2
ศูนย์ PSU Airway Management Excellent Center (PAMEC) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประกอบด้วย ภาควิชาวิสัญญีวิทยา หน่วยฉุกเฉิน หน่วยหูคอจมูก หน่วยอุบัติเหตุ หน่วยวิกฤติ ภาควิชาอายุรศาสตร์ จัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) พัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยด้าน airway 2) เป็นศูนย์กลางการให้ ความรู้ด้าน airway และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับประเทศในกลุ ่มอาเซียน 3) พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ด้าน airway ให้ยอมรับสู่สากล ปัจจุบัน พบภาวะที่คาดว่าผู้ป่วยมีภาวะใส่ท่อช่วยหายใจยาก(probable difficult intubation) มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นทุกปี โดยเกิดทั้งแบบคาดการณ์ล่วง หน้าและแบบคาดไม่ถึง ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดตามมาจากภาวะใส่ท่อช่วย หายใจยากหรือใส่ท่อช่วยหายใจไม่ส�าเร็จได้แก่ ภาวะออกซิเจนในเลือดต�่า ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือขาดเลือด ภาวะสมองขาดออกซิเจน และ ภาวะหัวใจหยุดเต้นซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นน้อยแต่มีผลรุนแรง และอาจท�าให้ผู้ป่วยมีอันตรายถึงแก่ชีวิตบทบาทของพยาบาลในการ ดูแลผู้ป่วยที ่มีปัญหาทางเดินหายใจ เช่นหน่วยหูคอจมูก ดูแลผู้ป่วยทีมีปัญหาเสี่ยงกับการใส่ท่อหายใจยาก เช่น มีก้อนที่คอ หน่วยฉุกเฉิน หน่วยอุบัติเหตุ หน่วยวิกฤติ หน่วยอายุรกรรม ดูแลผู้ป่วยที่ประสบ อุบัติเหตุที่คาดการณ์ไม่ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบาดเจ็บบริเวณใบหน้า ภาควิชาวิสัญญีวิทยา ประสบปัญหาใส่ท่อช่วยหายใจยากก่อนการให้ ยาระงับความรู้สึก ดังนั้นในบทบาทพยาบาล ทุกหน่วยงานที่กล่าวมา ข้างต้น ควรมีความรู้ความสามารถ ในการประเมินและช่วยเหลือการ จัดการภาวะใส่ท่อช่วยหายใจยากเพื่อเพิ่มความปลอดภัยแก่ผู้ป่วย ทีมงานในนามของศูนย์ PSU Airway Management Excellent Center (PAMEC) เล็งเห็นถึงความส�าคัญขององค์ความรู ้ด้านวิชาการ และจากประสบการณ์จึงได้ร่วมมือกันจัดประชุมเรื่อง การพยาบาลเพื่อ การจัดการเรื่องการดูแลผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจและการช่วยเหลือ แพทย์ในการจัดการผู้ป่วยที่มีภาวะ Difficult Airway เพื่อเป็นการแลก เปลี่ยนและถ่ายทอดประสบการณ์ในการดูแลผู ้ป่วยอันจะส่งผลให้ผู ้ป่วย ได้รับการดูแลที่มีคุณภาพ 1. เพื่อเพิ่มความรู้และทักษะในการดูแลและการช่วยเหลือแพทย์ในการ จัดการผู้ป่วยที่มีปัญหา Airway 2. สามารถประเมินระบบทางเดินหายใจ ช่วยหายใจ และเตรียมอุปกรณ์ ในการใส่ท่อช่วยหายใจ/ช่วยหายใจได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เพอให้ผู้เข้าอบรม การชำาระค่าลงทะเบียน โอนเงินเข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชอบัญชี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (การประชุม) เลขที่บัญชี 565-2-64561-2 (กรุณาระบุ /สาขาธนาคารที่โอนเงิน/วันที่โอน/จ�านวนเงิน) ชื่อ/นาย/นาง/น.ส. .........................................................................................................................เลขที่สมาชิกสภาฯ.................................................................. โรงพยาบาล.........................................................................อำาเภอ..........................................จังหวัด.........................................รหัสไปรษณีย์............................... โทรศัพท์......................................................มือถือ*.................................................e-mail address : ........................................................................................... อาหาร ไทยพุทธ ไทยมุสลิม มังสวิรัติ ติดต่อ/ส่งใบสมัครและหลักฐานการชำาระเงิน มาที่: งานเวชนิทัศน์และการจัดประชุม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท์ : 074-451147โทรสาร : 074-451127 E-mail : [email protected] สำารองห้องพัก : โรงแรมลีการ์เด้นท์ พลาซ่า : ราคาห้องพัก เดี่ยว/คู่ 1,300 บาท (รวมอาหารเช้า) : ช�าระค่าห้องพักที่โรงแรมด้วยตัวเอง (สอบถามเส้นทาง 074-261111) ห้องเดี่ยว ห้องคูCheck in วันที.............................Check out วันที.............................พักคู่กับ..................................................................................................... ขอใช้บริการรถรับ-ส่งระหว่างการประชุม (เวลาการขึ้นรถจะส่ง SMS แจ้งให้ทราบก่อนวันประชุม) เอกสารที่ต้องนำามาในวันประชุม: หลักฐานการช�าระค่าลงทะเบียน (สลิปธนาคารตัวจริง / ส�าเนาที่ชัดเจนมาด้วย) (CNEU, อยู่ระหว่างด�าเนินการ) หมดเขตสมัคร วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562 ค่าลงทะเบียน • บุคลากรภายนอกคนละ 2,000 บาท • บุคลากรภายนอกที่ส่งผลงาน โปสเตอร์เข้าประกวดจ่ายค่าลงทะเบียน 1,000 บาท ใบสมัคร

Inde PSU Airway Management A4 01medinfo2.psu.ac.th/prupload/files/UPLOAD_20181106_091922_XAJU… · การดูแลผู้ป่วยเกี่ยวกับการจัดการ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Inde PSU Airway Management A4 01medinfo2.psu.ac.th/prupload/files/UPLOAD_20181106_091922_XAJU… · การดูแลผู้ป่วยเกี่ยวกับการจัดการ

ศนย PSUAirwayManagement ExcellentCenter (PAMEC)

คณะแพทยศาสตรมหาวทยาลยสงขลานครนทรประกอบดวย

ภาควชาวสญญวทยาหนวยฉกเฉนหนวยหคอจมกหนวยอบตเหต

หนวยวกฤตภาควชาอายรศาสตรจดตงขนเพอวตถประสงคดงน1)

พฒนาแนวทางการดแลผปวยดาน airway 2) เปนศนยกลางการให

ความรดาน airway และแลกเปลยนเรยนรกบประเทศในกลมอาเซยน

3)พฒนาองคความรใหมๆ ดาน airway ใหยอมรบสสากล ปจจบน

พบภาวะทคาดวาผปวยมภาวะใสทอชวยหายใจยาก(probabledifficult

intubation) มแนวโนมเพมสงขนทกป โดยเกดทงแบบคาดการณลวง

หนาและแบบคาดไมถงภาวะแทรกซอนทเกดตามมาจากภาวะใสทอชวย

หายใจยากหรอใสทอชวยหายใจไมส�าเรจไดแกภาวะออกซเจนในเลอดต�า

ภาวะกลามเนอหวใจตายหรอขาดเลอดภาวะสมองขาดออกซเจนและ

ภาวะหวใจหยดเตนซงเปนภาวะแทรกซอนทเกดขนนอยแตมผลรนแรง

และอาจท�าใหผปวยมอนตรายถงแกชวตบทบาทของพยาบาลในการ

ดแลผปวยทมปญหาทางเดนหายใจ เชนหนวยหคอจมก ดแลผปวยท

มปญหาเสยงกบการใสทอหายใจยาก เชน มกอนทคอ หนวยฉกเฉน

หนวยอบตเหต หนวยวกฤต หนวยอายรกรรม ดแลผปวยทประสบ

อบตเหตทคาดการณไมไดโดยเฉพาะอยางยงการบาดเจบบรเวณใบหนา

ภาควชาวสญญวทยา ประสบปญหาใสทอชวยหายใจยากกอนการให

ยาระงบความรสกดงนนในบทบาทพยาบาลทกหนวยงานทกลาวมา

ขางตน ควรมความรความสามารถ ในการประเมนและชวยเหลอการ

จดการภาวะใสทอชวยหายใจยากเพอเพมความปลอดภยแกผปวย

ทมงานในนามของศนย PSU Airway Management Excellent

Center(PAMEC)เลงเหนถงความส�าคญขององคความรดานวชาการ

และจากประสบการณจงไดรวมมอกนจดประชมเรองการพยาบาลเพอ

การจดการเรองการดแลผปวยท ใสทอชวยหายใจและการชวยเหลอ

แพทยในการจดการผปวยทมภาวะDifficultAirwayเพอเปนการแลก

เปลยนและถายทอดประสบการณในการดแลผปวยอนจะสงผลใหผปวย

ไดรบการดแลทมคณภาพ

1.เพอเพมความรและทกษะในการดแลและการชวยเหลอแพทยในการ

จดการผปวยทมปญหาAirway

2.สามารถประเมนระบบทางเดนหายใจชวยหายใจและเตรยมอปกรณ

ในการใสทอชวยหายใจ/ชวยหายใจไดอยางถกตองและครบถวน

หลกการและเหตผล

วตถประสงค เพอใหผเขาอบรม

การชำาระค

าลงทะเบ

ยน

โอนเงนเขาบญชธนาคารไทยพาณชยส

าขามหาวทยาลยสงขลานครนทร

ชอบญช

คณะแพทยศาสตรม

หาวทยาลยสงขลานครนทร(ก

ารประชม)

เลขทบญช

565-2

-64561-2

(กรณาระบ/ส

าขาธนาคารทโอนเงน/วนทโอน/จ�านวนเงน)

ชอ/นาย/นาง/น.ส. .........................................................................................................................เลขทสมาชกสภาฯ..................................................................โรงพยาบาล.........................................................................อำาเภอ..........................................จงหวด.........................................รหสไปรษณ

ย...............................โทรศพท......................................................มอถอ*.................................................e-mail address : ...........................................................................................อาหาร

ไทยพทธ

ไทยมสลม มงสวรต

ตดตอ/ส

งใบ

สมครและห

ลกฐานการชำาระเง

น มาท: งานเวชนทศนและการจดประชม

คณะแพทยศาสตรมหาวทยาลยสงขลานครนทรอ.หาดใหญจ.สงขลา90110

โทรศพท : 074-4

51147โท

รสาร : 074-4

51127 E-m

ail

: meetin

g@

medicin

e.p

su.a

c.th

สำารองหองพก : โร

งแรมลการเด

นท พลาซา :ราคาหองพกเด

ยว/ค

1,3

00 บาท(ร

วมอาหารเชา):ช

�าระคาหองพกทโรงแรมดวยตวเอง(ส

อบถามเส

นทาง 0

74-2

61111)

หองเดยว

หองคC

heckinว

นท.............................C

heckoutว

นท.............................พ

กคกบ.....................................................................................................

ขอใชบรการรถรบ-สงระหวางการประชม(เว

ลาการขนรถจะสงSMSแจงใหทราบกอนวนประชม)

เอกสารทตองนำามาใน

วนประช

ม: หลกฐานการช�าระคาลงทะเบยน(ส

ลปธนาคารตวจรง/ส

�าเนาทชดเจนมาดวย)

(CNEU,อยระหวางด�าเนนการ)

หมดเขตสมครวนท8กมภาพนธ2562

คาลงทะเบ

ยน

•บคลากรภายนอกคนละ

2,0

00 บาท

•บคลากรภายนอกทสงผลงาน

โปสเตอรเขาประกวดจายคาลงทะเบยน

1,0

00 บาท

ใบสมคร

Page 2: Inde PSU Airway Management A4 01medinfo2.psu.ac.th/prupload/files/UPLOAD_20181106_091922_XAJU… · การดูแลผู้ป่วยเกี่ยวกับการจัดการ

08.30-09.00น. ลงทะเบยน

09.00-10.30น.Airway management in traumatized

patients

ผศ.นพ.โกเมศวรทองขาว

พว.สหสบนอะหล

10.30-10.45น. พกรบประทานอาหารวางและเครองดม

10.45-12.15น. งานนวตกรรมทางการแพทย

กบการบรการผปวย

ผศ.พญ.นลนโกวทวนาวงษ

12.15-13.00น.พกรบประทานอาหารกลางวน

13.00-15.00น.แลกเปลยนเรยนรประสบการณ

การดแลผปวยเกยวกบการจดการ

ทางเดนหายใจ

โดยทมพยาบาลผมประสบการณ

(วสญญ,หคอจมก,อบตเหต,ฉกเฉน,

หนวยวกฤตและอายรกรรม)

15.00-15.15น. พกรบประทานอาหารวางและเครองดม

15.15-16.00น.ถาม-ตอบ โดยทม PAMEC

(มอบรางวลโปสเตอรและของรางวลตอบค�าถาม)

วนท 22 กมภาพนธ 2562

08.00-08.45น. ลงทะเบยน

08.45-09.00น.พธเปด

09.00-10.30น. Tips and Trick in Pre- operative

Airway assessment

อ.นพ.พรวชาชมาก

พว.วภารตนจฑาสนตกล

10.30-10.45น. พกรบประทานอาหารวางและเครองดม

10.45-12.15น. Pediatric airway emergency

อ.พญ.กนทราแซลม

พว.วราภรณกาวไธสง

12.15-13.00น. พกรบประทานอาหารกลางวน

13.00-14.30น.Tips and Trick in Pre-hospital and

Emergency Department Airway

Management

อ.นพ.ธรนยสกลชต

พว.สรพรด�านอย

14.30-14.45น. พกรบประทานอาหารวางและเครองดม

14.45-16.15น.Head and Neck related Upper Airway

Obstruction (Exclude Trauma)

อ.นพ.พศษฎลลาสวสดสข

พว.นารปานทอง

วนท 21 กมภาพนธ 2562

• CNEU อยระหวางด�าเนนการ

• URL ส�าหรบลงทะเบยน:https://goo.gl/u6586a

• QR CODEส�าหรบลงทะเบยน