4
หลักสูตรสารสนเทศทางชีวมณฑล สาขาวิชาสารสนเทศทางสังคม คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกียวโต http://bre.soc.i.kyoto-u.ac.jp/ โทรมาตรทางชีวภาพ (Biotelemetry) * การบันทึกขอมูลทางชีวภาพ (Bio-logging) การตรวจวัดขอมูลทางชีวภาพระยะไกลโดยใชเครื่องสงสัญญาณและเครื่องบันทึกขอมูล การวิเคราะหและรวบรวมขอมูลทางนิเวศนวิทยาเพื่อการอยู รวมกันระหวางมนุษยและสิ่งมีชีวิตที่เสี่ยงตอการสูญพันธุ มนุษยนั้นมีความจําเปนอยางยิ่งในการนําทรัพยากรสิ่งมีชีวิตมาใชเปนแหลงอาหารอยางยั่งยืนโดยไมทําลายระบบนิเวศน แต ความรูเกี่ยวกับระบบนิเวศนทางน้ํา โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทะเล แมน้ํา ทะเลสาบ นั้นยังมีสวนที่ยังมิไดทําการศึกษาอยางกระจางชัดอยู มาก ในขณะเดียวกันก็ยังคงมีความสามารถที่จะเปนแหลงอาหารที่จําเปนแกมนุษยเราอยางยั้งยืนและหมุนเวียน ขณะเดียวกันใน ปจจุบันสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนน้ําจํานวนมากกลับมีแนวโนมจะสูญพันธุดวยสาเหตุตางๆมากมาย นอกจากนั้นสิ่งมีชีวิตที่มิได ถูกนํามาใชในฐานะเปนทรัพยากรโดยตรงก็ยังคงมีความเสี่ยงตอการสูญพันธุอีกดวย ซึ่งสามารถกลาวไดวาการแกไขปญหา ดังกลาวเพื่อการดํารงอยูรวมกันระหวางการอนุรักษสิ่งมีชีวิตตางๆเหลานั้นกับสังคมโลกนั้นเปนปญหาที่สําคัญในระดับโลก แหลงทรัพยากรของสิ่งมีชีวิตและนิเวศนวิทยาทางน้ําซึ่งยังไมไดทําการศึกษา ฮิโรมิชิ มิตามูระ (PD. Ph.D Kyoto) นักวิจัย JSPS หัวขอวิจัย งานวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมทางนิเวศนวิทยาของปลา ( Rockfish และ ปลาบึก) ( ศึกษาตอที่ประเทศนอรเวย) โทยะ ยาสุดะ (PD, Ph.D. Kyoto) นักวิจัย JSPS หัวขอวิจัย วงจรและรูปแบบการสืบพันธุของเตาทะเลตัวเต็มวัย จุนนิชิ โอกุยามา (นักวิจัย. Ph.D. Kyoto) หัวขอวิจัย การอนุรักษเชิงชีววิทยาและพฤติกรรม ทางนิเวศนวิทยาของเตาทะเล โคทาโร อิชิกาวา (D3) นักวิจัย JSPS หัวขอวิจัย การวิจัยเกี่ยวกับเสียงทางระบบนิเวศนของพะยูนโดย ใชเครื่องมือบันทึกเสียงอัตโนมัติ ยูกิ คาวาบาตะ (M2) หัวขอวิจัย การศึกษานิเวศนวิทยาของBlackspot tuskfish และการสรางเทคโนโลยีการปลอยคืนสู ธรรมชาติ โนบุอากิ อาไร (รองศาสตราจารย Ph.D. Kyoto) หัวขอวิจัย การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรสิ่งมีชีวิต ทางน้ําโดยใชโทรมาตรชีวภาพและการบันทึก ขอมูลทางชีวภาพ ทากาชิ โยโกตะ (D2) นักวิจัย JSPS หัวขอวิจัย การศึกษานิเวศนวิทยาของ tilefish และการ สรางเทคโนโลยีการปลอยคืนสูธรรมชาติ นักวิจัยพะยูน เตากระ ปลาบึก เคนโกะ คาตาโกะ (M2) หัวขอวิจัย การศึกษาพฤติกรรมการดํารงชีวิตและวงจร การดําเนินชีวิตของเตากระ โคกิ นากามูระ (M2) หัวขอวิจัย การติดตามพฤติกรรมของปลากะรังดอก แดงในอาวปาชายเลน นานาโกะ อะมาโมโต(M1) หัวขอวิจัย การศึกษาพฤติกรรมการหาอาหารของ พะยูนโดยใชเสียงรอง ซาโตโกะ คิมูระ (M1) หัวขอวิจัย การวิเคราะหพฤติกรรมการเคลื่อนที่ของ โลมาหัวบาตรดวยวิธีการสํารวจโดยเสียง โคซุเอะ ชิโอมิ (M1) หัวขอวิจัย การวิเคราะหพฤติกรรมแบบ 3 มิติของ เพนกวิน ฮิเดอากิ นิชิซาวา (M1) หัวขอวิจัย การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม การวายน้ําของตัวออนเตา ทะเล (ปจจุบัน เดือนพฤษภาคม 2007 ) ริกะ ชิรากิ (M1) หัวขอวิจัย การวิเคราะหเสียงรองของ พะยูน โชอิจิ มาชิโนะ(B4) หัวขอวิจัย พฤติกรรมและมลพิษที่เกิด กับสัตวเลี้ยงลูกดวยนมใน ทะเล ทะกูจิ โนดะ(B4) หัวขอวิจัย การพัฒนาเครื่องบันทึกเพื่อ ทําการศึกษาพฤติกรรมการ ดํารงชีวิตของปลาทะเลลึก นกเพนกวินพันธุ Adélie หลักสูตรสารสนเทศทางชีวมณฑลนั้นคือวิธีการสังเกตการณแบบใหมโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก โทรมาตรทางชีวภาพและการบันทึกขอมูลทางชีวภาพในการศึกษาขอมูลทางนิเวศนวิทยาของสิ่งมีชีวิตในน้ํา ซึ่งไมสามารถติดตามศึกษาไดดวยตา โทรมาตรทางชีวภาพและการบันทึกขอมูลนั้นจะทําการฝงเครื่องสง สัญญาณและเครื่องบันทึกสัญญาณขนาดเล็กลงบนตัวสัตวเพื่อที่จะเก็บขอมูลทางดานพฤติกรรมและ สิ่งแวดลอมที่เปนอยูในน้ํา ถือวาเปนวิธีการที่สามารถสังเกตการณสิ่งที่ไมสามารถมองเห็นได ผลการวิจัยทีไดรับมากหมายหลายชิ้นเปนประโยชนอยางยิ่งเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางน้ําซึ่งเปนเขต แดนสุดทายที่ยังคงเหลืออยูบนพื้นโลก

Brochure 2007 thai

Embed Size (px)

DESCRIPTION

แหล่งทรัพยากรของสิ่งมีชีวิต

Citation preview

Page 1: Brochure 2007 thai

หลักสูตรสารสนเทศทางชีวมณฑล สาขาวิชาสารสนเทศทางสงัคม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกยีวโตhttp://bre.soc.i.kyoto-u.ac.jp/

โทรมาตรทางชีวภาพ (Biotelemetry) * การบันทึกขอมูลทางชีวภาพ (Bio-logging)การตรวจวัดขอมูลทางชีวภาพระยะไกลโดยใชเครื่องสงสัญญาณและเครื่องบันทึกขอมูล

การวิเคราะหและรวบรวมขอมูลทางนเิวศนวทิยาเพื่อการอยูรวมกันระหวางมนุษยและสิ่งมีชีวิตที่เสี่ยงตอการสูญพันธุ

มนษุยนัน้มคีวามจําเปนอยางยิ่งในการนําทรัพยากรสิ่งมีชีวิตมาใชเปนแหลงอาหารอยางยั่งยนืโดยไมทาํลายระบบนเิวศน แตความรูเกี่ยวกับระบบนิเวศนทางน้าํ โดยเฉพาะอยางยิง่ ทะเล แมน้าํ ทะเลสาบ นั้นยังมีสวนที่ยงัมไิดทาํการศึกษาอยางกระจางชดัอยูมาก ในขณะเดียวกนัก็ยังคงมคีวามสามารถที่จะเปนแหลงอาหารที่จาํเปนแกมนษุยเราอยางยั้งยนืและหมนุเวยีน ขณะเดยีวกันในปจจุบันสิ่งมีชีวติในระบบนเิวศนน้าํจาํนวนมากกลับมีแนวโนมจะสูญพันธุดวยสาเหตตุางๆมากมาย นอกจากนั้นสิ่งมีชีวิตที่มไิดถูกนํามาใชในฐานะเปนทรัพยากรโดยตรงก็ยังคงมคีวามเสี่ยงตอการสูญพันธุอีกดวย ซึง่สามารถกลาวไดวาการแกไขปญหาดังกลาวเพื่อการดํารงอยูรวมกันระหวางการอนุรักษสิ่งมชีวีิตตางๆเหลานัน้กับสังคมโลกนั้นเปนปญหาที่สาํคัญในระดบัโลก

แหลงทรัพยากรของสิ่งมีชีวิตและนิเวศนวิทยาทางน้าํซึง่ยังไมไดทําการศึกษา

ฮิโรมิชิ มิตามูระ (PD. Ph.D Kyoto)นักวิจัย JSPSหัวขอวิจัยงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมทางนิเวศนวิทยาของปลา ( Rockfish และ ปลาบึก) ( ศึกษาตอท่ีประเทศนอรเวย)

โทยะ ยาสุดะ (PD, Ph.D. Kyoto)นักวิจัย JSPSหัวขอวิจัยวงจรและรูปแบบการสืบพันธุของเตาทะเลตัวเต็มวัย

จุนนิชิ โอกุยามา (นักวิจัย. Ph.D. Kyoto)

หัวขอวิจัยการอนุรักษเชิงชีววิทยาและพฤติกรรมทางนิเวศนวิทยาของเตาทะเล

โคทาโร อิชิกาวา (D3)นักวิจัย JSPSหัวขอวิจัยการวิจัยเก่ียวกับเสียงทางระบบนิเวศนของพะยูนโดยใชเคร่ืองมือบันทึกเสียงอัตโนมัติ

ยูกิ คาวาบาตะ (M2)หัวขอวิจัยการศึกษานิเวศนวิทยาของBlackspot tuskfishและการสรางเทคโนโลยีการปลอยคืนสูธรรมชาติ

โนบุอากิ อาไร (รองศาสตราจารย Ph.D. Kyoto)หัวขอวิจัยการวิเคราะหขอมูลเก่ียวกับทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางน้ําโดยใชโทรมาตรชีวภาพและการบันทึกขอมูลทางชีวภาพ

ทากาชิ โยโกตะ (D2)นักวิจัย JSPSหัวขอวิจัยการศึกษานิเวศนวิทยาของ tilefish และการสรางเทคโนโลยีการปลอยคืนสูธรรมชาติ

นักวิจัย:

พะยูน เตากระ

ปลาบึก

เคนโกะ คาตาโกะ (M2)หัวขอวิจัยการศึกษาพฤติกรรมการดํารงชีวิตและวงจรการดําเนินชีวิตของเตากระ

โคกิ นากามูระ (M2)หัวขอวิจัยการติดตามพฤติกรรมของปลากะรังดอกแดงในอาวปาชายเลน

นานาโกะ อะมาโมโต(M1)หัวขอวิจัยการศึกษาพฤติกรรมการหาอาหารของพะยูนโดยใชเสียงรอง

ซาโตโกะ คิมูระ (M1)หัวขอวิจัยการวิเคราะหพฤติกรรมการเคลื่อนท่ีของโลมาหัวบาตรดวยวิธีการสํารวจโดยเสียง

โคซุเอะ ชิโอมิ (M1)หัวขอวิจัยการวิเคราะหพฤติกรรมแบบ 3 มิติของเพนกวิน

ฮิเดอากิ นิชิซาวา (M1)หัวขอวิจัยการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการวายน้ําของตัวออนเตาทะเล

(ณ ปจจุบัน เดือนพฤษภาคม ป 2007 )

ริกะ ชิรากิ (M1)หัวขอวิจัยการวิเคราะหเสียงรองของพะยูน

โชอิจิ มาชิโนะ(B4)หัวขอวิจัยพฤติกรรมและมลพิษที่เกิดกับสัตวเลี้ยงลกูดวยนมในทะเล

ทะกูจิ โนดะ(B4)หัวขอวิจัยการพัฒนาเคร่ืองบันทึกเพื่อทําการศึกษาพฤติกรรมการดํารงชีวิตของปลาทะเลลกึ

นกเพนกวินพันธุ Adélie

หลักสูตรสารสนเทศทางชีวมณฑลนั้นคือวธิีการสงัเกตการณแบบใหมโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก โทรมาตรทางชีวภาพและการบันทึกขอมูลทางชีวภาพในการศึกษาขอมูลทางนิเวศนวิทยาของสิง่มีชีวติในน้าํซึ่งไมสามารถติดตามศึกษาไดดวยตา โทรมาตรทางชีวภาพและการบันทึกขอมูลนั้นจะทาํการฝงเครื่องสงสัญญาณและเครื่องบันทึกสัญญาณขนาดเล็กลงบนตัวสตัวเพื่อที่จะเกบ็ขอมลูทางดานพฤติกรรมและสิ่งแวดลอมที่เปนอยูในน้าํ ถือวาเปนวิธีการที่สามารถสังเกตการณสิง่ทีไ่มสามารถมองเห็นได ผลการวิจัยที่ไดรับมากหมายหลายชิ้นเปนประโยชนอยางยิ่งเกี่ยวกับสิง่แวดลอมและทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางน้ําซึ่งเปนเขตแดนสุดทายทีย่ังคงเหลืออยูบนพื้นโลก

Page 2: Brochure 2007 thai

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00 18:00 – 6:00 18:00-06:00

機器調整

18:00 – 06:00

2/2500:00

2/2600:00

3/100:00

3/200:00

0

60

120

5分間

の鳴

音数

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00 18:00 – 6:00 18:00-06:00

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00

0

システムメンテナンス

0 18:00 – 6:00 18:00 – 6:00 18:00-06:00

機器調整

18:00 – 06:0018:00 – 06:00

2/2500:00

2/2600:00

3/100:00

3/200:00

0

60

120

5分間

の鳴

音数

พะยูน (รูปที่ 1) นั้นเปนสัตวในอันดับ (Order) Cetacea ครอบครัว(family) Dugongidae และสกุล (Genus) Dugongซ่ึงเปนสัตวทะเลเลี้ยงลูกดวยนมชนดิกินพชืและสามารถสงเสยีง ดํารงชวิีตอยูในบรเิวณชายฝงตัง้แตในเขตรอนชื้นจนถึงเขตกึ่งรอนชื้น และมีปริมาณลดลงตามแหลงที่อยูอาศัย จนตัง้แตป 2000 เปนตนมา สหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ (IUCN) ไดจัดใหพะยูนอยูในบัญชีแดง (Red list)ประเภทที่มีแนวโนมใกลสูญพันธ (VU)

การวางแผนเพื่อการใชทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเลอยางยั่งยืนโดยที่ยังสามารถอนุรักษสัตวเล้ียงลูกดวยนมในทะเลที่หายากไปพรอมกันกับการดําเนนิกิจกรรมตางๆบริเวณริมฝงทะเลของมนุษยยังคงเปนประเด็นปญหาที่ตองการการแกไขอยางยิ่ง และเพ่ือเปนการลดผลกระทบตอทั้งประชาชนในพืน้ที่และสัตวเล้ียงลูกดวยนมจึงจาํเปนตองศึกษาขอมูลทางพฤติกรรมในวงจรชีวิตของสัตวเหลานั้น ซึ่งทางหลักสูตรสารสนเทศทางชีวมณฑล กําลังดําเนินการศึกษาขอมูลดังกลาวของพะยูนและโลมาหัวบาตร

โลมาหัวบากNeophocaena phocaenoides(รูปท่ี 2)เปนสัตวในอันดับ (Order) Cetacea , อันดับยอย (Suborder)

Odontoceti ครอบครัว (Family) Phocoenidae และสกุล Neophocaena จัดเปนประเภทวาฬขนาดเล็กท่ีมีความยาวไมถึง 2 เมตร ซึ่งจากการที่โลมาหัวบากกําลังมีปริมาณลดลงจึงไดถูกระบุในเอกสารแนบที่ 1 ของการประชุม Washington Convention และไดถูกจัดใหอยูในบัญชีแดง (Red list)ของ IUCN ในรูปท่ี 2 นั้นเปนภาพของโลมาหัวบาตรแมลูกชนิดChinese River Dolphin ท่ีพบในแมน้ําแยงซีเกียง ประเทศจีน

ในปจจุบัน เกิดการปนเปอนมลพิษในทะเลอยางตอเนื่อง ซ่ึงทําใหเกิดการสะสมในรางกายของสัตวทะเลอยางตอเนื่อง ซ่ึงสําหรับสัตวทะเลเลี้ยงลูกดวยนมที่อยูในระดับสูงของหวงโซอาหารนั้นเปนการสะสมของสารเคมีอันตรายจํานวนมาก จากการศึกษานักวจัิยสามารถทราบขอมูลทั้งทางดานการสะสมของสารเคมีอันตรายและพฤติกรรมการดํารงชวิีตของสัตวทะเลเลี้ยงลูกดวยนมไดในขณะเดียวกัน ซ่ึงเปนประโยชนอยางยิง่ในการดําเนินการอนุรักษไดอยางครอบคลุมตอไป (นักวิจัย : มาชโิน)

ในงานวจัิยนี้สามารถใชขอมูลที่ไดรับเพื่อการสรางมาตรการที่ดใีนการแกปญหาความขัดแยงและรบกวนกันที่เกิดข้ึนระหวางมนุษยและสัตวบรเิวณริมชายฝงโดยประยุกตใชขอมูลสารสนเทศทางดานพฤติกรรมของสัตวทีเ่ปนเปาหมาย สําหรับในหลักสูตรสารสนเทศทางชวีภาพนั้นมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องอยางใกลชดิกับปญหาระหวางการทําประมงและสังคมมนุษยซ่ึงตองการองคความรูแบบบรูณการทั้งทางดาน การประมง เทคโนโลยีสารสนเทศ และทางชีววิทยาในการแกปญหาเหลานั้น

รูปที ่2 : โลมาหัวบาตรแมลูกในสถานเพาะเลี้ยงรูปที ่1 พะยูนกําลังหาอาหาร ณ บรเิวณทะเลน้าํตื้น

เสียงที่พะยูนและโลมาหัวบาตรสงออกมาใตน้าํสามารถที่จะทาํการบันทึกและใชวิเคราะหโดยหลักการทางเสียงเพื่อที่จะคนหาตาํแหนงเฉพาะตัวของตนกาํเนดิเสียงได (รูปที่ 3 , 4 ) กลาวคือสามารถทาํการหาตาํแหนงของตนกาํเนดิเสียงไดจากจดุตดัของเสียงทีเ่ดนิทางมาถึง โดยใชเครื่องบันทึกเสียงสเตอริโอหลายๆเครื่อง และเนื่องจากการศึกษาทางเสียงแบบรับสัญญาณนั้นเปนการบันทึกเสยีงใตน้าํเทานัน้ จึงมีผลกระทบตอพฤติกรรม และการดํารงชีวติของพะยูนและโลมาหัวบาตรนอยมาก

การศึกษาทางเสียงแบบรับสัญญาคือ

AUSOMS-D

รูปที่ 3. การศึกษาทางเสียงแบบรบัสัญญาณของพะยูน

รูปที่ 4. ประตตูรวจจบัสัญญาณเสียงแบบรบัสัญญาณของโลมาหัวบาตร

W20-ASII

รูปท่ี 5 : แผนภาพโซนาแกรมของเสียงพะยูน เสียงรองมีลักษณะแหลมเล็กวา “ปโย ปโย”

รูปท่ี 6 : กิจกรรมของพะยูนซึ่งพบวาพะยูนทํากิจกรรมตางๆในเวลากลางคืน โดยเฉพาะในชวงเชา 3:00 –6:00 จะสามารถบันทึกเสียงรองไดมาก (ผูวิจัย : อิชกิาวา)

ตนน้ํา

ทายน้ํา

4/2815:58:45 15:58:50 15:58:55 15:59:00

60

0รูปท่ี 7 : ความดันคลื่นเสียง (Pa) ของเสียงโซนาของโลมาหัวบาตร(สวนบน) และการเปลี่ยนแปลงทางเวลาของทิศทางการมาของเสียง (สวนลาง)จากภาพสามารถแสดงไดวาโลมาหัวบาตร 1 ตัววายน้ําจากตนน้ําไปยังทายน้ํา(ผูวิจัย : คิมุระ)

รูปท่ี 8 : เสียงการกินอาหาร (ในรูป F)สามารถบันทึกเสียงการกินหญาทะเลของพะยูนซึ่งพบวามีจังหวะเวลาในการกัดคงที่

พบวาพะยูนรวมตัวกันเพือ่หาอาหารที่บริเวณน้ําขึ้นทวมถึง ซึ่งอยูระหวางการศึกษาหาเหตุผลในการหาอาหารในบริเวณน้าํขึ้นทวมถึงท่ีเต็มไปดวยอันตรายของพะยูน (ผูวิจัย : อามาโมโตะ) รูปท่ี 9 : เคร่ืองบันทึกเสียงสําหรับพะยูน

耐圧容器 ICレコーダー

130mm

φ=

30 m

m

吸盤

ハイドロホン

耐圧容器 ICレコーダー

130mm

φ=

30 m

m

吸盤

ハイドロホンการพัฒนาอุปกรณบันทึกเสียงเสยีงรองทีต่ิดเขากับพะยูนโดยตรง (รูปที่ 9 )

ซ่ึงเปนประโยชนอยางยิง่โดยเฉพาะในการศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารระหวางแมลูก (ผูวิจัย : ชริากิ)

บริเวณทะเลที่ทําการศึกษา

2s 経過時間

20

10

0

kHz

周波

จํานวน

เสียงรอ

งในชว

งเวลา

5 นาที

ปรับเคร่ืองมือ

ความถี่ค

ลื่น

ไฮโดรไฟน

ภาชนะทนความดัน

ตัวดูด

เคร่ืองบันทึก IC

เวลาที่ผานไป

การศึกษาทางเสียงแบบรับสัญญาณของสัตวเล้ียงลูกดวยนมที่หายาก

Page 3: Brochure 2007 thai

รูปแบบการวายน้ําและการกระจายตัวในมหาสมุทรของลูกเตาทะเล

ลักษณะเฉพาะของการใชแหลงท่ีอยูอาศัยของลูกเตาทะเลการสืบพันธุของตัวเต็มวัย

รูปซาย : เตาตนุท่ีข้ึนฝงมาวางไขรูปลาง : (a) อาวไทย และ (b) ผลการติดตามเสนทางการเคลื่อนท่ีของเตาตนุในทะเลอันดามัน

เตาทะเลเมื่อโตเต็มวัยจะวายน้ําไปมาระหวางแหลงหาอาหารกับชายหาดที่เปนสถานที่วางไขซึ่งใชชวงระยะเวลาตอวงจรประมาณ 3 ป ระยะทางอาจมีไดนับพันกิโลเมตรเมื่อตัวเมียเขาสูฤดูวางไข จะทําการวางไขซ้ําๆกันเปนระยะเวลาถึง 2 สัปดาห ซึ่งอาจมากถึง 10 คร้ัง ซึ่งการวางไขโดยท่ัวไปจะเกิดขึ้นในฤดุท่ีมอุีณหภูมิสูงสุด

สําหรับการปลอยเตาทะเลออกสูธรรมชาตินั้นปญหาที่สําคัญอยางมากไดแก เตาทะเลทีถู่กเพาะเลี้ยงขึ้นจะสามารถวายน้ําในมหาสมุทรไดหรือไม และจะสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมของมหาสมุทรไดหรือไม ดังนั้นจึงจําเปนตองศึกษาขอมูลขอมลูของเตาทะเลในแตละระดับขั้นตอนการเจริญเติบโต เชน ความเร็วและวงจรการเคลื่อนท่ี รวมถึงความถี่ในการกระพือครีบ เพือ่ใชในการประเมินประสิทธิภาพในการวายน้ํา ซึ่งจากขอมลูดังกลาว สามารถทําการศึกษาวิธีท่ีเหมาะสมที่สุดในการปลอยเตาทะเลออกสูธรรมชาติอยางปลอดภัย (ผูวิจัย : นิชิซาวา)

วันที่ 1 หลักจากฟกออกจากไข

วันท่ี 28-56 หลักจากฟกออกจากไข

体重(g)10 100 1000

10

1

羽ば

たき

頻度

(Hz)

0.1

ทดลองในธรรมชาติ

ทดลองในบอเลี้ยง

前後

軸方

向の

加速

度(m

/s2 )

1回の羽ばたき

3

-3

0

13:39:18 13:39:202006/10/25

รูปซายบน : ขอมูลรูปคลื่นอัตราเรงของการกระพือครีบท่ีไดจากเครื่องบันทึกขอมูลความเรงรูปกลางบน : การเปลี่ยนแปลงความถี่ในการกระพือครีบตามการเติบโตรูปขวา : วงจรการเคลื่อนท่ีของลูกเตาทะเลหลังจากถกูปลอยออกสูธรรมชาติในแตละขัน้การเติบโต

วันท่ี 28วันท่ี 7

วันที่ 1 หลังจากฟกตัว

วันท่ี 99

เกาะยะเอยามะโชโท จังหวัดโอกินาวาเปนแหลงท่ีอยูอาศัยของลูกเตากระซึ่งชาวญี่ปุนคุนเคยเปนอยางดีโดยเฉพาะกระดอง คณะผูวิจัยมีวัตถุประสงคท่ีจะทําการศึกษาวงจรชีวิตของเตากระโดยการติดเครื่องบันทึกขอมูลเก่ียวกับอุณหภูมิและความลึกของน้ําท่ีบริเวณดานหลังของลูกเตา ซึ่งอุปกรณเหลานี้จะสามารถตั้งเวลาใหสามารถหลุดออกไดอยางอัตโนมัติ และลอยขึ้นสูผิวน้ําได ซึ่งในอดตีการนําอุปกรณบันทึกขอมูลกลับคืนมาจากสัตวน้ําท่ีวายน้ําไดอยางอิสระยังคงเปนปญหาใหญ แตในปจจุบันนั้นสามารถทําการแกไขปญหาดังกลาวไดสําเร็จ ( ผูวิจัย : คาตาโอกะ)

รูปซาย : เตากระท่ีถูกติดเคร่ืองบันทึกขอมูลท่ีสามารถหลุดออกได

รูปลาง : ขอมูลการดําน้าํของเตากระท่ีวัดไดจากเคร่ืองบันทึกขอความ

深度(m)

15:00 16:00 17:00

15

30

เตาทะเลวงจรชวิีตของสัตวจําพวกเตาทะเลนั้นตั้งแตเกิดจนถึงระยะสืบพันธุนัน้มีการดํารงชวิีตอยูในทุกสถานที่ไมวาจะเปน ชายหาด มหาสมุทร บรเิวณริมฝง โดยในหลักสูตรสารสนเทศทางชวีมณฑลไดทําการสํารวจเพื่อที่จะทําความเขาใจในวงจรชวิีตภาพรวมของเตาทะเลตัง้แตเริ่มออกจากไขไปจนถึงตัวเต็มวัยซ่ึงเริ่มสืบพันธุ โดยเฉพาะอยางยิ่งรูปแบบพฤติกรรมตามการเติบโต และการเปลีย่นแปลงตามลําดับข้ันการดําเนินชวิีต รวมถึงการเปลี่ยนแปลงแหลงที่อยูอาศัย จากขอมูลเชงิอเิล็กโทรนิกทางดานสภาวะแวดลอมรอบขางและพฤติกรรม ซ่ึงไดดําเนินการศึกษา ณ เกาะยะเอยามะโชโท จังหวัดโอกินาวาซึง่เปนบรเิวณเขตกึ่งเขตรอน และที่บริเวณเขตรอนทางทะเลภาคใตของประเทศไทย ซ่ึงทําการศึกษาเตากระ Eretmochelys imbricata และเตาตนุ เปนหลัก

ชายหาด

ใชชวิีตลองลอย

แหลงหาอาหาร

บรเิวณชายฝงมหาสมุทร

ในหลักสูตรสารสนเทศชีวมณฑล ไดทําการบันทึกขอมูลการเคลื่อนท่ีและวายน้ําของเตาทะเลโดยการใชแผนปายอิเล็กโทนิก ซึ่งอยูในระหวางการดําเนินการตรวจสอบความสัมพันธระหวางระยะทางของวงจรการเคลื่อนท่ีและพฤติกรรมการวายน้ํากับชวงฤดูการวางไขและจํานวนการวางไข (ผูวิจัย : ยาสุดะ, โอกุยามา)

สถานที่สืบพันธุ

กระพือครีบ 1 คร้ัง

อัตราเ

รงอยูใน

แนวแกน

(m/s2 )

ความถี่ในก

ารกระพือ

ครีบ (

Hz)

น้ําหนัก (g)

ความลึก

Page 4: Brochure 2007 thai

Japanese tilefish นั้นเปนวัตถุดิบราคาแพงของอาหารญี่ปุนชั้นสูงทีเ่รยีกวา “งจิุ” แตในปจจุบัน ปริมาณตามธรรมชาติกําลังลดลงอยางตอเนื่อง จึงทําให Japanese tilefish ไดกลายเปนปลาเปาหมายทีจํ่าเปนตองทําการเพาะเลี้ยง แตอยางไรก็ตามการดํารงชวิีตตามดินโคลนชายฝงของปลาประเภทนี้ยังไมเปนที่เขาใจกระจางชดั ตั้งแตป 2002 เปนตนมา ไดทําการศึกษาตดิตาม ทั้ง Japanese tilefish ตามธรรมชาติและแบบเพาะเลี้ยงโดยใชโทรมาตรชวีภาพอัลตาโซนิก ในชวงเวลากลางวันนั้นสามารถบันทึกสัญญาณเฉพาะตวจํานวนมากไดอยางเปนกลุม แตในเวลากลางคืนแทบจะไมสามารถบันทึกไดเลย (รูปซาย a) จึงสามารถสันนิษฐานไดวาปลาชนิดนี้จะทําการขุดสรางรงัทีพ่ื้นโคลนใตน้ํา และมีวงจรชวิีตโดยทีใ่นเวลากลางวันจะใชชวิีตนอกรงัและจะกลับเขารงัในเวลากลางคืน แตสําหรับปลาที่ถูกเพาะเลีย้งจะมีลักษณะวงจรชวิีตระหวางวันทีต่รงกันขามกัน (รูปขวา b) (ผูวิจัย : โยโกตะ)

100

80

60

40

20

04 5 6 7 8 9 10

21 22 23 24 25 26 27

100

80

60

40

20

0

2003年3月

2003年10月

(a)

(b)

一時

間あ

たり

の受

信回

11

28

รูปบน : Japanese tilefish หลังจากปลอยรูปลาง : ผลการคํานวณความถี่ที่รับสัญญาณตอ 1

ชั่วโมง (a)ตามธรรมชาติ(b)เพาะเลี้ยง

ซ่ือ Blackspot Rockfish อาจไมเปนที่คุนเคยมากนัก (ชื่อทองถิ่น : มะกุบู) แตปลาชนดินี้เปนหนึง่ในปลาราคาแพงทั้ง 3 ชนดิของจังหวัดโอกินาวาซึง่มีราคาสูงมากตามทองตลาด แตในปจจุบนัเนื่องจากปริมาณที่จับไดมีปริมาณลดลง ทําใหจําเปนตองมีการเพิ่มปริมาณในธรรมชาตโิดยการปลอยพันธุปลาที่ทําการเพาะพันธุข้ึน ซ่ึงในหลักสูตรสารสนเทศทางชวีมณฑลนั้น ไดดําเนินการศึกษาหาขอมูลหลงัจากที่ปลอยพันธุปลาลงสูทองทะเลตามธรรมชาตวิา “ทําอะไร” “ที่ไหน” และ “เมื่อไร” โดยใชวิธีโทรมาตรอัลตาโซนกิ จากการศึกษาพบวาปลา Blackspot tuskfish ที่ปลอยลงสูธรรมชาตินั้น จํานวนครึง่หนึ่งจะดํารงชวิีตอยูในบรเิวณที่ทําการปลอยนานกวาครึ่งปข้ึนไป และตอจากนั้นจึงคอยๆขยายขอบเขตการดํารงชวิีตกวางขึ้น นอกจากนั้นยังสามารถแสดงรูปแบบการดํารงชวิีตระหวางวนัไดชัดเจนโดยพบวาในชวงเวลากลางคืนปลา Blackspot Rockfish จะดํารงชวิีตอยูบรเิวณกนทะเล และในเวลากลางวันจะเคลื่อนที่ข้ึนลงไปมาระหวางความลึก 20 เมตรถงึ 10 เมตร (ผูวิจัย : คาวาบาตะ)

2006/10/17 2006/10/15

鉛直移動

水平移動

受信

機ID

滞在

水深

(m

1

3

5

20

10

0

รูปบน : ปลา Blackspot Rockfish เพศเมียตัวเต็มวัยรูปซาย : ปลา Blackspot Rockfish ท่ีปลอยลงสูธรรมชาติเมื่อ เดือนกันยายน ป 2006 ซึ่งมีการเคลื่อนท่ีระหวางวันท้ังขึ้นลงและแนวระดับอยางเปนอุดมคติ บริเวณสีเทาแสดงถึงเวลากลางคืน

船による追跡

設置(待ち受け)型受信機双曲線位置決定用の

設置型受信

データロガー回収システム

船による追跡

設置(待ち受け)型受信機双曲線位置決定用の

設置型受信

データロガー回収システム

ปลาบึก (Pangasianodon gigas) เปนปลาน้ําจดืขนาดใหญที่สุดในโลกมีถิ่นอาศัยอยูในพืน้ที่ลุมแมน้ําโขง ซ่ึงขนาดใหญอาจมีความยาวถึง 3 เมตร และมีน้ําหนักถึง 300 กก. ภายใตคําขอจากรัฐบาลไทยเมื่อป พ.ศ. 2544 คณะผูวิจัยไดริเริ่มโครงการเฝาตดิตามปลาบึกเพื่อทําการศึกษาพฤติกรรมในการดํารงชวิีตโดยการใช เทคโนโลยีโทรมาตรทางชวีภาพ (Biotelemetry) ซ่ึงไดถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใชทัง้ในแมน้ําโขงและอางเก็บน้ํา (แมปม) ในประเทศไทย ซ่ึงพบวาในชวงเวลากลางวันปลาบกึมีการเคลื่อนที่ข้ึนลงซ้ําๆ แตในเวลากลางคืนไมพบการเคลื่อนที่ข้ึนลง (นักวิจัย :มิตะมูระ)

การศึกษาพฤติกรรมของปลาที่มีความสําคัญทางการประมงโดยใชโทรมาตรชวีภาพอัลตาโซนิก ซ่ึงสามารถทําการเก็บขอมูลเกี่ยวกับพฤตกิรรมโดยวธีิการตางๆ เชนติดตามการเคลื่อนที่ของปลาโดยใชเรือหรือใชวิธีการติดตัง้เครื่องรับสัญญาณใตน้าํเพื่อรับสัญญาณจากตัวปลา เปนตน ซ่ึงในปจจุบันไดมีการพัฒนาวิธีการนําเครื่องบันทึกขอมูลกลับมา ทําใหเปนประโยชนตอการพัฒนาตอไปในอนาคต

สัตวน้ําที่ไดทําการติดเครื่องสงสัญญาณ:ปลาบึก、Japanese tilefish、Blackspot tuskfish、Blackspot rockfish 、ปลาสิงโต、Japaneseseaperch 、ปลากะพงแดง 、Black seabream、Moon jelly 、ปลาเยลโลเทล 、Bluefin tuna 、ปลาไหลทะเล 、Atlantic cod 、Lumpsucker 、Coalfish、ปลาไหลยูโรเปยน เปนตน

เคร่ืองสงสัญญาณอัลตาโซนิก(V16、V8、บริษัทVemco)

เคร่ืองสงสัญญาณชนิดติดตั้ง(VR2、บริษัทVemco)

การติดตามพฤติกรรมของสตัวจําพวกปลา- เพื่อการใชทรัพยากรทางการประมงทีส่ําคญัอยางยั้งยืน-

ปลาบึก

รูปขวา:ปลาบึกรูปบน:การเคลื่อนท่ีขึ้นลงระหวางวันของปลาบึก

Japanese tilefish

Blackspot tuskfish

0

6 June 8 June 2003

369

12

Dep

th (m

) 0

6 June 8 June 2003

369

12

Dep

th (m

)

ติดตามโดยเรือ

ระบบนําเคร่ืองบันทึกขอมูลกลับ

เคร่ืองรับสัญญาณประเภทติดต้ัง (รอรับสัญญาณ)

เคร่ืองรับสัญญาณแบบติดต้ังสําหรับกําหนดตําแหนงพาราโบลิก

ความลึก

(เมตร

)

6 มิถุนายน 8 มิถุนายน 2003

จํานวน

ครั้งที่

รับสัญ

ญาณต

อ 1 ชัว่

โมง

มีนาคม ป 2003

ตุลาคม ป 2003

เคลื่อนท่ีขึ้นลง

ความลึก

ที่พบ (

เมตร)

เคลื่อนท่ีในแนวระดับ

เครื่องรับ

สัญญา

ณID