11
วิชา EDA 6134 วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556 การตัดสินใจของผู้บริหารบางครั้งไม่จาเป็นต้องชนะเสมอไป การเป็นผู้บริหารที่ดี งานการเงินแยกเป็น 2 ประเภท 1. เงินงบประมาณ เงินที่ได้รับจัดสรรจากส่วนกลาง เงินเรียนฟรี 15 ปี o เครื่องแบบ o อุปกรณ์การเรียน o กิจกรรม งบสาหรับนักเรียนรายบุคคล (รายหัว) งบปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน o ประถม 1900() o ม.ต้น 3500 (1750) เก่ง ดี ตัดสินใจ เก่ง มี คุณธรรม

Lecture 12 ม_.ค.56

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

การตัดสินใจของผู้บริหารบางครั้งไม่จ าเป็นต้องชนะเสมอไป

การเป็นผู้บริหารที่ดี

งานการเงินแยกเป็น 2 ประเภท 1. เงินงบประมาณ

เงินที่ได้รับจัดสรรจากส่วนกลาง เงินเรียนฟรี 15 ปี

o เครื่องแบบ o อุปกรณ์การเรียน o กิจกรรม

งบส าหรับนักเรียนรายบุคคล (รายหัว) งบปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน

o ประถม 1900() o ม.ต้น 3500 (1750)

เก่ง

ดี

ตัดสินใจเก่ง

มีคุณธรรม

Page 2: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

o ม.ปลาย 3800 (1900) 2. เงินนอกงบประมาณ

เงิน บ.ก.ศ.(บ ารุงการศึกษา) (ในอดีต) รายได้สถานศึกษา

ความหมาย แผนการใช้เงินภาครัฐ ประกอบด้วย ตัวเลขแสดงการรับมาจากทางใด และรายจ่ายตามแผน โครงการที่ก าหนดไว้ในปีหนึ่ง ๆ

งบประมาณ

1. เตรียมงบประมาณ 2. อนุมัติงบประมาณ 3. บริหารงบประมาณ

ผู้บริหารกับงานการเงินที่ต้องรู้

นโยบายการจัดสรรเงินที่ต้องรู้ นโยบายการจัดสรรเงินเพื่อจัดการศึกษา แนวปฏิบัติในการบริหารงานการเงิน

ลักษณะงานการเงิน

การรับ จ่าย เงิน การเก็บรักษาเงิน การน าส่งเงิน การจัดซื้อ จัดจ้าง การท าบัญชี การตรวจสอบและการรายงาน

การบริหารงานการเงิน 1. การวางแผนงานการเงิน

ค านึงถึงรายรับ ผลกระทบ และแนวโน้มในอนาคตอันใกล้ 2. การจัดการเกี่ยวกับทรัพย์สิน

ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง วัสดุ ทรัพย์สิน

3. ควบคุมการด าเนินงานการเงิน

ให้มีประสิทธิภาพ

Page 3: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

มีมาตรฐาน

ถูกต้องตามระเบียบ กฏเกณฑ์

การตัดสินใจอนุมัติ / อนุญาต

สิทธิประโยชน์ของข้าราชการ ค่าเช่าบ้าน

ดุลยพินิจ

อบรม สัมมนา สวัสดิการ

แผนปฏิบัติการ จัดสรรแยกเป็น 4 กลุ่ม

1. งบบุคลากร 2. งบด าเนินการ 3. งบลงทุน 4. งบรายจ่ายอื่น

ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย

Page 4: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

Page 5: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

Page 6: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

จากเว็บของรามค าแหง ปราจีนบุรี รุ่นที่ 17 (ผอ.วันชัย เทียมทัด บรรยายเมื่อวันที่ 12 ก.พ. 56) EDA6134 การบริหารสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา วันที่ 12 กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ----------- ผอ.วันชัย เทียมทัด วิทยากรบรรยายพิเศษ เรื่อง ผู้บริหารกับการบริหารการเงินและงบประมาณในสถานศึกษา การงบประมาณ เงินที่ได้รับการจัดสรรจากส่วนกลาง และในโรงเรียนยังมีรายได้จากทางอ่ืน ได้แก่ ค่าเทอม เงินโรงอาหาร การได้รับมอบจากการขอใช้สถานที่ ซึ่งถือว่าเป็นเงินหลวงทั้งสิ้น ระบบระเบียบกฎเกณฑ์วิธีการใช้งบประมาณ เพ่ือป้องกันทุจริต และได้ใช้อย่างถูกต้อง โดยต้องมีระเบียบในการควบคุม ปละต้องมีหน่วยงานของรัฐที่ต้องออกระเบียบบังคับใช้ เช่น ระเบียบการพัสดุ (ส านักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ออกระเบียบ )ระเบียบการเงิน ซึ่งใช้ทุกหน่วยงานราชการ ส านักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ออกระเบียบ ได้แก่ ระเบียบงานพัสดุจัดซื้อจัดจ้าง ระบบหนังสือราชการ (แบบฟอร์ม) กระทรวงการคลัง เป็นผู้ออกระเบียบ ระเบียบการเงิน / เกี่ยวกับรายได้ของแผ่นดิน

Page 7: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

งานการเงิน แยกเป็น ๒ ประเภท ๑. งบประมาณ คือเงินที่ส่วนกลางจัดสรรให้ ในปัจจุบันโรงเรียนได้รับการจัดสรร ได้แก่ ๑. เงินปัจจัยพื้นฐานเด็กที่ยากจน ได้จากการส ารวจ รายได้ของผู้ปกครอง ใช้ได้ ๔ อย่าง คือ ค่ารถ ค่าอาหารกลางวัน ค่าชุดนักเรียน และจ่ายเงินสด ถ้าผู้บริหารไม่ซื่อสัตย์ จะน าไปซื้อเสื้อผ้าหาเปอร์เซ็นต์ ๒. เงินรายหัว นักเรียนจะได้รับไม่เท่ากัน คิดให้เป็นค่าเทอมของนักเรียน แต่ในโรงเรียนเงินส่วนนี้ใช้บริหารไม่พอ เฉลี่ยแล้วคิดจริงๆ ๓๐๐๐ บาทต่อคน ดังนั้นจึงมีการจัดหาเงินบางส่วนมา ๓. เงิน ๑๕ ปี คือ เงินค่ากิจกรรมต่างๆ ค่าแบบเรียน ค่าเข้าค่าย ค่าเครื่องแบบ โรงเรียนจัดเสมอภาคเท่าเทียมกัน นอกจากนั้น มีงบประมาณอ่ืน งบสร้างอาคาร สร้างถนน ๒. เงินนอกงบประมาณ คือ เงินที่โรงเรียนจัดหาเอง ได้แก่ เงินบริจาค เงินค่าใช้งานนอกเหนือที่รัฐจัดให้ เช่น ค่าจ้างครูต่างประเทศ มีบัญชี ๒ ประเภท ๑. บกศ. บัญชีบ ารุงการศึกษา ๒. รายได้สถานศึกษา ผู้บริจาค ทุกอย่างต้องออกใบเสร็จให้ทุกครั้ง และเข้าระบบ นอกจากนี้ ยังมี ๓. บัญชีป่า เงินนี้ใช้เพื่อความคล่องตัวในการใช้เงิน เงินที่ไม่เข้าระบบ ไม่มีใบเสร็จ เงินนี้ไม่เข้าบัญชี เพ่ือใช้จ่ายเพื่อความคล่องตัว อย่างดีผิดระเบียบ เงินนี้อาจจะได้มาจากเงินเด็กฝาก เงินบริจาค เปอร์เซ็น เป็นต้น (การตรวจสอบความผิดในกรณีไม่เจตนาทุจริต ใช้เพื่อความคล่องตัว มีลงโทษเบา จะเพียงว่ากล่าวตักเตือน ผิดระเบียบแบบแผนเท่านั้น แต่ถ้า ผอ.เอาไปใช้คนเดียว เพื่อประโยชน์ส่วนตน หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง อาจจะมีโทษหนัก) งบประมาณ มี ๒ ประเภท ๑. งบประมาณที่สมดุล กระทรวงต่างๆ เขียนโครงการเพ่ือของบประมาณ ๒. งบประมาณเกินดุล ในกรณีที่ไม่เขียนโครงการรองรับ เช่น อุทกภัย วาตภัยต่างๆ ปีงบประมาณ เริ่ม ๑ ตุลาคม จะให้ได้ว่าปีงบประมาณคร่อมกับปีการศึกษา โรงเรียนจึงได้เขียนแผนปฏิบัติการเป็น ประจ าปีงบประมาณ มาถึงปัจจุบัน ความหมายของงบประมาณ

งบประมาณ คือ แผนการใช้เงินของรัฐ ประกอบด้วย ตัวเลขแสดงการรับมาจากทางใด และรายจ่ายที่ต้องจ่ายตามแผน

โครงการที่ก าหนดไว้ในปีหนึ่งๆ คือแผนปฏิบัติการประจ าปี ผู้บริหารต้องรู้งานการเงิน ต้องรู้ระบบการเงิน รู้ว่าเจ้าหน้าที่การเงินเขาท าอะไรบ้าง เพ่ือพัฒนางาน เพ่ือการนิเทศ เพราะจากผลการวิจัย พบว่า จุดบอดของผู้บริหาร จะไม่เก่งการเงินและงานวิชาการ ที่มีน้ าหนักมากคือเรื่องงการเงิน มี ๒ กลุ่มใหญ่

Page 8: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

๑. นโยบายการจัดสรรเงินเพื่อจัดการศึกษา คือ เงินที่ได้รับการจัดสรรจากส่วนกลาง เช่น เงินรายหัว เงิน ๑๕ ปี จะใช้เงินนี้ผิดประเภทไม่ได้ ๒. แนวปฏิบัติในการบริหารงานการเงิน กระทรวงการคลังได้ออกระเบียบปฏิบัติ เพ่ือให้เป็นแนวปฏิบัติ เช่น ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง การออกใบเสร็จ การเขียนขอซื้อ / เอกสารต่างๆ พอสิ้นเดือนจะส่ง ๒ แห่ง คือ สตง. และ เขตพ้ืนที่ พอสิ้นปี จะรวบรวมเอกสารเข้าแฟ้ม ส่ง สตง. และ สตง.จะสุ่มตรวจ วิธีการตรวจของ สตง. วิธีที่ ๑ สุ่มตรวจ วิธีที่ ๒ สตง. จะตรวจการมีพิรุด ผิดปกติ ของงบดุล เช่น กินกระดาษ กินทราย(ขุดสระน้ า) ถมทรายลงบ่อน้ า และน้ ามันรถ ดังนั้น ผู้บริหารที่รู้ระเบียบ แนวปฏิบัติการเงิน การงบประมาณ ลักษณะงานการเงินในสถานศึกษา ๑. งานการรับเงิน เงินที่โรงเรียนได้รับมา เป็นเงินหลวง วิธีคิด คือ เวลาราชการหรือเปล่า ใช้ในสถานที่ราชการหรือเปล่า คนของหลวงของทางราชการหรือเปล่า หน่วยงานของหลวงหรือเปล่า ถ้าเข้าข่ายนี้ เงินเป็นเงินหลวงทั้งหมด บางโรงเรียนหัวหมอใช้สมาคมเป็นผู้จัดท า เจตนาจะเลี่ยง เพราะใช้เวลาราชการ และสถานที่ราชการ ดังนั้น เวลารับเงินมา ต้องมีใบเสร็จรายได้สถานศึกษา และเข้าบัญชี มี ๒ เล่ม คือ รายงานเงินคงเหลือประจ าวัน และสมุดบัญชี ทั้ง ๒ เล่ม ต้องส่งให้ ผอ.เซ็นทุกวัน ท าเป็นปัจจุบัน (ทั้ง ๒ เล่มนี้จะยืนยันกัน) ใบเสร็จต้องมีเป็นหลักฐานประกอบ ถ้าเงินเหลือให้ใส่ตู้เซฟไว้ รวมทั้งเช็คด้วย เพราะเช็ค ถือว่าเป็นเงินสด ตู้เซฟ จะไว้ที่ห้องผู้อ านวยการ อยู่ในสายตาของผอ. ๒. งานการจ่ายเงิน การจ่ายเช็ค ต้องมีเซ็นรับ ไว้เป็นหลักฐาน กรณีการใช้รถโรงเรียน อ านาจการใช้รถอยู่ที่ผู้บริหารเท่านั้น ใครอื่นๆจะมอบอ านาจไม่ได้ ถ้า ผอ.มอบอ านาจให้ ไม่ได้รับมอบอ านาจ ๓. งานการเก็บรักษาเงิน เกณฑ์ให้โรงเรียนที่นักเรียนจ านวน ๑๒๐ ให้มีเงินสดในมือ ไม่เกิน ๒๐๐๐๐ บาท ถ้ามีเงินสดมากจะเกิดการล่อตาล่อใจ / มีระเบียบการเก็บรักษาเงิน เช่น ถ้าเงินเหลือ เช่น ๑๕๐๐๐ ต้องนับจ านวนใบห้าร้อยกี่ใบ ใบร้อยกี่ใบ เหรียญห้ากี่เหรียญ ๔. งานการน าส่งเงิน ๕. การจัดซื้อ ๖. การจัดจ้าง ๗. การท าบัญชี ๘. การตรวจสอบและรายงาน ตามระเบียบ เจ้าหน้าที่การเงินกับบัญชีเป็นคนละคนกัน มีการรายงานบัญชี ๒ เล่มทุกวัน การบริหารงานการเงิน เป็นหน้าที่ของรองผอ.กลุ่มงานงบประมาณและบุคลากร ๑. การวางแผนงานการเงิน ค านึงถึง รายรับ ผลกระทบแนวโน้มในอนาคตอันใกล้ ๒. การจัดการเก่ียวกับทรัพย์สิน ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง วัสดุ ครุภัณฑ์ ๓. การควบคุมการด าเนินการการเงิน

- ความถูกต้อง - ให้มีประสิทธิภาพ ไม่ล่าช้า - มาตรฐาน - ยึดกฎระเบียบ

Page 9: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

…………. ๑. งานการเงิน ๑. รับเงินค่าธรรมเนียม ๒. รับเงินบริจาค ๓. รับเงินผลประโยชน์อื่น ๔. รับเงินทุนการศึกษา ๕. จ่ายเงินงบประมาณ ๖. จ่ายเงินบริจาค ๗. จ่ายเงินอุดหนุน ๘. จัดท าฎีกาเบิกจ่ายต่างๆ ๙. ตรวจสอบใบส าคัญและหลักฐานการรับ-จ่ายเงิน เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง ๑๐. ตรวจสอบภาษีอากรในการท าสัญญา / อากรใช้แล้วขีดฆ่าเพ่ือป้องกันการใช้ใหม่ ๑๑. ดูแลรักษาเงินสดในมือ (ของโรงเรียน=ตู้เซฟ) ๑๒. จัดเตรียมรักษาใบเสร็จ ๑๓. เบิกจ่าย เงินนอกงบประมาณ ๑๔.น าเงินฝากธนาคาร ๑๕. น าเงินเกินอ านาจฝากหน่วยงานต้นสังกัด ๑๖. น าเงินค้ าประกันสัญญาฝากหน่วยงานต้นสังกัด ๑๗. จัดเก็บเช็คเงินสดหลวง ๑๘. เก็บหลักฐานทางการเงิน ๑๙. ท าหลักฐานเบิกจ่ายเงินเดือน ค่าตอบแทนลูกจ้าง ๒๐. รายงานงบดุลประจ าเดือน ๓. งานพัสดุ ๑. ด าเนินการขออนุมัติรายการจัดซื้อจัดท า วัสดุครุภัณฑ์ ตลอดจนงานสร้างอาคาร ๒. ด าเนินการท าสัญญาซื้อ จ้าง ตลอดจน ๓. จัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์และสิ่งพิมพ์ต่างๆ ๔. ดูแลรักษาซ่อมแซมเครื่องมือ เครื่องใช้ อาคารสถานที่ ๕. จัดท าทะเบียนคุมวัสดุ ครุภัณฑ์ อาคาร บ้านพัก พาหนะ / บ้านพักต้องเต็มก่อน จึงจะเบิกค่าเช่าบ้านได้ ๖. วางระเบียบการลงทะเบียน หมายเลขวัสดุ ครุภัณฑ์ ๗. วางระเบียบการขอใช้รถหลวง ๘. เบิกจ่ายวัสดุ ครุภัณฑ์ ๙. ส ารวจวัสดุ ครุภัณฑ์คงเหลือ ๑๐. มีและรายงานการส ารวจทรัพย์สินประจ าปี / มีการจ าหน่าย (ไม่ใช่ขาย) / ขายทอดตลาดก็ได้ ๑๑. ท ารายงานการปฏิบัติงาน การท าแผนปฏิบัติการ แบ่งงบประมาณออกเป็น ๔ งบ ๑. งบประมาณ

Page 10: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

๒. งบด าเนินการ ใช้จ่าย ปรับปรุงห้อง / จ้างครู / ครูไปอบรม ๓. งบลงทุน / การก่อสร้างต่าง ๔. งบรายจ่ายอื่น คือ งบกลาง ส ารองไว้ ๑๐% เผื่อเงินไม่พอ ระเบียบงานการเงิน ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วย - ค่าใช้จ่ายในการไปราชการ ๒๕๕๐ (ฉบับล่าสุด) เช่น การจ่ายเงินเบี้ยเลี้ยง - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน การประชุม ๒๕๔๙ เช่น ค่าจัดเวที ค่าวิทยากร (ถ้าไม่พอก็ใช้บัญชีป่า อาจจะเป็นค่าแรง) ระเบียบพัสดุ ตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย - การพัสดุ ๒๕๓๕ - การพัสดุด้วยวิธีการอิเล็กทรอนิคส์ ๒๕๔๗ (เพ่ิมเติม ๒๕๔๙) / e- auction - งานสารบรรณ ๒๕๔๗ ภาระงานพัสดุ ๑. การให้ยืม ๒. การควบคุม / ให้ใช้ของที่มีคุณภาพ คงทนและประหยัด ๓. การรักษา ๔. การจ าหน่าย / แทงจ าหน่ายของที่เสื่อมสภาพ เช่น คอมพิวเตอร์ ๕. การรายงาน / รายงานหัวหน้าสถานศึกษาให้เซ็น รับทราบ

การจัดซื้อจัดจ้าง ม ี๖ วิธ ี๑. วิธีตกลงราคา เช่น บิลมาวาง / โทร.แล้วเอาของมาส่ง ๒. วิธีสอบราคา เช่น เอา ๒ ร้านมาดูกัน แล้วเลือก โรงเรียนตัดสินใจเอง ๓. วิธีประกวดราคา เงินเกิน ๒ ล้าน ๔. วิธีพิเศษเกิน ๑ แสนบาท และมีเหตุจ าเป็นตามเงื่อนไข ๕. วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีวงเงิน แต่มีเงื่อนไข ๖. วิธีการประกวดราคา ด้วยระบบ e-Auction

วิธีการและเงื่อนไข วิธีการ วงเงิน / กรณี การตกลงราคา ไม่เกิน ๑ แสน การสอบราคา ๑ แสน ถึง ๒ ล้าน วิธีพิเศษ เกิน ๑ แสน มีเหตุจ าเป็น (เช่น ซื้อกระสอบทรายกันน้ าท่วม) วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีวงเงิน แต่มีเงื่อนไข วิธีประกวดราคาด้วย E-Auction การซื้อ การจ้างครั้งหนึ่ง วงเงินตั้งแต่ ๒ ล้าน ขั้นตอนการท างานของพัสดุโรงเรียน

(ต้องท าตามข้ันตอนนี้ อย่าลัดขั้นตอน)

Page 11: Lecture 12 ม_.ค.56

วิชา EDA 6134

วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

เตรียมการ คือ เปิดเทอม ให้เตรียมเอกสารทั้งหมด รายงาน ส่งไปที่ รอง ผอ. เห็นชอบ / โดยรอง ผอ. ด าเนินการ ขออนุมัติ อนุมัติ โดย ผอ.เท่านั้น ท าสัญญา บริหารสัญญา คือ ให้ท าตามข้อตกลงตามสัญญา ตรวจรับ (ส่งของมาแล้ว / มีกรรมการตรวจรับ) เบิกจ่าย

……….. บางคนเข้าใจว่า แผนปฏิบัติการที่อนุมัติแล้ว จะต้องเป็นของเรา มีข้ันตอน คือ ต้องท าการอนุมัติการใช้เงิน ผอ.อาจจะไม่อนุมัติก็ได้ เพ่ืองานเร่งด่วนอย่างอ่ืน รายงานการขอซื้อ / ขอจ้าง การเขียนรายงาน มีรายละเอียด แสดงเหตุผลและความจ าเป็น / รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อ หรือจ้าง ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือที่เคยซื้อ เคยจ้างล่าสุด วงเงินที่ขอซื้อ/จ้าง / ก าหนดเวลาที่ต้องการใช้วัสดุ และวิธีที่จะซื้อ/จ้าง ประกอบเหตุผล (โดยเฉพาะโครงการใหม่ที่ไม่มีในแผน) การแต่งตั้งกรรมการ กรรมการ ประกอบด้วย

- ประธาน - กรรมการอ่ืน อย่างน้อย ๒ คน

- ข้าราชการระดับ ๓ หรือเทียบเท่า แนวข้อสอบ Quiz ของ อ.สมพิศ โห้งาม

ขอขอบคุณ ป.โทบริหารการศึกษา รุ่นที่สิบเจ็ด ม.รามฯ