73

Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best
Page 2: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ

โครงการจัดทํ าแผนแมบทอตุสาหกรรมรายสาขา(สาขาเซรามิกและแกว)

เสนอส ํานักงานเศรษฐกิจอตุสาหกรรม

กระทรวงอตุสาหกรรม

โดย สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหมมถิุนายน 2545

Page 3: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

คุณภาพและรูปแบบเปนหน่ึงในอาเซียน 2557Best Quality and Design in ASEAN 2014

Page 4: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

คณะผูวิจัย

หัวหนาโครงการวิจัย ดร. ม่ิงสรรพ ขาวสอาดคณะนักวิจัย ดร. จิราวรรณ ฉายสุวรรณ

นายอัครพงศ อ้ันทองนายคมสัน สุริยะนางสาวกฤติยาพร วงษานายจักรี เตจะวารีนางสาวอร จุนถิระพงศนางสาวสิริกานต จันสานางสาววไลรักษ รัติวนิช

ท่ีปรึกษาโครงการ ดร. สมนึก ศิริสุนทรนายณรงคศักดิ์ ผาเจริญนายโสภณ เจนรุงโรจน

Page 5: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สวนประกอบของรายงานโครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

1. บทสรุปผูบริหารโครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

2. รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณโครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)สารบัญสารบัญตารางและรูปบทนํ าสวนท่ี 1 ขอมูลพื้นฐานประเด็นปญหาและการวิเคราะหอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวของไทย

ตอนที่ 1 อุตสาหกรรมเซรามิก

บทท่ี 1 บทบาท ความสํ าคัญ และวิวัฒนาการของอตุสาหกรรมเซรามิกของไทย1.1 บทบาทและความสํ าคัญของอุตสาหกรรมเซรามิก1.2 วิวัฒนาการของอตุสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทย1.3 บทสรุป บทบาท ความสํ าคัญ และวิวัฒนาการของอตุสาหกรรมเซรามิก

บทท่ี 2 แหลงผลิตเซรามิกท่ีสํ าคัญของโลก2.1 แหลงผลิตเครื่องสุขภัณฑ2.2 แหลงผลิตกระเบื้องเคลือบ2.3 แหลงผลิตเครื่องใชบนโตะอาหาร2.4 บทสรุป แหลงผลิตเซรามิกที่สํ าคัญของโลก

บทท่ี 3 โครงสรางของอตุสาหกรรมเซรามิก3.1 ประเภทของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย3.2 โครงสรางอตุสาหกรรมเซรามิกไทย3.3 จ ํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงาน3.4 แหลงอตุสาหกรรมการผลิตเซรามิกของไทย3.5 การวิเคราะหโครงสรางการกระจุกตัวของอตุสาหกรรมเซรามิกไทย3.6 การวิเคราะหการเชื่อมโยงของอตุสาหกรรมเซรามิกไทย3.7 การวิเคราะหตนทุนการใชทรัพยากรภายในประเทศของอุตสาหกรรมเซรามิก3.8 บทสรุป โครงสรางของอตุสาหกรรมเซรามิก

Page 6: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทท่ี 4 สถานภาพของอตุสาหกรรมเซรามิก4.1 ศักยภาพการผลิต และการจํ าหนายเซรามิกของไทย4.2 สถานภาพเทคโนโลยีการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกของไทย4.3 สถานภาพดานการสงออกเซรามิกของไทย4.4 บทสรุป สถานภาพอุตสาหกรรมเซรามิก

บทท่ี 5 ความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมเซรามิก5.1 ท่ีมาของการเติบโตของการสงออก : การวิเคราะหดวย CMS5.2 การวิเคราะหความไดเปรียบในการแขงขันดวยดัชนีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบที่

ปรากฎชัด (Revealed Comparative Advantage : RCA)5.3 คูแขงท่ีสํ าคัญ5.4 ความไดเปรียบในการแขงขันของไทยและประเทศคูแขงในแตละผลิตภัณฑ5.5 การวิเคราะหแรงกระทํ าตออตุสาหกรรมเซรามิกไทยโดยใช Five Forces Model5.6 ความสามารถหลัก (Core Competencies) ของอตุสาหกรรมเซรามิกไทย5.7 การวิเคราะหปจจัยแหงความสํ าเร็จ (Key Success Factors) ของการประกอบการ

อุตสาหกรรมเซรามิก5.8 บทสรุป ความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย

บทท่ี 6 การตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิก6.1 ลักษณะของสินคาเซรามิกของไทย6.2 ตลาดสงออกที่สํ าคัญ6.3 ชองทางการตลาด6.4 การกํ าหนดราคาสินคา6.5 การออกงานแสดงสินคา6.6 บทสรุป การตลาดของอตุสาหกรรมเซรามิก

ตอนที่ 2 อุตสาหกรรมแกวและกระจกบทท่ี 7 สถานภาพอตุสาหกรรมแกวและกระจก

7.1 บทบาทและความสํ าคัญของอุตสาหกรรมแกวและกระจกในประเทศไทย7.2 วิวัฒนาการของอตุสาหกรรมแกวและกระจกในประเทศไทย7.3 ประเภทของการผลิต7.4 ผูผลิต7.5 จ ํานวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงาน7.6 การวิเคราะหโครงสรางการกระจุกตัวของอตุสาหกรรมแกวและกระจก

Page 7: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

7.7 การวิเคราะหความเชื่อมโยงของอตุสาหกรรมแกวและกระจกของไทย7.8 ตนทุนการใชทรัพยากรภายในประเทศของอุตสาหกรรมแกวและกระจก7.9 สถานภาพการผลิตแกวและกระจกของไทย7.10 สถานภาพทางดานเทคโนโลยีในการผลิตแกวและกระจกของไทย7.11 สถานภาพดานการสงออกแกวและกระจกของไทย7.12 ความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมแกวและกระจกไทย7.13 แนวโนมมูลคาการสงออกเครื่องใชบนโตะอาหารระหวางป พ.ศ. 2545 – 25517.14 บทสรุป สถานภาพอุตสาหกรรมแกวและกระจก

ตอนที่ 3 ปจจัยท่ีมีผลตอการพัฒนาและปรับตัวของอตุสาหกรรมเซรามิกและแกว

บทท่ี 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว8.1 แหลงวัตถุดิบและขอกํ าหนดในการใชทรัพยากร8.2 เครื่องมือเครื่องใช8.3 สาธารณูปโภค8.4 บทสรุป ปจจัยการผลิตในอตุสาหกรรมเซรามิกและแกว

บทท่ี 9 นโยบายและมาตรการที่เก่ียวของกับอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว9.1 การสนับสนุนดานการลงทุนและสินเชื่อ9.2 นโยบายดานภาษีอากรสํ าหรับผลิตภัณฑเซรามิกและแกว9.3 การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ9.4 นโยบายและมาตรการที่สํ าคัญในประเทศคูคาท่ีสํ าคัญของไทย9.5 มาตรการทางดานอื่นๆ9.6 บทสรุป นโยบายและมาตรการที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว

บทท่ี 10 การวิจัยและพัฒนาในอตุสาหกรรมเซรามิกและแกว10.1 การวิจัยและพัฒนาของหนวยงานเอกชน10.2 การวิจัยและพัฒนาของหนวยงานของรัฐ10.3 ทัศนคติของผูประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกตอการบริการของรัฐ10.4 บทสรุป การวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว

Page 8: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สวนท่ี 2 บทสรุป ขอเสนอแนะแนวทางการสงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวของไทย

บทท่ี 11 การพัฒนาบุคลากรในอตุสาหกรรมเซรามิกและแกว11.1 การฝกอบรมระยะสั้น11.2 หลกัสูตรการเรียนการสอน11.3 การพัฒนาบุคลากรในระดับสูง11.4 บทสรุป การพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว

บทท่ี 12 ผลกระทบจากการรวมกลุมทางการคาและขอตกลงทางการคาระหวางประเทศที่สํ าคัญ12.1 การรวมกลุมทางการคาระหวางประเทศ12.2 ความตกลงทางการคาระหวางประเทศ12.3 การเขาเปนสมาชิก WTO ของจีนกับผลกระทบตออุตสาหกรรมเซรามิกของไทย12.4 การปรับตัวในยามวิกฤตเศรษฐกิจของผูประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิก12.5 บทสรุป การรวมกลุมทางการคาและขอตกลงทางการคาระหวางประเทศที่สํ าคัญ

แผนแมบทอุตสาหกรรมเซรามิก

แผนแมบทอุตสาหกรรมแกว

ภาคผนวกภาคผนวก 1 การศึกษาความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบของแกวและกระจกเมื่อเปรียบเทียบกับคูแขง

(Revealed Comparative Advantage: RCA) และที่มาของความเติบโตของการสงออกแกวและกระจกโดยวิธีการ Constant Market Share (CMS)

ภาคผนวก 2 การวัดตนุทนการใชทรัพยากรภายในประเทศ (DRC)ภาคผนวก 3 การวิเคราะหการเชื่อมโยงของอตุสาหกรรมเซรามิกไทยภาคผนวก 4 รหัสฮารโมไนซของอตุสาหกรรมเซรามิกภาคผนวก 5 รหัสฮารโมไนซของอตุสาหกรรมแกวและกระจกภาคผนวก 6 รายละเอียดโครงการที่เกี่ยวของกับสาขาอุตสาหกรรมเซรามิกภายใตแผนปรับปรุงโครงสราง

อตุสาหกรรม ระยะที ่2ภาคผนวก 7 ศักยภาพในการสงออกของอตุสาหกรรมเซรามิกของไทยภาคผนวก 8 วธิกีารพยากรณแนวโนมมูลคาการสงออก

บรรณานุกรม

Page 9: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best
Page 10: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหารโครงการจัดทํ าแผนแมบทอตุสาหกรรมรายสาขา

(สาขาเซรามิกและแกว)

เสนอส ํานักงานเศรษฐกิจอตุสาหกรรม

กระทรวงอตุสาหกรรม

โดยสถาบนัวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม

มถิุนายน 2545

Page 11: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหารแผนแมบทอตุสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

อุตสาหกรรมเซรามิก

อตุสาหกรรมเซรามกิมกีารสงออกกวา 20,000 ลานบาท ซึง่นบัเปนสนิคาออกล ําดบัที ่35 ในป พ.ศ. 2544และกอใหเกิดการจางงานจํ านวนมากทั้งในอุตสาหกรรมขนาดใหญ ขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) โดยทั้งอตุสาหกรรมมกีารจางงานรวมประมาณ 63,000 คน เมือ่เทยีบกบันานาประเทศแลว ในป พ.ศ. 2543 ประเทศไทย มีกํ าลังการผลิตสุขภัณฑเปนลํ าดับ 8 ของโลก เปนผูผลิตกระเบื้องเซรามิกในลํ าดับที่ 11 และเปนผูสงออกเครื่องใชบนโตะอาหารอันดับที่ 8 ของโลก

สถานภาพอตุสาหกรรม

1. ดานเทคโนโลย ี: ระดับและความสามารถในการใชเทคโนโลยีในกระบวนการปฏิบัติการผลิตเซรามิกและ

ในการวิจัยพัฒนาในอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยนั้น หากจัดตามความกาวหนา/ลาหลังของเทคโนโลยีตลอดจนเครื่องมือเครื่องจักรแลวพบวามีความหลากหลาย โดยมีท้ังการวิจัยพัฒนาโดยใชหลักการทางวทิยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตรช้ันสูง การผลิตดวยเครื่องจักรอัตโนมัติและใชระบบคอมพิวเตอรควบคุมการออกแบบ และการผลติแบบสมยัใหมท่ีมปีระสทิธภิาพสงูในระดบัแนวหนาและไดมาตรฐานโลก ไปจนถงึการวิจัยพัฒนาดวยกระบวนการลองผิดลองถูกและผลิตดวยเครื่องมือแบบดั้งเดิมซึ่งมีประสิทธิภาพตํ่ าและใชแรงงานอยางสิ้นเปลือง ชองวางในการพัฒนาเทคโนโลยีจึงยังมีความแตกตางที่สูงมากเมื่อเทียบกับอตุสาหกรรมอืน่

2. ดานการสงออก :ในบรรดาผลิตภัณฑเซรามิกทั้งหมดที่ผลิตในประเทศไทย พบวาเครื่องใชบนโตะอาหารมีมูลคา

การสงออกมากทีส่ดุในป พ.ศ. 2544 (6,446 ลานบาท) รองลงมาคอืเครือ่งสขุภณัฑ (3,647 ลานบาท) อนัดบัทีส่ามคือ กระเบื้องเซรามิก (2,339 ลานบาท) อันดับที่สี่คือของชํ ารวยและเครื่องประดับ (1,274 ลานบาท) และอันดับสุดทายคือลูกถวยไฟฟา (492 ลานบาท) โดยที่ตลาดสงออกที่สํ าคัญที่สุดในป พ.ศ. 2543 ไดแกตลาดสหภาพยุโรป (157 ลานเหรียญสหรัฐฯ) รองลงมาคือตลาดสหรัฐฯ (133 ลานเหรียญสหรัฐฯ) สวนในตลาดญี่ปุนมีมูลคาการสงออกผลิตภัณฑเซรามิกจากประเทศไทยเพียง 17.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ ท้ัง 3 ตลาดรวมกันคิดเปนรอยละ 65 ของการ สงออกผลิตเซรามิกของไทย

ในตลาดสหรัฐฯ สินคาท่ีไทยมีความไดเปรียบมากที่สุดลดหลั่นกันลงมาจากมากไปหานอย คือ เครื่องสุขภัณฑ > เครื่องใชบนโตะอาหารพอรซเลน > ของชํ ารวยและเครื่องประดับสโตนแวร >

Page 12: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบท อุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 3

เครือ่งใชบนโตะอาหารและในบานทีเ่ปนสโตนแวร > ของช ํารวยและเครือ่งประดบัพอรซเลน > เครือ่งใชในบานและในหองนํ้ าท่ีเปนพอรซเลน สวนผลิตภัณฑนอกเหนือกวานี้จัดวายังไมมีความไดเปรียบ ในตลาดยโุรป ไทยไดเปรยีบในดานเครือ่งใชบนโตะอาหารสโตนแวร รองลงมาคอื เครือ่งใชบนโตะอาหารพอรซเลน ของช ํารวยและเครือ่งประดบั และเครือ่งสขุภณัฑ ในตลาดญี่ปุนไทยมีความไดเปรียบในดานเครื่องสุขภัณฑ รองลงมาคือ ของชํ ารวยและเครื่องประดับ เครื่องใชในบานและบนโตะอาหารสโตนแวร

เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคูแขงแลวพบวา ในตลาดสหรัฐฯนั้น สเปนและอิตาลีเปนผูมีความไดเปรียบสูงสุดดานกระเบื้องปูพื้น ไทยเปนผูนํ าในดานสุขภัณฑและเครื่องใชบนโตะอาหารพอรซเลน ผลิตภัณฑท่ีเหลือ จีนเปนฝายไดเปรียบ ยกเวนลูกถวยไฟฟา ในตลาดสหภาพยุโรป ภาพรวมคลายๆ กับตลาดสหรัฐฯ ยกเวนแตหมวดเครื่องใชบนโตะอาหารสโตนแวรซึ่งไทยไดเปรียบมากกวาจีน สวนในอินเดียมีความไดเปรียบดานลูกถวยไฟฟาในตลาดสหภาพยุโรป สํ าหรับในตลาดญี่ปุน อิตาลีและสเปน นอกจากจะไดเปรียบเรื่องกระเบื้องแลวยังไดเปรียบในเรื่องของชํ ารวยและเครื่องประดับอีกดวย

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศคูคาเปนปจจัยสํ าคัญที่สุดท่ีชวยใหการสงออกของไทยขยายตัวในทุกผลิตภัณฑและในทุกตลาด รองลงมาคือความสามารถในการแขงขันของไทยที่เพิ่มข้ึนในตลาดสหรัฐฯและสหภาพยุโรป แตอยางไรก็ตามตลาดเซรามิกในป พ.ศ. 2543 มีการขยายตัวคอนขางนอยและในบางตลาดถึงกับหดตัว

บทบาทของรฐั

บทบาทของรัฐในอุตสาหกรรมเซรามิกที่เห็นชัดเจนที่สุดจะเปนดานการสงเสริมเทคโนโลยี การบริการอุตสาหกรรมและการพัฒนากํ าลัง อยางไรก็ดี บทบาทของรัฐยังตองปรับปรุงดังตอไปนี้

1. รัฐขาดบุคลากรที่มีความรูและประสบการณในภาคอุตสาหกรรม ทํ าใหไมสามารถใหบริการผูประกอบการไดอยางมีประสิทธิภาพและตรงตอความตองการ

2. ขอกํ าหนดราชการทํ าใหการบริการใชเวลาคอนขางนานและไมครบวงจร ท้ังยังไมสามารถสรางเครือขายอยางเต็มรูปแบบได

3. ขาดการบริการแกไขปญหาระดับโรงงาน การแบงแยกระหวางบริการดานเทคโนโลยีและสารสนเทศดานการตลาด รวมท้ังขาดขอมูลเกี่ยวกับสมรรถนะผูประกอบการทํ าใหบริการท่ีใหไมสอดคลองกับความตองการและความจํ าเปนของผูประกอบการ

4. ตลอดระยะเวลา 10 ปท่ีผานมา แมภาครัฐจะจัดสรรงบประมาณและบุคลากรเพื่อวิจัยและพัฒนาเซรามกิในปรมิาณคอนขางพอเหมาะและตอเนือ่ง แตยงัขาดแนวทางในการวจิยัและพฒันาทีชั่ดเจนซึ่งเห็นไดจากการที่งบ-ประมาณมากกวารอยละ 70 ถูกนํ าไปใชในการวิจัยและพัฒนาเซรามิกสมัยใหม ทํ าใหมีงานวิจัยและพัฒนาตกไปถึงผูประกอบการเซรามิกแบบดั้งเดิมคอนขางนอย

Page 13: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

4 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

โดยเฉพาะการวิจัยและพัฒนาที่มีศักยภาพในเชิงพาณิชยและงานวิจัยท่ีสามารถแกไขปญหาและยกระดับทางดานเทคโนโลยีใหกับผูประกอบการ

5. สํ าหรับการพัฒนากํ าลังคนนั้น ถึงแมจะมีการเรียนการสอนครบทุกระดับ แตกํ าลังจะขาดอาจารยผูสอนอยางรุน-แรงใน 5 – 10 ปขางหนา เพราะอาจารยในรุนปจจุบันสวนใหญจะเกษียณอายุ ในขณะที่อาจารยรุนใหมท่ีมีอยูเปนผูท่ีจบการศึกษาทางดานเซรามิกสมัยใหมท่ีจบการศึกษาในระดับปริญญาโท/เอกจากตางประเทศ

6. ภาครฐัยงัใหการสนบัสนนุผูประกอบการเซรามิกไปงานแสดงสินคาในตางประเทศคอนขางนอยสวนการออกงานแสดงสินคาในประเทศ การจัดงาน Bangkok International Gift and Houseware Fair (BIG) มกัเปลีย่นสถานทีแ่ละวนัเวลาในการจดังานทกุป ซึง่อาจท ําใหผูซือ้ตางชาติมีความสับสน

จดุแขง็

1. มแีรงงานฝมอืท่ีประณตี มวีนิยั2. มรีากฐานทางวฒันธรรม สามารถน ําไปสรางเอกลกัษณแกผลติภณัฑในเชงิพาณิชยได3. เมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบาน ไทยมีบรรยากาศทางสังคมและการเมืองท่ีเหมาะแกการลงทุน

ส ําหรบับรษิทัตางชาติ4. ภายหลงัจากทีจ่นีซึง่เปนผูสงออกเซรามกิทีม่ตีนทนุตํ ่าท่ีสดุประเทศหนึง่ในเอเซยีไดเขารวม WTO

รัฐบาลจีนจะไมสามารถอุดหนุนคาใชจายดานพลังงานหรือขอบังคับดานอื่นๆ ท่ีทํ าใหเกิดการแขงขันการคาท่ีไมเปนธรรมเชนในอดตี

5. มตีลาดในประเทศและประเทศเพือ่นบานรองรบัส ําหรบัผลติภณัฑท่ีมเีกรดรองลงมา

จดุออน

1. ผูผลติสวนใหญไมมรีปูแบบ (Designs) ผลติภณัฑท่ีเปนของตนเองเพราะเปนผูรบัจางผลติ จงึทํ าใหยังไมมีสมรรถนะที่จะมีเครื่องหมายการคา (Brands) ท่ีเปนที่ยอมรับในระดับโลก สงผลใหไมสามารถก ําหนดราคาและสรางมลูคาเพิม่จากรปูแบบทีม่เีอกลกัษณเฉพาะตวัได

2. ระยะเวลาทีใ่ชตัง้แตการออกแบบและผลติตนแบบยงัใชเวลาคอนขางนานเทยีบกบัคูแขงในเอเซยี3. ผูประกอบการรายยอย (SMEs) ขาดความรูทางดานการจัดการธุรกิจ โดยเฉพาะในการคิดตนทุน

การผลิตสนิคาท่ีตนออกแบบเอง จงึสงผลกระทบตอการตัง้ราคาใหเหมาะสมรวมทัง้การตดัราคากนัเองอกีดวย นอกจากนัน้ ยงัขาดความรูเกีย่วกบัการจดัการอตุสาหกรรมระดบัโรงงานและมปีญหาดานการเขาถงึตลาด ขอมลูตลาด ซึง่มคีวามสมัพนัธตอการออกแบบ

Page 14: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบท อุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 5

4. ผูประกอบการเหมืองสวนใหญโดยเฉพาะเหมืองขนาดเล็กยังขาด Know-how ท่ีเหมาะสม ขาดงบประมาณและมีขอจํ ากัดในการลงทุนทํ าเหมืองและแตงแรดินใหมีคุณภาพสมํ่ าเสมอและใหมีปริมาณสํ ารองพอเพียงกับความตองการของโรงงานเซรามิกได สวนผูประกอบการเซรามิกโดยเฉพาะผูประกอบการขนาดกลางและเล็กซึ่งผลิตสินคาท่ีมีมูลคาเพิ่มตํ่ า พยายามจะลดตนทุนโดยการผสมเนื้อดินเองจากแรดินราคาตํ่ าท่ีอาจมีคุณภาพไมสมํ่ าเสมอ แตสวนใหญยังขาดความรู เทคโนโลยี และทุนในการผลิตดินผสมใหมีคุณภาพ

5. โรงงานสวนใหญในไทยโดยเฉพาะโรงงานกระเบื้องและเครื่องใชบนโตะอาหารเปนโรงงานรุนแรกๆ ท่ีตั้งมานานกวา 10 ป และไมมีโรงงานรุนหลังๆ ตามมา ทํ าใหมีปญหาในเรื่องของความไมทันสมัยของเทคโนโลยีท่ีใช ตลอดจนปญหาของประสิทธิภาพของเครื่องจักร

6. ผูประกอบการโดยมากยังขาดความรูในดานเครื่องจักร นิยมซื้อเครื่องจักรที่มีราคาถูกหรือ เครื่องจักรมือสอง และขาดผู ท่ีมีความรู และความชํ านาญที่จะสามารถใชงานและแกไข ปรับสภาพเครื่องจักรเหลานั้นใหทํ างานไดเต็มประสิทธิภาพ

7. ผูประกอบการขาดความเขาใจถึงความสํ าคัญของการพัฒนาบุคลากรและสรางแรงจูงใจใหบุคลากรปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ นิยมจะจางคนงานไรฝมือเพื่อลดตนทุนคาแรงงาน

โอกาส

1. การพัฒนาผลิตภัณฑใหมีคุณภาพ มีความหลากหลาย มีเอกลักษณเฉพาะตัว และมีมูลคาสูงเปนแนวทางสํ าคัญที่จะหนีจากการแขงขันในตลาดลางที่ดุเดือดและเขมขนขึ้นทุกวัน ตัวอยางเชน ถวยชามทีใ่ชในเตาไมโครเวฟและลางดวยเครือ่งลางจานได ผลติภณัฑท่ีระลกึส ําหรบัการทองเทีย่วผลิตภัณฑเซลาดอน โดยพัฒนาสีเซลาดอน (เขียว-ฟา) ใหเปนเอกลักษณของไทย และ/หรือ ของแตละเขตผลิต

2. การผลิตสินคาท่ีมีศักยภาพดานการตลาดและมีมูลคาเพิ่มคอนขางสูง ไดแก เครื่องสุขภัณฑ ผลติภัณฑท่ีข้ึนรูปและ/หรือวาดลวดลายดวยมือ ลูกถวยไฟฟา ฯลฯ

3. สนิคาเซรามิก High Technology ตลอดจนสินคาเซรามิกยุคใหม (New Ceramics) ในเชิงธุรกิจอุตสาหกรรม เชน เซรามิกสํ าหรับประกอบวาลว กระบวนการผลิตช้ินสวนเซรามิกยุคใหมสํ าหรับอุตสาหกรรมรถยนต อุตสาห-กรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเพื่อรองรับความตองการของอุตสาหกรรมในประเทศ

4. การยายฐานของบรรษัทขามชาติจากประเทศที่มีคาแรงแพง รวมท้ังซัพพลายเออรของวัตถุดิบและสารเคมีตลอดจนการรวมทุนผลิตสินคาข้ันสุดทายจะชวยใหสามารถยกระดับดานเทคโนโลย ี ขยายตลาดและเกดิการไหลเวยีนของความรูและเทคโนโลยใีนประเทศอยางกวางขวางและทํ าใหการใหบริการลูกโซการผลิตในประเทศครบวงจร

Page 15: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

6 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

อปุสรรค

1. สหรฐัอเมรกิาก ําลงัผานกฎหมายทีจ่ะลดภาษนี ําเขาสนิคาจากเวยีดนามซึง่แตเดมิตองเสยีภาษนี ําเขาผลิตภัณฑเซรามิกในอัตราที่สูงกวาไทยมาก คือ ประมาณรอยละ 17.5 – 22.0

2. การเปนสมาชกิ WTO ของจนีในเดอืนพฤศจกิายน พ.ศ. 2544 จะท ําใหการกดีกนัผลติภณัฑเซรามกิในประเทศทีเ่ปนสมาชกิ WTO ลดลง จนีจะสามารถเขาไปตตีลาดสงออกผลติภณัฑเซรามกิของไทยในตางประเทศและในประเทศไทยไดมากขึ้นกวาเดิม และการที่จีนและประเทศอาเซียนจะเปดเปนเขตการคาเสรีในอนาคตก็ยิ่งเพิ่มแรงกดดันดานการแขงขันใหแกอุตสาหกรรมเซรามิกใน ภูมิภาคนี้ ดังนั้นไทยจํ าเปนตองหนีจีนซึ่งปจจุบันตีตลาดนานาชาติในกลุมของสินคาท่ีมีราคาถูกในตลาดลาง ไปสูการเนนการผลิตสินคาคุณภาพสูงสํ าหรับตลาดบนใหมากขึ้น

3. การยายฐานของผูผลิตในประเทศที่พัฒนาแลวไปยังประเทศคูแขงคือ จีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนามทํ าใหการแขงขันรุนแรงยิ่งข้ึน

4. ภาวะขาดแคลนอาจารยผูสอนวิชาเซรามิกดั้งเดิมอยางรุนแรงจะเกิดข้ึนภายใน 5 - 10 ปขางหนา เพราะอาจารยท่ีมีความรูและเปนกลไกหลักในการผลักดันอุตสาหกรรมกํ าลังจะเกษียณราชการ

5. ประเทศคูคาและคูแขงมีการสรางกลไกการกีดกันทางการคา ตัวอยางไดแก5.1 กลุมประเทศพัฒนาแลวพยายามกํ าหนดมาตรฐานวิศวกรในอุตสาหกรรมสินคาสงออก

ผานองคกรเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจในเอเซียแปซิฟก (APEC) ซึ่งขอตกลงนี้ อาจผลักดันใหหผูประกอบการตองจางวิศวกรตางประเทศเพื่อรักษาสิทธิในการสงออก

5.2 กลุมประเทศในสหรัฐอเมริกาและยุโรปกํ าหนดมาตรฐานผลิตภัณฑเซรามิกออกมาใหมอยางตอเนื่อง โดยเนนถึงความปลอดภัยของผูบริโภค ความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและมาตรฐานของสินคา ทํ าใหตนทุน ระยะเวลาและขั้นตอนในการสงออกสินคาเพิ่มมากขึ้น

ทศิทางการพฒันาในระยะ 10 ป

ในปจจุบัน ไทยนับเปนผูนํ าในดานการผลิตและการตลาดในอาเซียนอยูแลว โดยมีแนวโนมในการสงออกเพิม่ข้ึนตัง้แตรอยละ 1 – 5 ตอป และจะมยีอดสงออกประมาณ 45,000 – 55,000 ลานบาท ในป พ.ศ. 2551อยางไรก็ตาม บทบาทของจีนในตลาดโลกจะมีมากขึ้นหลังการเขารวม WTO ในปลายป 2544 และการเปด เขตการคาเสรีอาเซียน ดังนั้น การเปนผูนํ าตลาดในอาเซียนจะเปนกาวสํ าคัญที่จะเตรียมตัวผูประกอบการไทยใหพรอมท่ีจะรับมือจีน เมื่อจีนและอาเซียนเขาสูเขตการคาเสรีใน 10 ปขางหนา จีนจะเขามาตีตลาดภายใน ของไทยได ในการรักษาสถานภาพของผู-น ําใน 10 ปขางหนา ตองอาศัยความรวมมือของภาครัฐ เอกชน และฝายวิชาการท่ีจะปรับปรุงคุณภาพและรูปแบบผลิตภัณฑใหเหนือช้ันขึ้นไป

Page 16: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 7

วสิยัทศัน

“คุณภาพและรูปแบบเปนหนึ่งในอาเซียน พ.ศ. 2557

: Best Quality and Design in ASEAN : 2014”

พันธกจิ

1. พัฒนาระบบมาตรฐานวัตถุดิบเพื่อใหสามารถพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบจากแหลงตางๆ2. สงเสริมนวัตกรรมและการยกระดับเทคโนโลยีการผลิตตั้งแตตนนํ้ าถึงปลายนํ้ าใหมีคุณภาพเปน

สากลและรูปแบบผลิตภัณฑท่ีหลากหลาย3. ใหบริการอุตสาหกรรมอยางตรงเปาและเหมาะกับระดับความสามารถของผูประกอบการ4. พัฒนาบุคลากรทุกระดับทั้งในภาควิชาการและภาคอุตสาหกรรมอยางตอเนื่อง5. สรางศักยภาพในการสงออกสํ าหรับ SMEs และพัฒนาสมรรถนะขององคกรของรัฐท่ีสนับสนุน

การสงออก

ยทุธศาสตรการพฒันาอตุสาหกรรมเซรามกิ

1. การบริหารแผนแมบทและพัฒนาสารสนเทศ เพื่อใหการดํ าเนินงานตามแผนแมบทบรรลุตามเปาหมายและมีระบบสารสนเทศที่เอื้อแกการพัฒนาอุตสาหกรรม ยุทธศาสตรนี้ประกอบดวยโครงการ 6 โครงการ ไดแก1.1 โครงการจัดทํ าระบบประเมินผลแผนแมบทอุตสาหกรรมเซรามิก (5 ป : 5 ลานบาท)1.2 โครงการการติดตามการดํ าเนินงานของแผนแมบทอุตสาหกรรมเซรามิกและการประสาน

ความรวมมือไตรภาคีเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิก (5 ป : 1 ลานบาท)1.3 โครงการสํ ามะโนอุตสาหกรรมเซรามิก (1 ป : 5 ลานบาท)1.4 โครงการสารสนเทศกลุมธุรกิจดานเซรามิก (5 ป : 25 ลานบาท)1.5 โครงการการพัฒนาเว็บทา (Portal Site) สํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิก (5 ป : 9 ลานบาท)1.6 โครงการศึกษาโครงสรางอุตสาหกรรมเซรามิก (5 ป : 15 ลานบาท)

และใหแยกการบริการและวิเคราะหอุตสาหกรรมแกวและกระจกออกจากอุตสาหกรรมเซรามิก เนื่องจากมีความแตกตางกันทั้งในดานตลาดและกระบวนการผลิตและเทคโนโลยี

Page 17: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

8 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

2. การพัฒนาแหลงวัตถุดิบและอุตสาหกรรมสนับสนุน เพื่อใหวัตถุดิบมีสภาพคลองและมีคุณภาพสมํ่ าเสมอ มีการยายฐานของอุตสาหกรรมสนับสนุนจากตางประเทศเพิ่มข้ึน และมีการผลิตเครื่องจักรกลหรืออุปกรณท่ีควบคุมดวยระบบอิเล็กทรอนิกสสํ าหรับใชในกระบวนการผลิตเซรามิกไดภายในประเทศ ยุทธศาสตรนี้ประกอบดวย 5 โครงการ ไดแก2.1 โครงการสํ ารวจและจัดทํ าระบบมาตรฐานแรดินเซรามิก (3 ป : 6 ลานบาท)2.2 โครงการสงเสรมิศักยภาพผูประกอบการดานเหมอืงแรดนิส ําหรบัเซรามกิ (3 ป : 6 ลานบาท)2.3 โครงการพัฒนาเนื้อดินสํ าเร็จรูปสํ าหรับผูประกอบการขนาดเล็กและอุตสาหกรรมครัวเรือน

(5 ป : 7.5 ลานบาท)2.4 โครงการสงเสรมิใหมกีารยายฐานอุตสาหกรรมสนับสนุนจากตางประเทศมายังประเทศไทย

(5 ป : 2.5 ลานบาท)2.5 โครงการพัฒนาเครื่องจักรสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิก (5 ป : 25 ลานบาท)

3. การพฒันากระบวนการผลติและพฒันาผลติภณัฑ เพือ่ใหประเทศไทยเปนผูน ําดานประสทิธภิาพของกระบวนการผลิตเซรามิกในอาเซียน โดยจะตองมีการวิจัยและพัฒนาแบบทวิภาคีอยาง แพรหลายและมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกัน ผูประกอบการจะตองมีความพึงพอใจตอบริการจากภาครัฐดวย ซึ่งสามารถทํ าไดโดยดํ าเนินโครงการ 10 โครงการ ดังนี้3.1 โครงการพฒันาเทคโนโลยรีะดบัสงูส ําหรบัการออกแบบผลติภณัฑเซรามกิ (5 ป : 23 ลานบาท)3.2 โครงการนวตักรรมการพฒันารปูแบบผลติภณัฑเซรามกิ (5 ป : 4.5 ลานบาท)3.3 โครงการพฒันามาตรฐานเนือ้ดนิและเคลอืบส ําหรบังานเบญจรงค (1 ป : 0.2 ลานบาท)3.4 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการเคลือบและการลงสีและภาพบนผลิตภัณฑ

(5 ป : 35 ลานบาท)3.5 โครงการพัฒนาศักยภาพดานการผลิตและการจัดการอุตสาหกรรมของผูประกอบการ

ขนาดกลางและเลก็เพือ่การสงออก (5 ป : 50 ลานบาท)3.6 โครงการสงเสรมิและพฒันาศกัยภาพของผูประกอบการเซรามกิราชบรุ ี(5 ป : 25 ลานบาท)3.7 โครงการการจดัทํ าแนวทาง Best Practice และ ผลปฏบัิตมิาตรฐาน (Performance Standard)

ในอตุสาหกรรมเซรามกิ โดยการจดัหาผูเช่ียวชาญ (5 ป : 50 ลานบาท)3.8 โครงการสงเสริมใหมีการยายฐานการผลิตสินคาระดับคุณภาพจากตางประเทศมายัง

ประเทศไทย (5 ป : 2.5 ลานบาท)3.9 โครงการจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีและรูปแบบผลิตภัณฑแบบทวิภาคี (5 ป :

250 ลานบาท)3.10 โครงการสนิเชือ่เพือ่การพฒันาเทคโนโลย ี (5 ป : วงเงนิกู 100 ลานบาทจาก บอย. และ

1,000 ลานบาทจาก IFCT)

Page 18: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 9

และจะตองสงเสริมหรือใหสิทธิประโยชนหรือจัดหาเงินกูดอกเบี้ยตํ่ าสํ าหรับโรงงานที่มี การจัดการการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ4. การพัฒนากํ าลังคน การศึกษาและเครือขายสถาบันเฉพาะทาง เพื่อใหไทยเปนผูนํ าดานวิชาการ

การศึกษาเซรามิกดั้งเดิมในอาเซียนและมีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับ โดยดํ าเนิน โครงการ 8 โครงการ ไดแก4.1 โครงการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติพหุพาคีในระดับมหาบัณฑิต (5 ป : 4.5 ลานบาท)4.2 โครงการหองสมุดอิเล็กทรอนิกสดานเซรามิก (5 ป : 5 ลานบาท)4.3 โครงการถายทอดความรูและประสบการณของผูเชี่ยวชาญและคณาจารยท่ีเกษียณอายุแลว

ลงในหนังสือ “จารึกไวในแผนดิน” (1 ป : 4 ลานบาท)4.4 โครงการพัฒนาเครือขายสถาบันเฉพาะทาง (5 ป : 2.5 ลานบาท)4.5 โครงการพัฒนาผูประกอบการรุนใหม (5 ป : 5 ลานบาท)4.6 โครงการพัฒนานักออกแบบเซรามิกรุนใหม (5 ป : 8 ลานบาท)4.7 โครงการบมเพาะนกัออกแบบเซรามกิดวยเทคโนโลยกีารออกแบบระดบัสงู (5 ป : 5 ลานบาท)4.8 โครงการพัฒนาศักยภาพของผูประกอบการขนาดกลางและเล็กสํ าหรับการสงออก (5 ป :

50 ลานบาท)5. การตลาดและการสงเสริมการสงออก เพื่อขยายการสงออกจากการไปรวมงานแสดงสินคายัง

ตางประเทศ รวมท้ังสรางชองทางและนักการตลาดใหเพิ่มมากขึ้น และใหมีการขยายตลาด นักทองเที่ยวในประเทศไทยตลอดจนใหผูบริโภคชาวตางชาติตระหนักถึงเครื่องหมายการคาเซรามิกของไทย ยุทธศาสตรนี้ประกอบดวย 14 โครงการ ไดแก5.1 โครงการจัดทํ าคูมือในการเขาสูตลาดแยกตามประเทศคูคา (5 ป : 10 ลานบาท)5.2 โครงการขอมูลการตลาดสํ าหรับสินคาท่ีใชในเทศกาลเฉลิมฉลองและพิธีกรรมตางๆ

ในตลาดหลัก (5 ป : 10 ลานบาท)5.3 โครงการสนิคาเบญจรงคสูตลาดญีปุ่น ตะวนัออกกลาง บรไูน และยโุรป (2 ป : 17 ลานบาท)5.4 โครงการอบรมและใหคํ าปรกึษาในการจดัทํ าระบบบญัชีตนทนุมาตรฐาน (2 ป : 2.1 ลานบาท)5.5 โครงการจัดอบรมใหแกเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของกับการจัดงานแสดงสินคา (2 ป : 2 ลานบาท)5.6 โครงการพัฒนาความสามารถในการรวมงานแสดงสินคาของผูประกอบการไทยในระดับ

นานาชาติ (1 ป : 1 ลานบาท)5.7 โครงการสรางความสัมพันธระหวางผูประกอบการไทยและคนกลางในตางประเทศ (5 ป :

12.5 ลานบาท)5.8 โครงการจัดตั้งศูนยแสดงสินคาหัตถกรรมถาวร Chiangmai Handicraft Permanent

Exhibition Center (2 ป : 4 ลานบาท)

Page 19: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

10 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

5.9 โครงการจัดตั้งศูนยกระจายสินคาในตางประเทศ (1 ป : 1 ลานบาท)5.10 โครงการจัดอบรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-commerce) (1 ป : 0.5 ลานบาท)5.11 โครงการศึกษาภาพลักษณสินคาเซรามิกของไทยในตลาดหลัก (1 ป : 6 ลานบาท)5.12 โครงการศกึษาและเผยแพรประวตัศิาสตรและต ํานานตางๆทีเ่กีย่วกบัเซรามกิ (3 ป : 2 ลานบาท)5.13 โครงการสงเสริมการตลาดรวมกับอุตสาหกรรมอื่นๆ (Joint Promotion) (5 ป : 5 ลานบาท)5.14 โครงการพัฒนาโรงงานเซรามิกขนาดเล็กเปนสถานที่ทองเที่ยวในเสนทางรวมกับแหลง

ทองเที่ยวอื่นในทองถิ่นเพื่อรองรับการเขาชมของนักเรียน นักทองเที่ยวท้ังชาวไทยและ ตางประเทศ (ไมจํ ากัดระยะเวลา : เอกชนกูเงินลงทุนเอง)

6. การพัฒนาจังหวัดลํ าปางใหเปนศูนยกลางการผลิตเซรามิกในอาเซียน (ลํ าปาง เมืองเซรามิก : Lampang Ceramics City) ประกอบดวย 3 โครงการ6.1 โครงการบริหารกลยุทธเพื่อการพัฒนาลํ าปางใหเปนศูนยกลางการผลิตเซรามิกในอาเซียน

(5 ป : 15 ลานบาท)6.2 โครงการจัดสรางอาคารศูนยแสดงและจํ าหนายสินคาเซรามิกถาวรและครบวงจร (3 ป :

70 ลานบาท)6.3 โครงการพัฒนาศูนยพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผาใหเปนศูนยกลางองคกร

ดานความรูเฉพาะทางดานเซรามิก (Ceramics Competence Center) (5 ป : 50 ลานบาท)

ตารางสรุปสัดสวนจํ านวนโครงการและงบประมาณแยกตามยุทธศาสตร

โครงการ งบประมาณยุทธศาสตร จํ านวน รอยละ ลานบาท รอยละ1. การบริหารแผนแมบทและพัฒนาสารสนเทศ 6 13.04 60.0 7.152. การพัฒนาวัตถุดิบและอุตสาหกรรมสนับสนุน 5 10.87 47.0 5.603. การพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ 10 21.74 440.2 52.454. การพัฒนากํ าลังคน เครือขายการศึกษาและสถาบัน

เฉพาะทาง 8 17.39 84.0 10.01

5. การตลาดและการสงเสริมการสงออก 14 30.44 73.1 8.716. ลํ าปาง เมืองเซรามิก 3 6.52 135.0 16.08

รวม 46 100.00 839.3 100.00

Page 20: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

Executive summaryMaster Plan for the Ceramics and Glass Industry

Ceramics Industry

The ceramics industry earned export income of 15,000 million baht in the year 2001 and ranked 41st

among the top exporting industries. It generates substantial employment for approximately 40,000 people both in the large scale and the small and medium enterprises. Internationally, the Thai industry ranked 8th in the production capacity of sanitary ware and 11th in the production of ceramic tiles. Its export of tableware ranked 8th worldwide.

Industry status

1. TechnologyThe level of technology in the Thai ceramic industry is vast, ranging from the eminently

forefront technology—with hard core science and engineering research and world class automatic control and CAD/CAM—down to the inefficiently simple kind—with trial-and-error experimentation and primitive, ineffective, labor intensive process. There are yet many opportunities and needs for research and development.

2. ExportabilityThe ceramic tableware held the largest share in total export of ceramic products from Thailand

earning 6448 million baht in 2002, followed by sanitary ware (3,648 million baht), souvenirs and decorative items (2,376 million baht), ceramic tiles (2,338 million baht), and insulators (492 million baht). Major export-market in 2000 were the US (116 million dollars), EU (91.2 million dollars), and Japan (28.8 million). These three markets together accounted for about 67.5 percent of the total exports from Thailand.

In the U.S., Thailand’s revealed comparative advantage is greatest in sanitary ware followed by porcelain tableware, stoneware souvenirs and decorative items, stoneware tableware, porcelain souvenirs and decorations, porcelain household and bathroom utensils. Other ceramic products have not shown noticeable advantage.

In the European market, stoneware table showed the greatest advantage followed by porcelain tableware, souvenirs, decorative items and sanitary ware. In Japan sanitary ware exhibited the greatest advantage followed by souvenirs and decorative items, household utensils and stoneware tableware.

Page 21: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

12 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

Thailand’s competitors in the U.S. market are Spain and Italy for ceramic tiles but Thailand has leading advantage in sanitary ware and porcelain tableware. China had advantage in the remaining products except for insulators. In the EU market, the total picture is similar to that in the U.S., except for stoneware tableware where Thailand had clear advantage over China and India showed the greatest advantage in insulators. In Japan, Italy and Spain both had export advantage in ceramic tiles, souvenirs and decorative items.

Investigating the source of growth of Thailand’s exports in the year 2000 revealed that economic growth of trading partners is the most significant correlation in stimulating exports. Increased competitiveness of Thailand was evident in the U.S. and the EU market. The growth of the ceramic demand in all markets had not been a strong factor.

Role of Government

The biggest role for government in this industry is supporting technology extension and humanresource development. There are many areas for potential improvements such as:

1. The public sector lacks staffs who have adequate skills and hands-on experience in the industrial sector, which make it difficult to provide effective services.

2. Government regulations prevent expedient and in-time services. Public extension services are often fragmented and are unable to link within different agencies to form complete and full-scale services.

3. Public extension services do not cover trouble shooting at the factory level. Moreover, the division between technology and marketing information supplying agencies and the lack of information about the capacity of technology recipients prevent effective transfer of know-how. Mismatches in the knowledge demanded and supplied between recipient capacities required and technology provided are common and render training programs ineffective.

4. Although the government has provided significant funds for technological development in the ceramics industry most of the fund (70%) has been utilized to develop new ceramics which local industry do not produce. Currently local producers are unable to reap benefits from R&D development by the public sector.

Page 22: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 13

5. Although the industry has gained benefits from the current tertiary education system, which provide the whole range of skills required by the industry but in the next 5 – 10 years, there will be a serious shortage in the number of teachers and lecturers in the tertiary education sector as most of the teaching staffs will be reaching retirement age

6. The government support for the industry to attend an international fair annually has been minimal and the Bangkok International Gift and Houseware Fair (BIG) has not yet found a permanent venue, which makes it confusing for participating traders.

Strength

1. The industry has a skilled labor force which are discipline and dexterous.2. Thailand’s culture can be beneficially and cautiously utilized to provide unique identities to

local products.3. Compared with many countries in the region, Thailand is politically stable and provides

a favorable investment climate.4. Since China, the lowest cost producer in Asia, has joined the WTO, it will have to slowly get

rid of subsidies and regulations that create unleveled playing field in the international market.5. Thailand has neighboring countries, which are the target markets of relatively low priced products.

Weakness

1. Most factories produce according to designs provided by foreign customers and lack capacities to design and hence to create their own brand names. Small and medium sized enterprise (SMEs) that rely on foreign designs tend to engage in cut-throat price competition and are unable to make investment that would lead to the creation of additional values.

2. The turn around time between design and production of prototypes take a long time compared with similar products produced in competing countries.

3. SMEs tend to lack knowledge on business management especially product costing and price determination leading to price cutting competition. SMEs also lack knowledge on industrial management, market access and market information, which is necessary for producing appropriate designs.

Page 23: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

14 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

4. Most of the mining operators especially the SMEs lack appropriate know-how and capital for making adequate investment for producing good and consistent quality of materials of sufficiently large lots while ceramic SMEs attempt to produce their own materials without sufficient knowledge, technology and capital.

5. Most factories in Thailand especially those producing ceramic tiles and tableware have been established for more than ten years and rarely developed or upgraded their technology. Thus, most plants do not have modern technology and need to augment productivity.

6. SMEs lack knowledge on machines and preferred second hand machinery. Yet they are unable to adjust or retrofit machine to optimize efficiency.

7. SMEs tend to neglect the importance of human resource development and are unable to use different packages of incentives to improve efficiency. Instead, they prefer to use unskilled labor to reduce the cost of production.

Opportunities

1. The development of products of high quality and diverse and unique designs will enable firms to upgrade themselves from the low-end market where competition is more intense. New products that have high potential include microwave safe tableware, machine washable tableware, and souvenirs for tourists. Traditional products such as Thai celadons can be developed to exhibit unique style and shades of green and blue according to available materials in different locations.

2. High value products or products with special niche such as sanitary ware, hand painted and hand made pottery insulators, etc.

3. High tech and new ceramics for industry such as ceramic valves, components and parts for the automotive, electrical, and electronic industry.

4. Investments including joint venture investments by foreign producers from high wage countries, suppliers of chemicals and raw materials will help upgrade technology, enlarge markets and facilitate flows of technology and know-how and complete the production cycle.

Threats

1. The United States is in the process of reducing import tariff on Vietnamese goods, which are subject to a much higher level of tariff than Thai products.

Page 24: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 15

2. China’s joining WTO will reduce trade barriers to its products and will likely increase competition in the low-end markets. Moreover the plan for the China–ASEAN Free Trade Zone within 10 years could further increase competition in the ASEAN region.

3. High wage developed countries are now moving their production base to China. Malaysia, Indonesia and Vietnam.

4. There will be a serious shortage of teaching staff in vocational and tertiary education institutes within the next 5 and 10 years, which will have negative impact on human resource development.

5. Increased non-tariff barriers to trade can be expected such as:5.1 The attempt of developed countries to formulate engineering standards in exporting

industries within the APEC umbrella. Such an agreement could induce undue employment of foreign engineers.

5.2 The United States and the EU are constantly imposing higher standards for ceramic products in the name of consumers’ safety and environmental protection. This will increase cost, time and the steps in exporting ceramics to developed countries.

Development directions in the next decade

At present, Thailand is the leader in the ceramic industry in the ASEAN region but China isexpected to play a major role in the regional market after joining the WTO and furthermore in the next tenyears when the China ASEAN Free trade Zone have come into effect. Thailand will need a tripartite1

cooperation to upgrade industrial skill, technology and diversity in products and product designs. Duringthe next decade, Thailand will expand its export of ceramics approximately 1 - 5 percentages per year from2004 to 2008. At this rate, the value of export from Thailand will be around 45 – 55 billion baht in 2008.

1 Tripartite composes of 1) public sector, 2) private enterprise, and 3) academic sector or NGO.

Page 25: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

16 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

Vision

Best Quality and Designs in the ASEAN region by 2014

Missions

1. To develop standard systems for raw materials to upgrade the quality of ceramics materials from various sources.

2. To promote innovation and raise the standards of manufacturing technology from upstream to downstream so as to produce diverse of products which meet international standards.

3. To provide technical service to the industry in accordance with the set targets and the capability of entrepreneurs.

4. To promote human resource development at all levels on a continual basis both in the academic and the industrial sectors.

5. To create export potentials for SMEs and develop the capacity of government agencies responsible for export promotion.

Strategies for developing the ceramics industry

1. Plan Administration and Information System Management The strategy aims to develop the efficient and effective information system for ceramics industry and to ensure that all strategies reach their objectives. The important condition under this strategy is to separate the ceramics from the glass industry for policy analysis. Projects under this strategy include :1.1 Establishment of an evaluation system of the Master Plan for the Ceramics Industry

(5 years : 5 million baht)1.2 Monitoring the Master Plan and for tripartite collaboration for the development of

the ceramics industry (5 years : 1 million baht)1.3 Ceramics industry census (1 year : 5 million baht)1.4 Information service for the ceramics industry (5 years : 25 million baht)1.5 Development of portal web-site (5 years : 9 million baht)1.6 Studies of ceramic industrial structure (5 years : 15 million baht)

Page 26: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 17

2. Raw Material Sources and Supporting Industry Development This strategy aims to attain supply quality and security, to raise the number of supporting industry base from foreign countries, and to increase the potential in ceramics machinery industry by : 2.1 Exploring the supply sources of raw materials for the ceramics industry (3 years :

6 million baht)2.2 Promoting the ability and potential of ceramics raw materials miners (3 years : 6 million baht)2.3 Development of ceramics-body clay for SMEs (5 years : 7.5 million baht)2.4 Promotion of locating foreign ceramics-supporting industry bases in Thailand (5 years :

2.5 million baht)2.5 Developing ceramics machinery (5 years : 25 million baht)

3. Upgrading Technology and Industrial Management This strategy aims to develop the production process in the Thai ceramics industry to be the most efficient in the ASEAN region along with the increase of effective bipartite2 research and development and the satisfactory of the industry sector to the public service. Projects in this strategy include :3.1 Developing high technology for product design for ceramics products (5 years : 23 million baht)3.2 Ceramics product design innovation (5 years : 4.5 million baht)3.3 Developing the standard for Benjarong ceramics body clay and glaze (1 year : 0.2 million baht)3.4 Developing appropriate technology in glazing and décor processing (5 years : 35 million baht)3.5 Promoting the manufacturing and industrial engineering skills for SMEs to quality export

(5 years : 50 million)3.6 Promoting and developing the ceramics industry in Rachaburi (5 year : 25 million baht)3.7 Setting best practices and performance standards for the ceramics industry(5 years :

6 million baht)3.8 Promotion of locating foreign manufacturing bases in Thailand to produce quality products

(5 years : 2.5 million)3.9 Establishment of the innovation fund for the development of technology and

product designs for the ceramics industry (5 years : 250 million baht)3.10 Technology development loans (5 years : loans—1 billion baht from IFCT3 and

100 million baht from SIFC4) 2 Bipartite composes of private sector and public sector.3 IFCT = Industrial Finance Corporation of Thailand

Page 27: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

18 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

4. Human Resource Development and Education Network This strategy aims to promote the academic expertise of Thai traditional ceramics education to be the top among ASEAN countries and to promote the effectiveness of human resources in every ceramics sub-sectors by :4.1 Developing of the international graduate school of ceramics in Thailand (5 years :

4.5 million baht)4.2 Developing an electronic library for the ceramics industry (5 years : 5 million baht)4.3 Promoting the development of academic books on “Ceramics Heritage” by experts and

retired lecturing staff (1 year : 4 million baht)4.4 Network development for ceramics institutes (5 years : 2.5 million baht)4.5 Development of new entrepreneurs for the ceramics industry(5 years : 5 million baht)4.6 Development of new designers for the ceramics industry (5 years : 5 million baht)4.7 Development of new high technology designers for the ceramics industry (5 years :

5 million baht)4.8 Development of SMEs enterprises for export (5 years : 50 million baht)

5. Export Promotion and Marketing This strategy aims to promote the export by increasing the sale value in international ceramics fairs, establishing new market channels, increasing the number of marketing experts, expanding domestic tourist industry along with promoting the Thai ceramics brands to the foreigners. This strategy comprises 14 projects :5.1 Manual on export markets(5 years : 10 million baht)5.2 Marketing information for products made for special occasions, festivals in major markets

(5 years : 10 million baht)5.3 Marketing “Benjarong” in Japan, Middle East Brunei and Europe(2 years : 17 million baht)5.4 Training Course on cost accounting and standard costing (2 years : 2.1 million baht)5.5 Training course for government officials on how to organize trade fairs (2 years :

2 million baht)5.6 Training course for exporters who want to attend international trade fairs (1 year :

1 million baht)5.7 Enhanced relations between foreign buyers and Thai exporters(5 years : 12 million baht)5.8 Chiangmai Handicraft Permanent Exhibition Center (2 years : 4 million baht)

4 SIFC = Small Industry Finance Corporation

Page 28: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 19

5.9 International distribution Center (1 year :1 million baht)5.10 Training course e-commerce on ceramic trade (1 year : 0.5 million baht)5.11 An investigative study on the images of Thai products in major markets(1 year :

6 million baht)5.12 A study on history and legends related to ceramics( 3 years : 2 million baht)5.13 Joint promotion of ceramic products with other industries (5 years : 5 million baht)5.14 Development of small kilns into a tourism attractions (private sector investment)

6. Lampang Ceramic City (LCC) This strategy aims to promote Lampang into a center of ceramic production in the ASEAN region by :6.1 Execution of LCC from planning to completion (5 years : 15 million baht)6.2 Lampang Ceramic Exhibition Center (5 years : 70 million baht)6.3 Ceramic Competence Center (5 years : 50 million baht)

Proportion of projects and budget of each strategy

Projects BudgetStrategy Number Percentage Million baht Percentage1. Plan Administration and Information System management 6 13.04 60.0 7.152. Raw Materials Sources and Supporting Industry

Development 5 10.87 47.0 5.60

3. Upgrading Technology and Industrial 10 21.74 440.2 52.454. Human Resource Development and Educational Network 8 17.39 84.0 10.015. Export Promotion and Marketing 14 30.44 73.1 8.716. Lampang Ceramics City 3 6.52 135.0 16.08

Total 46 100.00 839.3 100.0

Page 29: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหารแผนแมบทอตุสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

อุตสาหกรรมแกวและกระจก

ในป พ.ศ. 2542 อุตสาหกรรมแกวและกระจกมีการจางงานรวมกันประมาณ 17,000 คน มีโรงงาน ท้ังสิน้ 116 โรงงานโดยมโีรงงานขนาดใหญประมาณ 25 โรงงาน (จากสถติขิองกรมโรงงาน) โรงงานสวนใหญเปนโรงงานขนาดกลางและเลก็ SMEs ในป พ.ศ. 2538 มมีลูคาเพิม่ประมาณ 21,000 ลานบาทและในป พ.ศ. 2544สรางรายไดท่ีเปนเงินตราตางประเทศประมาณ 11,500 ลานบาท

สถานภาพอุตสาหกรรม

1. ดานเทคโนโลยี :เทคโนโลยีการผลิตแกวและกระจกของไทยสวนใหญเปนเทคโนโลยีแบบสมัยใหมและเปนแบบ

ส ําเร็จรูป โดยรับทั้ง Know-how และเครื่องจักรจากตางประเทศ สงใหมีประสิทธิภาพในการผลิตเทียบได ในระดับสากล แตขอจํ ากัดท่ีสํ าคัญของเทคโนโลยีเชนนี้ไดแกความไมยืดหยุนในการผลิต สํ าหรับปญหาดานเทคโนโลยีท่ีเกิดข้ึนนั้นสวนใหญเปนปญหาเฉพาะหนาประจํ าวันมากกวาปญหาดานวิจัยพัฒนาหรือปญหาดานเทคโนโลยีโดยตรง

2. ดานการตลาด :ผลิตภัณฑแกวและกระจกสวนใหญผลิตเพื่อตอบสนองความตองการภายในประเทศเปนหลัก

แตเนือ่งจากตองผลติในปรมิาณมากเพือ่ใหตนทนุตอหนวยตํ ่าท่ีสดุ ดงันัน้ บางครัง้การสงออกกจ็ะเปนวธิกีารหนึง่ซึ่งผูผลิตใชเปนการระบายสินคาเมื่อใดก็ตามที่ความตองการภายในประเทศตํ่ ากวากํ าลังการผลิต แตในกลุมนี้มีผูประกอบการเครื่องแกวและกระเปาะแกวท่ีมีการสงออกเปน สัดสวนคอนขางสูง

บทบาทของรัฐ

1. ดานเทคโนโลยี :องคการแกวซึ่งจัดตั้งข้ึนมาโดยรัฐบาลเมื่อประมาณ 40 กวาปก อนนับเปนจุดกํ าเนิดของ

อุตสาหกรรมแกวและกระจกของประเทศไทย ในปจจุบัน เทคโนโลยีในภาคเอกชนไดกาวหนาไปมาก รฐัจึงไดหันมาใหการสนับสนุนอุตสาหกรรมแกวขนาดกลางและเล็กผานกรมวิทยาศาสตรบริการ แตเนื่องจากหนวยงานของภาครัฐขาดการประสานงานกับผูประกอบการในอุตสาหกรรมแกวและกระจก จึงทํ าใหทิศทางการวิจัยและพัฒนาไมมีความชัดเจน

Page 30: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 21

2. ดานการพัฒนาบุคลากร :บทบาทของรัฐในดานการพัฒนาบุคลากรคอนขางจํ ากัด ปจจุบันไมมีหลักสูตรการศึกษาดานแกว

และกระจกโดยเฉพาะ แตจะรวมอยูในสาขาวิชาวัสดุศาสตร สวนในดานวิชาการระดับสูงนั้น ภาครัฐจัดใหทุนการศึกษาตางประเทศประมาณ 1 ทุนในระยะเวลา 3 - 5 ป เพื่อสนองความตองการของศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ และโครงการศูนยปฏิบัติการแกวและกระจกศูนยวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิก กรมวิทยาศาสตรบริการเปนหลัก

จุดแข็ง

1. มีประสบการณการผลิตมายาวนาน สามารถผลิตสินคาในทุกประเภทไดตามมาตรฐานสากล สามารถดัดแปลงใหเหมาะสมกับความตองการและรสนิยมของลูกคา

2. ประเทศไทยตั้งอยูในทํ าเลที่ไดเปรียบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดังนั้นเมื่อระบบ การคมนาคมทางบกพัฒนาขึ้นก็จะมีโอกาสขยายตลาดไปในประเทศอินโดจีน

3. ผลิตภัณฑแกวและกระจกบางชนิดเปนผลิตภัณฑ ท่ีชวยลดพลังงาน ผลิตภัณฑหลายชนิดสามารถใชซํ้ า (reuse) ผลิตซํ้ า (recycle) นับเปนการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติและลดภาระดานมลพิษตอสิ่งแวดลอม

จุดออน

1. เปนอุตสาหกรรมที่ใชพลังงานมาก แตตนทุนคาพลังงานของไทยคอนขางสูงเมื่อเทียบกับคูแขงคือ อินโดนีเซีย

2. สถาบันการศึกษาและหนวยงานของรัฐไมสามารถใหความรู และคํ าปรึกษากับโรงงานได เนื่องจากกระบวนการผลิตแกวและกระจกเชิงอุตสาหกรรมนั้นเปนเทคโนโลยีและ know-how ระดับสูงจากตางประเทศ

3. ความรู ความเขาใจของหนวยงานของรัฐท่ีมีตออุตสาหกรรมนี้เปนรองอุตสาหกรรมอื่นๆ เนื่องจากอุตสาหกรรมนี้มีขนาดไมใหญนัก ดังเชนจะเห็นไดจากการที่หนวยงานของรัฐไดรวมอุตสาหกรรมแกวและกระจกไวกับอุตสาหกรรมเซรามิกทั้งๆ ท่ีท้ังสองอุตสาหกรรมมีข้ันตอนของกระบวนการผลิตและการตลาดที่แตกตางกันอยางมหาศาล

4. หนวยงานของรัฐท่ีเกี่ยวของกับการคาระหวางประเทศก็ไมไดจัดใหอุตสาหกรรมนี้อยูในลํ าดับท่ีใหความสํ าคัญสูง เพราะไมใชอุตสาหกรรมสงออกที่ทํ ารายไดสูงของประเทศ ดังนั้นการติดตามมาตรการของตางประเทศที่อาจมีผลกระทบ หรือ การแกไขปญหาที่เกิดจากการทุมตลาดก็ยอมชาตามไปดวย

Page 31: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

22 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

โอกาส

1. บรรจุภัณฑท่ีเกี่ยวกับเครื่องดื่มยังมีโอกาสในการขยายตัวของปริมาณความตองการตาม สภาพการฟนตวัของเศรษฐกจิของประเทศ ในปจจบัุนประเทศไทยมอีตัราใชขวดแกวตอประชากรประมาณ 50 ขวดตอคน ซึ่งยังเปนอัตราที่ตํ่ ากวาประเทศที่พัฒนาแลวอยูมาก

2. ในยคุท่ีโลกกํ าลังตืน่ตวักบัการประหยดัพลงังานและรกัษาสิง่แวดลอม ผลติภณัฑแกวและกระจกหลายประเภทเปนสินคาท่ีชวยอนุรักษพลังงาน สามารถนํ ามาใชซํ้ า (reuse) และนํ ากลับมา ผลิตซํ้ าได (recycle) จงึเปนสนิคาท่ีเปนทีน่ยิมของผูเปนมติรกบัสิง่แวดลอมและมคีวามปลอดภยัสํ าหรับผูบริโภค ดังนั้นอุตสาหกรรมนี้จึงมีโอกาสที่ขยายตัวไปตามการรณรงคใหประชาชนมี ความเขาใจถงึความจ ําเปนและประโยชนของการอนรุกัษพลงังานและสิง่แวดลอมมากขึน้ในอนาคต

3. ผูผลติเครือ่งแกวคุณภาพสงูสามารถเขาสูตลาดคณุภาพสงูไดในปจจบัุน แตท้ังนีต้องใหความสนใจเปนพิเศษกับการออกแบบและสรางเสนอสินคาแบบใหม แนวใหมท่ีหลากหลาย การออกแบบเชิงศิลปะ และเนนถึงการตลาดที่แสดงจุดเดนของการใชแรงงานฝมือซึ่งกํ าลังเปนที่ขาดแคลนในประเทศพัฒนาแลว

4. หลอดและกระเปาะแกว ยงัมโีอกาสการขยายตวัของตลาดในเอเชยีไดอกีมากไปจนถงึในแถบเอเชยีใตและเอเชยีตะวนัออกกลาง โดยเฉพาะตลาดทีส่งสนิคาไปยงัอฟักานสิถานและมโีอกาสเขาไปตีตลาดในจนีเมือ่จนีตองเปดตลาดภายในใหตามบญัญตัขิององคกรการคาโลกอกีดวย

5. ตลาดอินโดจีน เปนโอกาสทางตลาดที่ประเทศไทยมีความไดเปรียบมากที่สุด เพราะทํ าเลที่ตั้งอํ านวย แตรัฐบาลตองลงทุนในการปรับปรุงเสนทางคมนาคมขนสงทางบก ตลอดจนทาเรือ ตลอดจนบริการตางๆ เพื่อเปนการเชื่อมตอเสนทางคมนาคมในภูมิภาคของอินโดจีนใหสามารถขนสงสินคาเขาสูตลาดเหลานี้ได

อุปสรรค

1. การทุมตลาดจากตางประเทศ : ดวยธรรมชาติของอตุสาหกรรมแกวและกระจกนั้น อุปทานและอุปสงคมักจะขาดความสมดุลเสมอ เพราะอุปสงคมักจะขยายตัวทีละเล็กละนอยในขณะที่ การขยายอุปทานตองลงทุนสูง ในขณะเดียวกันผูประกอบการก็จะมีความจํ าเปนที่จะตองระบายสินคาออกจากโรงงานเชนกัน ปรากฏการณเชนนี้เกิดข้ึนทุกแหงในโลกดังนั้น อุตสาหกรรมแกวและกระจกโดยเฉพาะกระจกจะตองเผชิญกับปญหาการทุมตลาดจากผูประกอบการตางประเทศบอยกวาอุตสาหกรรมอื่น

2. การทดแทนโดยผลิตภัณฑอื่น : ผลิตภัณฑแกวและกระจกสามารถถูกทดแทนดวยวัสดุอื่น เชน พลาสติก โลหะ กระดาษ และเซรามิก การทดแทนนี้จะเปนแรงกดดันสูง โดยเฉพาะในสินคาท่ีไมตองการความวิจิตรพิศดาร มีราคาถูกและมีปริมาณความตองการใชในปริมาณที่ไมมากนัก

Page 32: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 23

การพัฒนาอตุสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง เชน อตุสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่มและยา ท่ีตองการภาชนะท่ีมีคุณภาพสูงอาจจะชวยลดอุปสรรคขอนี้สํ าหรับอุตสาหกรรมแกวและกระจกได

ทิศทางการพัฒนาในระยะ 10 ป

เนื่องจากอุตสาหกรรมแกวและกระจกเปนอุตสาหกรรมที่ตอบสนองความตองการภายในประเทศเปนหลัก การพัฒนาในระยะยาวนั้น จํ าจะตองรักษาฐานการผลิตและการตลาดภายในประเทศใหมั่นคง แลวจึงขยายฐานการตลาดเพื่อเขาครอบครองตลาดอินโดจีน และ ASEAN โดยจะตองปรับปรุงและรักษามาตรฐานการผลิตในระดับสากลโดยเฉพาะผลิตภัณฑกระจก

วิสัยทัศน

“คุณภาพและรูปแบบเปนหนึ่งในอาเซียน พ.ศ. 2557

: Best Quality and Design in ASEAN : 2014”

พันธกิจ

1. สงเสริมนวัตกรรมการเพิ่มมูลคาและรูปแบบของผลิตภัณฑ2. พัฒนาเทคโนโลยีและกํ าลังคนในการผลิตผลิตภัณฑเชิงศิลป3. สงเสริมใหมีการวิเคราะหทดสอบผลิตภัณฑ4. พัฒนาตลาดของไทยในอินโดจีนใหเขมแข็งโดยสงเสริมใหพัฒนาการขนสงขามชายแดนให

สะดวกและปลอดภัย

ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมแกวและกระจก

1. การบริหารแผนแมบทและพัฒนาสารสนเทศ เพื่อใหการดํ าเนินยุทธศาสตรท้ังหมดบรรลุตามเปาหมายและมีระบบสารสนเทศที่เอื้อตอการพัฒนาอุตสาหกรรม มาตรการที่สํ าคัญไดแก การแยกอตุสาหกรรมแกวและกระจกออกจากอตุสาหกรรมเซรามิกโดยเด็ดขาด และมีโครงการภายใตยุทธศาสตรนี้ 5 โครงการดังนี้1.1 โครงการจดัทํ าระบบประเมนิผลแผนแมบทอตุสาหกรรมแกวและกระจก (5 ป : 3 ลานบาท)1.2 โครงการติดตามการดํ าเนินงานของแผนแมบทและการประสานความรวมมือไตรภาคี

เพือ่พฒันาอตุสาหกรรมแกวและกระจก (5 ป : 1 แสนบาทตอป)1.3 โครงการการจดัทํ าส ํามะโนอตุสาหกรรมแกวและกระจก (1 ป : 5 ลานบาท)

Page 33: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

24 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

1.4 โครงการการจดัทํ าระบบฐานขอมลูบรกิารในกลุมอตุสาหกรรมแกวและกระจกแบบครบวงจร (5 ป : 5 ลานบาทตอป)

1.5 โครงการพัฒนาเว็บทา (portal site) สํ าหรับอุตสาหกรรมแกวและกระจก (5 ป : 2.5 ลานบาทตอป)

2. การพัฒนาแหลงวัตถุดิบและอุตสาหกรรมสนับสนุน ใหมีปริมาณวัตถุดิบสํ ารองเพียงพอแกความตองการของอุตสาหกรรมและใหมีการพัฒนาของอุตสาหกรรมสนับสนุน โดยดํ าเนินงานเปน 2 โครงการ ดังนี้2.1 โครงการศึกษาแหลงวัตถุดิบสํ าหรับอตุสาหกรรมแกวและกระจก (5 ป : 3 ลานบาทตอป)2.2 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตแมพิมพและชิ้นสวนโลหะสํ าหรับเครื่องจักรผลิต

(5 ป : 5 ลานบาทตอป)3. การยกระดับเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม ใหมีการรวมมือวิจัยและพัฒนาระหวาง

หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนและสงเสริมนวัตกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ ตลอดจนการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีโครงการทั้งหมด 7 โครงการ ดังนี้3.1 โครงการกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีและรูปแบบผลิตภัณฑแบบทวิภาคี (5 ป : 10 ลานบาท

ตอป)3.2 โครงการศูนยวิเคราะหทดสอบผลิตภัณฑแกวและกระจก (5 ป : 36 ลานบาท)3.3 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีการออกแบบระดับสูงสํ าหรับผลิตภัณฑแกวและกระจก (5 ป :

20 ลานบาท)3.4 โครงการพัฒนาเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตนํ ารองสํ าหรับแกวและกระจกเชิงศิลป

(5 ป : 23 ลานบาท)3.5 โครงการพัฒนาระบบการจัดการขยะจากแกวและกระจก (3 ป : 5 ลานบาทตอป)3.6 โครงการการจัดทํ าแนวทาง Best Practice และผลปฏิบัติมาตรฐาน (Performance Standard)

ในอุตสาหกรรมแกวและกระจก (5 ป : 6 ลานบาท)3.7 โครงการสินเชื่อเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยี (5 ป : ใชเงินกูของ บอย. และ IFCT)

4. การตลาดและการสงเสริมการสงออก ใหมีการสงออกเพิ่มข้ึนโดยเฉพาะตลาดอินโดจีนและ เอเชียใต โดยดํ าเนินโครงการ 3 โครงการ ดังนี้4.1 โครงการศึกษาลูทางการตลาดแกวและกระจกในอินโดจีน (1 ป : 2 ลานบาท)4.2 โครงการศึกษาความตองการผลิตภัณฑแกวและกระจกของอุตสาหกรรมตอเนื่อง (1 ป :

2 ลานบาท)4.3 โครงการพัฒนาความสามารถในการรวมงานแสดงสินคาของผูประกอบการไทยในระดับ

นานาชาติ (1 ป : 1 ลานบาท)

Page 34: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบท อุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 25

4.4 โครงการจัดตั้งสํ านักงานคณะกรรมการติดตามและตรวจสอบคุณภาพสินคานํ าเขาและ ติดตามการทุมตลาด (5 ป : 20 ลานบาท)และจะตองปรับเปลี่ยนขอกํ าหนดในการไปแสดงสินคายังตางประเทศกับกรมสงเสริม

การสงออก ขอก ําหนด พ.ศ. 2545 ก ําหนดใหผูประกอบการ 10 ตอผูแทนกรมฯ 1 ราย แตผูประกอบการแกวและกระจกที่มีศักยภาพในการสงออกมีไมถึง 10 ราย5. การพัฒนากํ าลังคนและเครือขายการศึกษา ใหบุคลากรมีจํ านวนพอเพียงและมีประสิทธิภาพ

ในการทํ างานในทุกระดับ โดยจะตองดํ าเนินโครงการ 5 โครงการดังนี้5.1 โครงการหองสมุดอิเล็กทรอนิกสสํ าหรับอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีในการผลิตผลิตภัณฑ

แกวและกระจก (5 ป : 3 ลานบาทตอป)5.2 โครงการพัฒนาผูประกอบการรุนใหมในอตุสาหกรรมแกวเชิงศิลป (5 ป : 10 ลานบาท)

5.3 โครงการพัฒนาศกัยภาพของผูประกอบการขนาดกลางสํ าหรับการสงออก (5 ป : 5 ลานบาทตอป)

5.4 โครงการพัฒนานักออกแบบผลิตภัณฑแกวและกระจกรุนใหม (5 ป : 15 ลานบาท)5.5 โครงการบมเพาะนักออกแบบแกวและกระจกดวยเทคโนโลยีการออกแบบระดับสูง (5 ป :

1 ลานบาทตอป)

ตารางสรุปสัดสวนจํ านวนโครงการและงบประมาณแยกตามยุทธศาสตร

โครงการ งบประมาณยุทธศาสตร จํ านวน รอยละ ลานบาท รอยละ1. การบริหารแผนแมบทและพัฒนาสารสนเทศ 5 21.74 46.0 13.942. การพัฒนาวัตถุดิบและอุตสาหกรรมสนับสนุน 2 8.70 40.0 12.123. การพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ 7 30.43 150.0 45.464. การพัฒนากํ าลังคน เครือขายการศึกษาและสถาบัน

เฉพาะทาง4 17.39 24.0 7.27

5. การตลาดและการสงเสริมการสงออก 5 21.74 70.0 21.21รวม 23 100.00 330.0 100.00

Page 35: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

Executive summaryMaster Plan for the Ceramics and Glass Industry

Glass Industry

The glass industry employed about 17,000 workers in 1999 in 116 factories, out of which 25 are large-scale enterprises. Most of the enterprises in this industry are small and medium scale. Its economic value added in 1995 totaled 21,000 million baht and in 2001 it generated about 11,500 million baht in foreign exchange earning.

Industry Status

1. Technology :The technology employed, both machinery and know-how, are mostly imported turn-key

operation enabling productivity to reach world class level. The limitation is in the scale of production,which is relatively large and inflexible in order to attain lowest operation cost. Current technologicalproblems are more routine than those requiring research and development.

2. Market :The industry caters mainly for the domestic market especially those products used in

the construction and food-beverage industry. Recently exports in large quantity are taking off fromthe tableware and glass bulb sector. However, inflexible production makes it necessary from time to timeeven for those usually catering for the local market to unload surplus supplies into the international markets.

Role of the Government

1. Technology :The first glass factory in Thailand was a public enterprise established more than 40 years ago.

Currently, the private sector is the propelling force of the industry and its technological progress.Current government technical services are now concentrated for small and medium scale enterprisesthrough the Project for the Operational Center for the Glass Industry of the Department of Science Services.However its research and development strategies lack clear directions owing to inadequate communicationswith the private sector.

Page 36: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 27

2. Human Resource Development : The role of the government in this area is quite limited. At present there is no special course for

glass science. The curriculum for glass products is included in the studies of material science in tertiaryeducation. An overseas scholarship is given by the National Materials Technology Center andthe Department of Science Services every three to five years.

Strength

1. The industry has relatively long-term experience in production and with its modern technology is able to supply goods, which are adapted to suit the need of its customers.

2. Thailand is strategically located in Southeast Asia and could benefit from the improvements in transportation in especially in the Mekong region.

3. Some glass products are environmentally friendly. The use of certain glass products helps save energy, some can be reused, recycled which help save natural resources and environment.

Weakness

1. The industry is relatively energy intensive and the energy cost in Thailand is higher than our competitors such as Indonesia.

2. Local educational institutes and government agencies are unable to support the industry owing to lack of industrial technology know-how and experience.

3. The knowledge and recognition of this industry in the public sector is quite limited. That is reflected by the fact that it is usually grouped together with the ceramics industry by policy making agencies despite the fact that the two industries are vastly different both in the type of technology and in marketing.

4. Since the industry is not a major export industry, it is relatively neglected by the trade agencies and therefore, there is no mechanism for monitoring dumping-in which is a more frequent phenomenon of the industry.

Opportunities

1. There is ample opportunities expansion of the containers industry once the economy improves as the current consumption of containers (50 bottles per head) of Thailand is still relatively low.

Page 37: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

28 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

2. Amidst the trend of environmental and health protection worldwide, some glass products which are energy saving, can be reused and recycled will be preferred by consumers that are environmentally conscious. The expansion of demand is thus contingent upon the improved knowledge and environmental preference of consumers.

3. Some high quality glassware producers can enter high quality markets and this can be enhanced through innovations in designs including those requiring high labor content, which is now scarce in developed countries.

4. The glass bulb industry, which has now developed a strong export growth, can expand its market to Afghanistan as well as China once it opens its market according to the WTO requirements.

5. Public investments in linking transport network in the Mekong region will enhance Thailand strategic position and enable easier access to China and South East Asia.

Obstacles

1. International dumping The mismatch in the demand and supply of the glass industry often occurs because demand

generally increases gradually while supply, which requires a lump-sum large-scale investment and full capacity production to reach economy of scale. Therefore, exports at low prices to get rid of the surplus or international dumping is relatively common for the industry.

2. Substitution by competing productsGlass products could be substituted by competing materials such as plastics, metals, papers, and

ceramics. The substitutability is particularly easy for low-priced and low-end products. However, developments of demand for high end products in the chemical, drugs and food industry may mitigate against the substitutability trend.

Development Directions in the Next Decades

As the industry caters for the domestic market, it is necessary to keep a strong hold in the local marketand gradually expand to first take on to the Mekong region and later the ASEAN market,

Page 38: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 29

Vision

“Best quality and designs in ASEAN in 2014”

Missions

1. Promote innovations for increasing values and designs of products2. Develop technology and human resources for artistic production3. Promote product test and analysis4. Promote Thailand’s market in Indochina by improving land transport infrastructure in the region.

Strategies for Developing the Glass Industry

1. Plan Administration and Information System Management The strategy aims to develop the efficient and effective information system for ceramics industry and to ensure that all strategies reach their objectives. The important condition under this strategy is to separate the glass from the ceramics industry for policy analysis. Projects under this strategy include :

1.1 The establishment of an evaluation system of the Master Plan for the Glass Industry (5 years : 3 million baht)

1.2 Monitoring the Master Plan and for tripartite5 collaboration for the development of the glass industry (5 years : 0.5 million baht)

1.3 The glass industry census (1 year : 5 million baht)1.4 Information service for the glass industry (5 years : 25 million baht)1.5 Development of portal web-site (5 years : 12.5 million baht)

2. Raw Material Sources and Supporting Industry Development The aim of this strategy is to attain supply security and to promote the supporting industry by :

2.1 Exploration of the supply sources of raw materials for the glass industry (5 years : 15 million baht)

2.2 Developing technology for producing molds and metal parts for machinery for the glass industry (5 years : 25 million baht)

5 Tripartite comprises of 1) public sector, 2) private enterprise, and 3) academic sector or NGO

Page 39: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

30 รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

3. Upgrading Technology and Industrial Management This strategy aims to promote bilateral co-operation between the public and the private sector in promoting innovative designs and energy efficiency by:

3.1 Establishment of the innovation fund for the development of technology and product designs for the glass industry (5 years : 50 million baht)

3.2 Establishment of the Center for Product Test and Analysis (5 years : 36 million baht)3.3 Developing high technology for product design for glass products (5 years : 20 million baht)3.4 3.4 Developing technology and pilot process for art products (5 years : 23 million baht)3.5 3.5 Managing wastes from the glass industry (3 years : 15 million baht)3.6 3.6 Setting best practices and performance standards for the glass industry (3 years :

6 million baht)3.7 Technology Development Loans (5 years : loans, 1 billion baht from IFCT6 and

100 million baht from SIFC7)

4. Marketing and Export Promotion The strategy aims to increase market share and unit price in the Mekong region and in south Asia by :

4.1 Study of market access of the glass industry in the Mekong region (1 year : 2 million baht)4.2 Demand study from downstream industry (1 year : 1 million baht)4.3 Developing the capacity of Thai entrepreneurs for international trade exhibition (1 year :

1 million baht)4.4 Founding of the board to control the quality of imported goods and to monitor market

dumping (5 years : 20 million baht)To complement the 3rd project, the Ministry of Trade has to relax the rule for

eligibility for government support, which requires a minimum number of participating firms from the same industry.

5. Human Resource Development and Education Network This strategy aims to ensure adequate supply of productive and competent workers at all levels,

5.1 Developing an electronic library for the glass industry (5 years : 15 million baht)

6 IFCT = Industrial Finance Corporation of Thailand7 SIFC = Small Industry Finance Corporation

Page 40: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว) 31

5.2 Development of new entrepreneurs for the artistic glass industry (5 years : 10 million baht)5.3 Development of medium size enterprises for export (5 years : 25 million baht)5.4 Development of new designers for the glass industry (5 years : 15 million baht)5.5 Development of new high technology designers for the glass industry (5 years : 5 million baht)

Proportion of projects and budget of each strategy

Projects BudgetStrategy Number Percentage Million baht Percentage1. Plan Administration and Information System management 5 21.74 46.0 13.942. Raw Materials Sources and Supporting Industry Development 2 8.70 40.0 12.123. Upgrading Technology and Industrial 7 30.43 150.0 45.464. Human Resource Development and Educational Network 4 17.39 24.0 7.275. Export Promotion and Marketing 5 21.74 70.0 21.21

Total 23 100.00 330.0 100.00

Page 41: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญ

สารบัญ iสารบัญตาราง xiสารบัญรูป xixบทนํ า xxiสวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐาน ประเด็นปญหา และการวิเคราะหอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวของไทย

ตอนที่ 1 อุตสาหกรรมเซรามิก

บทที่ 1 บทบาท ความสํ าคัญ และวิวัฒนาการของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทย1.1 บทบาทและความสํ าคัญของอุตสาหกรรมเซรามิก 1

1.1.1 การจางงานและการกระจายรายได 11.1.2 มูลคาเพิ่ม 11.1.3 รายไดที่เปนเงินตราตางประเทศ 1

1.2 วิวัฒนาการของอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทย 31.2.1 ยุคเริ่มตนของเครื่องปนดินเผาของไทย 31.2.2 ยุคที่คนจีนเริ่มเขามามีบทบาทอยางสํ าคัญ 51.2.3 ยุคปจจุบัน 61.2.4 แนวโนมการสงออกเซรามิกของไทยในอนาคต 10

1.3 บทสรุป บทบาท ความสํ าคัญ และวิวัฒนาการของอุตสาหกรรมเซรามิก 12

บทที่ 2 แหลงผลิตเซรามิกท่ีสํ าคัญของโลก2.1 แหลงผลิตเครื่องสุขภัณฑ 152.2 แหลงผลิตกระเบื้องเคลือบ 262.3 แหลงผลิตเครื่องใชบนโตะอาหาร 352.4 บทสรุป แหลงผลิตเซรามิกที่สํ าคัญของโลก 38

บทที่ 3 โครงสรางของอุตสาหกรรมเซรามิก3.1 ประเภทของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 393.2 โครงสรางอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 39

3.2.1 โครงสรางตนทุนวัตถุดิบ 393.2.2 โครงสรางตนทุนการผลิต 403.2.3 โครงสรางการจํ าหนาย 42

3.3 จํ านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงาน 43

Page 42: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

ii รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

3.4 แหลงอุตสาหกรรมการผลิตเซรามิกของไทย 443.4.1 เซรามิกแบบดั้งเดิม 443.4.2 เซรามิกสมัยใหม 48

3.5 การวิเคราะหโครงสรางการกระจุกตัวของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 493.5.1 วิธีการวัดสัดสวนการกระจุกตัวของผูผลิตรายใหญ 4 รายแรก (CR4) 503.5.2 ดัชนีเฮอรฟนดาล (Herfindahl Index) 51

3.6 การวิเคราะหการเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 533.7 การวิเคราะหตนทุนการใชทรัพยากรภายในประเทศของอุตสาหกรรมเซรามิก 563.8 บทสรุป โครงสรางของอุตสาหกรรมเซรามิก 57

บทที่ 4 สถานภาพของอุตสาหกรรมเซรามิก4.1 ศักยภาพการผลิต และการจํ าหนายเซรามิกของไทย 59

4.1.1 เครื่องสุขภัณฑ 594.1.2 กระเบื้องเซรามิก 624.1.3 เครื่องใชบนโตะอาหาร 674.1.4 ของชํ ารวยและเครื่องประดับ 704.1.5 ลูกถวยไฟฟา 71

4.2 สถานภาพเทคโนโลยีการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกของไทย 734.2.1 สถานภาพเทคโนโลยีการผลิตตามระดับความสามารถในการใชและ

การจัดการเทคโนโลยี 734.2.2 สถานภาพเทคโนโลยีการผลิตแบงตามประเภทผลิตภัณฑ 764.2.3 สถานภาพเทคโนโลยีการผลิตแบงตามขั้นตอนการผลิต 774.2.4 สถานภาพเทคโนโลยีการผลิตแบงตามเขตการประกอบอุตสาหกรรม

เซรามิกของไทย 844.3 สถานภาพดานการสงออกเซรามิกของไทย 85

4.3.1 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทย 854.3.2 ตลาดการสงออกเซรามิกที่สํ าคัญของไทย 86

4.4 บทสรุป สถานภาพอุตสาหกรรมเซรามิก 90

บทที่ 5 ความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมเซรามิก5.1 ที่มาของการเติบโตของการสงออก : การวิเคราะหดวย CMS 93

5.1.1 เครื่องสุขภัณฑ 945.1.2 เครื่องใชบนโตะอาหาร เครื่องใชในบานและในหองนํ้ าพอรซเลน 955.1.3 เครื่องใชบนโตะอาหาร เครื่องใชในบานและในหองนํ้ าที่ไมใชพอรซเลน 96

Page 43: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญ iii

5.1.4 ของชํ ารวยและเครื่องประดับ 975.2 การวิเคราะหความไดเปรยีบในการแขงขนัดวยดชันคีวามไดเปรยีบโดยเปรยีบเทยีบที่

ปรากฏชัด (Revealed Comparative Advantage: RCA) 985.2.1 RCA ในตลาดสหรัฐอเมริกา 995.2.2 RCA ในตลาดสหภาพยุโรป 1015.2.3 RCA ในตลาดญี่ปุน 103

5.3 คูแขงที่สํ าคัญ 1055.3.1 ประเทศจีน 1065.3.2 ประเทศอิตาลี 1085.3.3 ประเทศสเปน 1095.3.4 ประเทศเม็กซิโก 1095.3.5 ประเทศอินเดีย 110

5.4 ความไดเปรียบในการแขงขันของไทยและประเทศคูแขงในแตละผลิตภัณฑ 1105.4.1 กระเบื้องเซรามิก 1105.4.2 เครื่องสุขภัณฑ 1125.4.3 เครื่องใชบนโตะอาหาร เครื่องใชในบานและในหองนํ้ าที่เปนพอรซเลน 1135.4.4 เครื่องใชบนโตะอาหาร เครื่องใชในบานและในหองนํ้ าที่ไมเปนพอรซเลน 1155.4.5 ของชํ ารวยและเครื่องประดับ 1165.4.6 ลูกถวยไฟฟา 118

5.5 การวิเคราะหแรงกระทํ าตออุตสาหกรรมเซรามิกไทยโดยใช Five Forces Model 1195.5.1 ผูสงมอบวัตถุดิบและปจจัยการผลิต 1195.5.2 ผูซื้อ 1225.5.3 คูแขงขันในปจจุบัน 1225.5.4 ผูประกอบการรายใหม 1235.5.5 สินคาทดแทนกัน 124

5.6 ความสามารถหลัก (Core Competencies) ของกลุมอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 1245.7 การวิเคราะหปจจัยแหงความสํ าเร็จ (Key Success Factors) ของการประกอบการ

อุตสาหกรรมเซรามิก 1255.7.1 โรงงานที่ผลิตในครัวเรือนและโรงงานที่รับจางผลิตที่ทํ าการผลิตโดยใช เทคโนโลยีในระดับลาง 1255.7.2 โรงงานที่รับจางผลิตที่ทํ าการผลิตโดยใชเทคโนโลยีในระดับสูง 1295.7.3 โรงงานผลิตที่มีรูปแบบเฉพาะเปนของตนเอง 1325.7.4 โรงงานที่มีตราสินคาหรือเครื่องหมายการคาซึ่งเปนที่รูจักกันโดยแพรหลาย 136

5.8 บทสรุป ความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 140

Page 44: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

iv รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

บทที่ 6 การตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิก6.1 ลักษณะของสินคาเซรามิกของไทย 1456.2 ตลาดสงออกที่สํ าคัญ 147

6.2.1 ตลาดสหรัฐอเมริกา 1476.2.2 ตลาดสหภาพยุโรป 1486.2.3 ตลาดญี่ปุน 1486.2.4 ตลาดอื่นๆ 148

6.3 ชองทางการตลาด 1486.3.1 ขายใหกับผูคาสง (Wholesaler) 1486.3.2 ขายใหกับผูแทนการขาย (Sale-Representatives: Sale-Rep) 1496.3.3 ขายใหกับผูซื้อ (Buyer) โดยติดตอผานตัวแทนผูซื้อ (Buying-agent) 1496.3.4 ขายผานให Distribution Center (D.C.) 1506.3.5 ขายผานทางพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-commerce) 150

6.4 การกํ าหนดราคาสินคา 1526.5 การออกงานแสดงสินคา (Trade Show / Exhibition) 155

6.5.1 งานแสดงสินคาในประเทศ 1566.5.2 งานแสดงสินคาในตางประเทศ 157

6.6 บทสรุป การตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิก 159

ตอนที่ 2 อุตสาหกรรมแกวและกระจก

บทที่ 7 สถานภาพอุตสาหกรรมแกวและกระจก7.1 บทบาทและความสํ าคัญของอุตสาหกรรมแกวและกระจกในประเทศไทย 161

7.1.1 การจางงานและการกระจายรายได 1617.1.2 มูลคาเพิ่ม 1617.1.3 รายไดที่เปนเงินตราตางประเทศ 161

7.2 วิวัฒนาการของอุตสาหกรรมแกวและกระจกในประเทศไทย 1647.2.1 อุตสาหกรรมผลิตกระจก 1647.2.2 อุตสาหกรรมขวดแกวและเครื่องแกว 1647.2.3 อุตสาหกรรมฉนวนใยแกว 1657.2.4 อุตสาหกรรมหลอดแกวสํ าหรับทํ าหลอดฟลูออเรสเซนต 165

Page 45: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญ v

7.3 ประเภทของการผลิต 1667.4 ผูผลิต 166

7.4.1 ฉนวนใยแกว 1667.4.2 หลอดแกวและกระเปาะแกว 1667.4.3 เครื่องใชบนโตะอาหารที่ทํ าจากแกว (เครื่องแกว) 1677.4.4 บรรจุภัณฑแกว 1677.4.5 อิฐแกว (บล็อกแกว) 1677.4.6 กระจก 168

7.5 จํ านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงาน 1687.6 การวิเคราะหโครงสรางการกระจุกตัวของอุตสาหกรรมแกวและกระจก 1697.7 การวิเคราะหการเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมแกวและกระจกของไทย 1697.8 ตนทุนการใชทรัพยากรภายในประเทศของอุตสาหกรรมแกวและกระจก 1707.9 สถานภาพการผลิตแกวและกระจกของไทย 171

7.9.1 ฉนวนใยแกว 1717.9.2 หลอดแกวและกระเปาะแกว 1757.9.3 เครื่องใชบนโตะอาหารที่ทํ าดวยแกว (เครื่องแกว) 1757.9.4 บรรจุภัณฑแกว 1757.9.5 อิฐแกว (บล็อกแกว) 1767.9.6 กระจก 176

7.10 สถานภาพทางดานเทคโนโลยีในการผลิตแกวและกระจกของไทย 1837.11 สถานภาพดานการสงออกแกวและกระจกของไทย 186

7.11.1 มูลคาการสงออกแกวและกระจกของไทย 1867.11.2 ตลาดการสงออกที่สํ าคัญของไทย 187

7.12 ความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมแกวและกระจกไทย 1937.12.1 ผลการวิเคราะหดวย RCA 1947.12.2 ผลการวิเคราะหดวย CMS 194

7.13 แนวโนมมลูคาการสงออกเครือ่งแกวทีใ่ชบนโตะอาหารระหวางป พ.ศ. 2545 - 2551 1967.14 บทสรุป สถานภาพอุตสาหกรรมแกวและกระจก 198

ตอนที่ 3 ปจจัยท่ีมีผลตอการพัฒนาและปรับตัวของอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว

บทที่ 8 ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว8.1 แหลงวัตถุดิบและขอกํ าหนดในการใชทรัพยากร 203

8.1.1 แหลงวัตถุดิบและขอกํ าหนดในการใชทรัพยากรในอุตสาหกรรมเซรามิก 2038.1.2 แหลงก ําเนดิและขอกํ าหนดในการใชทรพัยากรในอตุสาหกรรมแกวและกระจก 228

Page 46: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

vi รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

8.2 เครื่องมือเครื่องใช 2358.2.1 เครื่องมือเครื่องใชในอุตสาหกรรมเซรามิก 2358.2.2 เครื่องมือเครื่องใชในอุตสาหกรรมแกวและกระจก 238

8.3 สาธารณูปโภค 2398.3.1 สาธารณูปโภคในอุตสาหกรรมเซรามิก 2398.3.2 สาธารณูปโภคในอุตสาหกรรมแกวและกระจก 240

8.4 บทสรุป ปจจัยการผลิตในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 240

บทที่ 9 นโยบายและมาตรการที่เก่ียวของกับอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว9.1 การสนับสนุนดานการลงทุนและสินเชื่อ 243

9.1.1 การสนับสนุนการลงทุน 2439.1.2 การปรับโครงสรางอุตสาหกรรมระยะที่ 2 2449.1.3 นโยบายทางดานการผลิตเฉพาะทาง 246

9.2 นโยบายทางดานภาษีอากรสํ าหรับผลิตภัณฑเซรามิกและแกว 2479.2.1 นโยบายทางดานภาษีอากรสํ าหรับผลิตภัณฑเซรามิกและแกว 2479.2.2 นโยบายการลดภาษีอากรขาเขาสํ าหรับวัตถุดิบ 2509.2.3 นโยบายของเงินชดเชยคาภาษีอากรของผลิตภัณฑเซรามิกและแกวที่สงออก 2539.2.4 นโยบายการขอคืนอากร 19 ทวิ แหง พ.ร.บ. ศุลกากร (ฉบับที่ 9) 2549.2.5 คลังสินคาทัณฑบนประเภทโรงผลิตสินคา 254

9.3 การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ 2549.4 นโยบายและมาตรการที่สํ าคัญในประเทศคูคาที่สํ าคัญของไทย 258

9.4.1 สหรัฐอเมริกา 2589.4.2 ประเทศ ญี่ปุน 2639.4.3 ประทศเยอรมนี 264

9.5 มาตรการทางดานอื่นๆ 2659.5.1 มาตรการทางดานการคุมครองผลิตภัณฑ 2659.5.2 มาตรการทางดานแรงงาน 2679.5.3 มาตรการทางดานสิ่งแวดลอม 269

9.6 บทสรุป นโยบายและมาตรการที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 270

บทที่ 10 การวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว10.1 การวิจัยและพัฒนาของหนวยงานเอกชน 27310.2 การวิจัยและพัฒนาของหนวยงานของรัฐ 27510.3 ทัศนคติของผูประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิกตอการบริการของรัฐ 29410.4 บทสรุป การวิจัยและพัฒนาในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 299

Page 47: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญ vii

บทที่ 11 การพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว11.1 การฝกอบรมระยะสั้น 305

11.1.1 กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม 30511.1.2 กระทรวงอุตสาหกรรม 30611.1.3 กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 30611.1.4 กระทรวงพาณิชย 30611.1.5 กระทรวงศึกษาธิการ 307

11.2 หลักสูตรการเรียนการสอน 30711.2.1 ทบวงมหาวิทยาลัย 30811.2.1 กระทรวงศึกษาธิการ 310

11.3 การพัฒนาบุคลากรในระดับสูง 31511.4 บทสรุป การพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 318

บทที่ 12 ผลกระทบจากการรวมกลุมทางการคาและขอตกลงทางการคาระหวางประเทศที่สํ าคัญ12.1 การรวมกลุมทางการคาระหวางประเทศ 321

12.1.1 กลุมประเทศสหภาพยุโรป (European Union: EU) 32112.1.2 กลุมประเทศนาฟตา (North America Free Trade Area: NAFTA) 322

12.2 ความตกลงทางการคาระหวางประเทศ 32312.2.1 การเปดเสรีตามพันธกรณีของ WTO 32312.2.2 การเปดเสรีตามความตกลงระหวางกลุมประเทศอาฟตา (AFTA) 325

12.3 การเขาเปนสมาชิก WTO ของจีนกับผลกระทบตออุตสาหกรรมเซรามิกของไทย 32612.3.1 ตลาดเซรามิกที่สํ าคัญของจีน 32712.3.2 การเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) กับโอกาสที่เพิ่มขึ้นของจีนและ ผลกระทบตอไทย 32712.3.3 จุดออนที่มีอยูของจีน 32812.3.4 ความพยายามในการแกไขจุดออนของจีน 329

12.4 การปรับตัวในยามวิกฤตเศรษฐกิจของผูประกอบการอุตสาหกรรมเซรามิก 33012.5 บทสรุป การรวมกลุมทางการคาและขอตกลงทางการคาระหวางประเทศที่สํ าคัญ 330

Page 48: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

viii รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

สวนที่ 2 บทสรุป ขอเสนอแนะแนวทางการสงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวของไทย

แผนแมบทอุตสาหกรรมเซรามิก

การวิเคราะหสถานการณที่มีผลอุตสาหกรรมเซรามิก 1. สถานการณภายนอก 333 2. สถานการณภายใน 334การวิเคราะห จุดออน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม (SWOT analysis) 1. จุดแข็ง 335 2. จุดออน 335 3. โอกาส 336 4. อุปสรรค 338วิสัยทัศน 339พันธกิจ 339แผนยุทธศาสตรสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิก ยุทธศาสตรที่ 1 การบริหารแผนแมบทและพัฒนาสารสนเทศ 340 ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาวัตถุดิบและอุตสาหกรรมสนับสนุน 340 ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนากระบวนการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ 341 ยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนากํ าลังคนและเครือขายการศึกษาและสถาบันเฉพาะทาง 343 ยุทธศาสตรที่ 5 การตลาดและการสงเสริมการสงออก 344 ยทุธศาสตรที ่6 (ยทุธศาสตรพิเศษ) การพฒันาจงัหวัดล ําปางใหเปนศนูยกลางการผลติเซรามกิ ในอาเซียน “ลํ าปาง เมืองเซรามิก (Lampang Ceramics City) 347แผนปฏิบัติการอุตสาหกรรมเซรามิก พ.ศ. 2547 – 2551 ยุทธศาสตรที่ 1 การบริหารแผนแมบทและพัฒนาสารสนเทศ 348 ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาวัตถุดิบและอุตสาหกรรมสนับสนุน 352 ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนากระบวนการผลิตและการพัฒนาผลิตภัณฑ 356 ยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนากํ าลังคน เครือขายการศึกษาและสถาบันเฉพาะทาง 363 ยุทธศาสตรที่ 5 การตลาดและการสงเสริมการสงออก 368 ยทุธศาสตรที ่ 6 (ยทุธศาสตรพิเศษ) การพฒันาจงัหวัดล ําปางใหเปนศนูยกลางการผลติเซรามกิ ในอาเซียน “ลํ าปาง เมืองเซรามิก (Lampang Ceramics City) 377ตารางสรุปแผนปฏิบัติการอุตสาหกรรมเซรามิกป พ.ศ. 2547 – 2551 382ตารางสรุปงบประมาณของแผนปฏิบัติการอุตสาหกรรมเซรามิกป พ.ศ. 2547 – 2551 389ตารางสรุปสัดสวนจํ านวนโครงการและงบประมาณแผนปฏิบัติการเซรามิกแยกตามยุทธศาสตร 389

Page 49: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญ ix

แผนแมบทอุตสาหกรรมแกวและกระจก

การวิเคราะหปจจัยที่มีผลตออุตสาหกรรมแกวและกระจก ปจจัยภายนอก 391 ปจจัยภายใน 392การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) จุดแข็ง 393 จุดออน 393 โอกาส 394 อุปสรรค 394ทิศทางการพัฒนาในระยะ 10 ป 395วิสัยทัศน 395พันธกิจ 395ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมแกวและกระจก ยุทธศาสตรที่ 1 การบริหารแผนแมบทและพัฒนาสารสนเทศ 396 ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาวัตถุดิบและอุตสาหกรรมสนับสนุน 396 ยุทธศาสตรที่ 3 การยกระดับเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม 397 ยุทธศาสตรที่ 4 การตลาดและการสงเสริมการสงออก 398 ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนากํ าลังคนและเครือขายการศึกษา 399แผนปฏิบัติการสํ าหรับอุตสาหกรรมแกวและกระจก ยุทธศาสตรที่ 1 การบริหารแผนแมบทและพัฒนาสารสนเทศ 400 ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาวัตถุดิบและอุตสาหกรรมสนับสนุน 403 ยุทธศาสตรที่ 3 การยกระดับเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม 404 ยุทธศาสตรที่ 4 การตลาดและการสงเสริมการสงออก 409 ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนากํ าลังคนและเครือขายการศึกษา 411ตารางสรุปแผนปฏิบัติการอุตสาหกรรมแกวและกระจกป พ.ศ. 2547 – 2551 414ตารางสรุปงบประมาณของแผนปฏิบัติการอุตสาหกรรมแกวและกระจกป พ.ศ. 2547 – 2551 417ตารางสรปุสดัสวนจ ํานวนโครงการและงบประมาณแผนปฏบิติัการแกวและกระจกแยกตามยทุธศาสตร 417

ภาคผนวกภาคผนวก 1 การศึกษาความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบของแกวและกระจกเมื่อเปรียบเทียบกับคูแขง

(Revealed Comparative Advantage: RCA) และที่มาของความเติบโตของการสงออกแกวและกระจกโดยวิธีการ Constant Market Share (CMS) 419

ภาคผนวก 2 การวัดตนทุนการใชทรัพยากรภายในประเทศ (DRC) 432ภาคผนวก 3 การวิเคราะหการเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 439

Page 50: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

x รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ภาคผนวก 4 รหัสฮารโมไนซของอุตสาหกรรมเซรามิก 445ภาคผนวก 5 รหัสฮารโมไนซของอุตสาหกรรมแกวและกระจก 448ภาคผนวก 6 รายละเอียดโครงการที่เกี่ยวของกับสาขาอุตสาหกรรมเซรามิกภายใตแผนปรับปรุง

โครงสรางอุตสาหกรรม ระยะที่ 2 453ภาคผนวก 7 ศักยภาพในการสงออกของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทย 459ภาคผนวก 8 วิธีการพยากรณแนวโนมมูลคาการสงออก 463บรรณานุกรม 467

Page 51: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญตาราง

ตารางที่ 1.1 มูลคาการสงออกสินคารายการสํ าคัญของไทยในป พ.ศ. 2544 2ตารางที่ 1.2 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทยไปยังตลาดโลกในป พ.ศ. 2544 3ตารางที่ 1.3 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทย ป พ.ศ. 2503 – 2544 8ตารางที่ 1.4 แนวโนมมูลคาสงออกเซรามิกของไทยระหวางป พ.ศ. 2545 – 2551 11ตารางที่ 2.1 กํ าลังการผลิตเครื่องสุขภัณฑ 11 ประเทศแรกในป พ.ศ. 2542 15ตารางที่ 2.2 คาเฉลี่ยกํ าลังการผลิตเครื่องสุขภัณฑในตลาดโลกป พ.ศ. 2540 16ตารางที่ 2.3 บริษัทผูผลิตเครื่องสุขภัณฑ 10 อันดับแรกของโลกป พ.ศ. 2540 18ตารางที่ 2.4 สถานภาพการตลาดของเครื่องสุขภัณฑในกลุมประเทศยุโรป ป พ.ศ. 2540 20ตารางที่ 2.5 บริษัทผลิตเครื่องสุขภัณฑ 5 อันดับแรกของอินเดีย ป พ.ศ. 2544 24ตารางที่ 2.6 กํ าลังการผลิตกระเบื้องเคลือบ 11 ประเทศแรกในป พ.ศ. 2542 26ตารางที่ 2.7 ปริมาณการผลิตกระเบื้องเคลือบของโลกในป พ.ศ. 2542 27ตารางที่ 2.8 ปริมาณการบริโภคกระเบื้องเคลือบของโลกในป พ.ศ. 2542 28ตารางที่ 2.9 ปริมาณการสงออกกระเบื้องเคลือบของโลกในป พ.ศ. 2542 28ตารางที่ 2.10 ประเทศผูนํ าในการผลิตกระเบื้องเคลือบ ในป พ.ศ. 2539 – 2542 29ตารางที่ 2.11 ประเทศผูนํ าในการบริโภคกระเบื้องเคลือบ ในป พ.ศ. 2539 – 2542 30ตารางที่ 2.12 ประเทศผูนํ าในการสงออกกระเบื้องเคลือบ ในป พ.ศ. 2539 – 2 542 31ตารางที่ 2.13 ประเทศผูนํ าในการนํ าเขากระเบื้องเคลือบ ในป พ.ศ. 2539 – 2542 31ตารางที่ 2.14 ตลาดสงออกกระเบื้องเคลือบหลักของประเทศอิตาลีและสเปนในป พ.ศ. 2542 32ตารางที่ 2.15 การบริโภคและการนํ าเขาใน 4 ประเทศผูนํ าเขากระเบื้องเคลือบในป พ.ศ. 2542 33ตารางที่ 2.16 มูลคาการสงออกเครื่องใชบนโตะอาหาร 11 ประเทศแรกในป พ.ศ. 2542 36ตารางที่ 3.1 โครงสรางตนทุนวัตถุดิบของผลิตภัณฑแตละชนิด 40ตารางที่ 3.2 โครงสรางตนทุนการผลิตของผลิตภัณฑเซรามิก 41ตารางที่ 3.3 ดัชนีช้ีวัดสถานภาพและศักยภาพอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว จํ าแนกตามประเภท

อุตสาหกรรม 41ตารางที่ 3.4 จํ านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงาน แตละจํ าพวก จํ าแนกตามพื้นที่ตางๆ ของ

ประเทศไทย 43ตารางที่ 3.5 แสดงคาดัชนี CR4 ของผลิตภัณฑตางๆ ในอุตสาหกรรมเซรามิก 50ตารางที่ 3.6 แสดงคาดัชนีเฮอรฟนดาลของผลิตภัณฑตางๆในอุตสาหกรรมเซรามิก 52ตารางที่ 3.7 แสดงคา 1 / H ของผลิตภัณฑตางๆในอุตสาหกรรมเซรามิก 52ตารางที่ 3.8 คาความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทย 55ตารางที่ 3.9 คาตัวแปรตางๆ และผลการคํ านวณคา DRC ในปพ.ศ. 2518 – 2541 ของ

อุตสาหกรรมเซรามิก 57

Page 52: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

xii รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 4.1 ผูผลิตเครื่องสุขภัณฑไทยในป พ.ศ. 2542 60ตารางที่ 4.2 การเปรียบเทียบกํ าลังการผลิตเครื่องสุขภัณฑในกลุมประเทศอาเซียน 60ตารางที่ 4.3 ปริมาณและมูลคาจํ าหนายเครื่องสุขภัณฑในป พ.ศ. 2541 – 2543 61ตารางที่ 4.4 มูลคานํ าเขาเครื่องสุขภัณฑเซรามิกของไทย (HS6910) ป พ.ศ.2538 – 2542 62ตารางที่ 4.5 ปริมาณการผลิตกระเบื้องเซรามิกในปพ.ศ. 2541 – 2543 63ตารางที่ 4.6 ผูผลิตกระเบื้องเซรามิกไทยในปพ.ศ. 2542 64ตารางที่ 4.7 ปริมาณและมูลคาจํ าหนายกระเบื้องเซรามิกในปพ.ศ. 2541 – 2543 65ตารางที่ 4.8 กํ าลังการผลิต และการใชกํ าลังการผลิตในอุตสาหกรรมถวยชามเซรามิก 67ตารางที่ 4.9 ผูผลิตผลิตภัณฑเซรามิกประเภทเครื่องใชบนโตะอาหารไทยในปพ.ศ. 2542 68ตารางที่ 4.10 ปริมาณและมูลคาจํ าหนายผลิตภัณฑเซรามิกประเภทเครื่องใชบนโตะอาหาร 69ตารางที่ 4.11 มูลคาสงออกของชํ ารวยและเครื่องประดับในปพ.ศ. 2538 – 2543 71ตารางที่ 4.12 มูลคาสงออกลูกถวยไฟฟาในป พ.ศ. 2541 – 2543 72ตารางที่ 4.13 ตลาดสงออกลูกถวยไฟฟา 5 ประเทศแรกของไทย 72ตารางที่ 4.14 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทยไปยังตลาดโลกในปพ.ศ. 2539 และ 2543 85ตารางที่ 4.15 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทยไปยังตลาดโลกในปพ.ศ. 2543 – 2544 86ตารางที่ 4.16 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทย 87ตารางที่ 4.17 มูลคาการสงออกกระเบื้องเซรามิกของไทย 87ตารางที่ 4.18 มูลคาการสงออกเครื่องสุขภัณฑของไทย 88ตารางที่ 4.19 มูลคาการสงออกเครื่องใชบนโตะอาหารพอรซเลนของไทย 88ตารางที่ 4.20 มูลคาการสงออกเครื่องใชบนโตะอาหารที่ไมใชพอรซเลนของไทย 89ตารางที่ 4.21 มูลคาการสงออกของชํ ารวยและเครื่องประดับเซรามิกของไทย 89ตารางที่ 4.22 มูลคาการสงออกลูกถวยไฟฟาของไทย 90ตารางที่ 5.1 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของเครื่องสุขภัณฑ (HS 6910) 95ตารางที่ 5.2 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของเครื่องใชบนโตะอาหาร เครื่องใชในบานและใน

หองนํ้ าพอรซเลน (HS 6911) 96ตารางที่ 5.3 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของเครื่องใชบนโตะอาหาร เครื่องใชในบานและใน

หองนํ้ าที่ไมใชพอรซเลน (HS 6912) 97ตารางที่ 5.4 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของของชํ ารวยและเครื่องประดับ (HS 6913) 97ตารางที่ 5.5 แสดงมูลคาการนํ าเขาเซรามิกของสหรัฐอเมริกาจากทั้งโลก 99ตารางที่ 5.6 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดสหรัฐอเมริกา

(HS 4 หลัก) 100ตารางที่ 5.7 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดสหรัฐอเมริกา

(HS 6 หลัก) 100ตารางที่ 5.8 แสดงมูลคาการนํ าเขาเซรามิกของสหภาพยุโรปจากทั้งโลก 101

Page 53: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญตาราง xiii

ตารางที่ 5.9 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดสหภาพยุโรป 102ตารางที่ 5.10 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดสหภาพยุโรป (HS 6 หลัก) 103ตารางที่ 5.11 แสดงมูลคาการนํ าเขาเซรามิกของญี่ปุนจากทั้งโลก 103ตารางที่ 5.12 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดญี่ปุน 104ตารางที่ 5.13 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดญี่ปุน (HS 6 หลัก) 105ตารางที่ 5.14 สรุปคา RCA ของผลิตภัณฑเซรามิกของประเทศตางๆ ในตลาดสหรัฐอเมริกา

ป พ.ศ. 2543 107ตารางที่ 5.15 สรุปคา RCA ของผลิตภัณฑเซรามิกของประเทศตางๆในสหภาพยุโรป

ป พ.ศ. 2543 107ตารางที่ 5.16 สรุปคา RCA ของผลิตภัณฑเซรามิกของประเทศตางๆในตลาดญี่ปุน

ป พ.ศ. 2543 108ตารางที่ 5.17 สรุปคา RCA ของกระเบื้องปูพ้ืนบุผนังของประเทศคูแขงในตลาดตางๆ

ป พ.ศ. 2543 111ตารางที่ 5.18 สรุปคา RCA ของกระเบื้องความยาวไมเกิน 7 ซ.ม. ของประเทศคูแขงในตลาดตางๆ

ป พ.ศ. 2543 111ตารางที่ 5.19 สรุปคา RCA ของเครื่องสุขภัณฑของประเทศคูแขงในตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 112ตารางที่ 5.20 สรุปคา RCA ของเครื่องใชบนโตะอาหารพอรซเลนของประเทศคูแขงในตลาดตางๆ

ป พ.ศ. 2543 114ตารางที่ 5.21 สรุปคา RCA ของเครื่องใชในบานและในหองนํ้ าพอรซเลนของประเทศคูแขงใน

ตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 114ตารางที่ 5.22 สรุปคา RCA ของเครื่องใชบนโตะอาหารในบานและหองนํ้ า stoneware ของ

ประเทศคูแขงในตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 116ตารางที่ 5.23 สรุปคา RCA ของของชํ ารวยและเครื่องประดับพอรซเลนของประเทศคูแขงในตลาด

ตางๆ ป พ.ศ. 2543 116ตารางที่ 5.24 สรุปคา RCA ของของชํ ารวยและเครื่องประดับ stoneware ของประเทศคูแขงใน

ตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 118ตารางที่ 5.25 สรุปคา RCA ของลูกถวยไฟฟาของประเทศคูแขงในตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 118ตารางที่ 5.26 ความสามารถหลักของกลุมอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 124ตารางที่ 7.1 มูลคาการสงออกสินคารายการสํ าคัญของไทยในปพ.ศ. 2544 162ตารางที่ 7.2 มูลคาการสงออกแกวและกระจกของไทยไปยังตลาดโลกในปพ.ศ. 2544 163ตารางที่ 7.3 จํ านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานของโรงงานผลิตแกว เสนใยแกว หรือ

ผลิตภัณฑแกว 168ตารางที่ 7.4 คาความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมแกวของไทย 169

Page 54: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

xiv รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 7.5 กํ าลังการผลิต ความตองการ และการขยายตัวของอุตสาหกรรมฉนวนใยแกวในภูมิภาคเอเชียและออสเตรเลีย 173

ตารางที่ 7.6 แสดงกํ าลังการผลิตกระจกโฟลตในโลก 176ตารางที่ 7.7 สัดสวนจํ านวนโรงงานและสัดสวนกํ าลังการผลิตของกลุมบริษัทผลิตกระจกโฟลต 177ตารางที่ 7.8 อุปสงคและอุปทานกระจกภายในประเทศ ปพ.ศ. 2538 – 2543 179ตารางที่ 7.9 การสงออกกระจกของไทยแยกตามประเภทผลิตภัณฑ ปพ.ศ. 2542 – 2544 181ตารางที่ 7.10 มูลคาการสงออกแกวและกระจกของไทยไปยังตลาดโลก 186ตารางที่ 7.11 มูลคาการสงออกแกวและกระจกของไทย 187ตารางที่ 7.12 มูลคาการสงออกกระจกลวดลายของไทย (HS 7003) 188ตารางที่ 7.13 มูลคาการสงออกชี้ทกลาสของไทย (HS 7004) 188ตารางที่ 7.14 มูลคาการสงออกโฟลตกลาสของไทย (HS 7005) 189ตารางที่ 7.15 มูลคาการสงออกกระจกโคงของไทย (HS7006) 189ตารางที่ 7.16 มูลคาการสงออกกระจกนิรภัยของไทย (HS 7007) 190ตารางที่ 7.17 มูลคาการสงออกกระจกฉนวนกันความรอนของไทย (HS 7008) 190ตารางที่ 7.18 มูลคาการสงออกกระจกเงาของไทย (HS 7009) 191ตารางที่ 7.19 มูลคาการสงออกบรรจุภัณฑแกวของไทย (HS 7010) 191ตารางที่ 7.20 มูลคาการสงออกกระเปาะแกวของไทย (HS 7011) 192ตารางที่ 7.21 มูลคาการสงออกแกวไสสํ าหรับภาชนะสูญญากาศของไทย (HS 7012) 192ตารางที่ 7.22 มูลคาการสงออกเครื่องแกวที่ใชบนโตะอาหารของไทย (HS 7013) 193ตารางที่ 7.23 มูลคาการสงออกบลอกแกวของไทย (HS 7016) 193ตารางที่ 7.24 มูลคาการสงออกเครื่องแกวที่ใชบนโตะอาหารของไทย ปพ.ศ. 2513 – 2544 196ตารางที่ 7.25 แนวโนมมูลคาการสงออกเครื่องแกวที่ใชบนโตะอาหารของไทยระหวาง

ปพ.ศ. 2545 – 2551 198ตารางที่ 8.1 สวนผสมวัตถุดิบเนื้อดินปนสํ าหรับผลิตภัณฑเซรามิกบางประเภท 204ตารางที่ 8.2 เปรียบเทียบผลการวิเคราะหทางเคมีของดินขาวจากแหลงตางๆ ในประเทศไทยกับ

มาตรฐานอังกฤษ 205ตารางที่ 8.3 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองผลิตแรดินขาว 206ตารางที่ 8.4 ปริมาณการผลิตแยกตามรายจังหวัด การใช การสงออก และการนํ าเขาดินขาว

ในป พ.ศ. 2538 – 2542 207ตารางที่ 8.5 เปรียบเทียบผลวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของดินดํ าไทยและอังกฤษ 209ตารางที่ 8.6 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองผลิตดินดํ า 209ตารางที่ 8.7 ปริมาณการผลิต ใชในประเทศ นํ าเขาและสงออกดินดํ าในป พ.ศ. 2538 – 2542 210ตารางที่ 8.8 เปรียบเทียบผลวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของเฟลดสปารไทยและนอรเวย 211ตารางที่ 8.9 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองเฟลดสปาร 212

Page 55: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญตาราง xv

ตารางที่ 8.10 ปริมาณการผลิตหินฟนมา (เฟลดสปาร) แยกตามรายจังหวัด การใชภายในประเทศการนํ าเขาและสงออก ในปพ.ศ. 2538 – 2542 212

ตารางที่ 8.11 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองทรายแกว 214ตารางที่ 8.12 ปริมาณการผลิตและใชทรายแกวภายในประเทศในป พ.ศ. 2538 – 2542 214ตารางที่ 8.13 ปริมาณสํ ารองวัตถุดิบหลักในอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทย ป พ.ศ. 2541 215ตารางที่ 8.14 ปริมาณรวมและมูลคารวมของการผลิต การใช การนํ าเขา และสงออก ดินขาว ดินดํ า

และเฟลดสปารในป พ.ศ. 2538 – 2542 215ตารางที่ 8.15 ปริมาณการผลิต การนํ าเขา และการสงออกวัตถุดิบเซรามิก พ.ศ. 2541 216ตารางที่ 8.16 ปริมาณและมูลคา การผลิต การสงออก และการใชวัตถุดิบเซรามิก

ป พ.ศ. 2543 – 2544 216ตารางที่ 8.17 จํ านวนเหมือง เนื้อที่ จํ านวนผูถือประทานบัตร มกราคม พ.ศ. 2543 222ตารางที่ 8.18 ปริมาณการผลิตดินสํ าเร็จรูปของบริษัทผูผลิตตางๆ 224ตารางที่ 8.19 สวนผสมวัตถุดิบนํ้ ายาเคลือบในผลิตภัณฑเซรามิกบางประเภท 225ตารางที่ 8.20 ปริมาณการผลิตและใชหินปูนภายในประเทศ ใน พ.ศ. 2543 – 2544 225ตารางที่ 8.21 ปริมาณการผลิต สงออกและใชโดโลไมท ในป พ.ศ. 2543 – 2544 226ตารางที่ 8.22 ชนิดและสัดสวนมูลคาวัตถุดิบในผลิตภัณฑเซรามิก 227ตารางที่ 8.23 คุณสมบัติของทรายแกวที่ตองการในผลิตภัณฑบางประเภท 228ตารางที่ 8.24 ปริมาณความตองการใชแรทรายแกวในอุตสาหกรรมแกวและกระจก 230ตารางที่ 8.25 การผลิต การใช การนํ าเขาและสงออกทรายแกว ป พ.ศ. 2539 – 2543 231ตารางที่ 8.26 ปริมาณการนํ าเขาทรายแกว ป พ.ศ. 2543 231ตารางที่ 8.27 ปริมาณการผลิตและใชหินปูนภายในประเทศใน พ.ศ. 2543 – 2544 232ตารางที่ 8.28 ปริมารการผลิต สงออกและใชโดโลไมทในป พ.ศ. 2543 – 2544 232ตารางที่ 8.29 เปรียบเทียบผลวิเคราะหเคมีของเฟลดสปารไทยและนอรเวย 233ตารางที่ 8.30 ปริมาณการผลิตหินฟนมา (เฟลดสปาร) การใชภายในประเทศ การนํ าเขา

และสงออกในป พ.ศ. 2538 – 2542 234ตารางที่ 8.31 ปริมาณการผลิต สงออกและใชยิปซัมภายในประเทศ ปพ.ศ. 2543 – 2544 237ตารางที่ 8.32 เปรียบเทียบตนทุนพลังงานในสี่ประเทศอาเซียน 239ตารางที่ 9.1 โครงการตามแผนปรับโครงสรางอุตสาหกรรมระยะที่ 2 245ตารางที่ 9.2 อัตราภาษีนํ าเขาผลิตภัณฑเซรามิกในป พ.ศ. 2544 247ตารางที่ 9.3 อัตราภาษีนํ าเขาผลิตภัณฑแกวในป พ.ศ. 2544 248ตารางที่ 9.4 เปรียบเทียบอัตราภาษีนํ าเขาผลิตภัณฑเซรามิกตามขอผูกพันใน WTO และภายใต

AFTA ในป พ.ศ. 2543 248ตารางที่ 9.5 อตัราอากรขาเขาผลติภัณฑเซรามกิของกลุมประเทศอาเซยีนและแผนการปรบัลดภาษี

ตามขอตกลง AFTA 249

Page 56: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

xvi รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 9.6 อัตราการอากรขาเขาผลิตภัณฑแกวของกลุมประเทศอาเซียนและแผนการปรับลดภาษีตามขอตกลง AFTA 249

ตารางที่ 9.7 อัตราภาษีอากรนํ าเขาวัตถุดิบที่ใชในการผลิตเซรามิก 250ตารางที่ 9.8 เปรียบเทียบอัตราภาษีนํ าเขาวัตถุดิบสํ าหรับการผลิตเซรามิก ของประเทศคูแขงที่

สํ าคัญในอาเซียน 251ตารางที่ 9.9 อัตราภาษีขาเขาวัตถุดิบที่ใชในการผลิตแกว 252ตารางที่ 9.10 อัตราการชดเชยภาษีสงออกสํ าหรับสินคาเซรามิก 253ตารางที่ 9.11 อัตราการชดเชยภาษีสงออกสํ าหรับสินคาแกว 253ตารางที่ 9.12 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมของอุตสาหกรรมเซรามิก 254ตารางที่ 9.13 มาตรฐานสารปนเปอนของผลิตภัณฑตามสํ านักมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม 256ตารางที่ 9.14 เกณฑกํ าหนดปริมาณตะกั่วและแคดเมียมที่สกัดออกมาจากภาชนะพอรซเลน 256ตารางที่ 9.15 เกณฑกํ าหนดมาตรฐานผลิตภัณฑประเภทพอรซเลน 257ตารางที่ 9.16 เกณฑกํ าหนดปริมาณตะกั่วและแคดเมียมที่สกัดออกมาจากภาชนะสโตนแวร 258ตารางที่ 9.17 เกณฑกํ าหนดมาตรฐานผลิตภัณฑประเภทสโตนแวร 258ตารางที่ 9.18 อัตราภาษีศุลกากรของประเทศสหรัฐอเมริกา 259ตารางที่ 9.19 แสดง FDA Categories Ceramic of Ceramic Ware 263ตารางที่ 9.20 อัตราภาษีที่ญี่ปุนเรียกเก็บสํ าหรับผลิตภัณฑเซรามิก 263ตารางที่ 9.21 มาตรฐานการปนเปอนสารตะกั่วและแคดเมียมในผลิตภัณฑเซรามิกของประเทศ

ญี่ปุน (Product liability law) 264ตารางที่ 9.22 มาตรฐานการปนเปอนของสารตะกัว่และแคดเมยีมในผลติภัณฑเซรามกิของเยอรมนี 265ตารางที่ 10.1 ความรับผิดชอบของหนวยงานในกระทรวงวิทยฯในการวิจัยพัฒนาเซรามิก 278ตารางที่ 10.2 แสดงกิจกรรมและงบประมาณของศูนยพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผา

พ.ศ. 2537 – 2543 289ตารางที่ 10.3 โครงการวิจัยดานเซรามิกและแกวที่สํ านักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติใหการ

สนับสนุน 292ตารางที่ 10.4 ความตองการใหหนวยงานของราชการเขามาชวยเหลือในเรื่องตางๆ 296ตารางที่ 10.5 ความตองการใหหนวยงานของราชการเขามาชวยเหลือในเรื่องตางๆ แบงตามขนาด

โรงงาน 297ตารางที่ 10.6 ความตองการใหหนวยงานของราชการเขามาชวยเหลือในเรื่องตางๆ แบงตามกลุม

ผูประกอบการ 298ตารางที่ 10.7 แสดงจํ านวนบุคลากร ความชํ านาญเฉพาะทางและรูปแบบการบริหารองคกรของ

หนวยงานดานเซรามิกและแกวของภาครัฐ 299ตารางที่ 10.8 ระดับการดํ าเนินงานของภาครัฐในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 301

Page 57: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญตาราง xvii

ตารางที่ ผ.1 มูลคาการสงออกและคา RCA ของแกวและกระจกไทยในตลาดสหรัฐอเมริกา(รหัส HS 4 หลัก) 420

ตารางที่ ผ.2 สรุปคา RCA ของอุตสาหกรรมแกวและกระจกของประเทศตางๆ ในตลาดสหรัฐอเมริกา ป พ.ศ. 2543 421

ตารางที่ ผ.3 มูลคาการสงออกและคา RCA ของแกวและกระจกไทยในตลาดสหภาพยุโรป(รหัส HS 4 หลัก) 422

ตารางที่ ผ.4 สรุปคา RCA ของอุตสาหกรรมแกวและกระจกของประเทศตางๆ ในตลาดสหภาพยุโรป ป พ.ศ. 2543 423

ตารางที่ ผ.5 มูลคาการสงออกและคา RCA ของแกวและกระจกไทยในตลาดญี่ปุน(รหัส HS 4 หลัก) 424

ตารางที่ ผ.6 สรุปคา RCA ของอุตสาหกรรมแกวและกระจกของประเทศตางๆ ในตลาดญี่ปุนป พ.ศ. 2543 425

ตารางที่ ผ.7 สรุปคา RCA ของกระจกลวดลายของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 426

ตารางที่ ผ.8 สรุปคา RCA ของชี้ทกลาสของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 426

ตารางที่ ผ.9 สรุปคา RCA ของโฟลตกลาสของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 426

ตารางที่ ผ.10 สรุปคา RCA ของกระจกโคงของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 427

ตารางที่ ผ.11 สรุปคา RCA ของกระจกนิรภัยของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 427

ตารางที่ ผ.12 สรุปคา RCA ของกระจกเงาของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 427

ตารางที่ ผ.13 สรุปคา RCA ของบรรจุภัณฑแกวของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 427

ตารางที่ ผ.14 สรุปคา RCA ของกระเปาะแกวและหลอดแกวของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆ ป พ.ศ.2543 428

ตารางที่ ผ.15 สรุปคา RCA ของแกวไสในภาชนะสูญญากาศของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 428

ตารางที่ ผ.16 สรุปคา RCA ของเครื่องใชบนโตะอาหารที่ทํ าดวยแกวของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 428

ตารางที่ ผ.17 สรุปคา RCA ของบล็อกแกวของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 429

Page 58: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

xviii รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ ผ.18 สรุปคา RCA ของฉนวนใยแกวของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 429

ตารางที่ ผ.19 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของอุตสาหกรรมแกว 430ตารางที่ ผ.20 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของอุตสาหกรรมกระจก 431ตารางที่ ผ.21 ผลการคํ านวณคาอัตราแลกเปลี่ยนที่แทจริง (SER) ในป พ.ศ. 2518 – 2538 437ตารางที่ ผ.22 คาตัวแปรตางๆที่ใชในการคํ านวณคา DRC และผลการคํ านวณคา DRC

ในป พ.ศ. 2518 – 2541 ของอุตสาหกรรมเซรามิก 437ตารางที่ ผ.23 คาตัวแปรตางๆที่ใชในการคํ านวณคา DRC และผลการคํ านวณคา DRC

ในป พ.ศ. 2518 – 2541 ของอุตสาหกรรมแกว 438ตารางที่ ผ.24 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดสหรัฐอเมริกา

พ.ศ. 2538 – 2543 459ตารางที่ ผ.25 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดญี่ปุน พ.ศ. 2538-2543 460ตารางที่ ผ.26 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดสหภาพยุโรป

พ.ศ. 2538 – 2543 460ตารางที่ ผ.27 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดสหราชอาณาจักร

ป พ.ศ. 2538 – 2543 461ตารางที่ ผ.28 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดเยอรมนี

ป พ.ศ. 2538 – 2543 461ตารางที่ ผ.29 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดฝรั่งเศส

ป พ.ศ. 2538 – 2543 462

Page 59: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญรูป

รูปที่ 1.1 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทย ป พ.ศ. 2503 – 2544 9รูปที่ 3.1 สดัสวนมลูคาสงออกผลติภัณฑเซรามกิในรปูดอลลารสหรฐั ในระยะ 5 ป (2538 – 2542) 42รูปที่ 3.2 แนวโนมคาความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทย 55รูปที่ 4.1 ตลาดสงออกเครื่องสุขภัณฑ 5 ประเทศแรกของไทยในป พ.ศ. 2543 61รูปที่ 4.2 โครงสรางสวนแบงตลาดกระเบื้องเซรามิกภายในประเทศในป พ.ศ. 2543 66รูปที่ 4.3 ตลาดสงออกกระเบื้อง 5 ประเทศแรกของไทยในป พ.ศ. 2543 66รูปที่ 4.4 ตลาดสงออกถวยชามเซรามิก 5 ประเทศแรกของไทยในป พ.ศ. 2543 69รูปที่ 4.5 ตลาดสงออกของชํ ารวยและเครื่องประดับ 5 ประเทศแรกของไทยในป พ.ศ. 2543 70รูปที่ 4.6 ตลาดสงออกลูกถวยไฟฟา 5 ประเทศของไทยในป พ.ศ. 2543 73รูปที่ 5.1 การวิเคราะหแรงกระทํ าตออุตสาหกรรมดวย Five Forces Model 119รูปที่ 5.2 ความสํ าคัญและจํ านวนแรงงานประเภทตางๆในอุตสาหกรรมเซรามิก 121รูปที่ 5.3 การจัดการแบบหวงโซคุณคา (Value Chain Management) 135รูปที่ 5.4 ปจจัยหลักของความสํ าเร็จ (Key Success Factors) ของการประกอบการโรงงาน

อุตสาหกรรมเซรามิก 139รูปที่ 6.1 ลักษณะของผลิตภัณฑเซรามิกในเชิงเทคโนโลยีและระดับการใชฝมือ 146รูปที่ 6.2 ชองทางการตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 151รูปที่ 6.3 โครงสรางการกํ าหนดราคาสินคา 152รูปที่ 7.1 แนวโนมคาความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมแกวของไทย 170รูปที่ 7.2 ปริมาณการนํ าเขากระจกของไทย ป พ.ศ. 2509 – 2543 180รูปที่ 8.1 ขั้นตอนการขอประทานบัตรเหมืองแรดินในอุตสาหกรรมเซรามิก 219รูปที่ 8.2 วงจรการผลิตดินแบบเต็มกระบวนในอุตสาหกรรมเซรามิก 220รูปที่ 8.3 วงจรการผลิตดินสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิกในปจจุบัน 221

Page 60: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญตาราง

ตารางที่ 1.1 มูลคาการสงออกสินคารายการสํ าคัญของไทยในป พ.ศ. 2544 2ตารางที่ 1.2 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทยไปยังตลาดโลกในป พ.ศ. 2544 3ตารางที่ 1.3 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทย ป พ.ศ. 2503 – 2544 8ตารางที่ 1.4 แนวโนมมูลคาสงออกเซรามิกของไทยระหวางป พ.ศ. 2545 – 2551 11ตารางที่ 2.1 กํ าลังการผลิตเครื่องสุขภัณฑ 11 ประเทศแรกในป พ.ศ. 2542 15ตารางที่ 2.2 คาเฉลี่ยกํ าลังการผลิตเครื่องสุขภัณฑในตลาดโลกป พ.ศ. 2540 16ตารางที่ 2.3 บริษัทผูผลิตเครื่องสุขภัณฑ 10 อันดับแรกของโลกป พ.ศ. 2540 18ตารางที่ 2.4 สถานภาพการตลาดของเครื่องสุขภัณฑในกลุมประเทศยุโรป ป พ.ศ. 2540 20ตารางที่ 2.5 บริษัทผลิตเครื่องสุขภัณฑ 5 อันดับแรกของอินเดีย ป พ.ศ. 2544 24ตารางที่ 2.6 กํ าลังการผลิตกระเบื้องเคลือบ 11 ประเทศแรกในป พ.ศ. 2542 26ตารางที่ 2.7 ปริมาณการผลิตกระเบื้องเคลือบของโลกในป พ.ศ. 2542 27ตารางที่ 2.8 ปริมาณการบริโภคกระเบื้องเคลือบของโลกในป พ.ศ. 2542 28ตารางที่ 2.9 ปริมาณการสงออกกระเบื้องเคลือบของโลกในป พ.ศ. 2542 28ตารางที่ 2.10 ประเทศผูนํ าในการผลิตกระเบื้องเคลือบ ในป พ.ศ. 2539 – 2542 29ตารางที่ 2.11 ประเทศผูนํ าในการบริโภคกระเบื้องเคลือบ ในป พ.ศ. 2539 – 2542 30ตารางที่ 2.12 ประเทศผูนํ าในการสงออกกระเบื้องเคลือบ ในป พ.ศ. 2539 – 2 542 31ตารางที่ 2.13 ประเทศผูนํ าในการนํ าเขากระเบื้องเคลือบ ในป พ.ศ. 2539 – 2542 31ตารางที่ 2.14 ตลาดสงออกกระเบื้องเคลือบหลักของประเทศอิตาลีและสเปนในป พ.ศ. 2542 32ตารางที่ 2.15 การบริโภคและการนํ าเขาใน 4 ประเทศผูนํ าเขากระเบื้องเคลือบในป พ.ศ. 2542 33ตารางที่ 2.16 มูลคาการสงออกเครื่องใชบนโตะอาหาร 11 ประเทศแรกในป พ.ศ. 2542 36ตารางที่ 3.1 โครงสรางตนทุนวัตถุดิบของผลิตภัณฑแตละชนิด 40ตารางที่ 3.2 โครงสรางตนทุนการผลิตของผลิตภัณฑเซรามิก 41ตารางที่ 3.3 ดัชนีช้ีวัดสถานภาพและศักยภาพอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว จํ าแนกตามประเภท

อุตสาหกรรม 41ตารางที่ 3.4 จํ านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงาน แตละจํ าพวก จํ าแนกตามพื้นที่ตางๆ ของ

ประเทศไทย 43ตารางที่ 3.5 แสดงคาดัชนี CR4 ของผลิตภัณฑตางๆ ในอุตสาหกรรมเซรามิก 50ตารางที่ 3.6 แสดงคาดัชนีเฮอรฟนดาลของผลิตภัณฑตางๆในอุตสาหกรรมเซรามิก 52ตารางที่ 3.7 แสดงคา 1 / H ของผลิตภัณฑตางๆในอุตสาหกรรมเซรามิก 52ตารางที่ 3.8 คาความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทย 55ตารางที่ 3.9 คาตัวแปรตางๆ และผลการคํ านวณคา DRC ในปพ.ศ. 2518 – 2541 ของ

อุตสาหกรรมเซรามิก 57

Page 61: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

xii รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 4.1 ผูผลิตเครื่องสุขภัณฑไทยในป พ.ศ. 2542 60ตารางที่ 4.2 การเปรียบเทียบกํ าลังการผลิตเครื่องสุขภัณฑในกลุมประเทศอาเซียน 60ตารางที่ 4.3 ปริมาณและมูลคาจํ าหนายเครื่องสุขภัณฑในป พ.ศ. 2541 – 2543 61ตารางที่ 4.4 มูลคานํ าเขาเครื่องสุขภัณฑเซรามิกของไทย (HS6910) ป พ.ศ.2538 – 2542 62ตารางที่ 4.5 ปริมาณการผลิตกระเบื้องเซรามิกในปพ.ศ. 2541 – 2543 63ตารางที่ 4.6 ผูผลิตกระเบื้องเซรามิกไทยในปพ.ศ. 2542 64ตารางที่ 4.7 ปริมาณและมูลคาจํ าหนายกระเบื้องเซรามิกในปพ.ศ. 2541 – 2543 65ตารางที่ 4.8 กํ าลังการผลิต และการใชกํ าลังการผลิตในอุตสาหกรรมถวยชามเซรามิก 67ตารางที่ 4.9 ผูผลิตผลิตภัณฑเซรามิกประเภทเครื่องใชบนโตะอาหารไทยในปพ.ศ. 2542 68ตารางที่ 4.10 ปริมาณและมูลคาจํ าหนายผลิตภัณฑเซรามิกประเภทเครื่องใชบนโตะอาหาร 69ตารางที่ 4.11 มูลคาสงออกของชํ ารวยและเครื่องประดับในปพ.ศ. 2538 – 2543 71ตารางที่ 4.12 มูลคาสงออกลูกถวยไฟฟาในป พ.ศ. 2541 – 2543 72ตารางที่ 4.13 ตลาดสงออกลูกถวยไฟฟา 5 ประเทศแรกของไทย 72ตารางที่ 4.14 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทยไปยังตลาดโลกในปพ.ศ. 2539 และ 2543 85ตารางที่ 4.15 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทยไปยังตลาดโลกในปพ.ศ. 2543 – 2544 86ตารางที่ 4.16 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทย 87ตารางที่ 4.17 มูลคาการสงออกกระเบื้องเซรามิกของไทย 87ตารางที่ 4.18 มูลคาการสงออกเครื่องสุขภัณฑของไทย 88ตารางที่ 4.19 มูลคาการสงออกเครื่องใชบนโตะอาหารพอรซเลนของไทย 88ตารางที่ 4.20 มูลคาการสงออกเครื่องใชบนโตะอาหารที่ไมใชพอรซเลนของไทย 89ตารางที่ 4.21 มูลคาการสงออกของชํ ารวยและเครื่องประดับเซรามิกของไทย 89ตารางที่ 4.22 มูลคาการสงออกลูกถวยไฟฟาของไทย 90ตารางที่ 5.1 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของเครื่องสุขภัณฑ (HS 6910) 95ตารางที่ 5.2 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของเครื่องใชบนโตะอาหาร เครื่องใชในบานและใน

หองนํ้ าพอรซเลน (HS 6911) 96ตารางที่ 5.3 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของเครื่องใชบนโตะอาหาร เครื่องใชในบานและใน

หองนํ้ าที่ไมใชพอรซเลน (HS 6912) 97ตารางที่ 5.4 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของของชํ ารวยและเครื่องประดับ (HS 6913) 97ตารางที่ 5.5 แสดงมูลคาการนํ าเขาเซรามิกของสหรัฐอเมริกาจากทั้งโลก 99ตารางที่ 5.6 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดสหรัฐอเมริกา

(HS 4 หลัก) 100ตารางที่ 5.7 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดสหรัฐอเมริกา

(HS 6 หลัก) 100ตารางที่ 5.8 แสดงมูลคาการนํ าเขาเซรามิกของสหภาพยุโรปจากทั้งโลก 101

Page 62: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญตาราง xiii

ตารางที่ 5.9 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดสหภาพยุโรป 102ตารางที่ 5.10 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดสหภาพยุโรป (HS 6 หลัก) 103ตารางที่ 5.11 แสดงมูลคาการนํ าเขาเซรามิกของญี่ปุนจากทั้งโลก 103ตารางที่ 5.12 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดญี่ปุน 104ตารางที่ 5.13 มูลคาการสงออกและคา RCA ของเซรามิกไทยในตลาดญี่ปุน (HS 6 หลัก) 105ตารางที่ 5.14 สรุปคา RCA ของผลิตภัณฑเซรามิกของประเทศตางๆ ในตลาดสหรัฐอเมริกา

ป พ.ศ. 2543 107ตารางที่ 5.15 สรุปคา RCA ของผลิตภัณฑเซรามิกของประเทศตางๆในสหภาพยุโรป

ป พ.ศ. 2543 107ตารางที่ 5.16 สรุปคา RCA ของผลิตภัณฑเซรามิกของประเทศตางๆในตลาดญี่ปุน

ป พ.ศ. 2543 108ตารางที่ 5.17 สรุปคา RCA ของกระเบื้องปูพ้ืนบุผนังของประเทศคูแขงในตลาดตางๆ

ป พ.ศ. 2543 111ตารางที่ 5.18 สรุปคา RCA ของกระเบื้องความยาวไมเกิน 7 ซ.ม. ของประเทศคูแขงในตลาดตางๆ

ป พ.ศ. 2543 111ตารางที่ 5.19 สรุปคา RCA ของเครื่องสุขภัณฑของประเทศคูแขงในตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 112ตารางที่ 5.20 สรุปคา RCA ของเครื่องใชบนโตะอาหารพอรซเลนของประเทศคูแขงในตลาดตางๆ

ป พ.ศ. 2543 114ตารางที่ 5.21 สรุปคา RCA ของเครื่องใชในบานและในหองนํ้ าพอรซเลนของประเทศคูแขงใน

ตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 114ตารางที่ 5.22 สรุปคา RCA ของเครื่องใชบนโตะอาหารในบานและหองนํ้ า stoneware ของ

ประเทศคูแขงในตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 116ตารางที่ 5.23 สรุปคา RCA ของของชํ ารวยและเครื่องประดับพอรซเลนของประเทศคูแขงในตลาด

ตางๆ ป พ.ศ. 2543 116ตารางที่ 5.24 สรุปคา RCA ของของชํ ารวยและเครื่องประดับ stoneware ของประเทศคูแขงใน

ตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 118ตารางที่ 5.25 สรุปคา RCA ของลูกถวยไฟฟาของประเทศคูแขงในตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 118ตารางที่ 5.26 ความสามารถหลักของกลุมอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 124ตารางที่ 7.1 มูลคาการสงออกสินคารายการสํ าคัญของไทยในปพ.ศ. 2544 162ตารางที่ 7.2 มูลคาการสงออกแกวและกระจกของไทยไปยังตลาดโลกในปพ.ศ. 2544 163ตารางที่ 7.3 จํ านวนโรงงาน เงินลงทุน และการจางงานของโรงงานผลิตแกว เสนใยแกว หรือ

ผลิตภัณฑแกว 168ตารางที่ 7.4 คาความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมแกวของไทย 169

Page 63: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

xiv รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 7.5 กํ าลังการผลิต ความตองการ และการขยายตัวของอุตสาหกรรมฉนวนใยแกวในภูมิภาคเอเชียและออสเตรเลีย 173

ตารางที่ 7.6 แสดงกํ าลังการผลิตกระจกโฟลตในโลก 176ตารางที่ 7.7 สัดสวนจํ านวนโรงงานและสัดสวนกํ าลังการผลิตของกลุมบริษัทผลิตกระจกโฟลต 177ตารางที่ 7.8 อุปสงคและอุปทานกระจกภายในประเทศ ปพ.ศ. 2538 – 2543 179ตารางที่ 7.9 การสงออกกระจกของไทยแยกตามประเภทผลิตภัณฑ ปพ.ศ. 2542 – 2544 181ตารางที่ 7.10 มูลคาการสงออกแกวและกระจกของไทยไปยังตลาดโลก 186ตารางที่ 7.11 มูลคาการสงออกแกวและกระจกของไทย 187ตารางที่ 7.12 มูลคาการสงออกกระจกลวดลายของไทย (HS 7003) 188ตารางที่ 7.13 มูลคาการสงออกชี้ทกลาสของไทย (HS 7004) 188ตารางที่ 7.14 มูลคาการสงออกโฟลตกลาสของไทย (HS 7005) 189ตารางที่ 7.15 มูลคาการสงออกกระจกโคงของไทย (HS7006) 189ตารางที่ 7.16 มูลคาการสงออกกระจกนิรภัยของไทย (HS 7007) 190ตารางที่ 7.17 มูลคาการสงออกกระจกฉนวนกันความรอนของไทย (HS 7008) 190ตารางที่ 7.18 มูลคาการสงออกกระจกเงาของไทย (HS 7009) 191ตารางที่ 7.19 มูลคาการสงออกบรรจุภัณฑแกวของไทย (HS 7010) 191ตารางที่ 7.20 มูลคาการสงออกกระเปาะแกวของไทย (HS 7011) 192ตารางที่ 7.21 มูลคาการสงออกแกวไสสํ าหรับภาชนะสูญญากาศของไทย (HS 7012) 192ตารางที่ 7.22 มูลคาการสงออกเครื่องแกวที่ใชบนโตะอาหารของไทย (HS 7013) 193ตารางที่ 7.23 มูลคาการสงออกบลอกแกวของไทย (HS 7016) 193ตารางที่ 7.24 มูลคาการสงออกเครื่องแกวที่ใชบนโตะอาหารของไทย ปพ.ศ. 2513 – 2544 196ตารางที่ 7.25 แนวโนมมูลคาการสงออกเครื่องแกวที่ใชบนโตะอาหารของไทยระหวาง

ปพ.ศ. 2545 – 2551 198ตารางที่ 8.1 สวนผสมวัตถุดิบเนื้อดินปนสํ าหรับผลิตภัณฑเซรามิกบางประเภท 204ตารางที่ 8.2 เปรียบเทียบผลการวิเคราะหทางเคมีของดินขาวจากแหลงตางๆ ในประเทศไทยกับ

มาตรฐานอังกฤษ 205ตารางที่ 8.3 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองผลิตแรดินขาว 206ตารางที่ 8.4 ปริมาณการผลิตแยกตามรายจังหวัด การใช การสงออก และการนํ าเขาดินขาว

ในป พ.ศ. 2538 – 2542 207ตารางที่ 8.5 เปรียบเทียบผลวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของดินดํ าไทยและอังกฤษ 209ตารางที่ 8.6 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองผลิตดินดํ า 209ตารางที่ 8.7 ปริมาณการผลิต ใชในประเทศ นํ าเขาและสงออกดินดํ าในป พ.ศ. 2538 – 2542 210ตารางที่ 8.8 เปรียบเทียบผลวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของเฟลดสปารไทยและนอรเวย 211ตารางที่ 8.9 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองเฟลดสปาร 212

Page 64: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญตาราง xv

ตารางที่ 8.10 ปริมาณการผลิตหินฟนมา (เฟลดสปาร) แยกตามรายจังหวัด การใชภายในประเทศการนํ าเขาและสงออก ในปพ.ศ. 2538 – 2542 212

ตารางที่ 8.11 แสดงรายละเอียดผูไดรับประทานบัตรเหมืองทรายแกว 214ตารางที่ 8.12 ปริมาณการผลิตและใชทรายแกวภายในประเทศในป พ.ศ. 2538 – 2542 214ตารางที่ 8.13 ปริมาณสํ ารองวัตถุดิบหลักในอุตสาหกรรมเซรามิกในประเทศไทย ป พ.ศ. 2541 215ตารางที่ 8.14 ปริมาณรวมและมูลคารวมของการผลิต การใช การนํ าเขา และสงออก ดินขาว ดินดํ า

และเฟลดสปารในป พ.ศ. 2538 – 2542 215ตารางที่ 8.15 ปริมาณการผลิต การนํ าเขา และการสงออกวัตถุดิบเซรามิก พ.ศ. 2541 216ตารางที่ 8.16 ปริมาณและมูลคา การผลิต การสงออก และการใชวัตถุดิบเซรามิก

ป พ.ศ. 2543 – 2544 216ตารางที่ 8.17 จํ านวนเหมือง เนื้อที่ จํ านวนผูถือประทานบัตร มกราคม พ.ศ. 2543 222ตารางที่ 8.18 ปริมาณการผลิตดินสํ าเร็จรูปของบริษัทผูผลิตตางๆ 224ตารางที่ 8.19 สวนผสมวัตถุดิบนํ้ ายาเคลือบในผลิตภัณฑเซรามิกบางประเภท 225ตารางที่ 8.20 ปริมาณการผลิตและใชหินปูนภายในประเทศ ใน พ.ศ. 2543 – 2544 225ตารางที่ 8.21 ปริมาณการผลิต สงออกและใชโดโลไมท ในป พ.ศ. 2543 – 2544 226ตารางที่ 8.22 ชนิดและสัดสวนมูลคาวัตถุดิบในผลิตภัณฑเซรามิก 227ตารางที่ 8.23 คุณสมบัติของทรายแกวที่ตองการในผลิตภัณฑบางประเภท 228ตารางที่ 8.24 ปริมาณความตองการใชแรทรายแกวในอุตสาหกรรมแกวและกระจก 230ตารางที่ 8.25 การผลิต การใช การนํ าเขาและสงออกทรายแกว ป พ.ศ. 2539 – 2543 231ตารางที่ 8.26 ปริมาณการนํ าเขาทรายแกว ป พ.ศ. 2543 231ตารางที่ 8.27 ปริมาณการผลิตและใชหินปูนภายในประเทศใน พ.ศ. 2543 – 2544 232ตารางที่ 8.28 ปริมารการผลิต สงออกและใชโดโลไมทในป พ.ศ. 2543 – 2544 232ตารางที่ 8.29 เปรียบเทียบผลวิเคราะหเคมีของเฟลดสปารไทยและนอรเวย 233ตารางที่ 8.30 ปริมาณการผลิตหินฟนมา (เฟลดสปาร) การใชภายในประเทศ การนํ าเขา

และสงออกในป พ.ศ. 2538 – 2542 234ตารางที่ 8.31 ปริมาณการผลิต สงออกและใชยิปซัมภายในประเทศ ปพ.ศ. 2543 – 2544 237ตารางที่ 8.32 เปรียบเทียบตนทุนพลังงานในสี่ประเทศอาเซียน 239ตารางที่ 9.1 โครงการตามแผนปรับโครงสรางอุตสาหกรรมระยะที่ 2 245ตารางที่ 9.2 อัตราภาษีนํ าเขาผลิตภัณฑเซรามิกในป พ.ศ. 2544 247ตารางที่ 9.3 อัตราภาษีนํ าเขาผลิตภัณฑแกวในป พ.ศ. 2544 248ตารางที่ 9.4 เปรียบเทียบอัตราภาษีนํ าเขาผลิตภัณฑเซรามิกตามขอผูกพันใน WTO และภายใต

AFTA ในป พ.ศ. 2543 248ตารางที่ 9.5 อตัราอากรขาเขาผลติภัณฑเซรามกิของกลุมประเทศอาเซยีนและแผนการปรบัลดภาษี

ตามขอตกลง AFTA 249

Page 65: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

xvi รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ 9.6 อัตราการอากรขาเขาผลิตภัณฑแกวของกลุมประเทศอาเซียนและแผนการปรับลดภาษีตามขอตกลง AFTA 249

ตารางที่ 9.7 อัตราภาษีอากรนํ าเขาวัตถุดิบที่ใชในการผลิตเซรามิก 250ตารางที่ 9.8 เปรียบเทียบอัตราภาษีนํ าเขาวัตถุดิบสํ าหรับการผลิตเซรามิก ของประเทศคูแขงที่

สํ าคัญในอาเซียน 251ตารางที่ 9.9 อัตราภาษีขาเขาวัตถุดิบที่ใชในการผลิตแกว 252ตารางที่ 9.10 อัตราการชดเชยภาษีสงออกสํ าหรับสินคาเซรามิก 253ตารางที่ 9.11 อัตราการชดเชยภาษีสงออกสํ าหรับสินคาแกว 253ตารางที่ 9.12 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมของอุตสาหกรรมเซรามิก 254ตารางที่ 9.13 มาตรฐานสารปนเปอนของผลิตภัณฑตามสํ านักมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม 256ตารางที่ 9.14 เกณฑกํ าหนดปริมาณตะกั่วและแคดเมียมที่สกัดออกมาจากภาชนะพอรซเลน 256ตารางที่ 9.15 เกณฑกํ าหนดมาตรฐานผลิตภัณฑประเภทพอรซเลน 257ตารางที่ 9.16 เกณฑกํ าหนดปริมาณตะกั่วและแคดเมียมที่สกัดออกมาจากภาชนะสโตนแวร 258ตารางที่ 9.17 เกณฑกํ าหนดมาตรฐานผลิตภัณฑประเภทสโตนแวร 258ตารางที่ 9.18 อัตราภาษีศุลกากรของประเทศสหรัฐอเมริกา 259ตารางที่ 9.19 แสดง FDA Categories Ceramic of Ceramic Ware 263ตารางที่ 9.20 อัตราภาษีที่ญี่ปุนเรียกเก็บสํ าหรับผลิตภัณฑเซรามิก 263ตารางที่ 9.21 มาตรฐานการปนเปอนสารตะกั่วและแคดเมียมในผลิตภัณฑเซรามิกของประเทศ

ญี่ปุน (Product liability law) 264ตารางที่ 9.22 มาตรฐานการปนเปอนของสารตะกัว่และแคดเมยีมในผลติภัณฑเซรามกิของเยอรมนี 265ตารางที่ 10.1 ความรับผิดชอบของหนวยงานในกระทรวงวิทยฯในการวิจัยพัฒนาเซรามิก 278ตารางที่ 10.2 แสดงกิจกรรมและงบประมาณของศูนยพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผา

พ.ศ. 2537 – 2543 289ตารางที่ 10.3 โครงการวิจัยดานเซรามิกและแกวที่สํ านักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติใหการ

สนับสนุน 292ตารางที่ 10.4 ความตองการใหหนวยงานของราชการเขามาชวยเหลือในเรื่องตางๆ 296ตารางที่ 10.5 ความตองการใหหนวยงานของราชการเขามาชวยเหลือในเรื่องตางๆ แบงตามขนาด

โรงงาน 297ตารางที่ 10.6 ความตองการใหหนวยงานของราชการเขามาชวยเหลือในเรื่องตางๆ แบงตามกลุม

ผูประกอบการ 298ตารางที่ 10.7 แสดงจํ านวนบุคลากร ความชํ านาญเฉพาะทางและรูปแบบการบริหารองคกรของ

หนวยงานดานเซรามิกและแกวของภาครัฐ 299ตารางที่ 10.8 ระดับการดํ าเนินงานของภาครัฐในอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว 301

Page 66: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญตาราง xvii

ตารางที่ ผ.1 มูลคาการสงออกและคา RCA ของแกวและกระจกไทยในตลาดสหรัฐอเมริกา(รหัส HS 4 หลัก) 420

ตารางที่ ผ.2 สรุปคา RCA ของอุตสาหกรรมแกวและกระจกของประเทศตางๆ ในตลาดสหรัฐอเมริกา ป พ.ศ. 2543 421

ตารางที่ ผ.3 มูลคาการสงออกและคา RCA ของแกวและกระจกไทยในตลาดสหภาพยุโรป(รหัส HS 4 หลัก) 422

ตารางที่ ผ.4 สรุปคา RCA ของอุตสาหกรรมแกวและกระจกของประเทศตางๆ ในตลาดสหภาพยุโรป ป พ.ศ. 2543 423

ตารางที่ ผ.5 มูลคาการสงออกและคา RCA ของแกวและกระจกไทยในตลาดญี่ปุน(รหัส HS 4 หลัก) 424

ตารางที่ ผ.6 สรุปคา RCA ของอุตสาหกรรมแกวและกระจกของประเทศตางๆ ในตลาดญี่ปุนป พ.ศ. 2543 425

ตารางที่ ผ.7 สรุปคา RCA ของกระจกลวดลายของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 426

ตารางที่ ผ.8 สรุปคา RCA ของชี้ทกลาสของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 426

ตารางที่ ผ.9 สรุปคา RCA ของโฟลตกลาสของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 426

ตารางที่ ผ.10 สรุปคา RCA ของกระจกโคงของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 427

ตารางที่ ผ.11 สรุปคา RCA ของกระจกนิรภัยของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 427

ตารางที่ ผ.12 สรุปคา RCA ของกระจกเงาของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 427

ตารางที่ ผ.13 สรุปคา RCA ของบรรจุภัณฑแกวของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 427

ตารางที่ ผ.14 สรุปคา RCA ของกระเปาะแกวและหลอดแกวของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆ ป พ.ศ.2543 428

ตารางที่ ผ.15 สรุปคา RCA ของแกวไสในภาชนะสูญญากาศของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 428

ตารางที่ ผ.16 สรุปคา RCA ของเครื่องใชบนโตะอาหารที่ทํ าดวยแกวของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆ ป พ.ศ. 2543 428

ตารางที่ ผ.17 สรุปคา RCA ของบล็อกแกวของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 429

Page 67: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

xviii รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

ตารางที่ ผ.18 สรุปคา RCA ของฉนวนใยแกวของประเทศไทยและประเทศจีนในตลาดตางๆป พ.ศ. 2543 429

ตารางที่ ผ.19 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของอุตสาหกรรมแกว 430ตารางที่ ผ.20 แสดงคาจากการคํ านวณ CMS ของอุตสาหกรรมกระจก 431ตารางที่ ผ.21 ผลการคํ านวณคาอัตราแลกเปลี่ยนที่แทจริง (SER) ในป พ.ศ. 2518 – 2538 437ตารางที่ ผ.22 คาตัวแปรตางๆที่ใชในการคํ านวณคา DRC และผลการคํ านวณคา DRC

ในป พ.ศ. 2518 – 2541 ของอุตสาหกรรมเซรามิก 437ตารางที่ ผ.23 คาตัวแปรตางๆที่ใชในการคํ านวณคา DRC และผลการคํ านวณคา DRC

ในป พ.ศ. 2518 – 2541 ของอุตสาหกรรมแกว 438ตารางที่ ผ.24 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดสหรัฐอเมริกา

พ.ศ. 2538 – 2543 459ตารางที่ ผ.25 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดญี่ปุน พ.ศ. 2538-2543 460ตารางที่ ผ.26 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดสหภาพยุโรป

พ.ศ. 2538 – 2543 460ตารางที่ ผ.27 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดสหราชอาณาจักร

ป พ.ศ. 2538 – 2543 461ตารางที่ ผ.28 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดเยอรมนี

ป พ.ศ. 2538 – 2543 461ตารางที่ ผ.29 สถานะตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทยในตลาดฝรั่งเศส

ป พ.ศ. 2538 – 2543 462

Page 68: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

สารบัญรูป

รูปที่ 1.1 มูลคาการสงออกเซรามิกของไทย ป พ.ศ. 2503 – 2544 9รูปที่ 3.1 สดัสวนมลูคาสงออกผลติภัณฑเซรามกิในรปูดอลลารสหรฐั ในระยะ 5 ป (2538 – 2542) 42รูปที่ 3.2 แนวโนมคาความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเซรามิกของไทย 55รูปที่ 4.1 ตลาดสงออกเครื่องสุขภัณฑ 5 ประเทศแรกของไทยในป พ.ศ. 2543 61รูปที่ 4.2 โครงสรางสวนแบงตลาดกระเบื้องเซรามิกภายในประเทศในป พ.ศ. 2543 66รูปที่ 4.3 ตลาดสงออกกระเบื้อง 5 ประเทศแรกของไทยในป พ.ศ. 2543 66รูปที่ 4.4 ตลาดสงออกถวยชามเซรามิก 5 ประเทศแรกของไทยในป พ.ศ. 2543 69รูปที่ 4.5 ตลาดสงออกของชํ ารวยและเครื่องประดับ 5 ประเทศแรกของไทยในป พ.ศ. 2543 70รูปที่ 4.6 ตลาดสงออกลูกถวยไฟฟา 5 ประเทศของไทยในป พ.ศ. 2543 73รูปที่ 5.1 การวิเคราะหแรงกระทํ าตออุตสาหกรรมดวย Five Forces Model 119รูปที่ 5.2 ความสํ าคัญและจํ านวนแรงงานประเภทตางๆในอุตสาหกรรมเซรามิก 121รูปที่ 5.3 การจัดการแบบหวงโซคุณคา (Value Chain Management) 135รูปที่ 5.4 ปจจัยหลักของความสํ าเร็จ (Key Success Factors) ของการประกอบการโรงงาน

อุตสาหกรรมเซรามิก 139รูปที่ 6.1 ลักษณะของผลิตภัณฑเซรามิกในเชิงเทคโนโลยีและระดับการใชฝมือ 146รูปที่ 6.2 ชองทางการตลาดของอุตสาหกรรมเซรามิกไทย 151รูปที่ 6.3 โครงสรางการกํ าหนดราคาสินคา 152รูปที่ 7.1 แนวโนมคาความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมแกวของไทย 170รูปที่ 7.2 ปริมาณการนํ าเขากระจกของไทย ป พ.ศ. 2509 – 2543 180รูปที่ 8.1 ขั้นตอนการขอประทานบัตรเหมืองแรดินในอุตสาหกรรมเซรามิก 219รูปที่ 8.2 วงจรการผลิตดินแบบเต็มกระบวนในอุตสาหกรรมเซรามิก 220รูปที่ 8.3 วงจรการผลิตดินสํ าหรับอุตสาหกรรมเซรามิกในปจจุบัน 221

Page 69: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทนํ า

เหตุผลและความจํ าเปน

วิกฤตการณทางเศรษฐกิจของไทยตั้งแตป พ.ศ 2540 เปนตนมา ภาคหัตถอุตสาหกรรมประสบปญหาความผันผวนทางเศรษฐกิจ การปลอยใหคาเงินบาทลอยตัว คาเงินบาทของไทยโดยเปรียบเทียบทรุดตํ่ าลงอยางรวดเร็ว ทํ าใหกิจการอุตสาหกรรมที่อาศัยเงินกูจากตางประเทศ ประสบกับปญหาหนี้สินสูงขึ้นโดยฉับพลัน สํ าหรับกิจการที่มีรายไดสุทธิจากการนํ าเขา การเปลี่ยนแปลงนี้ดูจะเปนผลดีตอรายไดในระยะสั้น แตก็มีผลตอการสะสมทุนเพื่อยกมาตรฐานเทคโนโลยี เครื่องจักรอุปกรณ ในระยะยาว

ความชะงักงันในระบบเศรษฐกิจที่แทจริง (Real Sector) ที่เกิดจากวิกฤตเศรษฐกิจ และทํ าให กิจการทั้งใหญนอยลมละลายไปเปนอันมาก การเปลี่ยนแปลงเหลานี้ มีผลตอโครงสรางอุตสาหกรรมและศักยภาพ ในการแขงขันกับตางประเทศในระยะยาว

อุตสาหกรรมเซรามิกและแกวเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมสํ าคัญของประเทศ มีมูลคาเพิ่มในปๆ หนึ่งรวมกันแลวกวาสองหมื่นลานบาท โดยในป พ.ศ. 2543 อุตสาหกรรมนี้มีมูลคาเพิ่มถึง 28,050 ลานบาท นอกจากนั้น อุตสาหกรรมทั้งสองยังมีความสํ าคัญในแงของการเปนอุตสาหกรรมพื้นฐานของอุตสาหกรรมตอเนื่องมากมาย ทั้งในสวนของอุตสาหกรรมกอสราง อุตสาหกรรมไฟฟา อุตสากรรมยานยนต เปนตน

อุตสาหกรรมเซรามิกและแกวยังอาศัยวัตถุดิบในประเทศเปนหลักในการผลิตซึ่งชวยลดตนทุน การผลิตไปไดมาก ที่สํ าคัญคือชวยประหยัดเงินตราที่จะรั่วไหลออกไปนอกประเทศไดอีกทางหนึ่งดวย และเนื่องจากเปนอุตสาหกรรมที่ตองอาศัยแรงงานมากในขั้นตอนการผลิต (labor intensive) ทํ าใหอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวชวยกระจายรายไดไปสูชนบทไดเปนอยางดี โดยกอใหเกิดการจางงานประมาณ 80,000 คน จากอุตสาหกรรมเซรามิกจํ านวน 63,000 คน และจากอุตสาหกรรมแกวจํ านวน 17,000 คน ในปจจุบันประเทศไทยเปนหนึ่งในผูผลิตรายสํ าคัญในภูมิภาคอาเซียน

ดังนั้นจํ าเปนจะตองมีการทบทวนถึงปญหาที่เกิดขึ้น ผลกระทบตอโครงสรางการผลิตและ อตุสาหกรรมทีเ่ช่ือมโยง เพือ่ใหหนวยงานของรฐัทีเ่กีย่วของสามารถปรบัยทุธศาสตรเพือ่การพฒันาอตุสาหกรรมเซรามกิและแกวยัง่ยนืตอไปในอนาคต โดยมวัีตถปุระสงค ขอบเขต วิธกีาร และ ประโยชนทีค่าดวาจะไดรบัจากการศกึษาดงักลาวดังตอไปนี้

Page 70: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

xxii รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

วัตถุประสงคของการศึกษา1. เพื่อกํ าหนดทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวในระยะ 10 ปขางหนา2. กํ าหนดกรอบนโยบายในการพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวใหสอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจของ

ประเทศ การพัฒนาดานอื่นๆ และโอกาสทางการคาระหวางประเทศ3. กํ าหนดบทบาทของกระทรวงอุตสาหกรรมและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในดาน

นโยบายอุตสาหกรรมอยางมีประสิทธิภาพและมีความเชื่อมโยงสอดประสานไปในทิศทางเดียวกัน4. เพื่อทราบปญหาและอุปสรรคในกระบวนการพัฒนาอุตสาหกรรม5. กํ าหนดกลยุทธ มาตรการ และแผนปฏิบัติการ ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9

(พ.ศ. 2545 - 2549) และฉบับตอไป

ขอบเขตการศึกษาการศึกษาจะแบงออกเปน 4 สวน ครอบคลุมการศึกษาในประเด็นยอยแตละสวน ดังนี้1. การศึกษาโครงสรางของอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว

• วิเคราะหโครงสราง การกระจายตัวและการเชื่อมโยงของอุตสาหกรรม• วิเคราะหสถานภาพของอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยี การผลิต

การบริโภค การนํ าเขาและสงออก และสัดสวนคาใชจายที่ตอเนื่องไปยังอุตสาหกรรมอื่นๆ รวมทั้งวิเคราะหโอกาสการขยายตลาดในอนาคต

• วิเคราะหระดับและความสามารถในการใชเทคโนโลยี ทั้งในระดับปฏิบัติงานและการวิจัยพัฒนา ตลอดจนประเภทผลิตภัณฑเปาหมายที่มีศักยภาพในการแขงขัน

2. การศึกษาปจจัยที่มีผลกระทบและอุปสรรคตอการพัฒนา และการปรับตัวของอุตสาหกรรม ทั้งในภาคกลางและภาคเหนือ

3. การศึกษาและประเมินผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจโลกและกติกาการคาโลก4. เสนอแนะแนวทางการสงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม

วิธีการศึกษาวิธีการศึกษาจะแบงออกเปน 4 สวน ครอบคลุมขอบเขตการศึกษาในประเด็นยอยแตละสวนดังนี้

1. การศึกษาโครงสรางของอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว มีวิธีการศึกษาดังนี้

• วิเคราะหโครงสราง การกระจายตัวและการเชื่อมโยงของอุตสาหกรรม ทั้งนี้จะใชวิธี partial concentration index ในการวิเคราะห

• วิเคราะหสถานภาพของอุตสาหกรรมเซรามิกและแกว ซึ่งประกอบดวย เทคโนโลยีการผลิตการบรโิภค การนํ าเขาและสงออก และสัดสวนคาใชจายที่ตอเนื่องไปยังอุตสาหกรรมอื่นๆ รวมทั้งวิเคราะหโอกาสการขยายตลาดในอนาคต ซึ่งจะวิเคราะหโดย core competency ภายใตกรอบ Five Forces Model

Page 71: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทนํ า xxiii

• วิเคราะหระดับและความสามารถในการใชเทคโนโลยี ทั้งในระดับปฏิบัติงานและการวิจัยพัฒนาตลอดจนประเภทผลิตภัณฑเปาหมายที่มีศักยภาพในการแขงขัน

Core competency คือความสามารถที่จํ าเปนสํ าหรับการสรางความไดเปรียบเหนือคูแขง สามารถวิเคราะหภายใตกรอบของ Five-Forces Model ของ Michael Porter

Five-Forces Model คือการพิจารณาแรงที่กระทํ ากับองคการหรือหนวยธุรกิจหรืออุตสาหกรรมใน 5 ดานคอื ผูจดัสงสนิคา (Supplier) ผูซือ้ (Buyer) ผูประกอบการรายใหม(New Entrant) สนิคาทีใ่ชทดแทนกนั(Substitute product) และคูแขงทีม่อียูเดมิ (Existing competitors) ทีเ่กีย่วของในประเดน็ตางๆ คอื ความไดเปรยีบของผูประกอบการในประเทศทางดาน ตนทุนการผลิตคุณภาพของสินคา ความหลากหลายของสินคา และความรวดเร็วในการผลิตและการสงมอบสินคา การที่วางตํ าแหนง คูแขงที่มีอยูเดิมไวตรงกลาง เนื่องจากแรงกระทํ าอันนี้อาจไดรับผลกระทบจากแรงกระทํ าอื่นๆนั้นดวย

รูปท่ี i การวิเคราะห Core Competency ดวย Five Forces Model

ท่ีมา : ดัดแปลงจาก figure 7.1: The Five - Forces Framework , Economics of Strategy(1996) byDavid Besanko, David Dranone, and Mark Shanley.

2. การศึกษาปจจัยท่ีมีผลกระทบและอุปสรรคตอการพัฒนา และการปรับตัวของอุตสาหกรรม

ทั้งนี้จะใชวิธีการศึกษาโดยการสัมภาษณผูประกอบการทั้งในภาคกลางและภาคเหนือในประเด็นดังตอไปนี้

• ศึกษาปจจัยและเงื่อนไขตางๆที่มีผลตอการพัฒนาอุตสาหกรรม ไดแก- นโยบายและมาตรการตางๆของรัฐ- แหลงวัตถุดิบและขอกํ าหนดในการใชทรัพยากร- การวิจัยและพัฒนา และการประยุกตใชเทคโนโลยี- การพัฒนาทรัพยากรมนุษย- การสาธารณูปโภค- มาตรการและสิ่งแวดลอม

ผูประกอบการรายใหม

คูแขงที่มีอยูเดิมผูจัดสงสินคา

สินคาที่ใชทดแทนกัน

ผูซื้อ

Page 72: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

xxiv รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทํ าแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาเซรามิกและแกว)

• ศึกษาทัศนคติตอความชวยเหลือและบริการของรัฐ• ศึกษาการปรับตัวของธุรกิจอุตสาหกรรม ในการเผชิญภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ

โดยใชการวิเคราะห success หรอื survival factors โดยจะท ําการส ํารวจและสมัภาษณผูประกอบการในอุตสาหกรรมแกวและเซรามิกในแหลงผลิตในภาคกลางและภาคเหนือโดยตรง ถึงกิจกรรมที่หนวยผลิตไดดํ าเนินการ และสอบถามถึงขอมูลของคูแขงตางประเทศ ทั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบวาผูประกอบการที่มีสวนแบงการตลาดเพิ่มขึ้นมีการดํ าเนินการในเรื่องใดที่แตกตางจากผูประกอบการที่มีสวนแบงการตลาดนอยลงบาง นอกจากนั้นยังจะทํ าใหทราบถึงการดํ าเนินการของคูแขงตางประเทศที่มีสวนแบงการตลาดที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงเพื่อมาเปรียบเทียบอีกดวย

3. การศึกษาและประเมินผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจโลกและกติกาการคาโลก

• ศึกษาสถานการณเศรษฐกิจอุตสาหกรรมโลกและการรวมตัวของกลุมการคาระหวางประเทศที่สํ าคัญ เชน AFTA NAFTA และ EU เปนตน

• ศึกษาตลาดสงออกที่สํ าคัญ และนโยบายของตลาดเปาหมายและประเทศคูแขง

• ศึกษาประเมินผลกระทบตออุตสาหกรรมเซรามิกและแกวจากการเปลี่ยนแปลงของเงื่อนไข กฎเกณฑตางๆ ในเวทีการคาโลก

• ประเมนิขดีความสามารถในการแขงขนัของอตุสาหกรรมเซรามกิและแกวโดยศึกษาความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏ (Revealed Comparative Advantage : RCA) และศึกษาองคประกอบของการเปลี่ยนแปลงของมูลคาการสงออกดวยแบบจํ าลอง Constant Market Share (CMS) โดยจะวิเคราะห growth effect, commodity composition effect และ competitiveness effect โดยมีวิธีการดังตอไปนี้

4. การเสนอแนะแนวทางการสงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม

ใชวิธีประชุมแบบเขมขนกับ focus group ซึ่งประกอบดวยที่ปรึกษาผูทรงคุณวุฒิและผูประกอบการ

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. มีการพัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวที่ชัดเจนและตอเนื่องในระยะ 10 ปขางหนา โดยทิศทางและ

การกํ ากับจากแผนแมบทอุตสาหกรรมเซรามิกและแกวและแผนปฏิบัติการภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9

2. อุตสาหกรรมเซรามิกและแกว มีโครงสรางอุตสาหกรรมที่เขมแข็ง สามารถพึ่งตนเองและลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศ

3. มีการพัฒนากลุมธุรกิจที่เช่ือมโยง และกอใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ

Page 73: Best Quality and Design in ASEAN 2014library.dip.go.th/multim4/ebook/RES 5 ซ45.pdfค ณภาพและร ปแบบเป นหน งในอาเซ ยน 2557 Best

บทนํ า xxv

4. อุตสาหกรรมมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่องและยั่งยืนและมีความสามารถในการแขงขันกับคูแขงในเวทีการคาโลก

การนํ าเสนอรายงานรายงานฉบับนี้แบงออกเปน 2 สวน สวนที่ 1 เปนรายงานประกอบแผนแมบทซึ่งจะใหรายละเอียดเกี่ยวกับ

วิวัฒนาการ โครงสราง และวิเคราะหศักยภาพของอุตสาหกรรม สวนที่ 2 เปนตัวแผนแมบทซึ่งประกอบไปดวยการวิเคราะหสถานการณ จุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคในการพัฒนา ตามดวยทิศทางการพัฒนาในระยะ 10 ป วิสัยทัศน และกลยุทธหรือยุทธศาสตรที่จํ าเปนในการบรรลุเปาหมายในอนาคต