4
Engineering KPS News ฉบับประจําเดือน มีนาคม - เมษายน 2553 วันสถาปนาคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ปที่ 7 ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม ไดรับมอบหมายจากสมาคมวิศวกรรม เกษตรแหงประเทศไทยใหทําหนาที่ดําเนินการจัดประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรม เกษตรแหงประเทศไทยครั้งที่ 11 ทางภาควิชาฯ รวมกับศูนยความเปนเลิศดาน เครื่องจักรกลการเกษตรและอาหาร จึงไดกําหนดการประชุมดังกลาวขึ้นในวันที่ 6-7 พฤษภาคม 2553 ณ อาคารศูนยมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต กําแพงแสน จ.นครปฐม เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคคือ เพื่อเปนเวทีนําเสนอผล งานความกาวหนาทางวิชาการของอาจารย นักวิจัยและนิสิตนักศึกษาทางดาน วิศวกรรมเกษตรและสาขาที่เกี่ยวของ อีกทั้งยังทําใหเกิดการพบปะแลกเปลี่ยนความ รูและประสบการณระหวางกัน และเปนโอกาสดีที่นักวิจัยที่มีประสบการณสูงจะได ถายทอดความรู ความเชี่ยวชาญสูนักวิจัยรุนใหมตอไป ซึ่งหวังวาการประชุมวิชาการ ครั้งนี้จะชวยใหเกิดการพัฒนางานวิจัยทางดานวิศวกรรมเกษตรและสาขาที่เกี่ยวของ ใหมีคุณภาพในระดับสากลขึ้นไป ภายใตหัวขอการประชุมเรื่อง “นวัตกรรมทาง วิศวกรรมเกษตรเพื่อเศรษฐกิจพอเพียงและชุมชนเขมแข็ง” โดยในการประชุมดังกลางไดรับเกียรติจาก ฯพณฯ อําพล เสนาณรงค องคมนตรี เปนประธานกลาวเปดงาน และมีการบรรยายทางวิชาการในหัวขอตางๆ เชน “Japanese Model of Precision Agriculture Undergoing” โดย Professor คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ไดจัดงานครบรอบวันสถาปนาคณะ วิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ปที่ 7 ขึ้น ณ อาคารการเรียนการสอน (อาคาร 9) เมื่อวันที22 เมษายน 2553 ที่ผานมา โดยในการนี้ รศ.วุฒิชัย กปลกาญจน อธิการบดีมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ไดใหเกียรติมาเปนประธาน พรอมทั้งกลาวปราศัยกับคณาจารยและ บุคลากรของคณะฯเพื่อเปนแนวคิดในการพัฒนาศักยภาพของคณะในอนาคต ทางคณะฯ ยังไดรับเกียรติจากผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัย คณบดีคณะวิชาตางๆ ทั้งจาก วิทยาเขตบางเขนและวิทยาเขตกําแพงแสน และผูแทนจากภาคเอกชนที่มารวมแสดง ความยินดีในงานนี้ดวย ในงานไดมีพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจําคณะและอุทิศสวนกุศลแกคณาจารย และบุคลากรผูลวงลับไปแลว การปราศัยของทานอธิการบดี ในเรื่องของการพัฒนาและ ยกระดับคุณภาพทางวิชาการและการศึกษาของคณะในระดับสากล และการมุ งเนนพัฒนา จุดแข็งของคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ใหมีโดดเดนมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังมี พิธีมอบรางวัลและเกียรติบัตรใหแกอาจารยผูมีผลงานโดดเดนที่สรางชื่อเสียงใหกับมหาวิทยาลัย รวมถึงบุคลากรผูมี ผลการปฏิบัติงานดีเดนในคณะ พิธีมอบทุนการศึกษาแกนิสิตของคณะฯ และการประกาศเกียรติคุณแกหนวยงาน ภาคเอกชนที่มีอุปการคุณตอคณะ ซึ่งในปนี้ไดแก บริษัทเสาทิพย จํากัด และ หจก. ศรีกําแพงแสนมอเตอร นอกจากนั้น ทางคณะฯยังไดถือโอกาสนี้จัดกิจกรรมรดนํ้าดําหัวคณาจารยอาวุโส ทั้งอาจารยที่ไดเกษียณอายุราชการและอาจารย ปจจุบัน เพื่อเปนการสืบสานประเพณีสงกรานตอันดีงามของไทยดวย ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน เปนเจาภาพ จัดการประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทยครั้งที่ 11 เรื่อง “นวัตกรรมทางวิศวกรรมเกษตรเพื่อเศรษฐกิจพอเพียงและชุมชนเขมแข็ง” ในวันที่ 6-7 พฤษภาคม 2553 านครบรอบ Dr. Sakae Shibusawa President of Japanese Society of Agricultural Machinery (JSAM) , “สถานภาพอุตสาหกรรมเครื่อง จักรกลเกษตรของประเทศไทย” โดย คุณดาเรศร กิตติโยภาส นายก สมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทย, “ชุดโครงการเครื่องจักรกล เกษตร สกว.” โดย รศ.ดร.วินิต ชินสุวรรณ ผู อํานวยการศูนยวิจัยเครื่อง จักรกลเกษตรและวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน นอกจากนั้นยังมีการนําเสนองานวิจัยและโครงการตางๆ ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีวิศวกรรมการเกษตรโดยอาจารยและผูเชี่ยวชาญ และนักศึกษาและทางสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทยไดถือ โอกาสนี้จัดประชุมใหญสามัญประจําปสมาคม วิศวกรรมเกษตรแหง ประเทศไทย (Annual meeting of Thai Society of Agricultural Engineering) ไปพรอมกันในการประชุมครั้งนี้ดวย

EngKPS News V.2-2553

  • Upload
    engkps

  • View
    227

  • Download
    4

Embed Size (px)

DESCRIPTION

จดหมายช่าว คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปีที่ 3 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมีนาคม - เมษายน 2553

Citation preview

Page 1: EngKPS News V.2-2553

Engineering KPS News

Engineering ngineering KPS News

ฉบับประจําเดือน มีนาคม - เมษายน 2553

วันสถาปนาคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ปที่ 7

ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม ไดรับมอบหมายจากสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทยใหทําหนาที่ดําเนินการจัดประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทยครั้งที่ 11 ทางภาควิชาฯ รวมกับศูนยความเปนเลิศดานเครื่องจักรกลการเกษตรและอาหาร จึงไดกําหนดการประชุมดังกลาวขึ้นในวันที่ 6-7 พฤษภาคม 2553 ณ อาคารศูนยมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน จ.นครปฐม เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคคือ เพื่อเปนเวทีนําเสนอผลงานความกาวหนาทางวิชาการของอาจารย นักวิจัยและนิสิตนักศึกษาทางดานวิศวกรรมเกษตรและสาขาที่เกี่ยวของ อีกทั้งยังทําใหเกิดการพบปะแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางกัน และเปนโอกาสดีที่นักวิจัยที่มีประสบการณสูงจะไดถายทอดความรู ความเชี่ยวชาญสูนักวิจัยรุนใหมตอไป ซึ่งหวังวาการประชุมวิชาการครั้งนี้จะชวยใหเกิดการพัฒนางานวิจัยทางดานวิศวกรรมเกษตรและสาขาที่เกี่ยวของใหมีคุณภาพในระดับสากลขึ้นไป ภายใตหัวขอการประชุมเรื่อง “นวัตกรรมทางวิศวกรรมเกษตรเพื่อเศรษฐกิจพอเพียงและชุมชนเขมแข็ง” โดยในการประชุมดังกลางไดรับเกียรติจาก ฯพณฯ อําพล เสนาณรงค องคมนตรี เปนประธานกลาวเปดงาน และมีการบรรยายทางวิชาการในหัวขอตางๆ เชน “Japanese Model of Precision Agriculture Undergoing” โดย Professor

คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ไดจัดงานครบรอบวันสถาปนาคณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน ปที ่7 ขึน้ ณ อาคารการเรยีนการสอน (อาคาร 9) เมือ่วนัที่ 22 เมษายน 2553 ทีผ่านมา โดยในการนี ้รศ.วฒุชิยั กปลกาญจน อธกิารบดมีหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร ไดใหเกียรติมาเปนประธาน พรอมทั้งกลาวปราศัยกับคณาจารยและบคุลากรของคณะฯเพือ่เปนแนวคดิในการพฒันาศกัยภาพของคณะในอนาคต ทางคณะฯยังไดรับเกียรติจากผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัย คณบดีคณะวิชาตางๆ ทั้งจากวิทยาเขตบางเขนและวิทยาเขตกําแพงแสน และผูแทนจากภาคเอกชนที่มารวมแสดงความยินดีในงานนี้ดวย ในงานไดมพีธิบีวงสรวงสิง่ศกัดิส์ทิธิป์ระจาํคณะและอทุศิสวนกศุลแกคณาจารยและบุคลากรผูลวงลับไปแลว การปราศัยของทานอธิการบดี ในเรื่องของการพัฒนาและยกระดบัคณุภาพทางวชิาการและการศกึษาของคณะในระดบัสากล และการมุงเนนพฒันาจุดแข็งของคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ใหมีโดดเดนมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังมีพิธีมอบรางวัลและเกียรติบัตรใหแกอาจารยผูมีผลงานโดดเดนที่สรางชื่อเสียงใหกับมหาวิทยาลัย รวมถึงบุคลากรผูมีผลการปฏิบัติงานดีเดนในคณะ พิธีมอบทุนการศึกษาแกนิสิตของคณะฯ และการประกาศเกียรติคุณแกหนวยงานภาคเอกชนที่มีอุปการคุณตอคณะ ซึ่งในปนี้ไดแก บริษัทเสาทิพย จํากัด และ หจก. ศรีกําแพงแสนมอเตอร นอกจากนั้นทางคณะฯยังไดถือโอกาสนี้จัดกิจกรรมรดนํ้าดําหัวคณาจารยอาวุโส ทั้งอาจารยที่ไดเกษียณอายุราชการและอาจารยปจจุบัน เพื่อเปนการสืบสานประเพณีสงกรานตอันดีงามของไทยดวย

ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน เปนเจาภาพจดัการประชมุวชิาการสมาคมวศิวกรรมเกษตรแหงประเทศไทยครัง้ที ่11 เรือ่ง “นวัตกรรมทางวิศวกรรมเกษตรเพื่อเศรษฐกิจพอเพียงและชุมชนเขมแข็ง” ในวันที่ 6-7 พฤษภาคม 2553

งานครบรอบ

Dr. Sakae Shibusawa President of Japanese Society ofAgricultural Machinery (JSAM) , “สถานภาพอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลเกษตรของประเทศไทย” โดย คุณดาเรศร กิตติโยภาส นายกสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทย, “ชุดโครงการเครื่องจักรกลเกษตร สกว.” โดย รศ.ดร.วนิติ ชนิสวุรรณ ผูอาํนวยการศนูยวจิยัเครือ่งจักรกลเกษตรและวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน นอกจากนั้นยังมีการนําเสนองานวิจัยและโครงการตางๆที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีวิศวกรรมการเกษตรโดยอาจารยและผูเชี่ยวชาญ และนักศึกษาและทางสมาคมวิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทยไดถือโอกาสนี้จัดประชุมใหญสามัญประจําปสมาคม วิศวกรรมเกษตรแหงประเทศไทย (Annual meeting of Thai Society of Agricultural Engineering) ไปพรอมกันในการประชุมครั้งนี้ดวย

Page 2: EngKPS News V.2-2553

Engineering KPS News

นิสิตทีม CE-KPS Team จากภาควิชาวิศวกรรมโยธา สามารถควา 3 รางวัล จากการแขงขันสะพานเหล็กแหงเอเชีย (The Asian Bridge Competition BRICOM ASIA 2010) ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 18–20 มีนาคม 2553 ณ คณะวิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติสกลนคร โดยมทีมีเขารวมการแขงขนั 10 ทมีจากมหาวทิยาลยัตางๆ ทัว่ทัง้เอเชยี อาท ิTokyo Institute of Technology, Yokohama National University, Taiwan National Central University, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เปนตน โดยนิสิตระดับปริญญาตรีจากภาควิชาวิศวกรรมโยธาทั้ง 5 คน ที่รวมสรางชื่อเสียงในครั้งนี้ ประกอบดวย นายรณยศ จูงอานุภาพ นายชานนท มากยอด นายวัชรพล ทับสุข นายสิทธิเนตร พูกัน และนายอานนท ออนฤทธิ์ ภายใตการควบคุมทีมของ อ. กมล อมรฟา อ. ดร. นันทวัฒน ขมหวาน และนายเอกชัย วิภากูล โดยรางวัลทั้ง 3 ที่ไดรับจากการแขงขันครั้งนี้ ไดแก รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 รางวัลชมเชยอันดับ 1 ประเภท การนําเสนอ และรางวัลชมเชย อันดับ 2 ประเภท สมรรถนะของสะพาน

นิสิตวิศวฯโยธา ควา 3 รางวัลจากการแขงขนัสะพานเหลก็ระดบันานาชาต ิBRICOM ASIA 2010

ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ

หัวหนาหองปฏิบัติการ Near Infrared

(NIR) Technology ภาควชิาวศิวกรรม

การอาหาร เปนที่ปรึกษาคณะทํางานดาน

ปฏิบัติการ โครงการศึกษานํารองการใช

เทคโนโลยี NIR (Near Infrared)

คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุขไดเรียนเชิญ ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ หัวหนาหองปฏิบัติการ Near Infrared (NIR) Technology ภาควิชาวศิวกรรมการอาหาร เปนทีป่รกึษาคณะทาํงานดานปฏบิตักิาร โครงการศึกษานํารองการใชเทคโนโลยี NIR (Near Infrared) ตรวจสอบยาและผลิตภัณฑสุขภาพเบื้องตน ไดมีการประชุมสรุปโครงการ และใหขอคิดเห็นผลการศึกษาดังกลาว เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2552 โดยที่ปรึกษาคณะทํางานไดจัดทําแบบจําลองสําหรับวิเคราะหเชิงคุณภาพในการตรวจสอบแหลงวตัถดุบิในการผลติยา Rifampicin และ Pyrazinamide แบบจําลองการตรวจสอบการปลอมปนของ Diethylene glycol (DEG) ใน Propylene glycol (PEG) และ Glycerine นอกจากนั้นยังจัดทําแบบจําลองตรวจสอบอัตลักษณยาOseltamivir โดยมีนักวิชาการ เภสัชกรจากหลายหนวยงาน และผูทรงคณุวฒุจิาก คณะเภสชัศาสตร มหาวทิยาลยัศลิปากรเขารวมฟงผลสรุปโครงการนี้

มาตรฐาน ISO: Application of Near Infrared Spectroscopy

คณบดีวิศวฯ กพส.รวมจัดการสัมมนาการบริหารจัดการนํ้าและความเสี่ยง

มาตรฐาน ISO:มาตรฐาน ISO:

รศ.ดร.บญัชา ขวญัยนื คณบดคีณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน ซึง่ดาํรงตาํแหนงประธานคณะอนกุรรมการสาขาวศิวกรรมแหลงนํา้ของวศิวกรรมสถานแหงประเทศไทยฯ ไดรวมจัดและทําหนาที่ดําเนินรายการในการสัมมนาวิชาการการบริหารจัดการนํ้าและความเสี่ยง เรื่องนโยบายรัฐกับการบริหารแหลงนํ้าและความเสี่ยงของการเกดิอทุกภยัในเขตกรงุเทพมหานคร เมือ่วนัที ่31 มีนาคม 2553 ณ หองสุธรรม อารีกุล อาคาร 50 ป มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน ในการนี้ รศ.วุฒชิัย

กปลกาญจน อธกิารบดมีหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร ไดกลาวใหการตอนรบั และนายประสงค ธาราไชย นายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยเปนประธานกลาวเปดงาน โดยมีวิทยากรผูทรงคุณวุฒิประกอบดวย นายปราโมทย ไมกลัด อดีตสมาชิกวุฒิสภาและและอดีตอธิบดีกรมชลประทาน ดร.ศิริพงศ หังสพฤกษ รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอม และ รศ.ชเูกยีรต ิทรพัยไพศาล อาจารยมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร การสมัมนาครั้งนี้ไดเนนหนักทางดานความเสี่ยงในการบริหารจัดการนํ้า แบงออกเปนความเสี่ยงดานนโยบาย และความเสี่ยงจากความไมแนนอนของธรรมชาติ ซึ่งครอบคลุมประเด็นยอย2 เรื่องคือ การวิเคราะหความชัดเจนของนโยบายรัฐ สถานภาพปจจุบัน ตลอดจนทิศทางที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการนํ้าของประเทศ และการประเมินความเสี่ยงของการเกิดอทุกภยัสาํหรบักรงุเทพมหานคร จากปจจยัดานการเปลีย่นแปลงภมูอิากาศ การใชนํา้ใตดนิ การใชที่ดิน ตลอดจนการบริหารจัดการนํ้า

สาํหรบัมาตรฐาน ISO/FDIS 12009 นี้กําหนดใหเทคนิค NIR ซึ่งเปนวิธีวิเคราะหอย างไม ทําลาย เป นวิธีวิ เคราะหคุณภาพมาตรฐานสําหรับผลิตภัณฑอาหารสัตว และผลิตภัณฑธัญพืช จึงมีผลประโยชนอยางสูงตอผูประกอบการในภาคอุตสาหกรรมอาหารสัตวในประเทศไทย เนื่องจากหากใชเทคนิค NIR จะมีความสะดวก สามารถตรวจวิเคราะหไดอยางรวดเร็ว ลดคาใชจายสําหรับสารเคมีที่ใช อีกทั้งประหยัดเวลา ทําใหเพิ่มโอกาสในการแขงขันในตลาดโลก

ตามที่สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอตุสาหกรรม ไดแตงตัง้ให ผศ.ดร.รณฤทธิ ์ฤทธริณ หวัหนาหองปฏบิตักิาร Near Infrared (NIR) Technology ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร เปนผูแทนประเทศไทยในฐานะผูเชี่ยวชาญดาน NIR เขารวมจัดทํามาตรฐานระหวางประเทศ ISO และไดเริ่มจัดทํามาตรฐานของ ISO สําหรับผลิตภัณฑอาหารสัตว และผลิตภัณฑธัญพืช ตั้งแตป 2550 จนเสร็จสิ้นเปน Final Draft มาตรฐาน ISO/FDIS 12009 Animal Feeding Stuff, Cereals and Milled Cereal Products-Guidance for theApplication of Near Infrared Spectroscopy ซึ่งจะนําเขาที่ประชุมรอบสุดทายในเดือนมิถุนายนนี้ที่ ประเทศเยอรมันนี คาดวาจะประกาศใชเปนทางการประมาณปลายป 2553 นี้

Page 3: EngKPS News V.2-2553

Engineering KPS News

ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน ไดจัดโครงการฝกอบรมการประยุกตใชแบบจําลองคณิตศาสตรสําหรับงานดานวิศวกรรมแหลงนํ้า RR/HD/GIS ระหวางวันที่ 26–30 เมษายน 2553 ที่ผานมา เพื่อเปนการบริการเพิ่มพูนความรูและทักษะดานวิชาชีพแกศิษยเกาทั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน วิทยาลัยการชลประทานซึ่งเปนสถาบันสมทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รวมทั้งบุคคลทั่วไป โดยเนื้อหาของการฝกอบรมจะครอบคลุมหลักการทางดานอทุกวทิยา ดานชลศาสตร และระบบสารสนเทศภมูศิาสตร พรอมทัง้การฝกปฏบิตักิาร (On-the-Job Training) ทีเ่นนใหผูเขาอบรมไดฝกทดลองใชงานแบบจําลองคณิตศาสตรกับปญหาจริงที่พบในการทํางานของผูเขาอบรมเอง

อ. วิษุวัฒก แตสมบัติ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน ซึ่งเปนวิทยากรในการอบรมครั้งนี้อธิบายวา แบบจําลองนํ้าฝน-นํ้าทา (RR) เปนแบบจําลองที่ใชคํานวณปริมาณนํ้าทาจากปริมาณนํ้าฝนในรูปความสัมพันธของ Rainfall-Runoff Relationship โดยจําลองพฤติกรรมทางกายภาพของลุมนํ้า เพื่อคํานวณหาปริมาณนํ้าทาจากขอมูลปริมาณนํ้าฝนที่ตกในบริเวณพื้นที่ลุมนํ้า ซึ่งตองมีการปรับเทียบหาคาพารามิเตอรตางๆ ในแบบจําลองใหเหมาะสมกบัภาพทางกายภาพของลุมนํา้กบัขอมลูทีไ่ดจากการตรวจวดั สวน แบบจาํลองชลศาสตร (HD) เปนแบบจาํลองทีใ่ชในการวเิคราะหพฤตกิรรมการไหลของนํ้าแบบหนึ่งมิติในลํานํ้า (Channel) และพื้นที่ราบทุงนํ้าทวมริมฝงแมนํ้า (Floodplain) โดยสามารถวิเคราะหระดับนํ้าและปริมาณนํ้าที่ตําแหนงตางๆ ของแมนํ้าที่ตองการพิจารณา นอกจากนี้ยังสามารถรับขอมูลปริมาณนํ้าทาที่วิเคราะหจากปริมาณนํ้าฝนโดยตรง ซึ่งจะตองใชขอมูลรูปตัดขวางลํานํ้าในการศึกษา และมีการปรับเทียบหาคาพารามิเตอรตางๆ ในแบบจําลองใหเหมาะสมกับสภาพลํานํ้าจริงโดยใชขอมูลที่ไดจากการตรวจวัด สําหรับ แบบจําลองระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) เปนเครื่องมือขั้นสูงสําหรับการนําเสนอสภาพนํ้าทวมเชิงพื้นที่ จากการวิเคราะหผลการจําลองนํ้าทวม 1 มิติ เพื่อใชสําหรับการวางแผนการจัดการนํ้าทวม (Flood Management Planning Process) และแสดงผลการจําลองสถานการณนํ้าทวมดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System หรือ GIS) มีความชัดเจนและเขาใจงาย แบบจําลองนี้เปนการผสมผสานผลของการจําลองการไหลแบบ 1 มิติ (HD) และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) เพื่อวิเคราะหและแปรผลการจําลองสภาพการไหลใหเปนแผนทีน่ํา้ทวมที่สามารถเขาใจไดงาย แสดงใหเห็นถึงสภาพความเสี่ยงภัยนํ้าทวมในแตละพืน้ทีไ่ดอยางชดัเจน และนาํไปใชเปนข อมูลประกอบที่ สํ าคัญต อการวางแผนการจัดการนํ้าทวมไดอยางมีประสิทธิภาพ

ภาควิชา วศ. ชลประทาน จัดอบรมการประยุกตใชแบบจําลองคณิตศาสตร

สําหรับงานดานวิศวกรรมแหลงนํ้า

สํานักสงเสริมและฝกอบรม กําแพงแสน รวมกับสํานักงานความรวมมือเพื่อการพัฒนาระหวางประเทศ (TICA) ไดลงนามความรวมมือกับองคกรความรมมือระหวางประเทศญี่ปุน (JICA) และกรมสงเสริมการเกษตร จัดฝกอบรมนานาชาติ หลักสูตร “Post-harvest Technology of Perishable Crops” ไดเรียนเชิญ ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ หัวหนาหองปฏิบัติการ Near Infrared (NIR) Technology ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร เปนวิทยากรบรรยาย และฝกอบรมภาคปฏิบัติ เรื่อง “NIR Non-destructive technique to determine horticultural quality” ใหกับเจาหนาที่ปฏิบัติงานดานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จํานวน 20 คน เพื่อใหมีความรู และประสบการณในการสรางระบบ NIR ในการตรวจสอบคุณภาพผลไมเชิงปริมาณ และการประยุกตใชเทคนิค NIR ในการตรวจสอบเชิงคุณภาพเบื้องตน

ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ เปนวิทยากรบรรยาย และฝกอบรมภาคปฏิบัติ เรื่อง “NIR Non-destructive technique to determine horticultural quality” ใหกับเจาหนาที่ปฏิบัติงานดานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

Page 4: EngKPS News V.2-2553

Engineering KPS News

งานวิเทศสัมพันธและประชาสัมพันธ คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสนโทร.034-351897, 034-281074-5 ตอ 227 (ภายใน 3500 ตอ 116) โทรสาร.034-351404 http://www.eng.kps.ku.ac.th

คณะวิศวฯ กพส. รวมงานเปดตัวนวัตกรรมเครื่องปรับสภาพนํ้าเสียเทคโนโลยีระดับอะตอม

เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2553 ผศ.บุญมา ปานประดิษฐ หัวหนาศูนยปฏิบัติการวศิวกรรมพลงังานและสิง่แวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน ไดใหการตอนรับและเปนวิทยากรบรรยายแกคณะผูเยี่ยมชมจากศูนยอนามัยที่ 1 กรมอนามัย กรุงเทพมหานคร ซึ่งไดนําเจาหนาที่จากสํ านักงานสาธารณสุขจั งหวัด สํ านักสาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาล สถานีอนามัย เทศบาล จาก 4 จังหวัด ในเขต 1 และเจาหนาที่ศูนยอนามัยที่ 1 รวม 120 คน เดินทางมาศึกษาดูงานโครงการผลิตกระแสไฟฟาจากขยะตามแนวพระราชดําริ ตามโครงการอบรมการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ลดโลกรอน

รศ.ดร.บัญชา ขวัญยืน คณบดี พรอมดวย ผศ.บุญมา ปานประดิษฐ หัวหนาศูนยปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร กาํแพงแสน ไดรวมกจิกรรมในงานเปดตวันวตักรรมเครือ่งปรบัสภาพนํา้เสยีเทคโนโลยรีะดบัอะตอม เมือ่วนัที ่8 มนีาคม 2553 ณ ศนูยการคาเซน็ทรลัแจงวฒันะ งานดังกลาวจัดขึ้นโดยเทศบาลนครปากเกร็ด รวมกับคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน และศูนยการคาเซ็นทรัล เพื่อเปนการแนะนํานวัตกรรมเครื่องปรับสภาพนํ้าเสียเทคโนโลยีระดับอะตอม ซึ่งเปนผลงานที่ศูนยปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดลอมไดรวมกับภาคเอกชนในการคนควาพัฒนาขึ้น ผศ.บุญมา ปานประดิษฐ ไดอธิบายถึงหลักการทํางานของเครื่องวา ในการปรับสภาพนํ้าเสียนี้จะอาศัยหลักการการควบคุมเหนี่ยวนําใหตะกอนสารแขวนลอยหรือสารปนเปอนแยกออกจากนั้นเสียโดยใชสนามแมเหล็ก จากนั้น นํ้าที่ผานการเรงตะกอนสารแขวนลอยแลวจะถูกนํามาแยกโมเลกุลของนํ้าซึ่งจะทําใหไดกาซออกซิเจน เทากับเปนการเติมกาซออกซิเจนในนํ้าจากภายใน เพื่อวัตถุประสงคในการกําจัดกลิ่นของนํ้าเสีย และอาศัยการจํากัดยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา แบคทีเรีย และออกซิไดซ ดวยกาซโอโซน ซึ่งมีประสิทธิภาพการบําบัดมากกวาการใชคลอรีนถึง 3000 เทา

ภาควิชา วศ. เครื่องกล รวมกับบริษัท ไทย-ออสท อะลูมิเนียม จํากัดสรางหองปฏิบัติการทดสอบโครงกระจกอะลูมิเนียมในอาคาร

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน นําโดย ผศ.ดร.สุวรรณ หอมหวล หวัหนาภาควชิา ไดรวมกบับรษิทัไทย-ออสท อะลมูเินยีม จาํกดั ดาํเนนิโครงการวจิยัและพฒันาหองปฏบิตักิารทดสอบโครงกระจกอะลมูเินยีมในอาคาร ทีม่ปีระสทิธภิาพสงูในการทดสอบความแข็งแรงของโครงกระจกอะลูมิเนียมในการตานทานแรงลม การตานทานการซึมผานของอากาศและนํ้าฝน โดยมีการดําเนินการทดสอบในหัวขอตางๆตามมาตรฐานสากล ไดแก ISO, ASTM Standard, European Standard, Australian Standard และอื่นๆ ซึ่งหองทดสอบที่จัดทําขึ้นสามารถรองรับวิธีการดําเนินการตามมาตรฐานสากลไดทุกมาตรฐาน หองทดสอบโครงกระจกอะลมูเินยีมในอาคารดงักลาวมขีนาดกวาง 1132 มม. ยาว 4000 มม. และสูง 3000 มม. สามารถทดสอบชิ้นงานที่มีขนาดสูงสุดกวาง 4000 มม. และสูง 2500 มม. โดยตดิตัง้อยูทีภ่าควชิาวศิวกรรมเครือ่งกล คณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน

ศูนยอนามัยที่ 1 กรมอนามัยเยี่ยมชมศูนยพลังงานฯ

คณะกรรมการวางแผนพลังงานชุมชน จ.อางทองเยี่ยมชมศูนยพลังงานฯ

เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2553 สํานักงานพลังงานจังหวัดอางทอง ไดนําคณะกรรมการวางแผนพลังงานชุมชน จํานวน 74 ทาน เขาศึกษาและดูงานดานเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน เทคโนโลยีพลังงานทดแทน และเทคโนโลยีอื่นๆที่เกี่ยวของ ณ ศูนยปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดลอม คณะวศิวกรรมศาสตร กาํแพงแสน โดยม ีผศ.บญุมา ปานประดษิฐ หวัหนาศนูยปฏบิตัิการวศิวกรรมพลงังานและสิง่แวดลอมเปนผูใหการตอนรบั พรอมทัง้เปนวทิยากรบรรยาย ทางคณะไดเขาเยี่ยมชมเทคโนโลยีและนวัตกรรมตางๆที่เปนผลงานอันโดดเดนของศูนยฯ เชน เตาเผาถานประสิทธิภาพสูง เทคโนโลยีการแปรรูปขยะเปนพลังงาน (waste to energy) และการผลิตไบโอดีเซลจากนํ้ามันพืชใชแลว เปนตน ทั้งนี้เพื่อเปนการศึกษาเพิ่มพูนความรูและเปนแนวทางในการพัฒนาดานพลังงานในชุมชนของจังหวัดตอไป