12
1 ชื่อเรื่อง แนวทางและกลยุทธ์การขับเคลื่อนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกของ ประเทศไทย: บทเรียนจากหน่วยปฏิบัติระดับเขตพื ้นที่การศึกษา Ways and Strategies of Driving Educational Reform Policy in the First Decade of Thailand: Lessons from Operation Unit at Educational Service Area Level ผู ้วิจัย ดร.วิษณุ ทรัพย์สมบัติ (Dr.Wisanu Sapsombat) ผู ้วิจัยร่วม ศ.ดร.สุวิมล ว่องวาณิช (Prof.Dr.Suwimon Wongvanich) ศาสตราจารย์ประจาภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ที่ทำวิจัยเสร็จ พ.ศ.2554 ประเด็นกำรวิจัย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ประเด็นการประกันคุณภาพการศึกษา ลักษณะงำนวิจัย งานวิจัยคณะบุคคล (คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ศ.ดร.สุวิมล ว่องวาณิช รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย) ประเภทกำรวิจัย การวิจัยพื ้นฐาน กำรนำเสนอเวทีวิชำกำรอื่น - แหล่งทุน สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

Dr Wisanu Sapsombat Prof Dr Suwimon Wongvanichbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/0576a48f957f... · 2019. 10. 28. · (2553) และผลการประเมินของนักเรียนช้ัน

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • 1

    ช่ือเร่ือง แนวทางและกลยทุธ์การขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกของประเทศไทย: บทเรียนจากหน่วยปฏิบติัระดบัเขตพื้นท่ีการศึกษา Ways and Strategies of Driving Educational Reform Policy

    in the First Decade of Thailand: Lessons from Operation Unit at Educational Service Area Level

    ผู้วจัิย ดร.วษิณุ ทรัพยส์มบติั (Dr.Wisanu Sapsombat) ผู้วจัิยร่วม ศ.ดร.สุวมิล วอ่งวาณิช (Prof.Dr.Suwimon Wongvanich)

    ศาสตราจารยป์ระจ าภาควชิาวจิยัและจิตวทิยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั ปีทีท่ ำวจัิยเสร็จ พ.ศ.2554 ประเด็นกำรวจัิย การพฒันาคุณภาพการบริหารจดัการ ประเด็นการประกนัคุณภาพการศึกษา ลกัษณะงำนวจัิย งานวจิยัคณะบุคคล (คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั

    โดย ศ.ดร.สุวมิล วอ่งวาณิช รับทุนสนบัสนุนการวจิยัจาก ส านกังานกองทุนสนบัสนุนการวจิยั)

    ประเภทกำรวจัิย การวจิยัพื้นฐาน กำรน ำเสนอเวทวีชิำกำรอ่ืน - แหล่งทุน ส านกังานกองทุนสนบัสนุนการวจิยั

  • 2

    ควำมเป็นมำของกำรท ำวจัิย ผลการประเมินของโครงการศึกษาส ารวจความรู้ และทักษะของนักเรียนกลุ่มอายุ 15 ปี

    (Programme for International Students Assessment: PISA) ในประเทศสมาชิก OECD (องค์กรเพื่อความร่วมมือและพฒันาทางเศรษฐกิจ) มีหลกัฐานยืนยนัไดว้่าคุณภาพการศึกษาทั้งดา้นผูเ้รียนและดา้นการบริหารสถานศึกษามีหลายส่วนท่ีตอ้งปรับปรุงและพฒันาอยา่งเร่งด่วน ซ่ึงวดัทกัษะการอ่าน ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และความรู้ทางคณิตศาสตร์ พบวา่ นอกจากเด็กไทยจะไดค้ะแนนเฉล่ียจากการวดัทั้ง 3 ดา้นอยูใ่นช่วงร้ังทา้ย จากประเทศท่ีเขา้ร่วมโครงการประเมิน 57 ประเทศแลว้ ยงัพบว่าผลการประเมินมีแนวโนม้ลดต ่าลงอีก (ส านกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2554) และผลการประเมินของนักเรียนเม่ือจบช่วงชั้ น ป.3 โดยส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2553) และผลการประเมินของนักเรียนชั้น ป.6, ม.3 และ ม.6 จากการทดสอบระดบัชาติ O-NET (Ordinary National Education Test)โดยสถาบนัทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ในช่วงปีการศึกษา 2549-2552 (2553) พบว่าคะแนนเฉล่ียของแต่ละวิชาเกือบทั้งหมดไม่ถึงร้อยละ 50 ยกเวน้วชิาวทิยาศาสตร์ของนกัเรียนชั้น ป.6 (ในปีการศึกษา 2551) และวิชาสุขศึกษาของนกัเรียนชั้น ม.6 ท่ีเกินร้อยละ 50 เพียงเล็กนอ้ย ส่วนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาองักฤษก็ตอ้งเร่งยกระดบัอยา่งเร่งด่วน จากผลการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกดงักล่าวขา้งตน้สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาและความจ าเป็นเร่งด่วนท่ีจะตอ้งมีการยกระดบัคุณภาพการจดัการศึกษาให้สูงข้ึน ดงันั้น ในปี พ.ศ. 2552 รัฐบาลไทยเห็นวา่ปัญหาดา้นคุณภาพการศึกษาเป็นวาระเร่งด่วนท่ีจ าเป็นตอ้งแกไ้ขจึงมีการก าหนดนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561) ข้ึน ซ่ึงการปฏิรูปการศึกษาจะประสบความส าเร็จไดข้ึ้นอยูก่บักระบวนการน านโยบายปฏิรูปการศึกษาสู่การปฏิบติั ท่ีหน่วยงานทุกระดบัตอ้งก าหนดแนวทางหรือกลยุทธ์การขบัเคล่ือนนโยบาย เพื่อให้บุคลากรท่ีเก่ียวขอ้งทุกระดบัมีความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกบันโยบายปฏิรูปการศึกษาและสามารถด าเนินงานตามเป้าหมายและจุดเนน้ของการปฏิรูปการศึกษาไปในทิศทางเดียวกนั ดงันั้น เพื่อให้ไดข้อ้มูลเก่ียวกบัแนวทางและกลยุทธ์การขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกของหน่วยงานระดบันโยบาย ท่ีมีหน้าท่ีขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาสู่สถานศึกษา ส าหรับใชเ้ป็นขอ้มูลในการก าหนดแนวทางและกลยทุธ์การขบัเคล่ือนนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ.2552-2561) การวจิยัคร้ังน้ี จึงมุ่งวิจยัเพื่อศึกษาแนวทางและกลยุทธ์การขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรก (พ.ศ.2542-2552) จากหน่วยปฏิบัติระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ซ่ึงถือเป็นหน่วยงานปฏิบัติท่ีท าหน้าท่ีสนับสนุน ส่งเสริม และด าเนินการขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาท่ีไดรั้บจากรัฐบาลลงสู่การปฏิบติัในสถานศึกษา เพื่อยกระดบัคุณภาพการศึกษาให้สูงข้ึนกว่าเดิมอย่างมีประสิทธิภาพและให้เกิดผลอยา่งเป็นรูปธรรม

  • 3

    วตัถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางและกลยุทธ์การขับเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกของ

    ประเทศไทย

    กรอบแนวคิดกำรวจัิย

    แผนภำพ 1 กรอบแนวคิดการวจิยั

    วธีิด ำเนินกำรวจัิย 1. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง คือ ส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษา จ านวน 185 เขต กลุ่มผูใ้ห้ขอ้มูลเป็นบุคลากรของส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา จ านวน 5 คน ต่อเขต ประกอบดว้ย (1) ผูอ้ านวยการ/รองผูอ้ านวยการส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษา (2) ผูอ้ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล (3) หวัหน้า

    นโยบำยกำรปฏิรูปกำรศึกษำในทศวรรษแรกของประเทศไทย (1) การพฒันาครู (2) หลกัสูตรและการจดัการเรียนการสอน (3) การวิจยัในชั้นเรียน (4) การวดัและประเมินผล (5) ส่ือการศึกษาและการใชแ้หล่งเรียนรู้ (6) การประกนัคุณภาพการศึกษา

    กำรด ำเนินงำนตำมแนวทำงปฏิรูปกำรศึกษำของสถำนศึกษำ

    นิเทศ ก ากบั ติดตามการด าเนินงานฯ ระดมความคิดจากผูป้ฏิบติัระดบัสถานศึกษา ส่งต่อนโยบายฯผ่านทางผูบ้ริหารสถานศึกษา เพ่ือขยายผลแก่บุคลากรในสถานศึกษา จดัท าแผนขบัเคล่ือนนโยบายฯ สนบัสนุนงบประมาณ ส่ือ วสัดุอุปกรณ์ จดัท าเป็นคู่มือแนวปฏิบติัท่ีชดัเจน หาภาคีเครือข่ายในการขบัเคล่ือนฯ ก าหนดมาตรการจูงใจให้สถานศึกษาปฏิบติั ตามนโยบาย

    กลยุทธ์กำรขับเคล่ือน นโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำ

    ของส ำนักงำนเขตพืน้ที่กำรศึกษำ

    แนวทำงกำรขับเคล่ือน นโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำ

    ของส ำนักงำนเขตพืน้ที่กำรศึกษำ

    ท ำหนังสือเวยีนเพื่อชี้แจงนโยบำยแก่ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ

    เผยแพร่เอกสำร/หนังสือแกบุ่คลำกรในสถำนศึกษำ

    จัดประชุมชีแ้จงนโยบำยแก่ผู้เกี่ยวข้อง

    จัดประชุมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติกำร

    จัดท ำโครงกำรวิจัยน ำรอ่ง

    ให้กำรสนับสนุนกำรศึกษำดงูำน/ทัศนศึกษำ

    จัดกระบวนกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ KM

  • 4

    กลุ่มงานหลักสูตร (4) หัวหน้ากลุ่มงานประกนัคุณภาพการศึกษา และ (5) หัวหน้ากลุ่มงานวดัผลและประเมินผลการศึกษา โดยอัตราการตอบกลับของแบบสอบถามจากส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มีจ านวนทั้งส้ิน 100 เขต (ร้อยละ 54.05) 2. เคร่ืองมือ คือ แบบสอบถามเก่ียวกบัแนวทางและกลยุทธ์การขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกของส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็นแบบเติมค า เลือกตอบ และมาตรประมาณค่า 4-5 ระดบั 3. กระบวนกำรเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบสอบถามทางไปรษณีย ์ช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ.2553 รวมระยะเวลาท่ีใชใ้นการเก็บรวบรวมขอ้มูลทั้งส้ิน 1 เดือนกบั 15 วนั 4. กำรวเิครำะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ลกัษณะ คือ 1) การวิเคราะห์ขอ้มูลเชิงปริมาณ ใชก้ารวิเคราะห์สถิติเบ้ืองตน้ ได้แก่ การแจกแจงความถ่ี ค่าร้อยละ (%) ค่ามชัฌิมเลขคณิต (mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงอ้างอิง ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูป และ 2) การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ใช้วธีิการวเิคราะห์เน้ือหา (content analysis) สรุปผลกำรวจัิย 1. แนวทำงกำรขับเคล่ือนนโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำ

    2.1 แนวทำงกำรขับเคล่ือนนโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำสู่สถำนศึกษำจ ำแนกตำมประเด็นกำรปฏิรูปกำรศึกษำ 6 ประเด็น ไดแ้ก่ การพฒันาครู การพฒันาหลกัสูตรการวิจยัในชั้นเรียน การพฒันาส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวดัและประเมินผล และการประกนัคุณภาพการศึกษา สรุปไดว้า่ ส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาได้ก าหนดแนวทางการขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรก ทั้ง 6 ประเด็น ดว้ยการท าหนงัสือเวยีนเพื่อช้ีแจงนโยบายแก่ผูเ้ก่ียวขอ้งทุกระดบัจ านวนสูงสุด โดยมีร้อยละระหว่าง 59.38- 75.67 รองลงมา ส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาใช้วิธีการจัดประชุมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในประเด็นการพัฒนาครู การพัฒนาหลักสูตร การวิจัยในชั้นเรียน และการวดัและประเมินผลมีร้อยละระหวา่ง 60.71-74.11ขณะท่ีประเด็นการพฒันาส่ือ/แหล่งเรียนรู้ รองลงมา ใชว้ิธีเผยแพร่เอกสาร/หนงัสือแก่บุคลากรในสถานศึกษา ร้อยละ 52.01 และประเด็นการประกนัคุณภาพการศึกษา รองลงมาใชว้ธีิจดัประชุมช้ีแจงนโยบายแก่ผูเ้ก่ียวขอ้ง ร้อยละ 69.64 ตำรำงที่ 1 ควำมถี่ และร้อยละของควำมคิดเห็นของบุคลำกรต่อแนวทำงกำรขับเคล่ือนนโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำในทศวรรษแรกจ ำแนก

    ตำมประเดน็กำรปฏิรูปกำรศึกษำ

    แนวทำง กำรขับเคล่ือน

    นโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำ

    ประเดน็กำรปฏิรูปกำรศึกษำ

    กำรพฒันำครู กำรพฒันำหลกัสูตร

    กำรวจิัยใน ช้ันเรียน

    กำรพฒันำส่ือ/แหล่งเรียนรู้

    กำรวัดและประเมินผล

    กำรประกนัคุณภำพกำรศึกษำ

    N % N % N % N % N % N % 1. ท าหนงัสือเวียนเพ่ือช้ีแจง

    นโยบายแก่ผูเ้ก่ียวขอ้ง339 75.67 330 73.66 273 60.94 266 59.38 299 66.74 321 71.65

  • 5

    แนวทำง กำรขับเคล่ือน

    นโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำ

    ประเดน็กำรปฏิรูปกำรศึกษำ

    กำรพฒันำครู กำรพฒันำหลกัสูตร

    กำรวจิัยใน ช้ันเรียน

    กำรพฒันำส่ือ/แหล่งเรียนรู้

    กำรวัดและประเมินผล

    กำรประกนัคุณภำพกำรศึกษำ

    N % N % N % N % N % N % ทุกระดบั

    2. เผยแพร่เอกสาร/หนงัสือแก่บุคลากรในสถานศึกษา

    307 68.53 320 71.43 260 58.04 233 52.01 287 64.06 298 66.52

    3. จดัประชุมช้ีแจงนโยบายแก่ผูเ้ก่ียวขอ้ง

    331 73.88 314 70.09 253 56.47 230 51.34 283 63.17 312 69.64

    4. จดัประชุมฝึกอบรมเชิงปฏิบติัการ

    332 74.11 330 73.66 272 60.71 223 49.78 292 65.18 301 67.19

    5. จดัท าโครงการวิจยัน าร่อง 146 32.59 184 41.07 158 35.27 72 16.07 71 15.85 134 29.91 6. ให้การสนบัสนุนการศึกษา

    ดูงาน/ทศันศึกษา 291 65.00 171 38.17 102 22.77 160 35.71 89 19.87 185 41.29

    7. จดักระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้/กระบวนการ KM

    289 64.51 245 54.69 185 41.29 176 39.29 160 35.71 213 47.54

    2.2 กำรวำงระบบกำรท ำงำนเพ่ือขับเคล่ือนนโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำ พบว่าผูใ้ห้ขอ้มูลส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีการวางระบบการนิเทศ ก ากับ และติดตามการด าเนินงานท่ีเขม้แข็ง จ านวน 413 คน คิดเป็นร้อยละ 92.19 รองลงมา เป็นการจดัท าแผนกลยทุธ์ขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษารอบแรกจ านวน 357 คน คิดเป็นร้อยละ 79.69 และจดัประชุมคณะท างานและผูเ้ก่ียวขอ้งต่าง ๆ เพื่อระดมความคิดเห็นและวางแผนการด าเนินงานขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษารอบแรก จ านวน 344 คน คิดเป็นร้อยละ 76.79 ตามล าดบั

  • 6

    แผนภำพที ่1 กำรวำงระบบกำรท ำงำนเพ่ือขับเคล่ือนนโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำ

    2.3 กำรท ำหน้ำที่/กำรมีส่วนร่วมในกำรปฏิรูปกำรศึกษำ พบว่าการท าหน้าท่ี/มีส่วนร่วมในก าหนดยุทธศาสตร์/กลยุทธ์การด าเนินงาน การก าหนดนโยบาย การจดัท ากฎหมาย ระเบียบ ขอ้บงัคบั ประกาศการประสานนโยบายส่งต่อสถานศึกษาเป็นหนา้ท่ีของกลุ่มผูอ้ านวยการ/รองผูอ้ านวยการเขตพื้นท่ีการศึกษาสูงสุด ขณะท่ีการท าหน้าท่ี/มีส่วนร่วมในขบัเคล่ือนสู่สถานศึกษา เป็นหน้าท่ีของผูอ้ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลฯ สูงสุด ส่วนการท าวจิยัเป็นหนา้ท่ี/การมีส่วนร่วมของหวัหนา้กลุ่มงานการวดัผลและประเมินผล ท่ีเป็นผูท้ าหนา้ท่ี/มีส่วนร่วมในการด าเนินงานดงักล่าวสูงสุด ตำรำงที่ 2 ควำมถี่ และร้อยละของกำรท ำหน้ำท่ี/กำรมีส่วนร่วมในกำรปฏิรูปกำรศึกษำรอบแรก จ ำแนกตำมต ำแหน่งหน้ำที่

    กำรท ำหน้ำที่/ กำรมีส่วนร่วมในกำรปฏิรูปกำรศึกษำ

    รอบแรก

    กำรท ำหน้ำท่ี/ กำรมีส่วนร่วมในกำรปฏิรูปกำรศึกษำรอบแรก รวม (%)

    ผอ./รอง ผอ. ผอ.กลุ่ม นิเทศ ฯ

    หัวหน้ำกลุ่มงำนหลักสูตร

    หัวหน้ำกลุ่มงำนประกนัฯ

    หัวหน้ำกลุ่ม งำนวัดผลฯ

    N % N % N % N % N % 1. คณะอ านวยการปฏิรูปการศึกษา

    74 18.50 70 17.50 90 22.50 84 21.00 82 20.50 400 (100.00)

    2. ก าหนดยทุธศาสตร์/กลยทุธ์การด าเนินงาน

    54 17.31 64 20.51 71 22.76 60 19.23 63 20.19 312 (100.00)

    3. ก าหนดนโยบาย 24 42.11 16 28.07 6 10.53 7 12.28 4 7.02 57 (100.00)

    4. จดัท ากฎหมาย ระเบียบ ขอ้บงัคบั ประกาศ

    15 40.54 7 18.92 4 10.81 7 18.92 4 10.81 37 (100.00)

    5. ประสานนโยบายส่งต่อสถานศึกษา

    70 21.94 66 20.69 55 21.94 63 20.69 65 17.24 319 (100.00)

    6. ขบัเคล่ือนสู่สถานศึกษา

    78 19.16 85 20.88 85 20.88 79 19.41 80 19.66 407 (100.00)

    7. ท าวจิยั 20 16.26 25 20.33 24 19.51 25 20.33 29 23.58 123 (100.00)

    2.4 ควำมชัดเจนต่อนโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำ พบวา่ความชดัเจนต่อนโยบายปฏิรูปการศึกษาของบุคลากรในส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับชัดเจนปานกลาง มีค่าเฉล่ียเท่ากบั 2.61 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.61 และเม่ือวิเคราะห์ความแปรปรวนเพื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉล่ียความคิดเห็นเก่ียวกบัความชดัเจนของนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกจ าแนกตามตัวแปรต าแหน่งของบุคลากร(ผู ้อ านวยการ/รองผู ้อ านวยการเขตพื้นท่ีการศึกษาผูอ้ านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลฯหัวหน้ากลุ่มงานหลกัสูตรหัวหน้ากลุ่มงานประกนั

  • 7

    คุณภาพการศึกษาหวัหนา้กลุ่มงานการวดัผลและประเมินผล)พบวา่ตวัแปรต าแหน่งของบุคลการ ไม่มีนยัส าคญัทางสถิติแสดงวา่ค่าเฉล่ียความคิดเห็นเก่ียวกบัความชดัเจนของนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกไม่มีความแตกต่างกนัระหวา่งบุคลากรท่ีมีต าแหน่งต่างกนั ตำรำงที่ 3 ผลกำรวิเครำะห์ควำมแปรปรวนของค่ำเฉลี่ยควำมคิดเห็นเกี่ยวกับควำมชัดเจนของนโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำ

    ในทศวรรษแรกจ ำแนกตำมตวัแปรต ำแหน่งของบุคลำกร

    ตวัแปรอสิระ แหล่งควำมแปรปรวน

    Sum of Squares

    df Mean

    Square F p

    ต าแหน่งของบุคลากร

    ระหวา่งกลุ่ม .880 4 .220 .593 .668 ภายในกลุ่ม 163.309 440 .371 รวม 164.189 444

    *

  • 8

    สถานศึกษา จ านวน 336 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 และกลยุทธ์การจดัท าแผนขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาท่ีชดัเจน เพื่อส่งต่อนโยบายปฏิรูปการศึกษาลงสู่สถานศึกษาจ านวน 310 คน คิดเป็นร้อยละ 69.20

    แผนภำพ 3 กลยทุธ์การขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาลงสู่สถานศึกษา

    อภิปรำยผลกำรวจัิย 1.แนวทำงกำรขับเคล่ือนนโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำในทศวรรษแรก ผลการวิจยัพบว่าส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาได้ก าหนดแนวทางการขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกสู่สถานศึกษาทั้งประเด็นการพฒันาครู การพฒันาหลกัสูตรและการจดัการเรียนการสอนการวิจยัในชั้นเรียน การพฒันาส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวดัและประเมินผล และการประกนัคุณภาพการศึกษา ดว้ยการท าหนงัสือเวียนเพื่อช้ีแจงนโยบายแก่ผูเ้ก่ียวขอ้งทุกระดบัสูงสุด เม่ือพิจารณาถึงเหตุผลในการเลือกใช้แนวทางดังกล่าว น่าจะถือได้ว่าเป็นวิธีการการขบัเคล่ือนสู่สถานศึกษาท่ีสามารถด าเนินการไดง่้าย สะดวก เน่ืองจากการท าหนงัสือเวียนเพื่อช้ีแจงเป็นระบบการท างานท่ีส านกังานเขตพื้นท่ีและสถานศึกษาใชเ้พื่อการส่ือสารอยา่งเป็นปกติอยูแ่ลว้ ส่วนแนวทางขบัเคล่ือนท่ีส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาใชร้องลงมาจากวิธีแรก พบวา่มีความแตกต่างกนัตามประเด็นของการปฏิรูปการศึกษา กล่าวคือ ไดใ้ช้การจดัประชุมฝึกอบรมเชิงปฏิบติัการในประเด็นของการพฒันาครู การพฒันาหลกัสูตรและการจดัการเรียนการสอน การวิจยัในชั้นเรียน และการวดัและประเมินผลเน่ืองจากในแต่ละส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษามีสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาจ านวนมาก เม่ือตอ้งการช้ีแจงหรือส่ือสารนโยบายทางการปฏิรูปต่าง ๆ เพื่อสร้างให้บุคลากรภายในเขตพื้นท่ีได้รับรู้และมีความรู้ความเขา้ใจจึงจ าเป็นตอ้งใช้การฝึกอบรมเชิงปฏิบติัการเน่ืองจากการฝึกอบรมเป็นลกัษณะของการด าเนินงานท่ีใชร้ะยะเวลาสั้นและเป็นกระบวนการจดัการเรียนการสอนหรือการจดัการเรียนรู้อยา่งเป็นระบบให้แก่บุคคลหรือกลุ่มบุคคล โดยมุ่งท่ีจะก่อให้เกิดหรือพฒันาความรู้ ทกัษะ และทศันคติ อีกทั้งการฝึกอบรมเป็นการสร้างโอกาสการเรียนรู้ให้กบับุคคลส่งผลให้บุคลากรในหน่วยงานมีความสามารถเฉพาะตวัสูงข้ึน มีประสิทธิภาพในการท างานร่วมกบัผูอ่ื้นไดดี้

    0

    100

    200

    300

    400

    500

    408 343 336 310 267 219 206 193

    91.07%

    76.56% 75.00% 69.20%59.60%

    48.88%45.98% 43.08%

  • 9

    ท าให้หน่วยงานเกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานท่ีดีข้ึน(Agochica, 2002; Willis, 2003; Blanchard & Thacker, 2003) ขณะท่ีประเด็นการพฒันาส่ือ/แหล่งเรียนรู้ใชว้ิธีเผยแพร่เอกสาร/หนังสือแก่บุคลากรในสถานศึกษา ให้สามารถรู้และเข้าใจผ่านการเรียนรู้ด้วยเอกสาร/หนังสือท่ีตน้สังกดัจดัสรรให้ และประเด็นเก่ียวกบัการประกนัคุณภาพการศึกษาใช้วิธีจดัประชุมช้ีแจงนโยบายแก่ผูเ้ก่ียวขอ้งเพื่อใหทุ้กฝ่ายท่ีเก่ียวขอ้งไดรั้บรู้และเกิดความเขา้ใจไปในทิศทางเดียวกนั จากข้อค้นพบดังกล่าวข้างต้นน้ีจะเห็นได้ว่าแนวทางการขับเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกสู่สถานศึกษามีวิธีหลกั ๆ ท่ีส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาใชด้ว้ยกนัจ านวน 4 วธีิ โดยแต่ละวิธีก็ไม่สามารถบ่งบอกหรือสะทอ้นถึงความส าเร็จท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกได้เท่าท่ีควรด้วยเหตุน้ี เพื่อให้การขับเคล่ือนปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองประสบความส าเร็จ และเห็นผลท่ีเกิดข้ึนจากการใช้แนวทางการขบัเคล่ือนดงักล่าวอย่างชดัเจน จึงควรไดมี้การศึกษา วิเคราะห์ วิจยัถึงจุดเด่นจุดด้อยและผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากการใช้แนวทางขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในแต่ละประเด็นดงักล่าว เพื่อการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองจะได้ส าเร็จมากข้ึนต่อไป 2.กลยุทธ์กำรขับเคล่ือนนโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำในทศวรรษแรก ผลการวิจยัยงัพบวา่กลยุทธ์ท่ีส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาใชใ้นการขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาทศวรรษแรกสูงสุด คือ การนิเทศ ก ากบั ติดตามการด าเนินงานตามนโยบายปฏิรูปการศึกษาสู่สถานศึกษาอยา่งเป็นระบบ ต่อเน่ือง รองลงมา คือ การระดมความคิดจากผูป้ฏิบติัระดบัสถานศึกษา ทั้งครู ผูบ้ริหาร ชุมชน เก่ียวกบัแนวทางการสร้างความเขา้ใจในแนวปฏิบติัเร่ืองการปฏิรูปการศึกษาแลว้หน่วยงานตน้สังกดั เช่น เขตพื้นท่ีการศึกษาท าการเสริมหนุน กลยทุธ์การส่งต่อนโยบายการปฏิรูปการศึกษาผา่นทางผูบ้ริหารสถานศึกษาหรือตวัแทน เพื่อน าไปขยายผลแก่บุคลากรในสถานศึกษา และกลยุทธ์การจดัท าแผนขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาท่ีชดัเจน เพื่อส่งต่อนโยบายปฏิรูปการศึกษาลงสู่สถานศึกษาตามล าดบั จากขอ้คน้พบว่าดงักล่าวท่ีเขตพื้นท่ีการศึกษาใช้กลยุทธ์การนิเทศ ก ากบั ติดตามการด าเนินงานตามนโยบายปฏิรูปการศึกษาสู่สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ต่อเน่ืองสูงสุดขอ้ค้นพบดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าการท่ีส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาได้ใช้ระบบการนิเทศ ก ากับ ติดตามการด าเนินงานเป็นกลยุทธ์การขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษแรกสูงสุด อาจเน่ืองมาจากการนิเทศเป็นกระบวนการท่ีสนับสนุนส่งเสริมและกระตุน้ให้ผูบ้ริหารสถานศึกษา ครู และผูมี้ส่วนไดส่้วนเสียจากการจดัการศึกษาทุกฝ่ายไดร่้วมมือ ร่วมใจกนัปฏิรูปวิธีการจดัการเรียนการสอน วิธีการบริหารจดัการศึกษาท่ีมุ่งสู่ความส าเร็จตามเป้าหมายของนโยบายของการปฏิรูปการศึกษา และท าให้คุณภาพของสถานศึกษาสูงข้ึน และรักษาไวไ้ด้อย่างต่อเน่ืองด้วยความเต็มใจสอดคล้องกับแนวคิดของอญัชลี ธรรมะวิธีกุล (2552) ท่ีกล่าวไวว้่าปัจจุบันการจดัการศึกษาได้เจริญก้าวหน้าไปมาก มีการเปล่ียนแปลงหลาย ๆ ประการ เช่น การเปล่ียนแปลงหลักสูตร การ

  • 10

    เปล่ียนแปลงการการเรียนรู้ ฯลฯ ความรู้ในสาขาวิชาการต่าง ๆ จึงเพิ่มข้ึน แนวความคิดและแนวการเรียนการสอนใหม่ ๆ เพิ่มข้ึน ตลอดจนการเปล่ียนแปลงจุดมุ่งหมายของการศึกษา แต่ยงัพบว่าผูบ้ริหาร ครู และผูเ้ก่ียวขอ้งบางคนยงัไม่สามารถปรับเปล่ียนให้ทนัต่อความเปล่ียนแปลง ปัญหาดงักล่าวขา้งตน้สามารถจะแกไ้ขไดโ้ดยอาศยัระบบการนิเทศ ผูนิ้เทศหรือศึกษานิเทศก์ ซ่ึงมีหน้าท่ีนิเทศการศึกษาให้ครูและผูจ้ดัการศึกษามีความเจริญงอกงามทางวิชาการ สามารถพึ่งตนเองไดแ้ละประสบความส าเร็จเป็นไปตามเป้าหมายของการจดัการศึกษา

    เม่ือพิจารณากลยุทธ์ท่ีส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาใช้ในการขับเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาทศวรรษแรก รองจากการนิเทศ ก ากบั ติดตามการด าเนินงานฯ คือ การระดมความคิดจากผู ้ปฏิบติัระดบัสถานศึกษาเก่ียวกบัแนวทางการสร้างความเขา้ใจในแนวปฏิบติัเร่ืองการปฏิรูปการศึกษาแล้วหน่วยงานต้นสังกัดท าการเสริมหนุนกลยุทธ์การส่งต่อนโยบายการปฏิรูปการศึกษาผ่านทางผูบ้ริหารสถานศึกษาหรือตวัแทนเพื่อน าไปขยายผลแก่บุคลากรในสถานศึกษา จะเห็นได้ว่ากลยุทธ์ดงักล่าวเป็นการใช้กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อระดมความคิดเห็นจากผูมี้ส่วนเก่ียวขอ้งไดช่้วยเหลือร่วมมือกนัเพื่อพฒันาคุณภาพการศึกษา โดยเขตพื้นท่ีการศึกษาเป็นผูเ้สริมหนุน/สนบัสนุน เน่ืองจากกระบวนการมีส่วนร่วมนับเป็นหัวใจส าคัญในการพัฒนาในทุกระดับเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมคิดวิเคราะห์ ตดัสินใจ การวางแผน การปฏิบติัตามแผนการติดตามประเมินผลในกิจกรรม/โครงการต่างๆ เป็นการสร้างและปลูกฝังจิตส านึกและความเป็นเจ้าในกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ ขอ้คน้พบจากผลการวิจยัในประเด็นดงักล่าวน้ีสอดคลอ้งกบัผลการวิจยัของสุวิมล วอ่งวาณิช และนงลกัษณ์ วิรัชชยั (2548) ท่ีไดติ้ดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาการศึกษาตามนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐและพระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติ ท่ีพบวา่ในดา้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ภูมิปัญญา องค์กรอ่ืน พบว่ามีการด าเนินงานท่ีมีทิศทางท่ีดีข้ึนมาก ส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษารายงานวา่การจดัการศึกษาระดบัการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสถานศึกษาประมาณร้อยละ 89 ท่ีชุมชนเห็นความส าคญัของการมีส่วนร่วมในการจดัการศึกษา ประมาณร้อยละ 82 ท่ีมีการระดมทุนเพื่อการศึกษา และประมาณร้อยละ 83 มีการใชภู้มิปัญญาทอ้งถ่ิน ข้อเสนอแนะ

    1. ข้อเสนอแนะในกำรน ำผลกำรวจัิยไปใช้ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในทุกระดับ ทั้ งระดับนโยบาย และระดับของผูป้ฏิบัติ ควรได้น าผลการวิจยัคร้ังน้ี ไปวางแผนและก าหนดนโยบายเพื่อขบัเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองให้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งข้ึนต่อไป เช่น การใช้ภาคีเครือข่ายร่วมขบัเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษา การสร้างความเขม้แข็งและวฒันธรรมคุณภาพของเขตพื้นท่ีการศึกษา การพฒันาครูท่ีสอดคลอ้งกบั

  • 11

    ความตอ้งการจ าเป็นด้วยรูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้พื้นท่ีเป็นฐาน การนิเทศ ก ากับ ติดตามการด าเนินงานอยา่งต่อเน่ือง เป็นระบบ และสร้างจิตส านึกและความตระหนกัแก่บุคลากรทุกภาคส่วน

    2. ข้อเสนอแนะกำรวจัิยคร้ังต่อไป 1) การวิจยัคร้ังน้ีเป็นการวิจยัเชิงส ารวจดว้ยการใชแ้บบสอบถามทางไปรษณีย ์ท าให้ขอ้มูล

    ในเชิงปริมาณ ซ่ึงขาดความลุ่มลึกเท่าท่ีควรดงันั้นควรไดมี้การเก็บขอ้มูลเชิงคุณภาพ ดว้ยการลงพื้นท่ีในเขตพื้นท่ีการศึกษา เพื่อศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพในเขตพื้นท่ีท่ีประสบความส าเร็จจากการขบัเคล่ือนนโยบายปฏิรูปการศึกษาทศวรรษแรก เพื่อจะไดน้ าขอ้มูลมาใชใ้นวางแผนและพฒันาเพื่อการขบัเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองใหป้ระสบผลส าเร็จต่อไป

    2) การวิจัยคร้ังต่อไปควรได้มีถอดประสบการณ์หรือวิเคราะห์รูปแบบ/กลยุทธ์จากส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาท่ีประสบความส าเร็จในการขบัเคล่ือนปฏิรูปการศึกษาทศวรรษในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ การพฒันาครูการพฒันาหลกัสูตรและการจดัการเรียนการสอนการวิจยัในชั้นเรียนการพฒันาส่ือ/แหล่งเรียนรู้การวดัและประเมินผลและการประกนัคุณภาพการศึกษาเพื่อใช้เป็นตน้แบบในการเผยแพร่และขยายผลยงัส านกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาอ่ืน ๆ ต่อไป เอกสำรอ้ำงองิ วบูิลยบุ์ญยธโรกุล. (2545). คู่มือวิทยากรและผู้จัดการฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธาการพิมพ.์ สุวมิล วอ่งวาณิช และนงลกัษณ์ วรัิชชยั. (2548). การติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษา

    การศึกษาตามนโยบายพืน้ฐานแห่งรัฐและพระราชบัญญติัการศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร: ส านกังานสภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

    ส านกังานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ.2552-2561). กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

    อญัชลีธรรมะวธีิกุล. (2552). ความรู้เบือ้งต้นเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา.แหล่งท่ีมา: http://panchalee.wordpress.com/2009/03/30/supervision/[5 กุมภาพนัธ์ 2554)

    Agochiya, D. (2002). Every trainer’s handbook. New Delhi: Sage Publications. Blanchard, P. N. and Thacker, J. W. (2003). Effective training systems, strategies and practices.

    New Jersey: Pearson Prentice Hall. Hill, M. L. (2005). The public policy process. 4th ed London: Pearson Education. Joseph, C et. Al (2008). Implementation of resource management plans: Indentifying keys to

    success. Journal of Environmental. Vol. 88, pp. 594-606. Pulzl, H. & Treib, O. (2007). Implementing public policy. In Fischer, Frank, Miller, Gerald., &

    Sidney, Mara S., eds. Handbook of public policy analysis: Theory, politics and methods. New York: CRC Press.

  • 12

    Sabatier, P. A. &Mazmanian, D. A. (1983). Can Regulation Work? The Implementation of the 1972 Califonia Coastal Initiative. Plenum: New York.

    Willis, D. (2003). Training: techniques, tools and tips. London: Spiro Press.