่องนี้ไวในมาตรา 24 มีสาระสําคัญ 6 ประการ ดังนี ้ 3.1 จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัด ของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตาง ระหวางบุคคล 3.2 ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใช เพ่ือปองกันและแกไขปญหา เนนการฝกทักษะ เชน กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ 3.3 จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติให ทําได คิดเปน ทําเปน รักการอานและเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง 3.4 จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูตาง ๆ อยางไดสัดสวน สมดุลกัน 3.5 สงเสริม สนับสนุนใหผูเรียนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดลอม ส่ือการเรียน และอํานวยความสะดวกเพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู สามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู 3.6 จัดการเรียนรูใหเกิดไดขึ้นทุกวัน ทุกสถานท่ี 4. การประเมินผูเรียน การประเมินผูเรียน ใหพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน ควรประพฤติ สังเกตพฤติกรรมการเรียน และรวมกิจกรรม และจากการทดสอบ ท้ังหมดนี้ใหทําควบคูกันไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแตละระดับและรูปแบบการศึกษา หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หลักการ เพ่ือใหการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเปนไปตามนโยบายการจัดการศึกษาของประเทศจึงกําหนดหลักการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไวดังนี ้ 1. เปนการศึกษาเพ่ือความเปนเอกภาพของชาติมุงเนนความเปนไทยควบคูกับความเปนสากล 2. เปนการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนจะไดรับการศึกษาอยางเสมอภาพและเทาเทียมกัน โดยสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา 3. สงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาและเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดย ถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุดสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ 4. เปนหลักสูตรท่ีมีโครงสรางยืดหยุน ท้ังดานสาระ เวลา และการจัดการเรียนรู

Page 8: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

8

5. เปนหลักสูตรท่ีจัดการศึกษาไดทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรูและประสบการณ จุดมุงหมาย หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณเปนคนดี มีปญญา มีความสุข และมีความเปนไทย มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดจุดหมายซ่ึงเปนมาตรฐานการเรียนรูใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงคดังตอไปนี ้ 1. เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมอันพึงประสงค 2. มีความคิดสรางสรรคใฝรูใฝเรียน รักการอาน รักการเขียน และรักการคนควา 3. มีความรูอันเปนสากล รูเทาทันการเปล่ียนแปลงและความเจริญกาวหนา ทางวิทยาการมีทักษะและศักยภาพในการจัดการ การส่ือสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทํางานไดเหมาะสมกับสถานการณ 4. มีทักษะและกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ทักษะการคิด การสรางปญญา และทักษะในการดําเนินชีวิต 5. รักการออกกําลังกาย ดูแลตนเองใหมีสุขภาพและบุคลิกภาพท่ีด ี 6. มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค มีคานิยมเปนผูผลิตมากกวาเปนผูบริโภค 7. เขาใจในประวัติศาสตรของชาติไทยภูมิใจในความเปนไทย เปนพลเมืองด ี ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 8. มีจิตสํานึกในการอนุรักษภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาส่ิงแวดลอม 9. รักประเทศชาติและทองถ่ิน มุงทําประโยชนและสรางส่ิงท่ีดีงามใหสังคม โครงสราง เพ่ือใหการจัดการศึกษาเปนไปตามหลักการจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูท่ีกําหนดไวในสถานศึกษาและผูท่ีเกี่ยวของมีแนวปฏิบัติในการจัดหลักสูตรสถานศึกษาจึงไดกําหนด โครงสรางของหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานดังนี ้ 1. ระดับชวงช้ัน กําหนดหลักสูตรเปน 4 ชวงช้ัน ตามระดับพัฒนาการของผูเรียนดัง ชวงช้ันท่ี 1 ช้ันประถมศึกษาปท่ี 1-3 ชวงช้ันท่ี 2 ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4-6

Page 9: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

9

ชวงช้ันท่ี 3 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1-3 ชวงช้ันท่ี 4 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 2. สาระการเรียนรู กําหนดสาระการเรียนรูตามหลักสูตร ซ่ึงประกอบดวยองคความรู ทักษะหรือกระบวนการการ เรียนรู และคุณลักษณะหรือคานิยม คุณธรรม จริยธรรมของผูเรียน เปน 8 กลุม ดังนี้ 2. ภาษาไทย 2.2 คณิตศาสตร 2.3 วิทยาศาสตร 2.4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2.5 สุขศึกษาและพลศึกษา 2.6 ศิลปะ 2.7 การงานอาชีพและเทคโนโลย ี 2.8 ภาษาตางประเทศ สาระการเรียนรูท้ัง 8 กลุมนี ้ เปนพ้ืนฐานสําคัญท่ีผูเรียนทุกคนตองเรียนรู โดยอาจจัดเปน 2 กลุม คือ กลุมแรก ประกอบดวย ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เปนสาระการเรียนรูท่ีสถานศึกษาตองใชเปนหลักใน การจัดการเรียนการสอนเพ่ือสรางพ้ืนฐานการคิดและเปนกลยุทธในการแกปญหาและวิกฤติของชาติ กลุมท่ี 2 ประกอบดวย สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีและภาษาตางประเทศ เปนสาระการเรียนรูท่ีเสริมสรางพ้ืนฐานความเปนมนุษยและสรางศักยภาพ ในการคิดและการทํางานอยางสรางสรรค การจัดหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานนําไปใชจัดการเรียนรู ในสถานศึกษานั้นกําหนดโครงสรางท่ีเปนสาระการเรียนรู จํานวนเวลาอยางกวาง ๆ สาระและมาตรฐานการเรียนรูกลุมศิลปศึกษา ชวงชั้นที่ 3 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เปนกลุมสาระการเรียนรูท่ีมุงเนนการสงเสริมใหมี ความคิดริเริ่มสรางสรรค มีจินตนาการทางศิลปะ ช่ืนชมความงาม สุนทรียภาพ ความมีคุณคา ซ่ึงมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย ดังนั้น กิจกรรมศิลปะสามารถนําไปใชในการพัฒนาผูเรียนโดยตรง ท้ังดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและสังคม ตลอดจนการนําไปสูการพัฒนาส่ิงแวดลอม สงเสริมใหผูเรียนมีความเช่ือม่ันในตนเอง และแสดงออกในเชิงสรางสรรคพัฒนากระบวนการเรียนรูทางศิลปะ การเห็นภาพรวม การสังเกตรายละเอียด สามารถคนพบศักยภาพของตนเอง

Page 10: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

10

อันเปนพ้ืนฐานในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพไดดวยการมีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย สามารถทํางานรวมกันอยางมีความสุข การเรียนรูศิลปะมุงพัฒนาใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ การคิดท่ีเปนเหตุเปนผลถึงวิธีการทางศิลปะ ความเปนมาของรูปแบบ ภูมิปญญาทองถ่ิน และรากฐานทางวัฒนธรรม คนหาวาผลงานศิลปะส่ือความหมายกับตนเอง คนหาศักยภาพความสนใจสวนตัว ฝกการเรียนรู การสังเกต ท่ีละเอียดออนอันนําไปสูความรัก เห็นคุณคาและเกิดความซาบซ้ึงในคุณคาของศิลปะ และส่ิงรอบตัว พัฒนาเจตคต ิ สมาธิ รสนิยมสวนตัวมีทักษะ กระบวนการ วิธีการแสดงออก การคิดสรางสรรค สงเสริมใหผูเรียนตระหนักถึงบทบาทของศิลปกรรมในสังคม ในบริบทของการสะทอนวัฒนธรรม ท้ังของตนเอง และวัฒนธรรมอ่ืน พิจารณาวาผูคนในวัฒนธรรม ของตนมีปฏิกิริยาตอบสนองตองานศิลปะ ชวยใหมีมุมมองและเขาใจโลกทัศนกวางไกล ชวยเสริมความรู ความเขาใจมโนทัศนดานอ่ืน ๆ สะทอนใหเห็นมุมมองของชีวิต สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และความเช่ือ ความศรัทธาทางศาสนา ดวยลักษณะธรรมชาติของกลุมสาระ การเรียนรูศิลปะ การเรียนรูเทคนิค วิธีการทํางาน ตลอดจนการเปดโอกาสใหแสดงออกอยางอิสระ ทําใหผูเรียนไดรับการสงเสริม สนับสนุนใหคิดริเริ่มสรางสรรค ดัดแปลง จินตนาการมีสุนทรียภาพ และเห็นคุณคาของศิลปวัฒนธรรมไทยและสากล กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เสริมสรางใหชีวิตมนุษยเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีขึ้น ชวยใหมีจิตใจท่ีงดงาม สมาธิแนวแน สุขภาพกายและสุขภาพจิต มีความสมดุลเปนรากฐานของการพัฒนาชีวิตท่ีสมบูรณ เปนการยกระดับคุณภาพชีวิตมนุษยชาติโดยสวนตัว และสงผลตอการยกระดับคุณภาพชีวิตของสังคม คุณภาพของผูเรียนวิชาศิลปศึกษา เม่ือจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะแลว ผูเรียนจะมีสภาพจิตใจท่ีงดงาม มีสุนทรียภาพ มีรสนิยม รักความสวยงาม รักความเปนระเบียบ มีการรับรูอยางพินิจพิเคราะห เห็นคุณคาความสําคัญของศิลปะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม อันเปนมรดกทางภูมิปญญาของคนในชาติ สามารถคนพบศักยภาพความสนใจของตนเองอันเปนพ้ืนฐานในการศึกษาตอ หรือประกอบอาชีพทางศิลปะ มีจินตนาการ ความคิดสรางสรรค มีความเช่ือม่ัน พัฒนาตนเองได และแสดงไดอยางสรางสรรค มีสมาธิในการทํางานมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ สามารถทํางานกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข ซ่ึงในชวงช้ันท่ี 3 นั้น เม่ือจบการศึกษาแลว ผูเรียนจะมีคุณภาพดังนี ้ 1. สรางและนําเสนอผลงานศิลปะ โดยเลือกและประยุกตทัศนธาตุองคประกอบดนตรี, องคประกอบนาฏศิลป และทักษะพ้ืนฐานใหไดผลตามตองการ ตลอดจนส่ือสารใหคนอ่ืนเขาใจผลงานของตนเองได

Page 11: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

11

2. รูจักทัศนธาตุ องคประกอบดนตรี องคประกอบนาฏศิลป จะชวยใหงานศิลปะสามารถส่ือความคิดและความรูสึกได และอธิบายใหผูอ่ืนเขาใจในความสวยงามและความไพเราะของศิลปะได 3. บรรยายและอธิบายงานศิลปะสาขาตาง ๆ ท่ีแสดงถึงความเกี่ยวของกบัประวัติศาสตรและวัฒนธรรม โดยอภิปรายเปรียบเทียบผลงานศิลปะจากยุคสมัย วัฒนธรรมตาง ๆ และใหความสําคัญในเรื่องบริบททางวัฒนธรรม 4. นําความรูทางศิลปะท่ีตนถนัดและสนใจไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันและการเรียนรูกลุมสาระอ่ืน ๆ 5. เห็นความสําคัญของการสรางสรรคงานศิลปะ เช่ือม่ัน ภาคภูมิใจในการแสดงออกรับผิดชอบ มุงม่ันในการปฏิบัติงานรวมกับผูอ่ืน 6. ซาบซ้ึงเห็นคุณคาของศิลปะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม รัก หวงแหนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล มาตรฐานการเรียนรู การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กลุมสาระการเรียนรูศิลปศึกษาในหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 สาระท่ี 1 : ทัศนศิลป มาตรฐาน ศ1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ ความคิดสรางสรรค และวิเคราะหวิพากษวิจารณ คุณคางานทัศนศิลป ถายทอด ความรูสึก ความคิด ตองานศิลปะ อยางอิสระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐาน ศ1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลป ท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 3 สาระที่ 1 : ทัศนศิลป สาระที่ 1 : ทัศนศิลป มาตรฐาน ศ1.1 : สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ ความคิดสรางสรรค และวิเคราะหวิพากษวิจารณ คุณคางานทัศนศิลป ถายทอด ความรูสึก ความคิด ตองานศิลปะ อยางอิสระ ช่ืนชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน 1. รูวิธีส่ือความคิด จินตนาการ ความรูสึก ความเขาใจ ดวยวัสดุอุปกรณ เทคนิค วิธีการทางศิลปะ และส่ือความหมาย 2. คิดริเริ่ม ดัดแปลง ใชทัศนธาตุ และองคประกอบทางดานทัศนศิลปตามความถนัดและความเขาใจ

Page 12: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

12

3. ใชกระบวนการสรางสรรคงานทัศนศิลป ประยุกตใชส่ือ วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยี ไดอยางเหมาะสม และมีความรับผิดชอบ 4. แสดงถึงความรูสึกในการรับรูความงามจากประสบการณ จินตนาการ โดยใชหลักความงามของศิลปะตามความถนัด และความสนใจ 5. แสดงความคิดเห็น อธิบายความหมาย จําแนกความแตกตางของงานทัศนศิลปเกี่ยวกับทัศนธาตุ และความงามของศิลปะ 6. นําความรูและวีประสบการณทางทัศนศิลปท่ีตนถนัดและสนใจไปใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ และชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม มาตรฐาน ศ1.2 : เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลป ท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน 1. เขาใจความเช่ือทางวัฒนธรรมท่ีมีอิทธิพลตอการสรางงานศิลปะ 2. ซาบซ้ึงเห็นคุณคา วัฒนธรรมไทยท่ีมีสวนรวมในการสรางงานทัศนศิลปท่ีจะสะทอนวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการซ่ึงเกี่ยวของกับการเรียนการสอนศิลปศึกษา การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตองการการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของทุกฝาย ตั้งแตผูเรียน ครู ผูปกครอง ชุมชน ผูเรียนตองเรียนรูใหครบถวนดวยสมอง กาย ใจ และเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ดวยการจัดการใหผูเรียนขวนขวายหาความรูเพ่ิมความรับผิดชอบ กลาแสดงออก และเนนการทํางานเปนกลุม ผูเรียนใชกระบวนการคิด สรางแบบการเรียนรูดวยตนเอง ดังนั้น กลุมสาระการเรียนรูศิลปะจึงเพ่ิมประสบการณการทํางานจริงตามสถานการณใหมากยิ่งขึ้นไปตามชวงช้ันป ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร 1. จัดตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ควรจะเลือกบุคลากรท่ีมีความรู ความสามารถและมีความตั้งใจในการปฏิบัติ มีความสนใจกระตือรือรน และตองการพัฒนาตนเองดวย 2. ศึกษาวิเคราะหหลักสูตรแมบท นําหลักสูตรแมบทหรือหลักสูตรแกนกลางมา ศึกษาวิเคราะหรายละเอียดตางๆ ของหลักสูตรใหเขาใจ เพ่ือท่ีจะสรางและพัฒนาหลักสูตร ไดตรงเปาหมาย และไมทําใหขัดกับหลักสูตรแมบท

Page 13: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

13

3. ศึกษาสภาพปจจุบันปญหา และความตองการของโรงเรียน ทองถ่ิน ชุมชนท่ี โรงเรียนตั้งอยูโดยอาจใชวิธีการตางๆ เชน การวิจัย สัมภาษณ ประชุม สัมมนา และอ่ืนๆ ท่ีเห็นวาจะไดขอมูลท่ีถูกตองและเปนประโยชน 4. กําหนดจุดมุงหมาย ในการพัฒนาและสรางหลักสูตรใหเห็นชัดเจนวาตองการใชผูเรียนเดินไปสูจุดใด เปาหมายใด 5. พิจารณาความเหมาะสมของหลักสูตรแมบท และหลักสูตรท่ีจะพัฒนาหรือสรางขึ้นใหม ควรดําเนินการเลือกเนื้อหาท่ีมีอยูในหลักสูตรแกนกลางท่ีมีความสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของชุมชน โรงเรียนทองถ่ินหากเห็นวาสวนใดยังไมครอบคลุมกับสภาพปญหาและความตองการของทองถ่ิน ก็ดําเนินการสรางรายวิชาขึ้นมาใหมไดตามตองการ 6. กําหนดรูปแบบหรือวิธีการใหชัดเจนในการจะพัฒนาหรือสรางหลักสูตร ซ่ึงอาจจะปรับทําใหมเพ่ือเสริมหลักสูตรแมบทก็ได 7. จัดทําแผนการสอนประกอบหลักสูตร เพ่ือจะไดเปนแนวในการดําเนินกจิกรรมการเรียนการสอนตอไป 8. จัดทําคูมือครูเพ่ือท่ีจะชวยใหครูนําหลักสูตรไปใชไดอยางถูกตองและเกิดประสิทธิภาพตอผูเรียนตอไป 9. จัดทําแบบฝกหัดหรือแบบประเมิน ประกอบหลักสูตรเพ่ือผลจะตกสูผูเรียน อยางแทจริง 10. ทดลองและใชหลักสูตรใหเกิดประสิทธิผลเพ่ือหาขอบกพรองจะไดนํามา ปรับปรุงแกไข 11. ประเมินผลการใชหลักสูตรท่ีทําขึ้นนั้น มีความเหมาะสมหรือไมเพียงใด ควรปรับปรุงแกไขและพัฒนาตรงไหน 12. ปรับปรุงแกไข เปนขั้นตอนท่ีสําคัญมาก เพราะถือเปนขั้นตอนสุดทายของการพัฒนาและสรางหลักสูตร หลักสูตรจะดไีมดี สมบูรณหรือไม อยูท่ีการปรับปรุงแกไขนี่เอง 13. ขออนุญาตใช เม่ือจัดทําหลักสูตรสมบูรณและมีเอกสารประกอบหลักสูตร (คูมือครูแบบฝกหัด แบบทดสอบ) ครบแลวตองขออนุญาตใชหลัดสูตรตอไป การจัดการเรียนรู พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2522 มาตรา 22 กําหนดแนวทางในการจัดการศึกษาไววา การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาเองไดและถือวาผูเรียนมีความสําคัญมากท่ีสุด ฉะนั้น ครู ผูสอน และผูจัดการศึกษาจะตองเปล่ียนแปลงบทบาทจากการเปนผูช้ีนํา ผูถายทอดความรู ไปชวยเหลือผูอ่ืน สงเสริม และสนับสนุนผูเรียนในการแสวงหาความรูจากส่ือและแหลงการเรียนรูตางๆ และใหขอมูลท่ีถูกตองแกผูเรียน เพ่ือนําขอมูลเหลานั้นไปใชสรางสรรคความรูของตน การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

Page 14: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

14

นอกจากจะมุงปลูกฝงดานปญญา พัฒนาการคิดของผูเรียนใหมีความสามารถในการคิดสรางสรรค คิดอยางมีวิจารณญาณแลว ยังมุงพัฒนาความสามารถทางอารมณ โดยการปลูกฝงใหผูเรียนเห็นคุณคาของตนเอง เขาใจตนเอง เห็นอกเห็นใจผูอ่ืน สามารถแกไขขอขัดแยงทางอารมณ ไดอยางถูกตองเหมาะสม เนื่องจากประเทศไทย และประเทศตางๆ ในโลกกําลังประสบปญหาดานสังคมเปนอยางมาก โดยเฉพาะเรื่องของความขัดแยงท้ังความคิดและการกระทําของตัวบุคคล องคกร และสังคมฉะนั้นสถานศึกษาจะตองมุงเนนการเรียนรูเพ่ือใหเขาใจสถานการณ หาทางแกไข โดยเฉพาะสวนท่ีเกี่ยวกับศาสนา และวัฒนธรรมเปนกรณีพิเศษ ดวยการเรียนรูในสาระการเรียนรูตางๆ มีกระบวนการและวิธีการท่ีหลากหลาย ผูสอนตองคํานึงถึงพัฒนาการทางดานรางกาย และสติปญญา วิธีการเรียนรูความสนใจ และความสามารถของผูเรียน เปนระยะๆ อยางตอเนื่อง ดังนั้นการจัดการเรียนรูในแตละชวงช้ัน ควรใชรูปแบบ/วิธีการท่ีหลากหลาย เนนการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริงการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูรวมกัน การเรียนรูจากธรรมชาติ การเรียนรูจากการปฏิบัติจริงการเรียนรูแบบบูรณาการการใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู การเรียนรูคูคุณธรรม ท้ังนี้ตองพยายามนํากระบวนการการจัดการ กระบวนการอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอม กระบวนการคิดและกระบวนการทางวิทยาศาสตร ไปสอดแทรกในการเรียนการสอนทุกกลุมสาระการเรียนรูเนื้อกาและกระบวนการตางๆ ขามกลุมสาระการเรียนรูซ่ึงการเรียนรูในลักษณะองครวมการบูรณาการเปนการกําหนดเปาหมายการเรยีนรวมกัน ยึดผูเรียนเปนสําคัญ โดยนํากระบวนการเรียนรูจากกลุมสาระเดียวกันหรือตางสาระเรียนรูมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตองการการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของทุกฝาย ตั้งแตผูเรียน ผูสอน ผูปกครอง ชุมชน ผูเรียนตองเรียนรูใหครบถวนดวยสมอง กาย ใจ และเรียนรูดวยตนเองตอเนื่องตลอดชีวิต ดวยการจัดการใหผูเรียนขวนขวายหาความรู เพ่ิมความรับผิดชอบ กลาแสดงออก และเนนการทํางานเปนกลุม ผูเรียนใชกระบวนการคิดสรางแบบการเรียนรูดวยตนเอง ดังนัน้กลุมสาระการเรียนรูศิลปะจึงเพ่ิมประสบการณการทํางานจริงตามสถานการณใหมากยิ่งขึ้นไปตามชวงช้ันป ในการจัดการเรียนรูจะเนนผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนาความฉลาดทางสติปญญาและอารมณใหเห็นคุณคาของตนเอง เพ่ือการแสดงออกอยางอิสระ เพ่ิมการมีสวนรวมในการปฏิบัติไดจริงเพ่ิมโครงงานตามศักยภาพ เพ่ือใหผูเรียนมีความสุข มีเสรีภาพในการเรียน และแสวงหาความรู ไดตามความตองการ ยุทธศาสตรการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ 1. การเรียนรูแบบพัฒนาความสามารถในกระบวนการคิดของผูเรียน

Page 15: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

15

เปนยุทธศาสตรการเรียนรูท่ีผูเรียนตองมีการใชขอมูลทางศิลปะกับกระบวนการคิดของตนเอง และการเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดวยการตัดสินใจ เลือกยุทธศาสตร กระบวนการ ประเมินตนเองวางแผนปฏิบัติงาน ตรวจสอบและปรับปรุงผลงานอยูเสมอ 1.1 คิดริเริ่มสรางสรรค (Creative Thinking) ดวยการสรางแนวคิดใหม แสวงหาพิจารณาทางเลือกอยางหลากหลาย ประยุกตปรับเขาหาแนวทาง สํารวจทางเลือกท่ีเหมาะสม ตั้งขอตกลงรวมกัน 1.2 คิดวิเคราะห (Critical Thinking) ดวยกระบวนการตรวจสอบ ทําใหชัดเจน จัดระบบใหเหตุผลวิเคราะห ทําใหกระจางชัด ตั้งสมมติฐาน ทํานาย ประเมิน สังเคราะห 1.3 คิดไตรตรอง (Reflective Thinking) ดวยการตั้งคําถามตนเองเช่ือมโยงความคิดกอนหนาความคาดหวังและประสบการณปจจุบันเขาดวยกัน ประเมิน วิเคราะห ตั้งสมมติฐาน แสวงหา พิจารณาทางเลือกท่ีเหมาะสม 2. การเรียนรูแบบสรางองคความรูดวยตนเอง (Constructivism) เปนยุทธศาสตรการเรียนรูศิลปะ ดวยวิธีการแสวงหาความรูโดยการปฏิบัติ ทดลอง หาเหตุผล สัมผัสจริง และสรุปดวยตนเองเปนประสบการณตรง 3. การเรียนรูแบบประเมินตนเอง (Self Assessment) เปนยุทธศาสตรการเรียนรูศิลปะ ท่ีมีการลําดับขั้นตอนไวชัดเจน โดยมุงเนนใหผูเรียนไดประเมินตนเองหรือประเมินเพ่ือนในช้ันเรียนอยางมีเหตุผล 4. การเรียนรูดวยการแกปญหา (Problem – Based Learning) เปนยุทธศาสตรการเรียนรูศิลปะท่ีเนนใหผูเรียนไดศึกษา และหาแนวทางแกปญหาดวยตนเอง ตั้งแตการกําหนดปญหา คนหาวิธีการแกปญหา ดวยวีและขั้นตอนท่ีเหมาะสมกับผูเรียน 5. การเรียนรูแบบเช่ือมโยงบูรณาการความรูสหสาขา (Multidisciplinary Approach) ส่ือการเรียนการสอน การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และหลักสูตรสถานศึกษามุงสงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต และใชเวลาอยางสรางสรรค รวมท้ังมีความยืดหยุน สนองความตองการของผูเรียน ชุมชนสังคม และประเทศชาติ ผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกเวลา ทุกสถานท่ี และเรียนรูไดจากส่ือการเรียนรู และแหลงการเรียนรูทุกประเภท รวมท้ังจากเครือขายการเรียนรูตางๆ ท่ีมีอยูในทองถ่ิน ชุมชนและแหลงอ่ืนๆ เนนส่ือท่ีผูเรียนและผูสอนสามารถจัดทําและพัฒนาส่ือ การเรียนรูขึ้นเองหรือนําส่ือตางๆ ท่ีมีอยูรอบตัวและในระบบสารสนเทศมาใชในการเรียนรู โดยใชวิจารณญาณในการเลือกใชส่ือ และแหลงความรูโดยเฉพาะหนังสือเรียน ควรมีเนื้อหาสาระครอบคลุมตลอดชวงช้ัน ส่ือส่ิงพิมพควรจัดใหมีอยางเพียงพอ ท้ังนี้ ควรใหผูเรียนสามารถยืมไดจากศูนยส่ือ หรือหองสมุดของสถานศึกษา

Page 16: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

16

ลักษณะของส่ือการเรียนรูท่ีจะนํามาใชในการจัดการเรียนรู ควรมีความหลากหลายท้ังส่ือธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ ส่ือเทคโนโลยี และส่ืออ่ืน ซ่ึงชวยสงเสริมใหการเรียนรูเปนไปยางมีคุณคา นาสนใจ ชวนคิด ชวนติดตามเขาใจงาย และรวดเร็วขึ้น รวมท้ังกระตุนใหผูเรียนรูจักมีการแสวงหาความรู เกิดการเรียนรูอยางกวางขวาง ลึกซ้ึงและตอเนื่องอยูตลอดเวลาเพ่ือใหการใชส่ือการเรียนรูเปนไปตามแนวการจัดการเรียนรู และพัฒนาผูเรียนใหเกิดการเรียนรูอยางแทจริง สถานศึกษา หนวยงานท่ีเกี่ยวของ และผูท่ีมีหนาท่ีจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ควรดําเนินการดังนี ้ 1. จัดทําและจัดหาส่ิงท่ีมีอยูในทองถ่ิน มาประยุกตใชเปนส่ือการเรียนรู 2. ศึกษาคนควาวิจัยเพ่ือพัฒนาส่ือการเรียนรูใหสอดคลองกับกระบวนการเรียนรูของผูเรียน 3. จัดทําและจัดหาส่ือการเรียนรู สําหรับการศึกษาคนควาของผูเรียน และสําหรับเสริมความรูของผูสอน 4. ศึกษาวิธีการเลือก และการใชส่ือการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ เหมาะสม หลากหลายและสอดคลองกับวิธีการเรียนรู ธรรมชาติของสาระการเรียนรู และความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน 5. ศึกษาวิธีการวิเคราะห และประเมินคุณภาพมาตรฐาน ส่ือการเรียนรูท่ีจัดทําขึ้นเอง และท่ีเลือกนํามาใชประกอบการเรียนรู โดยมีการวิเคราะหและประเมิน ส่ือการเรียนรูท่ีใชอยูนั้น อยางสมํ่าเสมอ 6. จัดหาหรือจัดใหมีแหลงการเรียนรู ศูนยส่ือการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพ ในสถานศึกษาในชุมชน เพ่ือการศึกษาคนควาแลกเปล่ียนประสบการณการเรียนรูและพัฒนาส่ือการเรียนรู 7. จัดใหมีเครือขายการเรียนรูเพ่ือเช่ือมโยงและแลกเปล่ียนการเรียนรูระหวางสถานศึกษา ทองถ่ิน ชุมชน และสังคมอ่ืน 8. จัดใหมีการกํากับติดตามและประเมินผลการดําเนินงานเกี่ยวกับส่ือ และการใชส่ือการเรียนรูเปนระยะ ๆ การวัดและประเมินผลการเรียนรู การวัดและประเมินผลระดับช้ันเรียน มีจุดหมายสําคัญของการประเมินระดับช้ันเรียน คือ มุงหาคําตอบวาผูเรียนมีความกาวหนาท้ังดานความรู ทักษะกระบวนการคุณธรรม และคานิยมอันพึงประสงค เนื่องจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูหรือไม / เพียงใด ดังนั้นการวัดและประเมินจึงตองใชวิธีการท่ีหลากหลาย เนนการปฏิบัตใิหสอดคลองและเหมาะสมกับสาระการเรียนรูของผูเรียนและสามารถดําเนินการอยางตอเนื่องควบคูไปในกิจกรรมการเรียนรูของผูเรียน โดยประเมินความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรม และผลงานจากโครงงานหรือแฟมสะสมงาน

Page 17: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

17

ผูใชผลการประเมินในระดับช้ันเรียนท่ีสําคัญ คือตัวผูเรียน ผูสอนและพอแม ผูปกครอง จําเปนตองมีสวนรวมในการกําหนดเปาหมาย วิธีการและคนหาขอมูลเกณฑตางๆ ท่ีจะทําใหสะทอนใหเห็นภาพสัมฤทธ์ิ ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู ผูเรียนจะทราบระดับความกาวหนา ความสําเร็จของตน ครู ผูสอนจะเขาใจความตองการของผูเรียนแตละคนแตละกลุมสามารถใหระดับคะแนนหรือจัดกลุมผูเรียน รวมท้ังประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของตนเองได ขณะท่ีพอแม ผูปกครอง จะไดทราบระดับความสําเร็จของผูเรียน หลักการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 1. สถานศึกษาเปนผูรับผิดชอบประเมินผลการเรียนของผูเรียนโดยการเปดโอกาสใหทุกฝายท่ีเกี่ยวของมีสวนรวม 2. การวัดและประเมินผลการเรียนตองสอดคลอง และครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา ท่ีกําหนดในหลักสูตร 3. การประเมินผล ประกอบดวย การประเมินเพ่ือปรับปรุงพัฒนาการของผูเรียน การจัดการเรียนการสอน และการประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียนของผูเรียน 4. การประเมินผลเปนสวนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอน ตองดําเนินการดวยวิธีท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับส่ิงท่ีตองการวัด ธรรมชาติของวิชา และระดับชวงช้ันของผูเรียน 5. เปดโอกาสใหผูเรียน และผูมีสวนเกี่ยวของสามารถตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนได 6. ใหมีการเทียบโอนผลการเรียนระหวางสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาตางๆ 7. ใหสถานศึกษาจัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษา เพ่ือเปนหลักฐานการประเมินผลการเรียน รายงานผลการเรียนและเปนหลักฐานแสดงวุฒิ และรับรองผลการเรียนของผูเรียน แนวทางการบริหารการประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา เพ่ือใหการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาสอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 มีการดําเนินการตามหลักการกระจายอํานาจ มีการประเมินผูเรียนตามหลักการการวัดและประเมินผลการเรียน มีการตรวจสอบและกํากับติดตามประเมินคุณภาพการประเมินผลการเรียนอยางมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาจึงควรดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนดังนี ้ 1. สถานศึกษาโดยคระกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานกําหนดรูปแบบระบบ และระเบียบประเมินผลของสถานศึกษาเพ่ือใชเปนแนวปฏิบัติในการประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา

Page 18: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

18

2. สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษากําหนดผลการเรียนรูท่ีคาดหวังรายป / รายภาค ของแตละกลุมสาระการเรียนรู โดยวิเคราะหจากมาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน เพ่ือใชเปนเปาหมายในการวัดและประเมินผลการเรียนรูรายป / รายภาค 3. คณะอนุกรรมการระดับกลุมวิชา ใหความเห็นชอบรูปแบบวิธีการ เครื่องมือเกณฑการประเมินและผลการตัดสินการประเมินผลการเรียนรายวิชาของผูสอน 4. ผูสอนจัดการเรียนการสอน ตรวจสอบพัฒนาการของผูเรียน และประเมินสรุปผลสัมฤทธ์ิของผูเรียน ดวยวิธีการหลากหลายตามสภาพจริง โดยการนําผลการเรียนรูระหวางเรียนไมนอยกวารอยละ 70 ไปใชเปนขอมูลสําหรับตัดสินผลการเรียนรายวิชา 5. หัวหนาสถานศึกษาอนุมัติผลการเรียนปลายป / ปลายภาคและผานชวงช้ัน 6. สถานศึกษาจัดทํารายงานผลการดําเนินการประเมินผลการเรียนประจําปโดยความเห็นชอบของคระกรรมการบริหารหลักสูตร และวิชาการของสถานศึกษาเสนอตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน แนวดําเนินการประเมินผลการเรียน เพ่ือใหการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาตางๆ มีหลักเกณฑในการตรวจสอบผลการเรียนและพัฒนาการของผูเรียนรวมกันใหการประเมินผลการเรียนสอดคลองกับกระบวนการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และใหขอมูลผลการประเมินผลการเรียนของผูเรียนทุกคนมีความหมายตรงกัน สามารถใชสงตอระหวางสถานศึกษา และหนวยงานตางๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ จึงกําหนดหลักเกณฑการประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาดังนี ้ 1. การประเมินผลการเรียนสาระการเรียนรูเปนการประเมินผลการเรียนรูและพัฒนาการของผูเรียน ในการเรียนสาระการเรียนรูในรายวิชาตางๆ เพ่ือตรวจสอบวาผูเรียนเกิดความรู ทักษะกระบวนการ และคุณธรรมคานิยม ตามผลการเรียนรูท่ีคาดหวังหรือไม โดยดําเนินการดังนี ้ 1.1 ประเมินผลและตัดสินผลการเรียนเปนรายวิชา โดยยึดผลการเรียนรูท่ีคาดหวังเปนเปาหมาย 1.2 ประเมินผูเรียนดวยวิธีการหลากหลาย เนนการประเมินสภาพจริง โดยดําเนินการควบคูไปกับการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง 1.3 ตัดสินผลการเรียนโดยประมวลจากผลการประเมินระหวางเรียน การประเมินผลงาน และการทดสอบดวยแบบทดสอบตางๆ แลวตัดสินตามเกณฑท่ีแตละสถานศึกษากําหนดใหเหมาะสมกับสภาพสถานศึกษา 1.4 รายงานผลการประเมิน ใหเปนไปตามระบบท่ีสถานศึกษากําหนด ซ่ึงจะเลือกรายงานดวยระบบผาน / ไมผาน (ได / ตก) หรือระดับผลการเรียนแบบตัวเลข ตัวอักษรหรือรอยละ

Page 19: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

19

ก็ได แตในชวงช้ันท่ี 4 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ควรใชระดับผลการเรียนแบบตัวเลข เพ่ือใหสอดคลองกับแนวทางการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา โดยแบงเปน 5 ระดับ คือ 4 หมายถึง ผลการเรียนดีมาก 3 หมายถึง ผลการเรียนด ี 2 หมายถึง ผลการเรียนพอใช 1 หมายถึง ผลการเรียนผานเกณฑการประเมิน 0 หมายถึง ผลการเรียนต่ํากวาเกณฑการประเมิน 1.5 ซอมเสริมผูเรียนท่ีไมผานเกณฑการประเมิน และใหเรียนซํ้าในวิชาท่ีซอมเสริมไมสําเร็จหรือไมเขารับการซอมเสริมตามเง่ือนไขท่ีสถานศึกษากําหนด 1.6 สถานศึกษาสะสมผลการเรียนแตละรายวิชาของผูเรียน และอนุมัติใหผูเรียนท่ีมีผลการเรียนไดรายวิชาตางๆ ท้ัง 8 กลุมสาระ การเรียนรูครบถวน ตามเกณฑการจบชวงช้ันของสถานศึกษาเปนผูผานชวงช้ัน 2. การประเมินการรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนการประเมินความสามารถและพัฒนาการของผูเรียนในการเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยดําเนินการดังนี ้ 2.1 อาจารยท่ีปรึกษากิจกรรม เปนผูประเมินและตัดสินการปฏิบัติกิจกรรมของ ผูเรียนเปนรายกิจกรรม 2.2 สถานศึกษากําหนดจุดประสงคของกิจกรรมแตละกิจกรรมและเกณฑการประเมินกิจกรรม คือ เกณฑตัดสินการผานจุดประสงคของกิจกรรม เกณฑการตัดสินเวลารวมกิจกรรมระบบการรายงานผลการตัดสินการประเมินกิจกรรม 2.3 อาจารยท่ีปรึกษาดําเนินการประเมินผูเรียนท้ังระหวางปฏิบัติกิจกรรมและเมือส้ินสุดกิจกรรม เนนการประเมินสภาพจริงดวยวิธีการหลากหลาย 2.4 ประมวลผลการปฏิบัติกิจกรรม และตัดสินการผานกิจกรรมตามเกณฑท่ีกําหนด 2.5 ซอมเสริมผูเรียนท่ีไมผานเกณฑการประเมินกิจกรรมในสวนท่ีบกพรองแลวประเมินใหม จนกวาจะผานเกณฑการประเมินครบถวนจึงผานกิจกรรม 2.6 สถานศึกษาสะสมการปฏิบัติกิจกรรมขงผูเรียนแตละคน และอนุมัติใหผูท่ีมีผลการปฏิบัติกิจกรรมครบดวยตามเกณฑการจบชวงช้ัน ของสถานศึกษาไดผานชวงช้ัน 3. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค เปนการประเมินพัฒนาการทางดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมของผูเรียน ตามท่ีสถานศึกษากําหนดโดยมีแนวดําเนินการดังนี ้ 3.1 กําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา 3.2 ดําเนินการปลูกฝงคุณลักษณะอันพึงประสงคโดยกําหนดใหผูเรียนนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน

Page 20: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

20

3.3 กําหนดเกณฑและแนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคแตละประการ 3.4 ดําเนินการประเมินผูเรียนจากพฤติกรรมจริงอยางตอเนื่อง 3.5 สรุปการประเมินพฤติกรรมของผูเรียนเปนระยะ ๆ 3.6 สรุปตัดสินใหผูเรียนท่ีมีพัฒนาการของคุณลักษณะอันพึงประสงคดีสมํ่าเสมอผานเกณฑชวงช้ัน โดยรายงานผลการประเมิน ดังนี ้

ดีเยี่ยม หมายถึง ผานเกณฑท่ีสถานศึกษากําหนดใหระดับท่ีสามารถเปนแบบอยางแกนักเรียนท่ัวไป

ดี หมายถึง ผานเกณฑท่ีสถานศึกษากําหนดโดยประพฤติด ี ตามปกต ิ ควรปรับปรุง หมายถึง ไมผานเกณฑท่ีสถานศึกษากําหนด 3.7 ใหผูเรียนท่ีไมผานเกณฑการผานชวงช้ัน เขารับการอบรม และทํากิจกรรมความดีชดเชย เม่ือปฏิบัติกิจกรรมครบถวนแลวจึงจะไดเล่ือนชวงช้ันและใหปรับการรายงานผลการประเมินใหม “ผานเกณฑการประเมิน” หมายถึง ไดรับการซอมเสริมใหผานเกณฑการประเมิน 4. การประเมินการอาน คิดวิเคราะห เขียน เปนการประเมินทักษะการอาน การคิดวิเคราะห และการถายทอดความคิดดวยทักษะการเขียน โดยมีแนวดําเนินการดังนี ้ 4.1 กําหนดมาตรฐานการอาน คิดวิเคราะห และเขียนของสถานศึกษา 4.2 กําหนดเกณฑการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน 4.3 กําหนดระบบวิธีการประเมิน และผูประเมิน 4.4 ดําเนินการประเมินผูเรียนตามแนวทางท่ีกําหนด 4.5 สรุปผลการประเมินตัดสินใหผูผานมาตรฐานการอาน คิดวิเคราะห และและเขียนผานชวงช้ัน แลวรายงานผลการประเมินตามระบบท่ีสถานศึกษากําหนด 4.6 ซอมเสริมผูเรียนท่ีไมผานเกณฑการประเมินจนกวาจะผานจึงจะไดรับอนุมัติใหผานชวงช้ัน 5. การตัดสินผลการเรียนผานชวงช้ัน เปนการนําผลการประเมินในดานตางๆ ตามหลักเกณฑการประเมินผลมาประมวลสรุปเพ่ือตัดสินใหผูเรียนผานชวงช้ันตางๆ ตามเกณฑการตัดสินผลการเรียนแตละชวงช้ัน จากแนวคิดจะเห็นไดวา ขบวนการวัดผลและประเมินผลวิชาวัดผลและประเมินผลวิชาศิลปะนั้นยอมมีความสําคัญยิ่งในการเรียนการสอน เพราะเม่ือส้ินสุดการเรียนการสอนแลวเราจะทําการวัดผลหรือประเมินผลการเรียน เพ่ือใหทราบผลวา ผูเรยีนมีความรูความเขาใจ ความ

Page 21: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

21

ซาบซ้ึงในศิลปะทัศนคติ ทักษะและการนําไปใช สอบผานเกณฑท่ีกําหนดหรือไมและตัวผูสอนคือครูจะไดทราบตัวเองดวยวา กลวิธี หรือเทคนิคการสอนของตนท่ีใชสอนไปนั้นสงผลตอการเรียน การสอนอยางไรและควรจะไดปรับปรุงและพัฒนาใหดีขึ้นอยางไรดวย การพัฒนาศักยภาพครู การพัฒนาศักยภาพครูถือเปนหนาท่ีของสถานศึกษาท่ีจะพัฒนาใหเปนครูมืออาชีพ โดยศึกษาวิเคราะหระบบตางๆ ของสถานศึกษาวามีจุดออนจุดแข็งอยางไร รวมท้ังระบบการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล การวิเคราะหผูสอนในดานความสามารถ ความถนัด ความสนใจ ตลอดจนเจตคติท่ีมีตอการเรียนการสอน เพ่ือใหไดขอมูลสําหรับการพิจารณา สนับสนุนใหมีการพัฒนาศักยภาพครูอยางตอเนื่อง การกําหนดใหครูจัดการเรียนการสอนเปนกลุม การมีครูพ่ีเล้ียง ครูทําหนาท่ีพัฒนาหลักสูตร ครูแนะแนว ท้ังหมดเปนกระบวนการท่ีสถานศึกษาตองพัฒนาสรางสรรคใหเปนระบบโดยมีปจจัยเกื้อหนุนท่ีมีประสิทธิภาพ พรอมดวยนวัตกรรมท่ีหลากหลาย ผูเรียนมีระบบการชวย ผูเรียนมีระบบการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน โดยมีผูเรียนเปนผูชวยครูเพ่ือใหกระบวนการเรียนรู ดําเนินการไปอยางมีศักยภาพ การพัฒนาศักยภาพครู ใหมีความเปนผูนําทางวิชาการปฏิบัติหนาท่ีโดยใชกระบวนการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู อาศัยความรวมมือของครูแกนนํา ครูตนแบบ และสถาบันการศึกษาช้ันสูง เชน คณะครุศาสตร / ศึกษาศาสตรของสถาบันราชภัฎและมหาวิทยาลัย รวมท้ังชมรมวิชาชีพ ซ่ึงจะชวยพัฒนาครูใหมีศักยภาพในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีมีมาตรฐานการเรียนรูเปนเกณฑกําหนดคุณภาพ การเรียนรูของผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ ท้ังนี้เนื่องจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเปนหลักสูตรท่ีตองอาศัยการตัดสินใจ เดนดวง คําตรง (2541,หนา 24-40) ไดศึกษาวิจัยเรื่องความตองการการพัฒนาของครูอาจารย ในสังกัดกรมอาชีวศึกษา จังหวัดชลบุรี โดยใหแนวคิดเรื่องการพัฒนาศักยภาพครูไวดังตอไปนี ้ ความสําคัญของวิชาศิลปะ ความสําคัญของวิชาศิลปศึกษา ศิลปะเปนวิชาหนึ่งท่ีมีความสําคัญในกระบวนการศึกษานับตั้งแตเด็กวัยกอนเขาเรียนระดับอนุบาลศึกษาไปจนจบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ดังนั้น จึงมีผูกลาวถึงคุณคาของศิลปะในการเรียนการสอนไวดังนี ้ หนวยศึกษานิเทศก (2540, หนา 28) ไดกลาววา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหเด็กอยางถูกตอง จะชวยพัฒนาความรูสึกตางๆ ของเด็กไดเปนอยางดี การมองเห็นความสวยงามตางๆ เริ่มดวยการสังเกตธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมรอบๆ ตัว เปนอันดับแรก ถาเด็กไดสัมผัสกับส่ิงท่ี

Page 22: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

22

สวยงาม สะอาดเรียบรอย เด็กก็จะเกิดความช่ืนชมในส่ิงพบเห็น และสามารถแสดงความรูสึกตางๆ ดวยการรับรูในความงาม วิรัตน พิชญไพบูลย (2531, หนา 8-10) ไดกลาวถึงคุณคาและความสําคัญของศิลปศึกษาในการสงเสริมพัฒนาการดานตางๆ ของเด็กดังนี ้ 1. พัฒนาการดานสติปญญา (Intellectual Growth) ศิลปะจะชวยสงเสริมการเรียนรูมีความคิดริเริ่มสรางสรรค ในการสรางงาน รูจักแกปญหา และปรับปรุงผลงาน ส่ิงเหลานี้จะทําใหมีความเช่ือม่ัน ความสามารถในการสรางสรรคส่ิงตางๆ ใหสําเร็จอยางมีคุณภาพ เฉลียวฉลาด พฤติกรรมดังกลาวจะชวยพัฒนาความคิด และสติปญญาของเด็กใหดีขึ้น 2. พัฒนาการทางอารมณ (Emotional Growth) ศิลปะจะชวยสนองความตองการ การท่ีจะแสดงออก และการสรางสรรคส่ิงตางๆ เม่ือเด็กสรางผลงานสําเร็จ เด็กจะพึงพอใจ มีอารมณแจมใส มีความม่ันใจในตนเอง อันเปนพ้ืนฐานของการพัฒนาการทางอารมณ 3. พัฒนาการทางสังคม (Social Growth) ศิลปะทําใหเด็กมีโอกาสในการทํางานรวมกับผูอ่ืน รับผิดชอบรวมกัน และเปล่ียนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน ยอมรับความคิดเห็นของผูอ่ืนดวยใจยุติธรรม ส่ิงเหลานี้จะมีบทบาทชวยสรางเสริมความคิดทางสังคมไดอยางด ี 4. พัฒนาทางรางกาย (Physical Growth) การสรางงานศิลปะทุกชนิด จําเปนตองใชกลามเนื้อบางสวนของรางกายในการทํางาน บางครั้งตองบังคับมือ และกลามเนื้อ ตามรูปแบบท่ีกําหนด จึงมีสวนทําใหมีการพัฒนาดานรางกายใหแข็งแรง คลองตัวในการทํางาน 5. พัฒนาดานการรับรู (Perceptual Growth) การทํางานท่ีตองใชความสามารถ ความถนัดของตนเอง การคิดคนวิธีการสรางงานแปลกๆ ใหมๆ ใหดีขึน้จะชวยกอใหเกิดการรับรูได 6. พัฒนาการทางดานสุนทรียภาพ (Aesthetic Growth) ศิลปะจะชวยใหเกิดความซาบซ้ึง ช่ืนชม รูคุณคาความงามในธรรมชาติ ความงามของส่ิงตางๆ มองส่ิงตางๆ ใหลึกซ้ึง มีจิตใจละเอียดออนและมีรสนิยมสูงขึ้น 7. พัฒนาการทางดานสรางสรรค (Creative Growth) ศิลปะจะเปนส่ือท่ีมีความอิสระในการสรางสรรค ใหรูจักปรับปรุงแบบหรือคุณภาพของงาน ส่ิงเหลานี้จะเปนการพัฒนาความคิดสรางสรรคได คุณลักษณะบทบาทและหนาที่ของครูศิลปศึกษา ในการเรียนการสอนศิลปะ ครูผูสอนวิชาศิลปะเปนบุคคลท่ีสําคัญอยางยิง่ในการเรียนการสอน เพราะครูผูสอนสามารถแกไขปญหาและสถานการณตางๆ ได สวนมากครูศิลปะมักจะเปนท่ีพึงพอใจของนักเรียน เพราะวิชาศิลปะเปนวิชาท่ีเด็กไดแสดงเปนผลงานไดโดยมีรูปแบบท่ีชัดเจน เม่ือนักเรียนสงผลงานครูมักจะตรวจแลวนําไปแสดงบนปายนิเทศ หรือตูแสดงผลงานส่ิงตางๆ ดังกลาวจะเปนส่ือใหนักเรียนสนใจ ในวิชาศิลปะ นอกจากนั้น วิชาศิลปะยังเปนวิชาท่ีถายทอดความคิดสรางสรรค ความสวยงามของเสน สี และรูปทรง ฯลฯ ท่ีนาประทับใจดังนั้นจึงมีผู

Page 23: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

23

กลาวถึงบทบาท และหนาท่ีของครูศิลปศึกษาไดดังนี ้ อัญชลี โสมดี (2531, หนา 1-2) ไดกลาวถึงบทบาทและหนาท่ีของครูศิลปศึกษาไวดังนี ้ 1. ทัศนคติของครูผูสอนวิชาศิลปศึกษาในการเรียนการสอนศิลปะ มักจะคลอบคลุมในเรื่องของทัศนคติ ความมุงหวังและตั้งใจตลอดจนอุดมคติ คุณธรรมและจริยธรรมของครูผูสอนซ่ึง ครูศิลปะท่ีดีควรมีทัศนคติท่ีดีดังกลาวคือ 1.1 สอนดีและอดทนขยันขันแข็งในการสอน 1.2 รูจักตนเองเปนบุคคลท่ีมีความสามารถ และนําความรูท่ีตนเองไดรับไปถายทอดใหแกเด็ก 1.3 ดูแลและชวยเหลือเด็กในการทํางานอยางท่ัวถึง ไมลําเอียงหรือเลือกท่ีรักมักท่ีช่ัง 1.4 มีความเขาใจ และเห็นใจในความแตกตางระหวางบุคคลท้ังทางดานเศรษฐกิจและฐานะทางครอบครัวตลอดจนความสมารถในการปฏิบัติงานทางดานศิลปะของเด็ก 1.5 สนใจนักเรียนอยางแทจริง รูจักนักเรียนท่ีสอนเปนอยางดี เปนการแกปญหาแกปมดอยของเด็ก และควรจะศึกษาเด็กเปนรายบุคคลสําคัญเด็กท่ีมีปญหา โดยการศึกษาขอมูลจากครูประจําช้ัน หรือผูปกครอง 1.6 ไมส่ังงานหรือควบคุมเครงครัดจนเกินไป 1.7 ใชหลักจิตวิทยาและพัฒนาการ ในการกลาวคําวิจารณ และติชมผลงานของนักเรียน 2. บุคลิกลักษณะของครูผูสอนวิชาศิลปศึกษา วิชาศิลปะเปนวิชาท่ีสงเสริมในดานความงาม สงเสริมทางดานบุคลิกลักษณะ ไมวาจะเปนดานการแตงกาย หรือกิริยาทาทาง ครูผูสอนวิชาศิลปะจึงนับวาตองทําตนใหเปนตัวอยางท่ีดีดังตอไปนี ้ 2.1 แตงกายสุภาพเรียบรอยเหมาะสมกับวัยทันตอเหตุการณ แตไมใชแตงตัวจนมากเกินไป 2.2 ควรเปนคนกาวหนา ทันสมัย ในดานวิชาการและความรูตางๆ ทางดานศิลปะท้ังทฤษฏี และปฏิบัต ิ สุทธาสินี วิเวกานนท (2538, หนา 42) ไดสรุปแนวคิดเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูประถมศึกษาไว 3 ดาน ไดแก 1. ดานบุคลิกภาพควรมีลักษณะท่ีแจมใส เปนมิตร สุขุม เยือกเย็น ออนโยน มีเหตุผลกลาคิดกลาทําในทางสรางสรรค มีการวางแผน ตื่นตัวเสมอ มีเปาหมายในการทํางานในสวนของการกระทํา ก็ควรจะมีการแสวงหาความรู ติดตามขาวสาร มีมนุษยสัมพันธเปนตน

Page 24: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

24

2. ดานสมรรถภาพวิชาชีพครู ตองมีความรู ความสามารถทักษะ และการประยุกตใชในการสอนในทุกๆ ดาน 3. ดานคุณธรรม ครูท่ีดีควรเปนกัลยาณมิตรของศิษย มีจิตใจแจมใส มีความเมตตากรุณา ยุติธรรม รับผิดชอบ มีวินัย ขยัน อดทน มีความรักและความศรัทธาในวิชาชีพครู เทอเรนซ (Terence, 1976, p.110) ไดกลาวถึงบทบาทของครูในดานการสอนศิลปศึกษาไววา 1. บทบาทการสอนของครูท่ีเคยปฏิบัติมา ควรเปล่ียนแปลงไดแลว ไมควรคอยกํากับกิจกรรมตางๆ ใหเด็กตลอดเวลา ควรเปนเพียงท่ีปรึกษา สังเกตดู ช้ีแนะเปนบางครั้งเทานั้น 2. ครูศิลปศึกษา ควรมีความเขาใจถึงส่ิงท่ีเกี่ยวของกับเด็ก เชน พัฒนาการดานตางๆ ของเด็ก 3. ครูศิลปศึกษา ควรใชโสตทัศนศึกษาเขามาชวย ในการปฏิบัติกิจกรรมตางๆ เทอเรนซ ยังสรุปอีกวา บทบาทของครูในโรงเรียน และผูบริหารในโรงเรียนมีผลตอวิชาศิลปศึกษาวามีคุณคามากหรือนอยเพียงไร ครูท่ีมีพ้ืนฐานสาขาวิชาอ่ืนๆ ในบางครั้งมักมองวาศิลปะเปนวิชาท่ีไมสําคัญเปนเพียงวิชาท่ีสนับสนุนการเรียนการสอนเทานั้น จากคุณลักษณะบทบาทหนาท่ี และหนาท่ีของครูศิลปศึกษาท่ีกลาวมาขางตน จึงสามารถสรุปไดวา ครูศิลปศึกษาตองมีลักษณะพิเศษ เพราะศิลปะเปนเรื่องของความงามท่ีปรากฏออกมาท้ังภายนอกและภายใน ภายนอกคือส่ิงตางๆ ท่ีนักเรียนมองเห็น ภายใน คือจิตใจท่ีดีงาม ท้ังความขยันความอดทน ความเขาใจเห็นใจนักเรียน ส่ิงพิเศษเหลานี้จะเปนเบาหลอมใหนักเรียนมีจิตใจดีงามตรงตามเปาหมายการศึกษา หลักเกณฑในการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปศึกษา กรมวิชาการ (2535, หนา 74) ไดระบุถึงหลักเกณฑการจัดการเรียนการสอนศิลปศึกษาครูควรคํานึงถึงหลักเกณฑในการจัดการเรียนการสอนดังตอไปนี ่ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดจนเนื้อหาในแตละบทเรียนควรยืดหยุนตามเหตุการณ สภาพทองถ่ิน ความสนใจของผูเรียน และควรจัดใหสัมพันธระหวางกลุมวิชามากท่ีสุด 2. ผูสอนควรใชวิธีสอนท่ีจะใหผูเรียนรูปญหา และความตองการของถ่ินฝกใหคิดเปน แกปญหาเปน และรูจักนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจํา โดยพิจารณาวิธีสอน ท่ีเห็นวาเหมาะสมกับจุดประสงค และลักษณะเนื้อหาวิชา เชนการสอนแบบการแกปญหาคนควา อภิปราย ทํางานกลุมฯ 3. ผูสอนควรคํานึงการใหผูเรียนมีโอกาสท้ังทางวิชาการ และทางปฏิบัติ ซ่ึงจะสงผลสงเสริมลักษณะเฉพาะของแตละบุคคล และใหผูเรียนอยูในสังคมอยางเปนสุข

Page 25: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

25

4. ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนหรือทองถ่ินกําหนดชวงตารางเวลาเรียนเองโดยกําหนดครั้งละกี่คาบ เปนชวงส้ันหรือชวงยาว ตามความเหมาะสมกับวัยของผูเรียนลักษณะเนื้อหาและกิจกรรม 5. ครูควรคํานึงถึงเกี่ยวกับพัฒนา เกี่ยวกับการสนใจเปนพิเศษของนักเรียนเด็ก บางคนจะมีความสามารถมากกวาคนอ่ืนในการทํางานศิลปะ และสวนท่ีครูตองระวังคือ ครูไมควรท่ีจะละเลยท่ีจะสงเสริมใหเด็กทดลองกับส่ือวัสดุใหมๆ และเด็กจะไมสนใจท่ีจะรวมกิจกรรมกลุม เพราะเด็กจะขาดความสนใจในกิจกรรมท่ีปฏิบัต ิ 6. การจัดการเรียนการสอนศิลปศึกษาท่ีจะสงผลถึงทรัพยากรมนุษยท่ีมีคุณภาพความสําเร็จของการจัดการเรียนการสอนศิลปศึกษา มิใชอยูในความสมบูรณของงาน แตจะอยูท่ีการสงเสริมความคิดริเริ่ม การขยายสประสบการณและความคิดเชิงวิพากษวิจารณ ความสําคัญของการพัฒนาการทางดานการแสดงออกทางศิลปะ วิรุณ ตั้งเจริญ (2526 : 49-52) กลาวถึงความสําคัญของพัฒนาการทางดานการแสดงออกทางศิลปะดังตอไปนี ้ 1. ความเจริญเติบโตทางดานสติปญญา การท่ีเด็กแสดงออกทางศิลปะในแตละวัย หรือแตละคนแตกตางกันยอมแสดงถึงความแตกตางทางสติปญญาดวย ขอแตกตางนี้อาจจะปรากฏในแงของรายละเอียดการแสดงรูปทรงการออกแบบ การระบายสี หรือการแสดงจินตนาการ ขอแตกตางนี้สามารถพิจารณาไดจากความแตกตางของวัย บุคคล หรือในแตละชวงเวลากระบวนการ ทํางานทางศิลปะนั้นจะเริ่มจากการวิเคราะหขอมูลซ่ึงเปนประสบการณบูรณาการ ประสบการณ ความคิด และจินตนาการเขาดวยกัน แลวจึงสังเคราะหเสน รูปทรง สี ในขั้นสุดทาย และยอมเปนกระบวนการเรียนรูหนึ่งท่ีเหมาะสมกับวัยเด็กเปนอยางมาก 2. ความเจริญเติบโตทางอารมณ เมือเด็กรับรูประสบการณและเรียนรูนั้นนอกจากจะปรับพฤติกรรมตางๆ แลว ยังตองปรับอารมณของเขาอีกดวย สําหรับพฤติกรรมการวาดภาพ เด็กไดแสดงออกอยางสนุกสนานเพลิดเพลิน เพราะไดถายทอดประสบการณ ไดแสดงความสามารถและไดเห็นผลสําเร็จจากการแสดงออกของคน ส่ิงเหลานี้จะชวยพัฒนาอารมณของเด็กไดอยางดีเยี่ยม ท้ังความสนใจ ความกระตือรือรน และความตั้งใจอยางแนวแนในการกระทําส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ซ่ึงเทากับเปนพัฒนาการความเช่ือและความม่ันคงทางอารมณในการทํางาน เพราะเด็กจะมีความพรอมในการเผชิญกับส่ิงแปลกใหม และเกิดความรูสึกวาเปนเรื่องปกติธรรมดา ในการท่ีจะพาตัวเองเขาไปสูส่ิงตางๆ หรือปญหาตางๆ 3. ความเจริญเติบโตทางรางกาย การวาดภาพกับความเจริญเติบโตทางรางกายเปนการแสดงออก ท่ีช้ีใหเห็นความสามารถ การใชสายตาท่ีสัมพันธกับการเคล่ือนไหวในสวนท่ีตองใชทักษะในการควบคุมทิศทางการลากเสน การเจริญเติบโตของรางกายจะทําใหมีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการวาดท่ีเริ่มจากขั้นขีดเขี่ย (Scribbling Stage) เปนเสนยุงๆ ไปสูความสามารถควบคุมเสน

Page 26: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

26

ใหเปนระเบียบขึ้นเรื่อยๆ ซ่ึงการเคล่ือนไหวของเสนจะเปนอยางซํ้าๆ อยูในระยะหนึ่ง แลวจึงสามารถลากเสนเปนรูปทรงใหปรากฏขึ้น และเม่ือเด็กเจริญเติบโตพัฒนาการทางทักษะ การเคล่ือนไหว จะทําใหรูปแบบการวาดภาพพัฒนาจากเสนท่ีวาดเปนรูปรางงายๆ ไปสูรูปรางท่ีเลียนแบบของจริงมากยิ่งขึ้น 4. ความเจริญเติบโตทางสังคม การวาดภาพของเด็กเปรียบเสมือนเปนการถายทอดสารหรือสาระ (Message) ซ่ึงสวนใหญจะเนนสาระท่ีเกี่ยวของกับความคิดคํานึงสวนตัว โดยเฉพาะสารท่ีเกี่ยวของกับสังคมนั้น นอกจากจะเปนส่ือสารใหรับรูถึงการท่ีเด็กมีความคิด มีความสัมพันธกับสังคมอยางไรแลว ยังเนนใหเด็กคิดคํานึงถึงสังคมรอบตัว ความสัมพันธท่ีเขาพึงมี ตอสังคมและการทํางานรวมกัน อีกดวย 5. ความเจริญเติบโตทางการรับรู สมรรถภาพทางการรับรูเปนส่ิงสําคัญอยางหนึ่งในตัวเด็กในอันท่ีจะชวยใหเด็กเกิดการเรียนรูและสะสมประสบการณท่ีดี เพราะการรับรูท่ีมีสมรรถภาพยอมเกี่ยวของกับประสาทสัมผัสโดยตรง การรับรูของเด็กในวัยนี้สวนใหญจะเปนการรับรูทางสายตา โดยการรับรูเกี่ยวกับสี รูปรางและบริเวณวาง พัฒนาการรับรูทางสายตาจะเริ่มพัฒนาแยกแยะส่ิงตางๆ จากการแยกแยะสีและรูปรางในระยะแรกตอมาเม่ือเด็กมีพัฒนาการการรับรูมากขึ้นท่ีจะแสดงการรับรูของบริเวณราง ซ่ึงมีความ สําคัญสําหรับเด็กจะสามารถพัฒนาการรับรูบริเวณวางมาใชไดอยางเหมาะสม สามารถถายทอดความรูสึกจากส่ิงท่ีตนรับรูออกมาในพ้ืนท่ีสวนตางๆ ของภาพใหมีความหมายและความสัมพันธกันได ภาพท่ีวาดจึงประกอบดวยการใชบริเวณวาง รูปราง สีสัน และความรูสึก 6. ความเจริญเติบโตทางสุนทรียภาพแสดงใหเห็นถึงประสาทสัมผัสท่ีไดบูรณาการ ประสบการณท้ังมวลซ่ึงเกี่ยวของกับความคิด ความรูสึก และการรับรูผลจากการบูรณาการครั้งนี้ สามารถท่ีจะพบไดจากเอกสารของการจัดภาพท่ีประสานกลมกลืนกัน และแสดงออกซ่ึงความรูสึกนึกคิดดวยภาระของบริเวณวาง เสน ลักษณะผิวและสี 7. ความเจริญเติบโตทางการสรางสรรค เด็กจะแสดงออกอยางอิสระและมีลักษณะเฉพาะตัว รวมท้ังสมรรถภาพในการแกปญหาในการดํารงชีวิตดวย ถาเปนการสรางสรรคผลงานยอมเปนลักษณะท่ีสอใหเห็นถึงการปรับปรุงเปล่ียนแปลง หรือการสรางส่ิงใหมซ่ึงมีแนวโนมไปในทางท่ีดีกวา เด็กพรอมท่ีจะแสดงออกดวยการลองผิดลองถูก ทายท่ีสุดการแสดงออกของเขาไมเคยผิด และไมรูสึกลมเหลว จึงทําใหเด็กมีความม่ันใจอยากท่ีจะแสดงออกตอไป สรางสรรคตอไป พัฒนาการสรางสรรคจะพบเห็นไดในผลงานศิลปะ ไมวาจะเปนดานรูปแบบ เนื้อหาและแนวคิดในดานใดดานหนึ่งหรือหลายดาน การสรางสรรคผลงานยังเปนการสะสมบุคลิกการสรางสรรค ดังนั้นถาการสรางสรรคงานศิลปะเปนไปอยางตอเนื่อง บุคลิกการสรางสรรคก็ยอมเกิดขึ้นกับเด็กดวยเชนกัน พัฒนาการทางดานการแสดงออกทางศิลปะของเด็กระดับมัธยมศึกษาตอนตน

Page 27: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

27

อุบล ตูจินดา (2532 : 26-28) กลาวถึงการพัฒนาพฤติกรรมการแสดงออกทางศิลปะของเด็กระดับมัธยมศึกษา ดังตอไปนี ้ เด็กอายุประมาณ 11-13 ขวบ เด็กวัยนี้ตองการเพ่ือนรุนเดียวกัน ตองการ ตองการรูจักวิธีการควบคุมตนเอง ตองการความไววางใจจากผูอ่ืน มีอารมณรุนแรงเปล่ียนอยูเสมอ ตองการใหผูใหญคิดวาตนโตแลว ชอบอิสระในชวงวัยรุน นอกจากจะสนใจกับการแสดงออกตามสภาพธรรมชาติของวัตถุและส่ิงแวดลอม เด็กยังตองการส่ิงท่ีเปนเหตุผลสนใจกับส่ิงท่ีมีความหมายกับชีวิตสวนตัวและสนใจเหตุการณตางๆ ดวย การแสดงทางศิลปะมีความสามารถท่ีจะแสดงออกตามอัตภาพ และพรอมท่ีจะประยุกตความสามารถทางศิลปะไปใชในชีวิตประจําวัน สามารถแสดงออกทางสรางสรรค ความเช่ือม่ันตนเอง ครุควรสงเสริมใหนักเรียนทํางานรวมกัน วิพากษวิจารณรวมกัน การสอนศิลปะควรเนนกิจกรรมท่ีทาทายความคิด การปฏิบัติ การแกปญหา ชะลอ พงษสามารถ (2526 : 52) กลาวถึงพฤติกรรมของเด็กมัธยมศึกษากับงานศิลปศึกษาวาเด็กวัยวัยนี้เปนวัยท่ีแสดงออกทางความคิดสรางสรรคทางศิลปะไดสูงกวาวัยอ่ืนๆ เด็กท่ีสนใจจะคิดพิจารณาส่ิงท่ีตนไดพบไดเห็น สามารถจําได เขียนได ปรับปรุงใหแปลกขึ้นได โลเวนเฟลด (Lowenfeld. 1987 : 33-39; อางอิงมาจาก ฉัตรชุดา เธียรปรีชา. 2537 : 17-19) ไดทําการศึกษาขั้นพัฒนาการดานศิลปะของเด็ก โดยแบงขั้นพัฒนาการไวดังนี ้ 1. ขั้นขีดเขี่ย (The Scribbling Stage) อายุ 2-4 ป 2. ขั้นเริ่มเปนสัญลักษณ หรือขั้นเขียนภาพใหมีความหมาย (Pre-Schematic Stage) อายุ 4-7 ป 3. ขั้นใชสัญลักษณหรือขั้นเขียนภาพ ไดคลายของจริง (Schematic Stage) อายุ 7-9 ป 4. ขั้นเขียนภาพของจริง (Drawing Realistic) อายุ 9-11 ป 5. ขั้นเขียนภาพเหมือนของจริง (Period Realistic) อายุ 11-12 ป 6. ขั้นความคิดสรางสรรค (Period Decision) อายุ 12-16 มะลิฉัตร เอ้ืออานันท (2529 : 5-8) กลาวถึงพัฒนาการทางศิลปะของเด็กวัยกอนวัยรุน (Preadolescent) อายุ 9-14 ป วาเด็กวัยนี้มีความสามารถในการพินิจพิเคราะห วิพากษวิจารณ หรือเลือกเฟนส่ิงดี ส่ิงใดดอย เด็กวัยนี้จากการคนควาของ Garder และ Rosentiel (1977) พบวาสามารถเห็นและรูวางานของตนดีหรือดอยเชนไร แมบางครั้งไมมีการสอวาตองการเปล่ียนแปลงปรับปรุงขอดอยนั้น จากการอธิบายความหมายของการพัฒนาการทางดานการแสดงออกทางศิลปะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนตามความคิดสรางสรรคของแตละคนท่ีกลาวมาแลวนั้น แลวสรุปไดวาสามารถแสดงออกตามอัตภาพ

Page 28: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

28

ความหมายของเอกสารประกอบการเรียน ไดมีผูใหความหมายของเอกสารประกอบการเรียน ไวดังนี ้ ศักรินทร สุวรรณโรจน และคณะ (2533) กลาววา เอกสารท่ีใชประกอบการเรียนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรท่ีใชในสถานศึกษา มีหัวขอครบถวนตามรายละเอียดของวิชาท่ีกําหนดไวในหลักสูตรไมนอยกวา 1 รายวิชา และมีความหมายครอบคลุมในดานตางๆ เชน ความหมาย เนื้อหา กิจกรรม และวิธีการสอน อุปกรณท่ีใชและวิธีวัด และประเมินผล ทองพูล บุญยิ่ง (2536) กลาววา เอกสารประกอบการเรียนการสอน หมายถึง เอกสารท่ีบอกเทคนิคการแกไขปญหาการเรียนการสอน หรือเฉพาะจุดประสงคของรายวิชา เพ่ือใหครูหรอืนักเรียนไวใชประกอบการสอนในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามหลักสูตรท่ีใชในสถานศึกษา ซ่ึงจะตองมีหัวขอและเนื้อหาครอบคลุม และครบถวนตามรายละเอียดของวิชาท่ีกําหนดไวในหลักสูตรไมนอยกวา 1 รายวิชา ความสําคัญของเอกสารประกอบการเรียน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประดับ จันทรสุขศร,ี 2537) กลาววา เอกสารประกอบการเรียน หมายถึง เอกสารหรืออุปกรณท่ีใชประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรท่ีใชในสถานศึกษา เอกสารการสอนมีหลายประเภท เชน 1. แผนการสอน หมายถึง เอกสารท่ีจัดทําขึ้นเพ่ือเตรียมการสอนในวิชาใดวิชาหนึ่งซ่ึงอาจจะทําขึ้นโดยสังเขป หรือ รายละเอียดสุดแทแตวัตถุประสงคของการใช 2. ชุดการสอน หมายถึง เอกสารท่ีจัดขึ้นสําหรับใชสอนวิชาวิชาหนึ่ง หรืออาจจะทําไวเฉพาะเรื่อง หรือรวมตลอดท้ังหลักสูตรก็ได 3. แบบเรียนสําเร็จรูป หมายถึง เอกสารท่ีจัดทําขึ้นเพ่ือใหนักเรียนศึกษาคนควาดวยตนเอง จากการอธิบายความหมายของเอกสารประกอบการเรียนของนักวิชาการท่ีกลาวมาแลวนั้นพอจะสรุปไดวา เอกสารประกอบการเรียน คือเอกสารท่ีจัดทําขึ้นเพ่ือใชประกอบการสอนของครู หรือประกอบการเรียนของนักเรียนวิชาใดวิชาหนึ่ง ควรมีหัวขอเรื่อง จุดประสงค เนื้อหาสาระ และกิจกรรมเพ่ือสงเสริมใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูตามท่ีหลักสูตรกําหนด ดังนั้น การผลิตเอกสารประกอบการเรียน จึงสามารถทําไดในหลายรูปแบบ ตามความเหมาะสมของเนื้อหาและกิจกรรมในแตละกลุมสาระ ซ่ึงอาจรวมถึงบทเรียนสําเร็จรูป ใบความรู ใบงาน และแบบฝกหัดในลักษณะตางๆ ดวยเอกสารประกอบการเรียนไมมีรูปแบบท่ีจําเพราะเจาะจง ท้ังนี้ขึ้นอยูกับดุลพินิจของผูผลิต ท่ีจะคํานึงถึงลักษณะการนําไปใชและกลุมผูเรียนเปนสําคัญ จุดมุงหมายในการสรางเอกสารประกอบการเรียน

Page 29: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

29

1. เพ่ือพัฒนาความรู ความสามารถเกี่ยวกับศิลปะ สาระทัศนศิลป สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 2. เพ่ือใชพัฒนาความรูความสามารถของนักเรียนในเรืองอ่ืนๆ 3. เพ่ือใหมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง เทคนิค วิธีการสรางผลงานศิลปะ สรางสรรค สาระทัศนศิลปสูงขึ้น 4. เพ่ือใหมีเจตคติท่ีดีตอการเรียนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป 5. เพ่ือใหเกิดการเรียนรูไดดวยตนเองตามความสนใจ 6. เพ่ือใชแกปญหาดานการเรียนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป 7. เพ่ือฝกทักษะและเกิดการเรียนรูเพ่ิมเติมจากเนื้อหาในเชิงลึกและกวางไดดวยตนเอง ประโยชนของเอกสารประกอบการเรียน 1. เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สามารถพัฒนาความรูความสามารถเกี่ยวกับศิลปะ สาระทัศนศิลป สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 2. ไดแนวทางในการสรางส่ือการเรียนกาสอน เพ่ือใชพัฒนาความสามารถของนักเรียนในเรื่องอ่ืนๆ 3. นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง เทคนิค วิธีการสรางผลงานศิลปะ สรางสรรค สาระทัศนศิลปสูงขึ้น 4. นักเรียนมีเจตคติท่ีดีตอการเรียนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป 5. นักเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองตามความสนใจ 6. แกไขปญหาดานการเรียนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป 7. ฝกทักษะและเกิดการเรียนรูเพ่ิมเติมจากเนื้อหา ไดดวยตนเอง รูปแบบการเขียนเอกสารประกอบการเรียน ใชรูปแบบการสรางเอกสารประกอบการเรียนของ สุนันทา สุนทรประเสริฐ ไดสรุปกระบวนการการผลิตเอกสารประกอบการเรียน ดังนี้ 1. สวนนํา ควรมีสวนประกอบดังนี ้ 1.1 ปกนอก 1.2 ปกใน 1.3 คํานํา 1.4 สารบัญ 1.5 คําช้ีแจง 2. สวนเนื้อหา อาจแบงเปนเรื่องยอย หรือเปนตอนตามลักษณะของเนื้อหาควรมี สวนประกอบดังนี ้

Page 30: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

30

1.1 ช่ือบท หรือช่ือยอย หรอืช่ือเรื่อง 1.2 หัวขอเรื่องยอย 1.3 กิจกรรมหลัก 1.4 จุดประสงค (ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง) 1.5 เนื้อหาโดยละเอียด หรือใบความรู 1. แบบฝก หรือใบงาน 1.7 บทสรุป (ถามี) 3. สวนอางอิง อาจอยูสวนทายของเนื้อหาในแตละตอน หรืออยูทายของเลมเอกสารควรมีสวนประกอบดังนี ้ 3.1 เอกสารอางอิงประจําบท 3.2 ภาคผนวก เชน ขอทดสอบ เฉลย หรือแนวตอบ ลักษณะที่ดีของการสรางเอกสารประกอบการเรียน กอนท่ีจะเขียนเอกสารประกอบการเรียน ผูเขียนควรจะทราบถึงเทคนิคการเขียน และขอควรพิจารณาดังนี ้ 1. กลุมเปาหมาย ควรพิจารณาถึงกลุมเปาหมายในดานของจิตวิทยา วุฒิภาวะ และวัยของผูเรียนเปน สําคัญ เพราะผูเรียนในแตละระดับยอมมีความตองการแตกตางกัน ท้ังในดานเนื้อหา การใช ภาษา ภาพประกอบ และขนาดตัวอักษรท่ีใชในเอกสารประกอบการสอน 2. การกําหนดเนื้อหา การกําหนดเนื้อหาตองมีความถูกตองเหมาะสมความถูกตองไดแก การมีเนื้อหาสาระตามท่ีหลักสูตรกําหนด มีความเท่ียงตรงของขอมูลท่ีนําเสนอ มีความเท่ียงตรงของขอมูลท่ีนําเสนอ มีความชัดเจนทันสมัย เปนปจจุบันไมกํากวมสับสน หรือเบ่ียงเบนขอเท็จจริง สวนความเหมาะสม ไดแก ความยากงายของเนื้อหาสาระโดยพิจารณาถึงในดานวัยวุฒิ ประสบการณ และพ้ืนฐานผูเรียนเปนสําคัญ 3. การเรียบเรียงถอยคํา การเรียบเรียงถอยคํา เปนเทคนิคสําคัญในการนําเสนอเนื้อหา ควรคํานึงถึง 1. รูปแบบ ควรเขียนใหส้ันกะทัดรัดแตไดใจความ ไมมีคําขยายท่ีทําเยิน่เยอ โดยไมจําเปน 2. การเวนวรรคตอน ควรฝกใหเปนนิสัย เพราะการเขียนโดยไมเวนวรรคตอนหรือเวนวรรคตอนผิดท่ี อาจจะทําใหผิดความหมายและเกิดความเสียหายใหแกผูเรียนได 3. การยอหนา ควรยอหนาเม่ือเปล่ียนประเด็นของเนื้อหา หรือเพ่ือตองการดึงดูดความสนใจของผูเรียน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมเปนสําคัญ

Page 31: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

31

4. การใชภาษา การใชภาษา ควรเขียนใหอานงายและเขาใจไดรวดเร็ว คํานึงถึงเนื้อหาและกลุมเปาหมายในการท่ีจะส่ือสารไดอยางมีประสิทธิภาพ ควรหลีกเล่ียงในการใชภาษาซํ้าซากและเลนคําจนผูเรียนสับสน จากการอธิบายหลักการในการสราง เอกสารประกอบการเรียนรู พอจะสรุปไดวา เอกสารท่ีจะจัดทําขึ้นเพ่ือเตรียมใชสอนในวิชาใดวิชาหนึ่งโดยสังเขปหรือรายละเอียดสุดแทแตวัตถุประสงคของการใช ในเอกสารประกอบการเรียนรูควรมีลําดับขั้นตอนอยางชัดเจน ทฤษฏีทางการสอนศิลปศึกษา ในการเรียนการสอนศิลปศึกษานั้น องคประกอบท่ีเกี่ยวของตางลวนมีความสําคัญดวยกันท้ังส้ิน จึงจําเปนท่ีผูสอนควรมีความรูความเขาใจเปนอยางยิ่ง ในการสอนศิลปศึกษา มีทฤษฎีทางการสอนหลายทฤษฎี ซ่ึงเกี่ยวของกับการสอนของครูเปนอันมาก ผูสอนจะยึดเปนแนวทางการสอน ซ่ึงลําดับตอไปจะไดกลาวถึงทฤษฎีทางศิลปศึกษาท่ีสําคัญ ดังนี ้ 1. ทฤษฎีการรูการคิด (Cognitive Theory) ตามแนวทฤษฎีการรูการคิดนี้ เด็กจะวาดตามส่ิงท่ีเขารูผลงานทางทัศนศิลปของ เด็ก เชน การวาดผิดขนาด รูปราง รูปแบบ เช่ือวาเปนการแสดงถึงระดับการเกิดของเด็ก Florence Gcodenough ไดสรางแบบทดสอบ Good enough Draw a Mom test สนับสนุนแนวคิดนี้ ท่ีวาจํานวนของรายละเอียด และความถูกตองในการวาดของเด็ก และสะทอนใหเห็นถึงการคิดของเด็ก ครูท่ีมีความเช่ือม่ันและสนับสนุนตามทฤษฎีนี้ควรวางแผนการสอนศิลปะตามความรูและการรูจักส่ิงตางๆ ของเด็กท่ีเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ เม่ือเด็กมีความเขาใจ มีการเจริญเติบโตและมีประสบการณมากขึ้น เด็กก็จะมีมโนมติ (Concept) เพ่ิมมากขึ้น ดังนั้นทัศนศิลปของเด็ก ก็จะดีขึ้นท้ังดานเนื้อหาและความถูกตอง 2. ทฤษฎีจิตวิเคราะห (Psychoanalytic Theory) ทฤษฎีจิตวิเคราะหไดอธิบายไววา เด็กจะวาดตามส่ิงท่ีเขารูสึก และศิลปะของเด็กนี้จะสะทอนถึงอารมณสวนลึกท่ีอยูภายใน ทฤษฎีนี้ถือวาผลงานทางศิลปะของเด็กมีอิทธิพลมาจากอารมณ ความรูสึก และแรงขับทางจิตวิทยาท่ีอยูภายใน ในการท่ีเด็กวาดรูปพอท่ีตัวสูงยาวไมไดวาเด็กรบัรูมาเชนนั้น แตเปนการแสดงความรูสึกของเด็กท่ีมีตอพอออกมาวาเปนผูท่ีมีพลังอํานาจและมีความยิ่งใหญ ในการวางโปรแกรมศิลปะตามพ้ืนฐานของทฤษฎีนี้ ครูควรจะเลือกเปาหมายทางศิลปะใหเด็กมีอิสระในการแสดงออก และไดผอนคลายความรูสึกท่ีมีอยูภายใน ครูมีบทบาทเปนเพียงผูคอยแนะนําและสนับสนุน 3. ทฤษฎีการรับรูและการวาดภาพ (Perception – Delineation Theory)

Page 32: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

32

แมคอาฟ (Mc Arree, n.d. อางถึงใน วาสนา เพ่ิมพูน, 2542, หนา 42) ไดอธิบายถึงเหตุผลในการวาดภาพของเด็กไวในหนังสือ Preparation for Art โดยเช่ือวาศิลปะเด็กมีพ้ืนฐานอยูบนองคประกอบตางๆ มากมายไมใชเพียงองคประกอบหนึ่งองคประกอบใด ความพรอมของเด็กเช่ือวาเปนองคประกอบในการสรางผลงานทางทัศนศิลปนี้ประกอบดวยพัฒนาการทางดานรางกาย สติปญญาและการรับรู ส่ิงแวดลอมทางจิตวิทยา ในขณะท่ีกําลังทํางานอยู ความสามารถในการจับรายละเอียดตางๆ ทักษะในการวาดภาพ ความสามารถในการสรางส่ือ ความสามารถทางความคิดสรางสรรคและความสามารถในการออกแบบ ตามทฤษฎีครูควรเขาใจ และใชพ้ืนฐานนี้ในการตัดสินเลือกวัตถุประสงค ของศิลปศึกษา วัตถุประสงคนี้อาจเลือกมาใชในการสงเสริมการเจริญเติบโตในแตละดาน ท่ีเช่ือวามีอิทธิพลตอศิลปะเด็ก วัตถุประสงคบางอยางอาจจะเลือกมาเพ่ือสงเสริมพัฒนาดานรางกายและการรับรู บางอยางอาจใชเตรียมส่ิงแวดลอมทางจิตวิทยาท่ีด ี 4. ทฤษฎีการรับรู (Perceptual Theory) ทฤษฎีนี้ไดเสนไววา เด็กจะวาดตามส่ิงท่ีเขาเห็น ไมใชตามส่ิงท่ีเด็กรูหรือรูสึก Amheim เช่ือวาเด็กไมไดเห็นวัตถุดวยการรวมสวนตางๆ ของวัตถุท่ีไดมาจากการสังเกต แตเด็กจะเห็นจากการรับรูสวนท้ังหมดหรือรูปแบบของโครงการสรางท้ังหมด โดยสมองตามท่ีตาไดรับมา Amheim เช่ือวาการรับรูสามารถเรียนรูไดหรืออยางนอยก็สามารถปรับปรุงใหดีขึ้นไดจากการฝกมองแยกแยะ ดังนั้นครูควรพยายามท่ีจะปรับปรุง และเสริมสรางการรับรูทางสายตาของเด็ก โดยการใหเด็กเฝาดูหรือสังเกตส่ิงตางๆ อยางใกลชิด 5. ทฤษฎีการรูการคิดและพัฒนาการ (Cognitive – Development Theory) พิอาเจท (Pearijet , n.d. อางถึงใน วาสนา เพ่ิมพูน, 2542, หนา 42) ไดเช่ือมโยงศิลปะเด็กเขากับความสามารถของเด็ก ในการเขาถึงการคงท่ีอยูของวัตถุ ถึงแมเด็กจะเขาวาวัตถุเปนส่ิงท่ีคงท่ี แตเด็กก็ยังไมมีการนึกภาพส่ิงนั้นในอดีตหรืออนาคตได ซ่ึงเด็กจะตองมีการระลึกวามีอะไรหายไปบางแทนท่ีจะคิดถึงแตเฉพาะส่ิงนั้น และจะตองใชสัญลักษณเปนตัวแทน ส่ิงท่ีไมปรากฏใหเห็นในขณะนั้น 6. ทฤษฎีพัฒนาการ (Developmental Theory) ทฤษฎีพัฒนาการนี้เปนทฤษฎีหนึ่งท่ีมีความสําคัญตอครู ทฤษฎีพัฒนาการนี้เปนทฤษฎีท่ีมีความสําคัญตอครูศิลปะอยางยิ่ง โดยไดเสนอไววา ศิลปะของเด็กมีความกาวหนาไปตามแตละขั้นตอนของการพัฒนา ซ่ึงเปนหลักพ้ืนฐานของการพัฒนาท่ัวๆ ไปนั่นเอง ตอมา Viktor Lowenfeld ไดเขียนหนังสือ Creative and Mental Growth ตามแนวคิดท่ีวาศิลปะของเด็ก จะเปนไปตามพัฒนาการ ซ่ึงแนวคิดของ โลเวนเฟลด มีบทบาทสําคัญตอการเรียนการสอนศิลปศึกษาในปจจุบันมากท้ังในสหรัฐอเมริกาและประเทศอ่ืนๆ อีกหลายประเทศ โลเวนเฟลด เปรียบเสมือน

Page 33: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

33

บิดาของศิลปศึกษายุคใหม โลเวนเฟลดไดแบงขันของการพัฒนาการดานศิลปะออกเปนขั้นตางๆ ดังนี ้ 6.1 ขั้นขีดเขี่ย (The Scribbling Stage) เด็กท่ีอยูในระยะนี้มีอายุระหวาง 2-4 ป เปนการขีดเขี่ยอยางไมมีความหมายเนื่องจาก กลามเนื้อสวนตางๆ ยังไมแข็งแรงพอ ครั้นเด็กเจริญเติบโตขึ้นจนอายุประมาณ 2 ป เด็กจะเริ่มลากเสนลงไปบนกระดาษได แตการลากกรอบเสนหรือขีดเขียนอะไรในระยะนี้ยังขาดการบังคับ เสนท่ีไดจะยุงไมเปนระเบียบ 6.2 ขั้นเริ่มสัญลักษณ (The Preschematic Stage) พัฒนาการของขั้นนี้เกิดขึ้นเม่ือเด็กอายุ 4-7 ป การขีดเขี่ยจะมีความหายยิ่งขึ้น เชน ถาเด็กจะวาดรูปคนเด็กจะวาดรูปวงกลมเปนศีรษะมีขาเปนเสนตรง 2 ขา กับมีแขนอีก 2 แขน แตในระยะหลังของขั้นนี้ เด็กจะเพ่ิมลําตัวเขาไปในรูปและเพ่ิมรายละเอียดเชน ศีรษะ ตา หู จมูก ปากตาเด็กจะเขียนเปนจุด จมูกเขียนเปนรูปสามเหล่ียม หากจะเขียนเพียงขีดเดียว ซ่ึงสอดคลองกับ ศิริลักษณ ศรีกมล (2531) ท่ีกลาววา ภาพท่ีออกมาของเด็กในระยะนี้เริ่มมีแบบของตัวเองเปนแบบเด็กๆ ท่ีเด็กเขาใจได พยายามแสดงความหมายออกมาเปนการเริ่มคิดสรางรูแบบของตัวเอง เปนแบบเด็กๆ ท่ีเด็กเขาใจได พยายามแสดงความหมายออกมาเปนการเริ่มคิดสรางรูปแบบท่ีสัมพันธกับโลกรอบตัว นับเปนการเริ่มตนของการส่ือสารดวยภาพ 6.3 ขั้นใชสัญลักษณ (The Schematic Stage) เด็กท่ีอยูในขั้นนี้จะมีอายุราว 7-9 ป ในการวาดรูปคน แตกอนเคยวาดตาเปนจุดเล็ก เริ่มวาดใหเปนวงกลม ปากก็จะเพ่ิมเปนเสนคู เด็กจะเริ่มสรางความสัมพันธระหวางตัวเขาเองกับส่ิงแวดลอมใหดีขึ้น การเขียนรปูของเด็กในระยะนี้มีลักษณะสําคัญท่ีแตกตางจากการพัฒนาการในขั้นอ่ืนๆ เปน 3 ลักษณะ คือ การใชเสนฐาน การนับกลางและภาพโปรงใสหรือภาพเอ็กซเรย 6.4 ขั้นเริ่มเหมือนจริง (The Drawing Realism) เด็กท่ีอยูในขั้นนี้จะมีอายุราว 9-11 ป เด็กเริ่มวาดรูปโดยใชประสบการณของตนเอง เด็กมีประสบการณในส่ิงใดก็วาดรูปส่ิงนั้นขึ้น และพยายามปรับปรุงใหดีขึ้น เชน เคยใชรูปทรงเรขาคณิตเปนสัญลักษณ ก็เริ่มใชรูปอิสระตางๆ แตยังวาดไปตามความรูสึกนึกคิดของตน มากวาท่ีตนเห็น ผลงานจึงไมสมบูรณนัก เชน มีความแข็งกระดาง ขาดความออนไหว ในขั้นนี้เด็กเริ่มมีการออกแบบ การใชสีจะเปนไปตามความรูสึกนึกคิดของตนเอง อยางไรก็ตามความสนใจในการเลนหรือการทํางาน มักจะมีลักษณะจํากัดอยูแตในเพศเดียวกัน การพัฒนาในวัยนี้เด็กพยายามท่ีจะแสดงออกใหคลายจริงและเปนธรรมชาติมากขึ้นกอนหนานี้เด็กจะเนนท่ีการใชขนาดเปนเครื่องกําหนดความสําคัญขององคประกอบในภาพ ในวัยนี้เด็กจะคํานึงถึงความถูกตองในดานสัดสวนกันมากขึ้น 6. ขั้นมีเหตุผล (The Stage of Reasoning) เด็กท่ีอยูในขั้นนี้จะมีอายุราว11-12 ป ซ่ึงเปนระยะเขาสูวัยรุน ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงดานตางๆ ความรูสึกนึกคิดไดรับอิทธิพลจากผูใหญ ส่ิงแวดลอม และการผานประสบการณตางๆมากขึ้น ในวัยเด็กจะเริ่มใชเหตุผลเปนสวนประกอบใน

Page 34: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

34

การตัดสินใจวางรูปแบบและองคประกอบของงานท่ีเขาสรางขึ้น เด็กในวัยนี้ จะมีความรูสึกตอประสบการณทางการสรางสรรคตางกัน 6.6 ขั้นการตัดสินใจ (Adolescent Art in the High School) เด็กท่ีอยูในวัยนี้จะมีอายุในระหวาง 14-17 ป การเรียนการสอนศิลปะในวัยนี้เปนชวงท่ีมีความหมายสําหรับเด็กเปนอยางมาก เพราะกอนหนานี้ศิลปะเปนเพียงกิจกรรมเพ่ือการหลอหลอมบุคลิกภาพหรือการแสดงออกทางธรรมชาติ แตเมือพนวัยดังกลาวมาแลว การสรางสรรคผลงานจะตองมีความสมเหตุสมผลและมีเปาหมายยิ่งขึ้นเด็กเหลานี้อาจคนพบวาตนเองมีความถนัด ใจรักและตองการประกอบอาชีพท่ีเกี่ยวของกับงานศิลปะในอนาคต ครูตองชวยพัฒนาทักษะ และควรเปดโอกาสใหเด็กไดแสดงออกซ่ึงอารมณและความรูสึกนึกคิดของเขาเอง เพ่ือใหมีการพัฒนาดานความคิดริเริ่มสรางสรรค อารมณ และทัศนคติ ท่ีพึงมีตอสังคม จะเห็นไดวา ทฤษฎีพัฒนาการของโลเวนเฟลด เนนการเรียนการสอนโดยจัดกิจกรรมในลักษณะท่ีตองการยั่วยุใหเด็กมีการแสดงออกท่ีเปนธรรมชาติมากท่ีสุด ครูไมควรเขาไปยุงเกี่ยวกับการทํางานของเด็กควรเปนเพียงพ่ีเล้ียง ผูจัดเตรียมอุปกรณ และคอยใหคําแนะนํา ครูจะมีบทบาทตอเด็กมีปญหา ตองการความชวยเหลือใหกําลังใจและเราใจเกิดความสนใจ การหาประสิทธิภาพ เผชิญ กิจระการ (2545 : 46–51) กลาววา การหาประสิทธิภาพของส่ือการเรยีนการสอน มีกระบวนการสําคัญอยู 2 ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพตามวิธีการหาประสิทธิภาพเชิงเหตุผล (Rational Approach) และขั้นตอนการหาประสิทธิภาพตามวิธีการหาประสิทธิภาพเชิงประจักษ (Empirical Approach) ท้ังสองวิธีนี้ตองทําควบคูกันไป จึงจะม่ันใจไดวาส่ือหรือเทคโนโลยีการเรียนการสอนท่ีผานกระบวนการหาประสิทธิภาพจะเปนท่ียอมรับได ดังรายละเอียดตอไปนี ้ 1. วิธีการหาประสิทธิภาพเชิงเหตุผล (Rational Approach) กระบวนการนี้เปนการหาประสิทธิภาพโดยใชหลักของความรู และเหตุผลในการตัดสินคุณคาของส่ือการเรียนการสอนโดยอาศัยผูเช่ียวชาญ (Panel of Experts) เปนผูพิจารณาตัดสินคุณคา ซ่ึงเปนการหาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และความเหมาะสมในดานความถูกตองของการนําไปใช (Useability) ผลจากการประเมินของผูเช่ียวชาญแตละคนนํามาหาประสิทธิภาพโดยใชสูตรดังนี ้

2 1eNCVRN

Page 35: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

35

เม่ือ CVR แทน ประสิทธิภาพเชิงเหตุผล (Rating Approach) NE แทน จํานวนผูเช่ียวชาญท่ียอมรับ (Number of Panelists Who Had Agreement N แทน จํานวนผูเช่ียวชาญท้ังหมด (Total Number of Panelists) ผูเช่ียวชาญจะประเมินส่ือการเรียนการสอนตามแบบประเมินท่ีสรางขึ้นในลักษณะของแบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) (นิยมใชมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ) นําคาเฉล่ียท่ีไดจากแบบประเมินของผูเช่ียวชาญแตละคนไปหาคาในสูตร สําหรับคาเฉล่ียของผูเช่ียวชาญท่ียอมรับจะตองอยูในระดับมากขึ้นไป คือคาเฉล่ียตั้งแต 3.50 – 5.00 คาท่ีคํานวณไดตองสูงกวาคาท่ีปรากฏในตาราง ตามจํานวนจะตองปรับปรุงแกไขส่ือและนําไปใหผูเช่ียวชาญพิจารณาใหม ตัวอยาง ผูเช่ียวชาญท่ีประเมินเครื่องมือหรือส่ือการเรียนการสอนจํานวน 5 คน แตละคน คํานวณคาเฉล่ียไดดังนี ้4.15 3.89 4.67 4.32 และ 4.75 เม่ือพิจารณาคาเฉล่ียของผูเช่ียวชาญแตละคน พบวา ไดคาเฉล่ียตั้งแต 3.50 ทุกคน Ne จึงมีคาเทากับ 5 ดวย ผลการแทนคาในสูตรดังนี ้

2 1eNCVRN

2 5 15X

= 2 – 1 = 1.00

แสดงวา เครื่องมือหรือส่ือการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพเชิงเหตุผล จึงนําไปใชได (เพราะเปนคาท่ีสูงกวาคาการยอมรับขั้นต่ําในตาราง) 2. วิธีการหาประสิทธิภาพเชิงประจกัษ (Empirical Approach) วิธีการนี้จะนําส่ือไปทดลองใชกับกลุมนักเรียนเปาหมาย การหาประสิทธิภาพของ ส่ือ เชน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน แผนการสอน แบบฝกทักษะ เปนตน สวนมากใชวิธีการหาประสิทธิภาพดวยวิธีนี ้ประสิทธิภาพท่ีสัดสวนใหญจะพิจารณาจากเปอรเซ็นตการทําแบบฝกหัดหรือกระบวนการเรียน หรือแบบทดสอบยอยโดยแสดงเปนคาตัวเลข 2 ตัว เชน E1/ E2 = 80/80, E1/ E2 = 85/85, E1/ E2 = 90/90 เปนตน เกณฑการหาประสิทธิภาพ (E1/E2) มีความหมายแตกตางกันหลายลักษณะในท่ีนี ้ จะยกตัวอยาง E1/E2 = 80/80 ดังนี้ 1. เกณฑ 80/80 ในความหมายท่ี 1 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือนักเรียนท้ังหมดทําแบบฝกหัดหรือแบบทดสอบยอยไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 ถือเปนประสิทธิภาพของกระบวนการ

Page 36: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

36

สวนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) คือนักเรียนท้ังหมดท่ีทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post–test) ไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 สวนการหาคา E1 และ E2 ใชสูตร ดังนี ้

1

100XX

NEA

เม่ือ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอน

X1 แทน คะแนนเฉล่ียของคะแนนหองนั้น ๆ ท่ีได A1 แทน คะแนนเต็มของแบบฝกทักษะระหวางเรียน

22

100XX

NEA

เม่ือ E2 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอน X1 แทน คะแนนเฉล่ียของคะแนนหองนั้น ๆ ท่ีได A2 แทน คะแนนเต็มของแบบฝกทักษะระหวางเรียน 2. เกณฑ 80/80 ในความหมายท่ี 2 ตัวเลข 80 ตัวแรก ( E1) คือ จํานวนนักเรียนท้ังหมดทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post – test) ไดคะแนนรอยละ 80 ทุกคน สวนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) คือนักเรียนท้ังหมดทําแบบทดสอบหลังเรียนครั้งนั้น ไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 เชน มีนักเรียน 40 คน รอยละ 80 ของนักเรียนท้ังหมด คือ 32 คน แตละคนไดคะแนนจากการทดสอบหลังเรยีน ถึงรอยละ 80 (E1) สวน 80 ตัวหลัง (E2) คือผลการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนท้ังหมด (40 คน) ไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 3. เกณฑ 80/80 ในความหมายท่ี 3 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ จํานวนนักเรียนท้ังหมดทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post – test) ไดคะแนนรอยละ 80 สวนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) คือคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 ท่ีนักเรียนทําเพ่ิมขึ้นจากแบบทดสอบหลังเรียน (Post – test)โดยเทียบคะแนนท่ีทําไดกอนการเรียน (Pre – test) ยกตัวอยาง ตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) ดังนี้ สมมติ นักเรียน ท้ังหมดทําแบบทดสอบกอนเรียน (Pre – test) ไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 10 แสดงวาแตกตางจากคะแนนเต็ม (รอยละ 100 ) เทากับ 90 ถานักเรียนท้ังหมดทําแบบทดสอบหลังเรียน (Post – test) ไดคะแนนเฉล่ีย รอยละ 85 แสดงวาความแตกตางของ 2 ครั้งนี ้(กอนเรียนกับหลังเรียน) เทากับ 85–10 = 75 ดังนั้นคาของ (75/90) × 100 = 83.33 % ถือวาสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดไว (E1 = 80)

Page 37: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

37

4. เกณฑ 80/80 ในความหมายท่ี 4 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ นักเรียนท้ังหมดท่ีทําแบบทดสอบหลังเรียนไดคะแนนเฉล่ียรอยละ 80 สวนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) หมายถึงนักเรียนท้ังหมดทําแบบทดสอบหลังเรียนแตละขอถูกมีจํานวนรอยละ 80 (ถานักเรียนทําขอสอบขอใดถูกมีจํานวนนักเรียนไมถึงรอยละ 80 แสดงวา ส่ือไมมีประสิทธิภาพและช้ีใหเห็นวาจุดประสงคท่ีตรงกับขอนั้นมีความบกพรอง) กลาวโดยสรุปเกณฑในการหาประสิทธิภาพของส่ือการเรียนการสอน จะนิยมตั้งเปนตัวเลข 3 ลักษณะ คือ 80/80 และ 90/90 ท้ังนี้ขึน้อยูกับธรรมชาติของวิชาและเนื้อหาท่ีนํามาสรางส่ือนั้น ถาเปนวิชาท่ีคอนขางยากก็อาจตั้งเกณฑไว 80/80 หรือ 85/85 สําหรับวิชาท่ีมีเนื้อหางายก็อาจตั้งเกณฑไวท่ี 90/90 เปนตน นอกจากนี้ยังตั้งเกณฑเปนคาความคลาดเคล่ือนไวเทากับ รอยละ 2.5 นั้น คือ ถาตัง้เกณฑไวท่ี 90/90 เม่ือคํานวณแลวคาท่ีถือวาใชได คือ 87.5/87.5 หรือ 87.5/90 เปนตน ประสิทธิภาพของส่ือและเทคโนโลยีการเรียนการสอน จะมาจากผลลัพธของการคํานวณ E1 และ E2 เปนตัวเลข ตัวแรกและตัวหลังตามลําดับ ถาตัวเลขเขาใกล 100 มากเทาไรยิ่งถือวามีประสิทธิภาพมากขึ้น เปนเกณฑท่ีใชพิจารณาการรับรองประสิทธิภาพของส่ือการเรียนการสอน สวนแนวคิดในการหาประสิทธิภาพท่ีควรคํานึง มีดังนี้ 1. ส่ือการเรียนการสอน ท่ีสรางขึ้นตองมีการกําหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมเพ่ือการเรียนการสอนอยางชัดเจน และสามารถวัดได 2. เนือ้หาของบทเรียนท่ีสรางขึ้นตองผานกระบวนการวิเคราะหเนื้อหาตามจุดประสงคการเรียนการสอน 3. แบบฝกหัดหรือแบบทดสอบตองมีการประเมินความเท่ียงตรงของเนื้อหาตามวัตถุประสงคของการสอนท่ีไดวิเคราะหไว สวนความยากงายและอํานาจจําแนกของแบบฝกหัดและแบบทดสอบควรมีการวิเคราะหเพ่ือนําไปใชกําหนดคาน้ําหนักของคะแนนในแตละขอคําถาม 4. จํานวนแบบฝกหัดตองสอดคลองกับวัตถุประสงค และตองมีแบบฝกหัดและขอคําถามในแบบทดสอบครอบคลุมทุกจุดประสงคของการสอน จํานวนแบบฝกหัดและขอคําถามในแบบทดสอบไมควรนอยกวาจํานวนวัตถุประสงค จะเห็นไดวาการคํานวณหาประสิทธิภาพส่ือการเรียนการสอนนี้ เปนผลรวมของการหาคุณภาพ (Quality) ท้ังเชิงปริมาณท่ีแสดงเปนตัวเลข (Quantitative) และเชิงคุณภาพ (Qualitative) ท่ีแสดงเปนภาษาท่ีเขาใจ ดังนั้นประสิทธิภาพของส่ือการเรียนการสอนในท่ีนี้จึงเปนองครวมของประสิทธิภาพ (Efficiency) ในความหมายของการทําส่ิงท่ีถูก (Do the Thing Right) นั้นหมายถึงการเรียนอยางถูกตองตามกระบวนการของการเรียนดวยส่ือการเรียนการสอน และการมีประสิทธิผล หมายถึงผูเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดประสงคถูกตองถึงระดับเกณฑท่ีคาดหวังท้ังประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้นจะนําไปสูการมีคุณภาพ ซ่ึงมักนิยมเรียกรวมกันเปนท่ีเขาใจส้ัน ๆ วาประสิทธิภาพของส่ือการเรียนการสอน

Page 38: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

38

งานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดศึกษาคนควางานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรูศิลปศึกษา สภาพและปญหาการจัด การเรียนการสอนผูวิจัยขอเสนอผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของดังนี ้ พัชรินทร ยาพิมาย (2545 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการสรางและทดลองใชเอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา ส 071 ทองถ่ินของเรา 1 สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเพชรหนองขาม อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา จํานวน 20 เรื่อง ผลการวิจยัพบวา คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนกลุมทดลองหลังการใชเอกสารประกอบการเรียน สูงกวากอนการเรียนดวยเอกสารประกอบการเรียนอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติท่ีระดับ .01 ลัดดา ศรีเลย (2549 : ออนไลน) ไดศึกษาการสรางและพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนบานนาง่ัว (เจริญวิทยาคาร) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพชรบูรณ เขต 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 ผลการหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 ทุกเรื่องมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดไว คือ เลมท่ี 1 เรื่อง ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา มีประสิทธิภาพ 85.89/84.76 เลมท่ี 2 เรื่อง พุทธประวัต ิ มีประสิทธิภาพ 86.11/81.43 เลมท่ี 3 เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มีประสิทธิภาพ 86.14/82.38 เลมท่ี 4 เรื่อง ภาษาบาลี พุทธศาสนสุภาษิต คําศัพททางพระพุทธศาสนา และพระไตรปฏก มีประสิทธิภาพ 87.57/83.33 เลมท่ี 5 เรื่อง ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและชาวพุทธตัวอยาง มีประสิทธิภาพ 84.42/80.00 เลมท่ี 6 เรื่อง หนาท่ีชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ มีประสิทธิภาพ 86.31/84.74 เลมท่ี 7 เรื่อง การบริหารจิตและเจริญปญญา มีประสิทธิภาพ 90.48/87.62 เลมท่ี 8 เรื่อง วันสําคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี มีประสิทธิภาพ 87.43/85.71 เลมท่ี 9 เรื่อง สัมมนาพระพุทธศาสนากับการแกปญหาและการพัฒนา มีประสิทธิภาพ 91.43/87.62 ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานท่ีกําหนดไว ศรินทิพย แสงชาวนา (2550 : บทคัดยอ) ไดพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนงานประดิษฐวัสด ุ เศษวัสดุเปนของประดับตกแตงของเลนและของใช กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ท่ีเนนการฝกปฏิบัติจริง ฉบับการตูน สําหรับช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 วัสดุ เปนของประดับตกแตง ของใชและของเลน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย ี ท่ีเนนการฝกปฏิบัติจริง ฉบับการตูน สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ผลการศึกษาพบวา เอกสารประกอบการเรียนมีประสิทธิภาพ 82.30/84.33 สูงกวามาตรฐาน 80/80 จําลอง มาอยู (2550 : บทคัดยอ) ไดพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน เรือ่งพระพุทธ ศาสนา กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษา

Page 39: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

39

ปท่ี 3 ผลการหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน เรื่องพระพุทธศาสนา กลุมสาระ การเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 จากการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียรอยละของคะแนนการปฏิบัติกิจกรรมระหวางเรียนและคะแนนเฉล่ียรอยละจากการทดสอบหลังเรียนท่ีใชเอกสารประกอบการเรียนเรื่องพระพุทธศาสนา กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โดยภาพรวมมีประสิทธิภาพโดยเฉล่ียเทากับ 87.68/86.14 ซ่ึงสูงกวาเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนดไว 80/80 จุติพร คงสุข ี (2547. บทคัดยอ) ไดศึกษาผลการใชเอกสารประกอบการสอน เรื่อง การเปรียบเทียบในการพัฒนาการเรียนรู วิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/2โรงเรียนบางไทรวิทยา ผลการวิจัยพบวาเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการเปรียบเทียบ มีประสิทธิภาพโดยมีคารอยละของคะแนนเฉล่ียของกระบวนการ/รอยละของคะแนนเฉล่ียของผลลัพธ เทากับ 78.00/81.83 และพบวาผลการเรียนรูหลังการเรียนสูงกวาผลการเรียนรู กอนการเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยมีคะแนนเฉล่ียหลังการเรียนสูงกวาคะแนนเฉล่ียกอนการเรียนมากกวารอยละ 25 ของคะแนนเต็ม จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป และหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 นั้น จะเห็นไดวามีความสําคัญตอการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับการดํารงชีวิตของมนุษยในดานการพัฒนาทางดานรางกาย อารมณ สติปญญา และยังพบปญหาการจัดการเรียนรูศิลปะ ซ่ึงในปจจุบัน นับวาหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เปนเรื่องใหมท่ีควรไดรับความสนใจและศึกษาเพ่ือเปนแนวปฏิบัติของครูผูสอน ใหบรรลุจุดมุงหมายท่ีกําหนดตามหลักสูตรใหนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาไดมีคุณภาพผูเรียน ซ่ึงเปนกําลังสําคัญเม่ือเปนผูใหญในอนาคต อยางไรก็ตามการจัดการเรียนรูใหบรรลุจุดมุงหมายนั้น ตองอาศัยความพรอมหลายดานของครูผูสอน ท้ังดานความรู ความเขาใจในการจัดการเรียนรูตามหลักสูตร การจัดการเรียนรู การใชส่ือการเรียนการสอน การประเมินผลผูเรียนรวมท้ังพัฒนาศักยภาพครู อีกดวย แตจากผลการคนควาพบวา การจัดการเรียนรูในกลุมสาระศิลปะ ยังประสบปญหาอุปสรรคอยูมาก อันเปนสาเหตุใหยังไมบรรลุจุดมุงหมายท่ีวางไว ผูรายงานจึงผลิตส่ือ เอกสารประกอบการเรียน ศิลปะเชิงสรางสรรคเพ่ือเปนแนวทางใหนักเรียนและครูไดใชประกอบการเรียนการสอน ตอไป

Page 40: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

40

บทท่ี 3 วิธีดําเนินการศึกษาคนควา

วิธีการศึกษาคนควา ผูวิจัยไดเรียงลําดับการศึกษาคนควาดังตอไปนี ้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือท่ีใชในการศึกษาคนควา 3. วิธีการสรางเครื่องมือและวิธีการดําเนินการศึกษาคนควา 4. แบบแผนการทดลอง 5. การดําเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมขอมูล 6. การวิเคราะหขอมูล 7. สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ประชากร ไดแก นักเรียนช้ันช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนเซนตหลุยส จํานวน 300 คน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 หอง 2 โรงเรียนเซนตหลุยส จํานวน 50 คน ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2553 ไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง (purposive)

เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษาคนควา

เครื่องมือท่ีใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ คือ 1. เอกสารประกอบการเรียนการสรางสรรคงานศิลปะ 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เปนแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ มี 3 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ วิธีการสรางเคร่ืองมือและวิธีดําเนินการศึกษาคนควา

1. เอกสารประกอบการเรียนการสรางสรรคงานศิลปะ ผูวิจัยไดดําเนินการสรางตามขั้นตอน ดังนี ้ 1.1 ศึกษาเอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551

Page 41: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

41

1.2 ศึกษาเอกสาร ตํารา และรายงานการวจิัยท่ีเกี่ยวของกับการจัดการเรียนกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป 1.3 กําหนดเนื้อหาท่ีเกี่ยวของกับกิจกรรมการสรางสรรคงานศิลปะ 1.4 นําเอกสารประกอบการเรียนการสรางสรรคงานศิลปะ ไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตอไป 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผูวิจัยไดดําเนินการสรางตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1 ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบ การหาคาระดับความยาก คาอํานาจจําแนก และหาคาความเช่ือม่ันของแบบทดสอบ จากหนังสือวิจัยเบ้ืองตนของบุญชม ศรีสะอาด (2545 : 59 – 65, 86 – 93) 2.2 ศึกษาเอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 เกี่ยวกับแนวการดําเนินการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู 2.3 วิเคราะหสาระการเรียนรู หนวยการเรียนรู จุดประสงคการเรียนรูท่ีตองการวัด ใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู และหนวยการเรียนรูท่ีจะใชเขยีนเปนแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก 2.4 สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เปนแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ (Multiple Choice) 3 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ 2.5 จัดพิมพและสําเนาแบบทดสอบท่ีผานการตรวจสอบคุณภาพแลว เพ่ือใชเปน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสําหรับนําไปใชทดสอบจริงกับนักเรียนกลุมตัวอยางตอไป การดําเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมขอมูล 1. ผูวิจัยไดอธิบายช้ีแจงทําความตกลงกับนักเรียนท่ีเปนกลุมทดลองในเรื่องการเรียน เวลาเรียน วิธีการในการเรียน 2. ผูวิจัยดําเนินการสอนโดยใชเอกสารประกอบการเรียนการสรางสรรคงานศิลปะ ท่ีผูวิจัยสรางขึ้น หลังการสอนจบทุกบทใหนักเรียนทําแบบฝกหัดและนําผลขอมูลจากการทํา แบบฝกหัดไปบันทึกคะแนนเพ่ือนําไปวิเคราะหทางสถิต ิ

4. ทดสอบหลังเรียนหลังจากเสร็จส้ินการดําเนินการทดลองครบทุกเรื่องแลวใหนักเรียนทําแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน 5. ตรวจผลการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีไดจากการทดสอบหลังเรียน แลวจึงนําไปวิเคราะหโดยใชวิธีการทางสถิติตอไป การวิเคราะหขอมูล 1. วิเคราะหประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสรางสรรคงานศิลปะ

Page 42: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

42

ตามเกณฑ 80/80 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเอกสารประกอบการเรียนการสรางสรรคงานศิลปะ โดยใชสูตร t – test แบบ dependent Samples สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. คารอยละ (percentage) 2. คาเฉล่ีย ( X ) (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 73)โดยใชสูตร

NX

X เม่ือ X แทน คะแนนเฉล่ีย X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมทดลอง 3. สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 :79) โดยใชสูตร

)1(

..22

NN

XXNDS

เม่ือ S.D. แทน สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของกลุมตัวอยาง

X แทน ผลรวมของคะแนน X2 แทน ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกําลังสอง N แทน จํานวนขอมูลท้ังหมดของกลุมตัวอยาง

4. หาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 (เผชิญ กิจระการ. 2544 : 46 - 51)โดยใชสูตร

Page 43: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

43

1ΣXE = N ×100

A

2ΣFE = N ×100

B

เม่ือ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ X แทน ผลรวมคะแนนแบบฝกหัด F แทน ผลรวมคะแนนทดสอบหลังเรียน N แทน จํานวนผูเรียน A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกหัด B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน 5. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียน และหลังเรียนโดยใชสูตร t – test (Dependent Sample) (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 87)

t = 1

D22

NDDN

เม่ือ t แทน คาสถิติท่ีใชในการทดสอบความแตกตาง D แทน ผลตางของคะแนนแตละคู N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมทดลองท้ังหมด

Page 44: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

44

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ผูรายงานนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตามลําดับดังนี ้ สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล เพ่ือใหเกิดความเขาใจ เกี่ยวกับการวิ เคราะหขอมูลและแปลผลขอมูลไดตรงกัน ผูรายงานไดกําหนดสัญลักษณตาง ๆ ท่ีใชในการวิเคราะห ดังนี ้ n แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง X แทน คาเฉล่ีย S.D. แทน สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ t แทน คาสถิติท่ีใชพิจารณา t- test for Dependent Samples D แทน ผลรวมความแตกตางคะแนนแตละคู D2 แทน ผลรวมความแตกตางคะแนนแตละคูยกกําลังสอง p แทน ระดับนัยสําคัญทางสถิต ิ * แทน มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีลําดับขั้นตอนการนําเสนอ ดังนี ้ ตอนท่ี 1 การหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ตอนท่ี 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนดวยเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

Page 45: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

45

ผลการวิเคราะหขอมูล ตอนท่ี 1 การหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 วิเคราะหโดยหา คาเฉล่ีย (X ) สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และคารอยละ ดังแสดงในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

คะแนนกิจกรรมระหวางเรียน คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เต็ม X E1 เต็ม X E2

ประสิทธิภาพ

50 43.76 87.52 20 16.66 83.30 87.52 / 83.30 จากตารางท่ี 1 พบวา เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีประสิทธิภาพเทากับ 87.52 / 83.30 แสดงวา เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนดวยเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 วิเคราะหโดยการทดสอบคาที t- test for Dependent Samples ดังแสดง ในตารางท่ี 2

Page 46: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

46

ตารางท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน กอนเรียนและหลังเรียนดวย เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรือ่ง การสรางสรรค งานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

การทดสอบ n คะแนนเต็ม X S.D. D D2 t p กอนเรียน 50 20 9.56 1.67 355 2779 21.86* .000 หลังเรียน 50 20 16.66 1.15 * มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (p< .05)

จากตารางท่ี 2 พบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนดวยเอกสารประกอบ การเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

Page 47: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

47

บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

สรุปผลการศึกษาคนควา 1. ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีประสิทธิภาพเทากับ 87.52 / 83.30 แสดงวา เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80

2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนดวยเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระ การเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 อภิปรายผล

1. ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 พบวา มีประสิทธิภาพเทากับ 87.52 / 83.30 ซ่ึงมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 ท่ีไดกําหนดไว ท้ังนี้กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ท่ีสรางขึ้นนั้น ผูรายงานไดมีการออกแบบโดยมีการลําดับเนื้อหาจากงายไปหายาก มีกิจกรรมคําถามท่ีทาทายความสามารถของผูเรียน รวมถึงมีรูปภาพประกอบท่ีนักเรียนช่ืนชอบ ดึงดูดความสนใจของนักเรียน สอดคลองกับงานวิจัยของศรินทิพย แสงชาวนา (2550 : บทคัดยอ) ท่ีไดพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนงานประดิษฐวัสด ุ เศษวัสดุเปนของประดบัตกแตงของเลนและของใช กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ท่ีเนนการฝกปฏิบัติจริง ฉบับการตูน สําหรับช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 วัสดุเปนของประดับตกแตง ของใชและของเลน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลย ี ท่ีเนนการฝกปฏิบัติจริง ฉบับการตูน สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ผลการศึกษาพบวา เอกสารประกอบการเรียนมีประสิทธิภาพ 82.30/84.33 สูงกวามาตรฐาน 80/80 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนดวยเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 พบวา หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานท่ีตั้งไว ท้ังนี้เปนเพราะวานักเรียนไดเรียนรูและฝกปฏิบัติโดยใชเอกสารประกอบการเรียน ท่ีมีเนื้อหาขั้นตอนซ่ึงมีรูปภาพประกอบพรอมคําอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติท่ี

Page 48: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

48

เขาใจงาย สามารถเรียนรูและเขาใจไดงาย อีกท้ังสามารถนําไปฝกปฏิบัติไดจริง ดวยเหตุนีจ้ึงสงผลใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการสรางสรรคงานศิลปะสูงขึ้นหลังจากไดเรียนรูจากเอกสารประกอบการเรยีน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของจุติพร คงสุข ี (2547. บทคัดยอ) ไดศึกษาผลการใชเอกสารประกอบการสอน เรื่อง การเปรียบเทียบในการพัฒนาการเรียนรู วิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/2โรงเรียนบางไทรวิทยา ผลการวิจัยพบวาเอกสารประกอบการเรียน เรื่องการเปรียบเทียบ พบวาผลการเรียนรูหลังการเรียนสูงกวาผลการเรียนรูกอนการเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการเรียนการสอน 1.1 จากการศึกษาครั้งนี้พบวา นักเรียนสามารถเขาใจเนื้อหาไดถูกตองแมนยํา ดังนั้นจึงควรนําเอกสารประกอบการเรียน ไปใชประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพ่ือชวยพัฒนาความสามารถในดานการเรียนของนักเรียนใหดียิ่งขึ้น 1.2 การใชเวลาในการฝกครูผูสอนไมควรจํากัดเวลา ควรใหนักเรียนฝกจนกวา จะเสร็จ แลวนํามาสงครผููสอน ซ่ึงครูผูสอนจะตองเปนผูตรวจดวยตนเอง พรอมท้ังแกไข ขอบกพรอง ถานักเรียนคนใดชามากก็ควรใหคําแนะนําและใหการเสริมแรง 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป 2.1 ควรสรางเอกสารประกอบการเรียนในวิชาอ่ืน ๆ โดยมีการประเมิน เจตคติและความสนใจของนักเรียนท่ีมีตอเอกสารประกอบการเรียนควบคูกับการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 2.2 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนรูระหวางการใชเอกสารประกอบ การเรียนกับส่ือการสอนในรูปแบบอ่ืน ๆ

Page 49: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

49

บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2538). คูมือสําหรับใชควบคูกับหนังสือเรียนศิลปศึกษา ศ 101-ศ 102 ศิลปะกับชีวิต 1-2 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 . กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. . (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. . (2539). การประเมินสภาพจริง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. . (2543). แนวทางการนํามาตรฐานหลักสูตรไปสูการอกแบบการจัดการเรียนรูและ การวัดประเมินผลตามสภาพจริง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. . (2544). หลักสูตรตามขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพครุุสภา ลาดพราว. . (2545ก). การประเมินผลตามหลักสูตรขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. . (2545ข). การการวิจัยเพ่ือพัฒนาผลการเรียนรูตามหลักสูตรขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. . (2545ค). คูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว. . (2545ง). คูมือส่ือพัฒนาการเรียนรู. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. . (2545จ). สาระและมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. . (2523). คูมือหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533). กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. . (2538). คูมือสําหรับใชควบคูกับหนังสือเรียนศิละศึกษา ศ 101 – ศ 102 ศิลปะกับชีวิต 1-2 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว: หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดคร ูกระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟก กมล สุดประเสริฐ และคณะ.(2523). การศึกษาสมรรถวิสัยของครูประถมศึกษาท่ีตองการ. กรุงเทพฯ คณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟก จํากัด. คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2545). พหุศิลปศึกษา. กรุงเทพฯ: สันติศิริการพิมพ

Page 50: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

50

จําลอง มาอยู. (2550). การพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พระพุทธศาสนา. วันท่ีคน บทคัดยอ 6 กรกฎาคม 2553, เขาถึงไดจาก http://www.kroobannok.com/board_view.php?b_id=1978&bcat_id=15. จุติพร คงสุขี . (2550). การศึกษาผลการใชเอกสารประกอบการสอน เรื่อง การเปรียบเทียบ ในการพัฒนาการเรียนรูในวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3/2 โรงเรียนบางไทรวิทยา. วันท่ีคนบทคัดยอ 28 กรกฎาคม 2553, เขาถึงไดจาก http://school.obec.go.th/resdata/eng.doc. ชะลอ พงศสามารถ. (2526). ศิลปะสําหรับครูมัธยม (พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ: เจริญวิทยการพิมพ. ชูศรี วงศรัตนะ. (2537). เทคนิคการใชสถิติเพ่ือการวิจัย (พิมพครั้งท่ี 6). กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บวรวิทย เลิศไกร.(2546).ปจจัยท่ีสัมพันธกับการมีสวนรวมของผูนําทองถ่ินในการจัดการศึกษา: กรณีศึกษาเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปรญิญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. (2542). การประเมินการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ : แนวคิดและ วิธีการ. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. บํารุง สุวรรณโชต.ิ (2546). การพัฒนาคูมือการนิเทศการสอนวิชาศิลปศึกษา ตามหลักสูตรขั้น พ้ืนฐาน ชวงช้ันท่ี 3. วิทยานิพนธ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ปวิดา ช่ืนเชย. (2523). ศิลปศึกษากับพัฒนาการทางศิลปศึกษาของเด็กในบริบทเกาและบริบท. เผชิญ กิจระการ. (2544). การวิเคราะหประสิทธิภาพส่ือและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา (E1/E2). การวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พรพรรณ เลาหศิรินาถ. (2522). ศิลปนิยม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง. พัชรินทร ยาพิมาย. (2545). รายงานการสรางและทดลองใชเอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ส 071 ทองถ่ินของเรา 1. โรงเรียนเพชรหนองขาม อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา. พะนอม แกวกําเนิด. (2533). หลักการของหลักสูตรประถมศึกษาและมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : กรม วิชาการ พินิจ ภวังคคะรัต. (2513). ศิลปศึกษายอมมีคุณคาตอการเรียนของเด็ก. ใน เรื่องนารูในวงการศึกษา ม.ป.ท. มณฑา ไรทิม.(2544). การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการวาดภาพระบายสีโดยใชกิจกรรมท่ี ฝกประสาทสัมผัสท้ังหาของนักเรียนประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีเรียนดวยวิธีการสอนแบบ

Page 51: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

51

กระบวนการกลุมสัมพันธกับการสอนตามแนวคิดของเบอรไนซแม็คคารซี 4 แม็ท. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ถายเอกสาร มะลิฉัตร เอ้ืออานันท. “พัฒนาการทางศิลปะของเด็กวัยตางๆ ” ในเอกสารประกอบการเรียน การสอนวิชาศิลปะ 408 (หลักสูตรและการสอนศิลปศึกษา). มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร,2549.อัดสําเนา ลัดดา ศรีเลย. (2549). รายงานการสรางและพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 . สืบคนเม่ือ 23 มิถุนายน 2550. จาก http://www.nngs.ac.th/e_book/lutda.pdf. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู. (พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก. วาสนา เพ่ิมพูน. (2542). พฤติกรรมการสอนกลุมสรางเสริมลักษณะนิสัย. ธนบุร:ี สถาบันราชภัฎ ธนบุรี วิชัย วงษใหญ. (2529). ศิลปะเด็ก : สภาพปจจุบันและอนาคต, ในสรุปรายงานการสัมมนาทาง วิชาการเรื่อง ศิลปะเด็ก. กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ. ________. (2521). การสอนศิลปะใหสอดคลองกับหลักสูตรใหม. นิทรรศการภาพเขียนเด็กไทย ท่ัวประเทศ. 8(3),12. ________. (2528). ปรัชญาและวัตถุประสงคของการสอนศิลปะในระดับมัธยมศึกษา ศิลปวัฒนธรรม. พิษณุโลก : ภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒพิษณุโลก. วิรุณ ตั้งเจริญ. ศิลปศึกษา. (2539). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร. . (2526). เอกสารประกอบสอนชุดวิชา 21 201 พฤติกรรมวัยเด็ก. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช . (2534). ศิลปะสมัยใหมในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพโอเดียนสโตร. วิรุณ ตั้งเจริญ และคณะ. (2543). โครงการวิจัยเพ่ือพัมนารุปแบบการจัดการศึกษาสําหรับเด็กท่ีมี ความสามารถพิเศษดานทัศนศิลป. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา แหงชาต.ิ วิรัตน พิชญไพบูลย.(2531) .ศิลปะในโรงเรียนประถมศึกษา (พิมพครั้งท่ี 2).กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช. วิลาวรรณ คุณเจริญ. (2544). ความพึงพอใจของมหาบัณฑิตตอโครงการปริญญาโท สาขาสังคม สงเคราะหในกระบวนการยุติธรรม (สวนภูมิภาค). กรุงเทพฯ: คณะสังคมสงเคราะห ศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 52: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

52

ศรินทิพย แสงชาวนา. (2550). รายงานการใชเอกสารประกอบการเรียนงานประดิษฐวัสดุ เศษวัสด ุ เปนของประดับตกแตง ของเลน และของใช. วันท่ีคนบทคัดยอ 6 กรกฎาคม 2550, เขาถึงไดจาก http://www.pl01.com/~gis049/sarrintip.html. ศิลป พีระศร.ี (2527). ศิลปะสงเคราะห. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตสถาน. สงวน รอดบุญ. (2518). ศิลปะกับมนุษย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศึกษา. สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา. (พิมพครั้งท่ี 4). กาฬสินธุ: ประสานการพิมพ. สุนันทา สุนทรประเสริฐ. การผลิตเอกสารประกอบการเรียน. ชัยนาท: ชมรมพัฒนาความรูดาน ระเบียบกฎหมาย, ปมพ.ปมท.สํานักงาน. สุรพล เย็นเจริญ. (2543). ความพึงพอใจตอการเรียนวิชาอาชีพธุรกิจของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 และมัธยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนปทุมคงคาสังกัดกรมสามัญศึกษากรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ กศ.ม. (ธุรกิจศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุชาติ เถาทอง. (2536). หลักการทัศนศิลป. กรุงเทพฯ: นําอักษรการพิมพ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ (2540). ทฤษฏีการเรียนรูเพ่ือการพัฒนาสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัย : ศิลปะ ดนตรี กีฬา. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมาการการศึกษา แหงชาต.ิ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต.ิ (2545). แผนกลยุทธเพ่ือการพัฒนาพหุศิลปศึกษา สําหรับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัดภาพพิมพ. สุกรี เจริญสุข. (2540). ทฤษฏีการเรียนรูเพ่ือพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย : เพ่ือการ นําเสนอตนแบบการเรียนรูทางดานทฤษฏีและแนวปฏิบัติ สาขาศิลปะ ดนตรีและ พลศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหงชาต ิสุทธาสินี วิเวกกานนท. (2538). คุณลักษณะของครูประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครในยุค โลกา. หนวยศึกษานิเทศก. (2540). รายงานการประเมินผลการฝกอบรมโครงการพัฒนาคุณภาพครูรวมกับ โครงการพัฒนาคุณภาพครู. กรุงเทพฯ : หนวยศึกษานิเทศก. อัญชลี โสมด.ี (2531). วิเคราะหเนื้อหาของหนังสือเรียนทัศนศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 ในดาน ความสอดคลองกับจุดมุงหมายของหลักสูตรวิชาศิลปศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521. ปริญญานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาศิลปศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. อารี รังสินันท. (2532). ความคิดริเริ่มสรางสรรค. กรุงเทพฯ: ขาวฟาง. อารี สังหฉว.ี (2535). พหุปญญาและการเรียนแบบรวมมือ. กรุงเทพฯ: สมาคมเพ่ือการศึกษาเด็ก. อารี สุทธิพันธุ. (2520). ศิลปะนิยม. กรุงเทพฯ: กระดาษสา. . (2515). ศิลปศึกษา. กรุงเทพฯ: สารศึกษาการพิมพ.

Page 53: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

53

อารี สุทธิพันธ และวิรุณ ตั้งเจริญ. (2518). กิจกรรมสรางสรรค. กรุงเทพฯ: มิติ. อุบล ตูจินดา. (2532). หลักและวิธีการสอนศิลปะ. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮาส.

Page 54: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

54

ภาคผนวก

Page 55: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

55

ตารางท่ี 3 คะแนนแบบฝกหัดเอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนศิลปะ (ทัศนศิลป) เรื่อง การสรางสรรคงานศิลปะ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 เลขท่ี คะแนน เลขท่ี คะแนน

1 45 26 39 2 42 27 42 3 41 28 41 4 39 29 43 5 43 30 45 6 44 31 46 7 42 32 44 8 48 33 43 9 45 34 42 10 46 35 47 11 44 36 45 12 42 37 45 13 45 38 44 14 47 39 43 15 45 40 42 16 44 41 43 17 45 42 41 18 46 43 44 19 44 44 43 20 47 45 45 21 48 46 46 22 45 47 45 23 44 48 41 24 42 49 42 25 41 50 43 X 43.76 S.D. 2.10 รอยละ 87.52

Page 56: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

56

ตารางท่ี 4 คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กอนเรียนและหลังการเรียน คนท่ี คะแนนกอนเรียน คะแนนหลังเรียน ผลตาง (D) ผลตางยกกําลังสอง (D2)

1 8 15 7 49 2 9 16 7 49 3 8 17 9 81 4 10 18 8 64 5 11 16 5 25 6 9 15 6 36 7 10 15 5 25 8 12 16 4 16 9 11 17 6 36 10 10 18 8 64 11 8 18 10 100 12 9 16 7 49 13 9 17 8 64 14 8 18 10 100 15 10 16 6 36 16 8 18 10 100 17 9 16 7 49 18 9 16 7 49 19 11 18 7 49 20 12 15 3 9 21 10 17 7 49 22 9 18 9 81 23 9 18 9 81 24 8 16 8 64 25 9 18 9 81 26 8 19 11 121 27 7 15 8 64

Page 57: New เอกสาร Microsoft Word · ของบทเรียนในการเรียนศิลปศึกษาว า ถ าจัดให ถูกต องและเหมาะสม

57

ตารางท่ี 4 (ตอ)

คนท่ี คะแนนกอนเรียน คะแนนหลังเรียน ผลตาง (D) ผลตางยกกําลังสอง (D2) 28 8 16 8 64 29 7 17 10 100 30 9 18 9 81 31 9 16 7 49 32 8 16 8 64 33 7 17 10 100 34 8 18 10 100 35 9 18 9 81 36 8 19 11 121 37 7 16 9 81 38 11 16 5 25 39 10 15 5 25 40 10 18 8 64 41 9 17 8 64 42 12 16 4 16 43 13 16 3 9 44 11 17 6 36 45 10 16 6 36 46 12 15 3 9 47 13 16 3 9 48 11 17 6 36 49 12 15 3 9 50 13 16 3 9

รวม 478 833 355 2779 X 9.56 16.66

S.D. 1.67 1.15