46
ปรับปรุง ม.ค.60 KPI Template 1.รหัส 101 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล 3.ที่มา จากแบบฟอร์มการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง วิไลรัตน์ โพธิ์รี 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 115 6.หน่วยวัด จานวนครั้งที่เกิดการติดเชื้อต่อ 1000 วันนอนของผู้ป่วยใน การตีความ ค่ายิ่งน้อยถือว่ามีประสิทธิภาพ 7.นิยาม/คาอธิบาย การติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial Infection) หมายถึงการติดเชื้อที่เกิดจาก การได้รับเชื้อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจและรักษาพยาบาล ภายหลังรับผู้ป่วยไว้ 48 ชั่วโมง หรือการติดเชื้อของบุคลากรที่เกิดจากการปฏิบัติงานในโรงพยาบาล (เป้าหมาย รพ. CA-UTI , HAP ,BSI ฯลฯ) 8.การติดตาม ทุก 1 เดือน 9.สูตรคานวณ จานวนครั้งของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ×100 จานวนวันนอนรวมของผู้ป่วยใน 10.เกณฑ์การให้คะแนน ตามมาตรฐานการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ 11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 การถ่วง น้าหนัก คณะกรรมการ ICC <4% <4% <4% <4% <4% 12.แหล่งข้อมูล/วิธีการ จัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วย ผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา 1.จากแบบฟอร์มเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 2.เก็บในผู้ป่วยทุกรายที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลที่เป็นกลุ่มเสี่ยงตามมาตรฐานงาน ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (เป้าหมาย รพ. CA-UTI ,HAP ,BSI ฯลฯ)

KPI Template - fpcdh-hospital.com

  • Upload
    others

  • View
    21

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 101 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล 3.ท่ีมา จากแบบฟอร์มการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง วิไลรัตน์ โพธิ์รี 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 115 6.หน่วยวัด จ านวนครั้งที่เกิดการติดเชื้อต่อ 1000 วันนอนของผู้ป่วยใน

การตีความ ค่ายิ่งน้อยถือว่ามีประสิทธิภาพ 7.นิยาม/ค าอธิบาย การติดเชื้อในโรงพยาบาล (Nosocomial Infection) หมายถึงการติดเชื้อที่เกิดจาก

การได้รับเชื้อขณะที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจและรักษาพยาบาล ภายหลังรับผู้ป่วยไว้ 48 ชั่วโมง หรือการติดเชื้อของบุคลากรที่เกิดจากการปฏิบัติงานในโรงพยาบาล (เป้าหมาย รพ. CA-UTI , HAP ,BSI ฯลฯ)

8.การติดตาม ทุก 1 เดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนครั้งของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ×100

จ านวนวันนอนรวมของผู้ป่วยใน

10.เกณฑ์การให้คะแนน ตามมาตรฐานการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

คณะกรรมการ

ICC <4% <4% <4% <4% <4%

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1.จากแบบฟอร์มเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 2.เก็บในผู้ป่วยทุกรายที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลที่เป็นกลุ่มเสี่ยงตามมาตรฐานงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (เป้าหมาย รพ. CA-UTI ,HAP ,BSI ฯลฯ)

Page 2: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 102-1 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความผิดพลาดในการบริหารยาผู้ป่วยนอก (Prescribing error) 3.ท่ีมา การรักษาพยาบาลและการส่งเสริมสุขภาพระบบการจัดการด้านยา

4.ผู้รับผิดชอบ ภญ.อิศริยา แผลงศร 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 106 6.หน่วยวัด ครั้ง/1000 ใบสั่งยา การตีความ ค่ายิ่งน้อยยิ่งถือว่ามีประสิทธิภาพ 7.นิยาม/ค าอธิบาย Prescribing error คือ การเลือกใช้ยาผิด การเลือกรูปแบบยาผิด การสั่งยาใน

จ านวนที่ผิด การเลือกวิธีการให้ยาผิด การเลือกความเข้มข้นของยาผิด การสั่งใช้ยาผู้ป่วยผิดคนหรือการไม่ระบุชื่อยา ความแรง ความเข้มข้น ความถี่ของการใช้ยา ที่ท าให้เกิดความคลาดเคลื่อนที่ส่งถึงตัวผู้ป่วย

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนรายการยาในขั้นตอนการสัง่ใช้ยาผู้ป่วยนอกท่ีคลาดเคลื่อนใน 1 เดือน ×1000

จ านวนใบสั่งยาทั้งหมดใน 1เดือน 10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยได้จากตัวเลขร้อยละที่ ค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนการ เภสัชกรรม

≤1 ≤1 ≤1 ≤1 -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอก แผนกเภสัชกรรม 2. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยา แผนกฉุกเฉิน

Page 3: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 102-2 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความผิดพลาดในการบริหารยาผู้ป่วยนอก (Transcribing Error) 3.ท่ีมา การรักษาพยาบาลและการส่งเสริมสุขภาพระบบการจัดการด้านยา

4.ผู้รับผิดชอบ ภญ.อิศริยา แผลงศร 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 106 6.หน่วยวัด ครั้ง/1000 ใบสั่งยา การตีความ ค่ายิ่งน้อยยิ่งถือว่ามีประสิทธิภาพ 7.นิยาม/ค าอธิบาย Transcribing Error คือ ความคลาดเคลื่อนของกระบวนการคัดลอกค าสั่งใช้ยา

จากค าสั่งใช้ยาต้นฉบับที่ผู้สั่งใช้ยาเขียน เช่น ไม่ได้คัดลอก หรือคัดลอกผิด 8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนรายการยาในข้ันตอนคัดลอกค าสั่งผิดที่คลาดเคลื่อนใน 1 เดือน ×1000

จ านวนใบสั่งยาทั้งหมดใน 1เดือน 10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงเป็นปริมาณ โดยได้จากตัวเลขร้อยละที่ ค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนการ เภสัชกรรม

≤1 ≤1 ≤1 ≤1 -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอก แผนกเภสัชกรรม 2. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยา ของห้องฉุกเฉิน

Page 4: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 102-3 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความผิดพลาดในการบริหารยาผู้ป่วยนอก (Prescribing error) 3.ท่ีมา การรักษาพยาบาลและการส่งเสริมสุขภาพระบบการจัดการด้านยา

4.ผู้รับผิดชอบ ภญ.อิศริยา แผลงศร 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 106 6.หน่วยวัด ครั้ง/1000 ใบสั่งยา การตีความ ค่ายิ่งน้อยยิ่งถือว่ามีประสิทธิภาพ 7.นิยาม/ค าอธิบาย Pre-dispensing Error คือ ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง

ของกระบวนการจัดยาในหน่วยงานเภสัชกรรม เช่น การเตรียมยา การเขียน/พิมพ์ฉลากยา การจัดยา แต่หน่วยงานสามารถตรวจพบความเคลื่อนดังกล่าว และแก้ไขให้ถูกต้องก่อนจ่ายยาออกนอกหน่วยงาน

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนรายการยาในกระบวนการจัดยาผูป้่วยนอกที่คลาดเคลื่อนใน 1 เดือน ×1000

จ านวนใบสัง่ยาทัง้หมดใน 1เดือน 10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยได้จากตัวเลขร้อยละที่ ค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนการ เภสัชกรรม

≤10 ≤10 ≤10 ≤10 -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอก แผนกเภสัชกรรม

Page 5: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 102-4 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความผิดพลาดในการบริหารยาผู้ป่วยนอก (Prescribing error) 3.ท่ีมา การรักษาพยาบาลและการส่งเสริมสุขภาพระบบการจัดการด้านยา

4.ผู้รับผิดชอบ ภญ.อิศริยา แผลงศร 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 106 6.หน่วยวัด ครั้ง/1000 ใบสั่งยา การตีความ ค่ายิ่งน้อยยิ่งถือว่ามีประสิทธิภาพ 7.นิยาม/ค าอธิบาย Dispensing Error คือความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจ่ายยาที่ท าให้จ่ายยาไม่

ถูกต้องตามที่ระบุในค าสั่งใช้ยา ได้แก่ ผิดชนิดยารูปแบบยา ความแรงของยา ขนาดยา วิธีใช้ยา จ านวนยาที่สั่งจ่าย จ่ายผิดตัวผู้ป่วย จ่ายยาที่เสื่อมสภาพหรือหมดอายุ จ่ายยาที่ไม่มีค าสั่งใช้ยา ฉลากยาผิด ชื่อผู้ป่วยผิด ชื่อยาผิด

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนรายการยาในขั้นตอนการจ่ายยาผูป้่วยนอกที่คลาดเคลื่อนใน 1 เดือน ×1000

จ านวนใบสัง่ยาทัง้หมดใน 1เดือน 10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยได้จากตัวเลขร้อยละที่ ค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนการ เภสัชกรรม

≤1 ≤1 ≤1 ≤1 -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอก แผนกเภสัชกรรม 2. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยา แผนกฉุกเฉิน

Page 6: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 102-5 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความผิดพลาดในการบริหารยาผู้ป่วยนอก (Pre-Administration Error) 3.ท่ีมา การรักษาพยาบาลและการส่งเสริมสุขภาพระบบการจัดการด้านยา

4.ผู้รับผิดชอบ ภญ.อิศริยา แผลงศร 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 106 6.หน่วยวัด ครั้ง/1000 ใบสั่งยา การตีความ ค่ายิ่งน้อยยิ่งถือว่ามีประสิทธิภาพ 7.นิยาม/ค าอธิบาย Pre-Administration Error คือ ความคลาดเคลื่อนที่เกิดข้ึนในขั้นตอนใดข้ันตอน

หนึ่งของกระบวนการเตรียมยาก่อนให้ผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน และมีการตรวจพบความคลาดเคลื่อนดังกล่าวและแก้ไขให้ถูกต้องก่อนให้ยาแก่ผู้ป่วย

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนรายการยาในกระบวนการเตรียมยาผู้ป่วยนอกที่คลาดเคลื่อนใน 1 เดือน ×1000

จ านวนใบสั่งยาทั้งหมดใน 1เดือน 10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเป็นเชิงปริมาณ โดยได้จากตัวเลขร้อยละที่ ค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนการ เภสัชกรรม

≤2 ≤2 ≤2 ≤2 -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอก แผนกเภสัชกรรม

Page 7: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 102-6 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความผิดพลาดในการบริหารยาผู้ป่วยนอก (Administration Error) 3.ท่ีมา การรักษาพยาบาลและการส่งเสริมสุขภาพระบบการจัดการด้านยา

4.ผู้รับผิดชอบ ภญ.อิศริยา แผลงศร 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 106 6.หน่วยวัด ครั้ง/1000 ใบสั่งยา การตีความ ค่ายิ่งน้อยยิ่งถือว่ามีประสิทธิภาพ 7.นิยาม/ค าอธิบาย Administration Error คือความคลาดเคลื่อนที่เกิดข้ึนในขั้นตอนการใช้ยาแก่

ผู้ป่วยนอก ที่ห้องฉุกเฉิน โดยเป็นผลให้ไม่เป็นไปตามหลักการให้ยาในด้าน ถูกคน ถูกยา ถูกขนาด ถูกเวลา ถูกวิถีทาง ถูกเทคนิค และไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์ของการรักษา รวมถึงการที่ผู้ป่วยไม่ได้รับการให้ยาตามที่แพทย์สั่ง

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนรายการยาที่ให้ผู้ป่วยนอกที่คลาดเคลื่อนใน 1 เดือน ×1000

จ านวนใบสั่งยาทั้งหมดใน 1เดือน 10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยได้จากตัวเลขร้อยละที่ ค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนการ เภสัชกรรม

≤1 ≤1 ≤1 ≤1 -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอก แผนกเภสัชกรรม

Page 8: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 103-1 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความผิดพลาดในการบริหารยาผู้ป่วยนอก (Pre-Administration Error) 3.ท่ีมา การรักษาพยาบาลและการส่งเสริมสุขภาพระบบการจัดการด้านยา

4.ผู้รับผิดชอบ ภญ.อิศริยา แผลงศร 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 106 6.หน่วยวัด ครั้ง/1000 วันนอน การตีความ ค่ายิ่งน้อยยิ่งถือว่ามีประสิทธิภาพ 7.นิยาม/ค าอธิบาย Pre-Administration Error คือความคลาดเคลื่อนที่เกิดข้ึนในขั้นตอนใดข้ันตอน

หนึ่งของกระบวนการเตรียมยาก่อนให้ยาผู้ป่วยใน เช่น การเตรียมยา ผสมยา การเขียนฉลากยา การจัดยาตามค าสั่งใช้ยา แต่พยาบาลสามารถตรวจพบความคลาดเคลื่อนดังกล่าว และแก้ไขให้ถูกต้องก่อนให้ยาแก่ผู้ป่วย

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนรายการยาในกระบวนการเตรียมยาผู้ป่วยในที่คลาดเคลือ่นใน 1 เดือน ×1000

จ านวนวันนอนทั้งหมดใน 1เดือน 10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ จากตัวเลขท่ีค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนการ เภสัชกรรม

≤15 ≤15 ≤15 ≤15 ≤15

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาหอผู้ป่วยพิเศษ 2. แบบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาหอผู้ป่วยสามัญ

Page 9: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 103-2 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความผิดพลาดในการบริหารยาผู้ป่วยนอก (Administration Error) 3.ท่ีมา การรักษาพยาบาลและการส่งเสริมสุขภาพระบบการจัดการด้านยา

4.ผู้รับผิดชอบ ภญ.อิศริยา แผลงศร 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 106 6.หน่วยวัด ครั้ง/1000 วันนอน การตีความ ค่ายิ่งน้อยยิ่งถือว่ามีประสิทธิภาพ 7.นิยาม/ค าอธิบาย Administration Error คือ ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการให้ยาแก่

ผู้ป่วยในโรงพยาบาล โดยเป็นผลให้ไม่เป็นไปตามหลักการให้ยาในด้านถูกคน ถูกยา ถูกขนาด ถูกเวลา ถูกวิธีทาง ถูกเทคนิค และไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์ของการรักษา รวมถึงการที่ผู้ป่วยไม่ได้รับการให้ยาตามที่แพทย์สั่ง

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนรายการยาในกระบวนการให้ยาผู้ป่วยในที่คลาดเคลื่อนใน 1 เดือน ×1000

จ านวนวันนอนทั้งหมดใน 1เดือน

10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ จากตัวเลขท่ีค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนการ เภสัชกรรม

≤15 ≤15 ≤15 ≤15 -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ใบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาหอผู้ป่วยพิเศษ 2. แบบบันทึกความคลาดเคลื่อนทางยาหอผู้ป่วยสามัญ

Page 10: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 104 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราผู้ป่วยปลอดภัยจากการส่งต่อ 3.ท่ีมา - ระบบ Refer

- บันทึกการโทรศัพท์ติดตามผลหลังจากการส่งต่อ 4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง รุ่งนภา ศรีวุฒิ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 109,0882534145 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมาก = มีคุณภาพดี 7.นิยาม/ค าอธิบาย จ านวนผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อจาก ER WARD และOPD ทั้งหมด ปลอดภัย

ไม่เกิดภาระแทรกซ้อน ทั้งก่อน ระหว่าง และหลังจากการส่งต่อ ครบทุกราย 8.การติดตาม ทุก 1 เดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนผู้ป่วยท่ีส่งต่อแล้วปลอดภัยไม่มภีาวะแทรกซ้อน ×100 = อัตราผู้ป่วยปลอดภยัจากการส่งต่อ

จ านวนผู้ป่วยที่ส่งตอ่ท้ังหมด

10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยได้จากตัวเลขร้อยละที่ ค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

OPD,ER,WARD 100% 100% 100% 100% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. บันทึกการติดตามการส่งต่อในผู้ป่วยทุกราย โดยวิธีการโทรศัพท์ 2. ระบบ Refer 3. ติดตามทุกราย สรุปทุก 1 เดือน

Page 11: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 105 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยนอก 3.ท่ีมา แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการบริการจากผู้ป่วยนอก

4.ผู้รับผิดชอบ จ.ส.อ.หญิง กิติพร รอดเจริญศักดิ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 111 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมากยิ่งมีคุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย การวัดความพึงพอใจ หมายถึง การวัดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการให้บริการทางด้านกายภาพ สิ่งอ านวยความสะดวก จนกระทั่งก่อให้เกิดความชื่นชอบ ความรู้สึกยอมรับ พอใจ และประทับใจแก่ผู้มารับบริการ

8.การติดตาม ทุก 1 เดือน 9.สูตรค านวณ ผลรวมคะแนนที่ได้จากการตอบแบบสอบถามทั้งหมด x 100

ผลรวมคะแนนเต็มของแบบสอบถาม

10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยค านวณเป็นร้อยละจากแบบสอบถาม

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วงน้ าหนัก

งานตรวจโรคผู้ป่วยนอก

>80% >80% >80% >80% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1.เก็บแบบสอบถามความพึงพอใจจากผู้มารับบริการ และแปรผลทุก 1 เดือน

Page 12: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 106 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความพึงพอใจผู้ป่วยใน (>90%) 3.ท่ีมา จากแบบส ารวจ โดยใช้แบบส ารวจความพึงพอใจของหอผู้ป่วยพิเศษ

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิงอรทัย บารมี 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428-111 ต่อ 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ 3 คะแนน = ความพึงพอใจมาก 2 คะแนน = ความพึงพอใจ

ปานกลาง 1 คะแนน = ความพึงพอใจน้อย 7.นิยาม/ค าอธิบาย ผู้รับบริการ หมายถึงก าลังพล ครอบครัว และประชาชน ต่อบริการที่ได้รับจากหอ

ผู้ป่วยใน โรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก นิยาม ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจของก าลังพล ครอบครัว และประชาชน ต่อบริการที่ได้รับจากหอผู้ป่วยในพิเศษ โรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก

1. สถานที่สิ่งแวดล้อม 2. เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ 3. สิ่งของหรือวัสดุ รวมทั้งข้อมูลข่าวสารที่ให้บริการ 4. คุณสมบัติ คุณลักษณะ และบุคลิกของผู้ปฏิบัติงาน 5. วิธีการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 6. พฤติกรรมบริการ (Service behavior) 7. ความรู้ความเข้าใจของผู้รับบริการและผู้ที่เกี่ยวข้อง การประเมินความพึง

พอใจของผู้รับบริการผู้ป่วยใน ของโรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก ด าเนินการโดยใช้แบบส ารวจความพึงพอใจของของผู้รับบริการโดยพิจารณาจากกระบวนการให้บริการผู้รับบริการมีความต้องการหรือมีความจ าเป็น (ตามที่กฎหมายก าหนด) ในการมารับบริการ ในกระบวนการให้บริการ และผลลัพธ์คือความพึงพอใจของก าลังพล ครอบครัว และประชาชนผู้มารับบริการ ซึ่งจะเกิดได้จากการตอบสนองความต้องการ ทั้งจากกระบวนการให้บริการผู้ปฏิบัติงาน ทั้งนี้ในกระบวนการให้บริการจะมีการประเมินผลติดตาม และวิเคราะห์ผล เพ่ือจะใช้ในการปรับปรุงงานให้บริการอย่างต่อเนื่อง โดยผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบ และมีผู้ปฏิบัติงานรับนโยบายในการปรับปรุงบริการ ซึ่งจะเกิดผลในการบริการที่พัฒนาขึ้น ท าให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจมากขึ้น

8.การติดตาม ทุก 1 เดือน

Page 13: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

9.สูตรค านวณ จ านวนผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อการบริการที่ได้รับ ×100 จ านวนผู้รับบรกิารทั้งหมด

10.เกณฑ์การให้คะแนน หนว่ยวดั/คะแนน 1 2 3

ร้อยละ ≤70 80 ≥90

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

หอผู้ป่วย ≥90 ≥90 ≥90 ≥90 2

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. แบบส ารวจความพึงพอใจผู้รับบริการในหอผู้ป่วยพิเศษ โรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก โดยใช้แบบส ารวจของหอผู้ป่วยในพิเศษ โรงพยาบาลค่าย ร้อยละการสุ่มตัวอย่างในการส ารวจจากผู้ป่วยที่มารักษาพยาบาลทั้งหมด 2. การส ารวจความพึงพอผู้รับบริการในโรงพยาบาล ด าเนินการส ารวจเดือนละ 1 ครั้ง โดยส่งข้อมูลให้ศูนย์พัฒนาคุณภาพทุกเดือน

Page 14: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 107 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ 3.ท่ีมา ใบรายงานการจัดการข้อร้องเรียน

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ท.หญิง ยินดี พรไชยะสิทธิ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 147 6.หน่วยวัด ร้อยละ 7.นิยาม/ค าอธิบาย ข้อร้องเรียน (complaint) หมายถึง ค าร้องจากผู้รับบริการและญาติท่ีไม่ได้รับการ

ตอบสนองความต้องการที่คาดหวัง ท าให้เกิดความไม่พึงพอใจ และแจ้งให้ทางรพ.ด าเนินการ แก้ไข ปรับปรุง ตอบสนองความต้องการ

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนข้อร้องเรียนที่เข้าระบบการจัดการข้อร้องเรียนของรพ.ในช่วงเวลาหนึ่ง x 100

จ านวนผู้รับบริการ (visit) ทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน

10.เกณฑ์การให้คะแนน - ตัวตั้ง : 1 ข้อร้องเรียน = 1 คะแนน - ตัวหาร : 1 visit = 1 คะแนน - ไม่มีถ่วงน้ าหนัก

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน

- <1% - <1% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

- ตู้รับความคิดเห็นทั้งหมดของรพ. 1 ใบต่อ 1ข้อร้องเรียน - ข้อร้องเรียนด้วยวาจาโดยตรงทางโทรศัพท์ ผู้รับค าร้องบันทึกลง complaint sheet - ข้อร้องเรียนทางเว็บไซด์หรือ อีเมล์ 1 case=1 report - ทุกสัปดาห์

Page 15: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 108 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยนอก 3.ท่ีมา จากแบบฟอร์มการตรวจสอบเวชระเบียนผู้ป่วยนอก

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง ภัชชัญญาณ์ ธนาชนิธนเกียรติ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 109 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมากยิ่งมีคุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย เวชระเบียนผู้ป่วยนอก ( Medical Record Audit Form : OPD )หมายถึง เอกสารทางการแพทย์ทุกประเภท ที่ใช้บันทึก และเก็บรวบรวม เรื่องราวและประวัติของผู้ป่วยทั้งประวัติส่วนตัว ประวัติครอบครัว ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต และปัจจุบัน การรักษา ผลจากห้องปฏิบัติการ ผลการบันทึกค่าจากเครื่องมือทางการแพทย์ ทุกประเภท หรือเอกสารการบันทึกการกระท าใดๆ ที่เป็นการสั่งการรักษา การปรึกษาเพ่ือการรักษาพยาบาล การกระท าตามค าสั่งของผู้มีอ านาจในการรักษาพยาบาล ตามที่สถานบริการสาธารณะสุขก าหนดไว้ และเอกสารอื่นๆ ที่ใช้ประกอบเพื่อการตัดสินใจทางการแพทย์ เพ่ือเป็นการประสานงานในการรักษาพยาบาลผู้ป่วย รวมทั้งเอกสารทางการแพทย์ที่อยู่ในรูปแบบอิเลคทรอนิกส์ ความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน หมายถึง การบันทึกเวชระเบียนของหน่วยบริการมีความสมบูรณ์ และเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพตาม สปสช. และพรพ.ก าหนด

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน 9.สูตรค านวณ ผลรวมคะแนนความสมบูรณ์ของบันทึกเวชระเบียนที่ตรวจได้ของหน่วยบริการ

ผลรวมคะแนนเต็มความสมบูรณ์ของบันทึกเวชระเบียนของหน่วยบรกิาร

10.เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ 1 2 3 4 5

ร้อยละผลงาน < 45 55 – 65 65 - 75 75 - 85 > 85

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

ทีมเวชระเบียน > 80 % >80 % >80 % >80 % -

×100

Page 16: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ข้อมูลจาก STATEMENT รายเดือนของหน่วยบริการ 2. เวชระเบียนผู้ป่วยนอกของหน่วยบริการ 3. ผลการทบทวนเวชระเบียน (MRA) ของส านักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. สุ่มตัวอย่างเวชระเบียนผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลจ านวน ร้อยละ 5 ของจ านวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาล 2. ตรวจสอบคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอก จากการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอก (Medical Record Audit Form : OPD)ของ สปสช. 3. บันทึกการวิเคราะห์ผลจากการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอก รูปอิเลคทรอนิกส์ตามโปรแกรม MRA ความถี่ ปีละ 2 ครั้ง

Page 17: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 109 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยใน 3.ท่ีมา จากแบบฟอร์มการตรวจสอบเวชระเบียนผู้ป่วยใน

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง ภัชชัญญาณ์ ธนาชนิธนเกียรติ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 109 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมากยิ่งมีคุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย เวชระเบียนผู้ป่วยใน ( Medical Record Audit Form : IPD หมายถึง เอกสารทางการแพทย์ทุกประเภท ที่ใช้บันทึก และเก็บรวบรวม เรื่องราวและประวัติของผู้ป่วยทั้งประวัติส่วนตัว ประวัติครอบครัว ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต และปัจจุบัน การรักษา ผลจากห้องปฏิบัติการ ผลการบันทึกค่าจากเครื่องมือทางการแพทย์ทุกประเภท หรือเอกสารการบันทึกการกระท าใดๆ ที่เป็นการสั่งการรักษา การปรึกษาเพ่ือการรักษาพยาบาล การกระท าตามค าสั่งของผู้มีอ านาจในการรักษาพยาบาล ตามที่สถานบริการสาธารณะสุขก าหนดไว้ และเอกสารอื่นๆ ที่ใช้ประกอบเพื่อการตัดสินใจทางการแพทย์ เพ่ือเป็นการประสานงานในการรักษาพยาบาลผู้ป่วย รวมทั้งเอกสารทางการแพทย์ที่อยู่ในรูปแบบอิเลคทรอนิกส์ ความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน หมายถึง การบันทึกเวชระเบียนของหน่วยบริการมีความสมบูรณ์ และเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพตาม สปสช. และพรพ.ก าหนด

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน 9.สูตรค านวณ ผลรวมคะแนนความสมบูรณ์ของบันทึกเวชระเบียนที่ตรวจได้ของหน่วยบริการ

ผลรวมคะแนนเต็มความสมบูรณ์ของบันทึกเวชระเบียนของหน่วยบรกิาร

10.เกณฑ์การให้คะแนน

ระดับ 1 2 3 4 5 ร้อยละผลงาน < 45 55 - 65 65 - 75 75 - 85 > 85

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

×100

Page 18: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

ทีมเวชระเบียน > 80% >80% >80% >80% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ข้อมูลจาก STATEMENT รายเดือนของหน่วยบริการ 2. เวชระเบียนผู้ป่วยในของหน่วยบริการ 3. ผลการทบทวนเวชระเบียน (MRA) ของส านักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. สุ่มตัวอย่างเวชระเบียนผู้ป่วยในของโรงพยาบาลจ านวน ร้อยละ 15 ของจ านวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาล 2. ตรวจสอบคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยใน จากการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยใน (Medical Record Audit Form : IPD)ของ สปสช. 3. บันทึกการวิเคราะห์ผลจากการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยใน รูปอิเลคทรอนิกส์ตามโปรแกรม MRA ความถี่ ปีละ 2 ครั้ง

Page 19: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 110 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย MI ภายหลังการส่งต่อ 3.ท่ีมา สถิติการติดตาม ผู้ป่วยที่ Dx. MIแล้วส่งต่อ รพ.อต.

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง รุ่งนภา ศรีวุฒิ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 109,0882534145 6.หน่วยวัด

ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งน้อยยิ่งมีคุณภาพดี 7.นิยาม/ค าอธิบาย เก็บข้อมูล จากสถิติของผู้ป่วย MI ที่แพทย์ส่งต่อไป รพ.อต. ทุกราย จากการ

โทรศัพท์ติดตามผลหลังการส่งต่อ

8.การติดตาม ติดตามผลในผู้ป่วย MI ที่ส่งต่อทุกราย ทุก 1 เดือน

9.สูตรค านวณ จ านวนผู้ป่วย MIส่งต่อแล้วเสียชีวิต ×100 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย MI หลังการส่งต่อ = จ านวนผู้ป่วย MIที่ส่งต่อท้ังหมด

10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยได้จากตัวเลขร้อยละที่ ค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

ER,WARD 0% 0% 0% 0% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. สถิติการส่งต่อผู้ป่วย MI 2. ข้อมูลจากระบบ Refer

Page 20: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 111 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของทหารใหม่ที่ป่วยด้วยโรคบาดเจ็บจากความร้อนจากการฝึก 3.ท่ีมา การส่งเสริมสุขภาพและเวชกรรมป้องกัน

4.ผู้รับผิดชอบ ร.ท.หญิง ปรารถนา ศุภลักษณ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111-107, 083-4741094 6.หน่วยวัด

ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งน้อย = มีคุณภาพดี 7.นิยาม/ค าอธิบาย 1. โรคบาดเจ็บจากความร้อน คือ อาการเพลียแดด และโรคลมร้อนที่เกิดจากการ

ฝึกทหารใหม่ 2. ทหารใหม่ที่ป่วยด้วยโรคบาดเจ็บจากความร้อนจากการฝึก คือ จ านวนทหารใหม่ที่มีอาการเพลียแดด และโรคลมร้อน ที่เกิดจากการฝึก

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนทหารใหม่ที่ป่วยด้วยโรคบาดเจ็บจากความร้อนจากการฝึก× 100=ร้อยละของทหารใหมท่ี่ป่วยด้วย

จ านวนทหารใหม่ โรคบาดเจ็บจากความร้อนจากการฝกึ

10.เกณฑ์การให้คะแนน ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยสรุปตามสูตรการค านวณทุกผลัด

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานเวชกรรมป้องกัน

- 0% - 0% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. รายงานการป่วยด้วยโรคบาดเจ็บจากความร้อนของศูนย์ปฏิบัติการป้องกันการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก 2. ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ (HOSxP) รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก 3. ติดตามประเมินผลตามห้วงการฝึกทหารใหม่ จ านวน 4 หน่วยฝึก (ผลัด 1 พ.ค.-ก.ค.,ผลัด 2 พ.ย.-ม.ค.)

Page 21: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 112 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของทหารใหม่ที่ป่วยด้วยโรคบาดเจ็บจากความร้อน เสียชีวิต 3.ท่ีมา การส่งเสริมสุขภาพและเวชกรรมป้องกัน

4.ผู้รับผิดชอบ ร.ท.หญิง ปรารถนา ศุภลักษณ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111-107, 083-4741094 6.หน่วยวัด

ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งน้อย = มีคุณภาพดี 7.นิยาม/ค าอธิบาย 1. โรคบาดเจ็บจากความร้อน คืออาการของโรคลมร้อน (Heat stroke) ที่เกิดใน

การฝึกทหารใหม่ 2. ทหารใหม่ที่ป่วยด้วยโรคบาดเจ็บจากความร้อนเสียชีวิต คือจ านวนทหารใหม่ที่เสียชีวิตจากโรคลมร้อน(Heat stroke) รพ.ค่ายพิชัยดาบหักรักษาหรือได้รับรายงานการเสียชีวิต

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน

9.สูตรค านวณ จ านวนทหารใหม่ที่ป่วยด้วยโรคบาดเจ็บจากความร้อน เสียชีวิต × 100 จ านวนทหารใหม่

10.เกณฑ์การให้คะแนน ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยสรุปตามสูตรการค านวณทุกเดือน

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานเวชกรรมป้องกัน

0% 0% 0% 0% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. รายงานการป่วยด้วยโรคบาดเจ็บจากความร้อนของศูนย์ปฏิบัติการป้องกันการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก 2. ติดตามประเมินผลตามห้วงการฝึกทหารใหม่ จ านวน 4 หน่วยฝึก (ผลัด 1 พ.ค.-ก.ค.,ผลัด 2 พ.ย.-ม.ค.)

Page 22: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 113 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ที่มีค่า HbA1Cอยู่ในเกณฑ์ปกติ (<7%) 3.ท่ีมา ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจค่า HbA1C

4.ผู้รับผิดชอบ ร.ท. หญิง กัญชลี พุกสุ่น 5.เบอร์โทรศัพท์ 055 – 428111 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมาก = คุณภาพยิ่งดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย HbA1C เป็นการตรวจหาค่าเฉลี่ยระดับน้ าตาลสะสมในเลือดในช่วง 2 -3 เดือนที่ผ่านมา ว่าสามารถควบคุมระดับน้ าตาลได้ดีหรือไม่ ในผู้ป่วยเบาหวาน หากพบว่าระดับ HbA1C มีค่า > 7 % หากผู้ป่วยเบาหวานสามารถคุมระดับน้ าตาลในเลือดได้ และ HbA1C มีค่า >7 % จะเกิดภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวได้

8.การติดตาม ราย 3 เดือน 9.สูตรค านวณ ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับ HbA1C<7%

ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1C ในรอบ 1 เดือน

10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยค านวณจากสูตร

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานตรวจโรค >50% >60% >70% >80% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

จากฐานข้อมูลในระบบ HOSxPและน ามาค านวณ

×100

Page 23: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 114 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ

(<140/90)mm.Hg 3.ท่ีมา 1. ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง

2. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ (<140/90)mm.Hg 4.ผู้รับผิดชอบ จ.ส.อ.หญิง กิติพร รอดเจริญศักดิ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมาก = คุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย โรคความดันโลหิตสูง – เป็นภาวะที่ความดันโลหิตขณะพัก วัดได้สูงตั้งแต่ 140/90 mm.Hgและหากผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ (<140/90)mm.Hgก็จะส่งผลกระทบต่ออวัยวะอ่ืนๆ เช่น สมองโรคหัวใจ ไตวาย และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีระดับความดันในเกณฑ์ปกติ <140/90

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมดใน 1 เดือน

10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ จากตัวเลขท่ีค านวนได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานตรวจโรค >50% >60% >65% >70% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีความดันโลหิต (<140/90)mm.Hg จากระบบ HOSxP

×100

Page 24: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 115 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราผู้ป่วยที่มีระดับ LDL<130mm/dl 3.ท่ีมา 1. ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรค ไขมันในเลือดสูง ผลการตรวจจากห้องปฎิบัติการ

4.ผู้รับผิดชอบ จ.ส.อ.หญิง กิติพร รอดเจริญศักดิ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมาก = คุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย LDL cholesterolคือระดับไขมันในเลือดชนิดไม่ดี (ไขมันเลว) มีความสัมพันธ์ที่ชัดเจนกับการเป็นโรคหัวใจ และหลอดเลือด LDL ท าหน้าที่เป็นตัวน า คอเลสเตอรอลทั้งหลายออกจากตับ และเข้าสู่กระแสเลือด และไขมันเหล่านี้จะน าไปสู่โรคหัวใจขาดเลือด อัมพฤกษ์ ความดันโลหิตสูง ไตวาย เป็นต้น

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ ผู้ป่วยที่มีค่า LDL <130

ผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจหา LDL ทั้งหมดใน 1 เดือน

10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ จากตัวเลขท่ีค านวณได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานตรวจโรค >50% >60% >70% >95% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

จากระบบ LA และHOSxP

×100

Page 25: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 201 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของบุคลากรได้รับการอบรมอย่างน้อย 10 ครั้ง/คน/ปี 3.ท่ีมา - กองบังคับการ รพ.

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.ส าราญ เป็งยะสา 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 103 6.หน่วยวัด ร้อยละการตีความ ค่ายิ่งมาก = มีคุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย อบรม หมายถึง กระบวนการที่จะท าให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจ ความช านาญ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นผลท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เข้ารับการอบรม

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรมครบ 10 ครั้ง×100

จ านวนบุคลากรทั้งหมดของ รพ.

10.เกณฑ์การให้คะแนน ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยสรุปตามสูตรการค านวณทุก 6 เดือน

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

กองบังคับการ

>60% >80% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. รายชื่อการลงทะเบียนของผู้เข้าอบรม 2. ฝ่ายบังคับการ รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก

Page 26: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 202 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 3.ท่ีมา - แบบสอบถามความพึงพอใจ

- การสังเกตจากการร่วมมือในการปฏิบัติงาน - สอบถามจากหัวหน้างาน

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง อังคณา ศรีนิลทิน หัวหน้างานส่งเสริมสุขภาพ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 126 6.หน่วยวัด

ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งสูงยิ่งดีมาก 7.นิยาม/ค าอธิบาย - ผู้รับการประเมินบุคลากร ของโรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก

- ผู้ประเมินบุคลากร คืองานส่งเสริมสุขภาพ - ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ คือความพอใจในงาน

8.การติดตาม ทุกเดือน และรายงานเป็นไตรมาส 9.สูตรค านวณ ระดับความพึงพอใจ ×100 = ร้อยละความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่

ผู้ตอบแบบสอบถาม 10.เกณฑ์การให้คะแนน - ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานส่งเสริมสุขภาพ

>80% - >80% - -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. เก็บข้อมูลทุก 6 เดือน 2. เก็บบุคลากรทุกคน 3. ประชาสัมพันธ์ก่อนเก็บ,ระยะเวลาการเก็บ 2 สัปดาห์

Page 27: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 203 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราการโยกย้ายลาออกของเจ้าหน้าที่ 3.ท่ีมา กองบังคับการ

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต. ส าราญ เป็งยะสา 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 103 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งน้อย = คุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย การโยกย้าย หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหน่วยที่ท างาน จากหน่วยเดิมไปยังหน่วยใหม่ การลาออก หมายถึง การที่องค์การสิ้นสุดการว่าจ้าง การออกจากงาน หมายถึง การลาออก การไล่ออก การให้ออก เนื่องจากขาดงานเกินที่ก าหนด

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนพนักงานโยกย้ายลาออกต่อเดือน ×100

จ านวนพนักงานทั้งหมดของเดือน

10.เกณฑ์การให้คะแนน ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยสรุปตามสูตรการค านวณทุก 6 เดือน

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

กองบังคับการ <5% <5%

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. จากใบขอแจ้งโยกย้ายและใบขอลาออก 2. ฝ่ายกองบังคับการ รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก

Page 28: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 204 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของเจ้าหน้าที่ ที่บรรจุใหม่ได้รับการปฐมนิเทศ 3.ท่ีมา กองบังคับการ

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต. ส าราญ เป็งยะสา 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 103 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งน้อย = คุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย การปฐมนิเทศ คือ การชี้แจงเบื้องต้นเพ่ือให้พนักงานใหม่ได้รู้เรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับหน่วยงาน การด าเนินงานท างาน และเพ่ือให้เกิดความพึงพอใจในหน้าที่งาน และด้านจิตใจให้เกิดความรัก ความผูกพันที่จะร่วมท างานภายใต้ความศรัทธาไว้วางใจในการท างานในองค์กร

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนบุคลากรที่ได้รับการปฐมนิเทศ ×100

จ านวนพนักงานทั้งหมดของ รพ. 10.เกณฑ์การให้คะแนน ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ โดยสรุปตามสูตรการค านวณ

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

กองบังคับการ 100% 100% 100% 100% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

Page 29: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 205 2.ชื่อตัวชี้วัด รอ้ยละของเจ้าหน้าที่ มีสมรรถนะหลักตามเกณฑ์ที่ก าหนด 3.ท่ีมา ศูนย์พัฒนาคุณภาพ

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง ดวงมณี มูลเกษ 5.เบอร์โทรศัพท์ 084-7034039 6.หน่วยวัด

ร้อยละการตีความ ค่ายิ่งสูงยิ่งมีประสิทธิภาพสูง 7.นิยาม/ค าอธิบาย - สอบวัด ระดับ ตาม core competency

- สอบวัด ระดับ ตาม functional competency สามารถน าผลการทดสอบสมรรถนะไปพัฒนาบุคคลให้มีประสิทธ์ภาพมากยิ่งข้ึน

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนเจ้าหน้าที่ที่มีสมรรถนะผ่านตามเกณฑ์ × 100

จ านวนเจ้าหน้าที่ทั้งหมด 10.เกณฑ์การให้คะแนน ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนก/งาน >80% >80%

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. แผนก/งาน สอบวัดระดับตาม core competency และ functional competency 2. ประมวลผลส่งศูนย์พัฒนาคุณภาพ

Page 30: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 206 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของเจ้าหน้าที่กลุ่มการพยาบาลมีสมรรถนะด้านวิชาชีพในเกณฑ์ที่ก าหนด 3.ท่ีมา แบบประเมินสมรรถนะบุคลากรทางการพยาบาลแต่ละระดับ

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ท.หญิง ยินดี พรไชยะสิทธิ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 147 6.หน่วยวัด ร้อยละ

7.นิยาม/ค าอธิบาย สมรรถนะหมายถึง คุณลักษณะทางพฤติกรรมที่ท าให้บุคลากรปฏิบัติงานได้ผล ซึ่งเป็นผลจากความรู้ทักษะความสามารถของบุคคล

ระดับของสมรรถนะได้จากการประเมินรายบุคคล

เกณฑ์สมรรถนะที่ก าหนด ≥80%

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน 9.สูตรค านวณ ตัวตั้ง : จ านวนบุคลากรทางการพยาบาลที่มีคะแนนประเมิน › 80%

ตัวหาร : จ านวนบุคลากรทางการพยาบาลทั้งหมด

10.เกณฑ์การให้คะแนน การให้คะแนน/ประเมินจากพฤติกรรม และผลการปฏิบัติงาน

แบ่งระดับคะแนน เป็น 5 ระดับ คือระดับ 1 –ระดับ 5 ระดับ 5 หมายถึง ดีมาก และระดับ 1 หมายถึง ควรปรับปรุง

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ 12 เดือน การถ่วงน้ าหนัก

หอผู้ป่วยใน,OPD,ER, ส่งเสริมฯ

≥85%

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

ประเมินสมรรถนะรายบุคคล โดยให้หัวหน้างานของบุคคลนั้นๆเป็นผู้ประเมิน โดยใช้แบบทดสอบ

น าคะแนนรวมที่ได้มาค านวณหาร้อยละเป็นรายบุคคล แล้วจึงน ามาค านวณหาร้อยละของปีที่ผ่านมา

ความถี่ปีละ 1 ครั้ง ช่วงเดือนธันวาคม

Page 31: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 207 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร 3.ท่ีมา - แบบสอบถาม

- ผลสัมฤทธิ์ของงานความร่วมมือ - การสังเกตพฤติกรรม

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง อังคณา ศรีนิลทิน หัวหน้างานส่งเสริมสุขภาพ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 126 6.หน่วยวัด ร้อยละ 5 Scale การตีความ ค่ายิ่งสูงยิ่งดีมาก

7.นิยาม/ค าอธิบาย - บุคลากรทุกงานของโรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก - ความหมายของความผูกพัน คือ การมีจิตส านึกท่ีดีต่อองค์กร

8.การติดตาม ทุก 3 เดือน 9.สูตรค านวณ ระดับความผูกพัน×100 = อัตราความผูกพันของบุคลากรระดบัความผูกพันของบุคลากร

จ านวนผู้ตอบแบบสอบถาม

10.เกณฑ์การให้คะแนน แบ่งเป็น 5 Scale 5 ดีมากท่ีสุด 4 ดี 3 ปานกลาง 2 พอใช้ 1 ปรับปรุง/น้อย ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ ค านวณตามสูตร

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานส่งเสริมสุขภาพ

>80% - >80% - >80%

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. เก็บข้อมูลทุก 6 เดือน 2. แจกแบบสอบถามให้เวลาประเมิน 2 สัปดาห์ 3. บุคลากรทุกคน

Page 32: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 208 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความสุขในชีวิตของบุคลากร 3.ท่ีมา - แบบสอบถาม

- การสังเกตจากหัวหน้างาน 4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง อังคณา ศรีนิลทิน 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 126 6.หน่วยวัด ร้อยละ 5 Scale การตีความ ค่ายิ่งสูงยิ่งดีมาก

7.นิยาม/ค าอธิบาย - บุคลากรโรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหักทุกคน - ความสุขในชีวิต ตามมาตรฐานองค์กรอนามัยโลก

8.การติดตาม ทุก 3 เดือน 9.สูตรค านวณ ระดับความสุขในชีวิต ×100 = อัตราความสุขในชีวิตของบุคลากร

จ านวนผู้ตอบแบบสอบถาม 10.เกณฑ์การให้คะแนน - เกณฑ์แบบเป็น 5 Scale

- ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานส่งเสริมสุขภาพ

>80% - >80% - -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. เก็บข้อมูลทุก 6 เดือน

Page 33: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 209 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราข้อร้องเรียนด้านจริยธรรมของบุคลากร 3.ท่ีมา แบบแสดงความคิดเห็นของผู้ป่วยที่มารับบริการ

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ท.หญิง ยินดี พรไชยะสิทธิ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 147 6.หน่วยวัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65

7.นิยาม/ค าอธิบาย ข้อร้องเรียน หมายถึง ค าร้องจากผู้มารับบริการ ซึ้งได้รับผลกระทบอันก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ใช้บริการ จริยธรรมทางการแพทย์ (Medical ethic) และปัญหาความขัดแย้งในแง่จริยะธรรม (Medical ethic) หลังจริยธรรมทางการแพทย์ ได้แก่ Autonomy การยอมรับในเจตจ านงอิสระ (Freedom of will) ว่ามนุษย์ (ท่ีมีสติสัมปชัญญะ) มีสิทธ์ในการก าหนดชีวิตตัวเอง จากเดิมที่แพทย์เป็นคนตัดสินใจเลือกตัวเลือกในการรักษาที่ดีที่สุดแทนผู้ป่วย (Paternalistic) มาเป็นการที่แพทย์ต้องให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยแล้วให้ผู้ป่วยตัดสินใจเอง (informed consent) แม้ว่าจะเป็นการปฎิเสธการรักษาหรือการแสดงเจตจ านงเกี่ยวกับการรักษาในวาระสุดท้ายของชีวิต(Living will) - Beneficence การกระท าเพ่ือส่งเสริมสุขภาวะ( well-being) ของผู้ป่วย - Non-maleficence (Do no harm) การกระท าอะไรแก่ผู้ป่วย ไม่ใช่ว่าดูแค่มีประโยชน์เท่านั้น ยังต้องพิจารณาว่าไม่ท าอันตรายแก่ผู้ป่วยด้วย หรืออย่างน้อยต้องให้ผู้ป่วยทราบถึงประโยชน์และโทษที่จะเกิดขึ้นจากการกระท าหนึ่งๆเสียก่อนที่จะท า (Double effect) - Justice การตัดสินใจในการกระจายทรัพยากรที่มีอย่างจ ากัดให้แก่ผู้ป่วยด้วยความยุติธรรม

8.การติดตาม ทุก 1 เดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนครั้งของข้อร้องเรียนของผู้ป่วยที่มารับบริการต่อบุคลากรทางการแพทย์ x 100

จ านวนครั้งของผู้ป่วยที่มารับบริการที่ รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก

Page 34: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

10.เกณฑ์การให้คะแนน

ระดับ 1 2 3 4 5 ร้อยละผลงาน 10 7.5 5 2.5 0

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน

<1% <1% <1% <1% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

บันทึกข้อร้องเรียนของผู้มารับบริการทั้งวาจาและลายลักษณ์อักษร วิธีจัดเก็บข้อมูล 1. มีตู้แสดงความคิดเห็นให้ผู้ป่วยสามารถเสนอแนะการให้บริการบุคลากรทางการแพทย์ ความถี่ เดือนละครั้ง

Page 35: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 301

2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความพร้อมของการปฏิบัติงานของชุดแพทย์เตรียมพร้อม

3.ท่ีมา ชุดเตรียมพร้อมประจ าเดือน

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง ดวงมณี มูลเกษ 5.เบอร์โทรศัพท์ 0847034039

6.หน่วยวัด อัตรา การตคีวาม ค่ายิ่งสูงยิ่งประสิทธิภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย ส ารวจความพร้อมของชุดแพทย์เตรียมพร้อมเมื่อมีการแจ้งภารกิจเร่งด่วนได้แก่ SRRT , สาธารณะภัย ภายใน 1 ชม. ที่สามารถออกปฏิบัติงานได้

8.การติดตาม ทุกเดือน 9.สูตรค านวณ

จ านวนครั้งที่พร้อมปฏิบัติงาน × 100 จ านวนครั้งที่ออกปฏิบัติงาน

10.เกณฑ์การให้คะแนน ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ ค านวณตามสตูร

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

ชุดเตรียมพร้อมประจ าเดือน

100% 100% 100% 100%

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. รายงานความไม่พร้อมออกปฏิบัติหน้าที่ของชุดแพทย์เตรียมพร้อมประจ าเดือน

Page 36: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 302 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของบุคลากรที่ผ่านการอบรม BLS,ACLS อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี 3.ท่ีมา ผลการผ่านการอบรม BLS ที่ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ (จากรายชื่อ) + ALS

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง รุ่งนภา ศรีวุฒิ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 109 , 088-2534145 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมาก = มีคุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย - จ านวนผู้เข้ารับการอบรม BLS และACLS ผ่านการอบรม ปีละ 1 ครั้ง ครบ 100% (ครบทุกคน)

8.การติดตาม ทุก 1 ปี 9.สูตรค านวณ อัตราบุคลากรผ่านการอบรม BLS+ALS = จ านวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรมBLS+ALS×100

จ านวนบุคลากรทั้งหมดของ รพ.

10.เกณฑ์การให้คะแนน ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ ค านวณตามสูตร

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก

50% 100%

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. จากรายชื่อผู้เข้ารับการอบรม BLS+ACLS 2. ฝ่ายวิชาการ รพ. ค่ายพิชัยดาบหัก

Page 37: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

รหัส 303 2.ชื่อตัวชี้วัด ผลการฝึกนักศึกษาของนายสิบเสนารักษ์ / พลเสนารักษ์ 3.ท่ีมา - มว.พล.สร. รับผิดชอบการฝึกนักศึกษา

- รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก ด าเนินการฝึกอบรม ตามค าสั่ง ทบ.(เฉพาะ)ท่ี1241/54 เรื่องการฝึกประจ าปี พ.ศ. 2554 ลง 30 ก.ย. 54

4.ผู้รับผิดชอบ ร.ต. สมคิด เชียงส่ง 5.เบอร์โทรศัพท์ 089-7072224, 093-5400373 6.หน่วยวัด

ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งสูงยิ่งมีประสิทธิภาพดี 7.นิยาม/ค าอธิบาย พลเสนารักษ์ หมายถึง พลทหารทีประจ าใน รพ.ค่าย และหน่วยรบ ที่ศึกษาวิชา

เสนารักษ์นายสิบเพ่ิมพูนศึกษา หมายถึง นายสิบพยาบาล ที่ประจ าหน่วยรบ เข้ามาฝึกฝนความรู้ ความช านาญ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน (ก.ค. – ก.ย. , ก.พ. – มี.ค.) 9.สูตรค านวณ (คะแนนสอบ ภาคปฏิบัติ+ทฤษฎี)×100

คะแนนรวม

10.เกณฑ์การให้คะแนน ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ ค านวณตามสูตร

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

มล.พล >80% >80%

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ผลการฝึกภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ของนายสิบเพ่ิมพูนทักษะ 2. ผลการศึกษาของนักเรียนพลเสนารักษ์ ทั้งภาคทฤษฏี และภาคปฏิบัติเป็นรายบุคคล 3. ช่วงเวลา ก.พ. – มี.ค. และ ก.ค.-ก.ย.

Page 38: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 401 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความพึงพอใจระบบ FAST TRACK ของทหารและครอบครัว 3.ท่ีมา แบบสอบถามความพึงพอใจในระบบ FAST TRACK ของทหารและครอบครัว

4.ผู้รับผิดชอบ จ.ส.อ.หญิง กิติพร รอดเจริญศักดิ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 111 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมาก = คุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย - ระบบ FAST TRACK คือกระบวนการเร่งรัด เร่งด่วน ซึ่งในระบบของโรงพยาบาลคือ กระบวนการที่รวดเร็ว โรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก มีระบบ FAST TRACK เพ่ืออ านวยความสะดวกให้กับกลุ่มผู้รับบริการที่เป็นทหาร และครอบครัวเป็นอันดับแรก - การวัดความพึงพอใจ – หมายถึง การวัดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการให้บริการ ก่อให้เกิดความชื่นชม ยอมรับ พอใจ และประทับใจ

8.การติดตาม รายไตรมาส 3 เดือน 9.สูตรค านวณ ผลรวมคะแนนที่ได้จากการตอบแบบสอบถามทั้งหมด x 100

ผลรวมคะแนนเต็มของแบบสอบถาม 10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณ จากผลการค านวณคะแนนแบบสอบถาม

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานส่งเสริม >80% >90% >90% >90% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. เก็บแบบสอบถามความพึงพอใจของทหาร และครอบครัวที่มารับบริการ

Page 39: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 402 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความครอบคลุมของประชากร ที่ได้รับการคัดกรอง ความเสี่ยงโรคกลุ่ม

Metabolic 3.ท่ีมา 1. ก าลังพลที่ได้รับการตรวจสุขภาพประจ าปี

2. กลุ่มแม่บ้านที่ได้รับการตรวจสุขภาพ 4.ผู้รับผิดชอบ จ.ส.อ.หญิง กิติพร รอดเจริญศักดิ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 111 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมาก = คุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย - ประชากรที่ได้รับการคัดกรองความเสี่ยง ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ของโรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก คือ ก าลังพลทหาร และครอบครัว Metabolic Syndromหรือโรคอ้วนลงพุง ส่งผลต่อสุขภาพคือ ก่อให้เกิดอาการดื้ออินสุลิน และเกิดโรคเบาหวานต่อมานอกจากนี้ยังเพ่ิมความเสี่ยง ต่อโรคหัวใจ และเส้นเลือดในสมองตีบอีกด้วย

8.การติดตาม รายปี 9.สูตรค านวณ ก าลังพล/แม่บ้านที่ได้รับการตรวจสุขภาพประจ าปี

ก าลังพล/แม่บ้านทั้งหมด

10.เกณฑ์การให้คะแนน การค านวณเป็นการให้คะแนนเชิงปริมาณ

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานตรวจโรคผู้ป่วยนอก

>65% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1.การเก็บยอกก าลังพลที่ได้รับการตรวจร่างกายประจ าปี ปีละ1 ครั้ง ข้อมูลจาก HOSxP และรายงานของงานเวชกรรมป้องกัน 2.ข้อมูลแม่บ้านก าลังพลจากงานส่งเสริมสุขภาพ Family folder และข้อมูลจาก HOSxP 3.ข้อมูลจากแหล่งอ่ืนๆ ได้แก่ การรายงานผลการตรวจสุขภาพของแม่บ้านหน่วยทหารที่ขอเข้ารับการตรวจสุขภาพ

×100

Page 40: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 403 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราความครอบคลุมของประชากร ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความ

ดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.ท่ีมา 1. โครงการให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ซึ้งรวมไปถึงการปรับพฤติกรรมการ

รับประทานอาหาร 4.ผู้รับผิดชอบ จ.ส.อ.หญิง กิติพร รอดเจริญศักดิ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 111 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมาก = คุณภาพดี 7.นิยาม/ค าอธิบาย - ความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน (Impaired fasting glucose) คือผู้ที่มีระดับ

น้ าตาลในเลือดขณะงดอาหาร = 100 – 125 mg/dl - ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันโลหิตสูง คือ ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิต SBP 130-139 และ/หรือ DBP 85-89 mm.Hg

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ ประชากรที่มีความเส่ียงเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่เข้าโครงการรับความรู้เรื่องการปรับพฤติกรรม

ประชากรที่มีความเส่ียงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงใน 1 เดือน

10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณจากการค านวณ 11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส

1 ไตรมาส

2 ไตรมาส

3 ไตรมาส

4 การถ่วง น้ าหนัก

งานตรวจโรคผู้ป่วยนอก

>50% >60% >70% >80% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. สถิติผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่เข้าโครงการ 2. ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง (Impaired fasting glucose)

×100

Page 41: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 404 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละความครอบคลุมการให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ตามฤดูกาลในกลุ่มเป้าหมาย

ต่อปี 3.ท่ีมา 1. กลุ่มโรค Asthma /COPD

2. กลุ่มโรคเบาหวาน 3. กลุ่มโรคหลอดเลือดสมอง

4.ผู้รับผิดชอบ จ.ส.อ.หญิง กิติพร รอดเจริญศักดิ์ 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 111 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งมาก = คุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย กลุ่มเป้าหมาย ที่ควรได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ คือ 1. ผู้ป่วยกลุ่ม 7 โรคเรื้อรัง Asthma/COPD , ESRD , STROKE , DM Heart diseaseมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบ าบัด 2. ผู้สูงอายุที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป

8.การติดตาม รายปี 9.สูตรค านวณ ผู้ป่วยกลุ่ม 7 โรคเรื้อรังที่ได้รับการฉีดวัคซีน

ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค

10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณจากการค านวณสูตร

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานตรวจโรคผู้ป่วยนอก

>100% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ข้อมูลการได้รับวัคซีนที่ต้องส่ง สปสช.

×100

Page 42: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 405 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อ รพ. 3.ท่ีมา - แบบสอบถามความพึงพอในชุมชน

- จ านวนผู้มารับบริการ

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง อังคณา ศรีนิลทิน 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428111 ต่อ 126 6.หน่วยวัด ร้อยละการตีความ ค่ายิ่งสูงยิ่งดีมาก

7.นิยาม/ค าอธิบาย - ความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับของชุมชน ค่ายพิชัยดาบหักผู้รับประเมิน คือผู้รับบริการที่ได้อาศัยในชุมชนค่ายพิชัยดาบหัก และได้มารับบริการ รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก - ผู้ประเมิน คือ อาสาสมัครหมู่บ้านค่ายพิชัยดาบหัก และเจ้าหน้าที่ รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก

8.การติดตาม ทุก 3 เดือน 9.สูตรค านวณ ระดับความพึงพอใจทุก 3 เดือน ×100 = ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อ

ร้อยละจ านวนแบบสอบถาม รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก 10.เกณฑ์การให้คะแนน - ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

งานส่งเสริมสุขภาพ

>80% >80% >80% >80% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. เก็บข้อมูลทุก 1 เดือน

Page 43: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 501 2.ชื่อตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยงานที่ผลการประเมิน 5 ส. ผ่านเกณฑ์ 3.ท่ีมา ทีม 5 ส. รพ.

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต.หญิง ดวงมณี มูลเกษ 5.เบอร์โทรศัพท์ 0847034039 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งสูงยิ่งมีประสิทธิภาพ

7.นิยาม/ค าอธิบาย - ผลการตรวจประเมิน 5 ส.ในหน่วยงาน รวมกับคะแนน Big Cleaning Day ผ่านตามเกณฑ์ที่ก าหนด > 95 % - แผนก / งานที่ท าการตรวจประเมิน 27 แผนก / งาน

8.การติดตาม ทุก 6 เดือน 9.สูตรค านวณ (คะแนนที่ได้จากการตรวจประเมิน + คะแนน Big Cleaning Day) × 100

คะแนนรวมทั้งหมด 10.เกณฑ์การให้คะแนน - ใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนก / งาน > 70 % >95 %

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. คณะกรรมการ 5 ส. ตรวจประเมินตามหน่วยงานตามวงรอบ 6 เดือน มิ.ย. และ พ.ย. ทุกปี 2.คณะกรรมการ 5 ส. ประเมินหน่วยงาน big cleaning day 3.รวบรวมคะแนน คิดเป็นร้อยละส่งศูนย์พัฒนาคุณภาพ

Page 44: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 502 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อม 3.ท่ีมา ทีมน าสิ่งแวดล้อม

4.ผู้รับผิดชอบ ร.ท. ปณสาร เปรมกมล 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428-111 ต่อ 144 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งน้อย = มีคุณภาพดี

7.นิยาม/ค าอธิบาย อัตราข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อม หมายถึง การส ารวจการร้องเรียน จากบุคคลภายใน และภายนอกองค์กร ที่ได้รับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม บุคคลภายใน หมายถึง เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก บุคคลภายนอก หมายถึงผู้ใช้บริการจากโรงพยาบาลประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณรอบๆโรงพยาบาล

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ จ านวนข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อม × 100

จ านวนข้อร้องเรียนทั้งหมด 10.เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนคิดเป็นเชิงปริมาณ ตามร้อยละที่ค านวณได้ในแต่ละเดือน

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนกการเงิน <1% <1% <1% <1% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1. ตู้รับข้อร้องเรียน 2. เวปไซต์โรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก

Page 45: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 601 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราส่วนทรัพย์สินสภาพคล่อง (Quick ratio) 3.ท่ีมา รายได้จากค่ารักษาพยาบาล

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต. ส าราญ เป็งยะสา 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428-111 ต่อ 108 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งสูง = มีประสิทธิภาพสูง

7.นิยาม/ค าอธิบาย คือ วัดความสามารถในการช าระหนี้ระยะสั้น ถ้าค่าที่ค านวณได้สูงเท่าใดแสดงว่าหน่วยงานมีสินทรัพย์หมุนเวียน ที่ประกอบด้วย เงินสด,ลูกหนี้,เงินฝากธนาคาร และเงินฝากคลัง มากกว่าหนี้ระยะสั้น ท าให้คล่องตัวในการช าระหนี้

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ สินทรัพย์หมุนเวียน - สินค้าคงคลัง

หนี้สินหมุนเวียน 10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณได้จากตัวเลขร้อยละท่ีหาได้

11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

การถ่วง น้ าหนัก

แผนกการเงิน >2.5 เท่า > 2.5เท่า > 2.5เท่า > 2.5เท่า -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1.รวบรวมข้อมูล จัดท าสมุดรับ - จ่าย ผ่านไปแยกประเภท 2.จัดท างบทดลอง ณ วันสิ้นเดือน 3.งบก าไรขาดทุน,งบดุล

Page 46: KPI Template - fpcdh-hospital.com

ปรับปรุง ม.ค.60

KPI Template

1.รหัส 602 2.ชื่อตัวชี้วัด อัตราค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานของโรงพยาบาล 3.ท่ีมา ค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาล

4.ผู้รับผิดชอบ พ.ต. ส าราญ เป็งยะสา 5.เบอร์โทรศัพท์ 055-428-111 ต่อ 108 6.หน่วยวัด ร้อยละ การตีความ ค่ายิ่งน้อย = มีประสิทธิภาพสูง 7.นิยาม/ค าอธิบาย ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน ประกอบด้วย

1. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน หมายถึง ค่าตอบแทน เช่นเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา เงินบ าเหน็จ โบนัส เงินเพ่ิมค่าครองชีพ ค่าสวัสดิการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่ และอุปกรณ์ เช่น ค่าเสื่อมราคา ค่าเช่า ค่าซ่อมบ ารุงรักษา ค่าน้ า ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ ค่าวัสดุของใช้ 2. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ หมายถึง ค่าใช้จ่ายอื่นท่ีนอกจากท่ีก าหนด เช่น ค่ารับรอง

8.การติดตาม รายเดือน 9.สูตรค านวณ ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานรวม/รายได้รวม 10.เกณฑ์การให้คะแนน ให้คะแนนเชิงปริมาณได้จากตัวเลขร้อยละท่ีหาได้ 11.ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ไตรมาส

1 ไตรมาส

2 ไตรมาส

3 ไตรมาส

4 การถ่วง น้ าหนัก

แผนกการเงิน <95% <95% <95% <95% -

12.แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล -ครอบคลุมแหล่ง/หน่วยผู้ป่วย -ความถี่/ช่วงเวลา

1.รวบรวมข้อมูล จัดท าสมุดรับ - จ่าย ผ่านไปแยกประเภท 2.จัดท างบทดลอง ณ วันสิ้นเดือน 3.งบก าไรขาดทุน,งบดุล