27
พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 1 ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด (Chemistry Worksheets) เรื่อง พันธะเคมี (Chemical Bond) ของ ________________________________________________ เลขที_______ห้อง________ สอนโดย ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ ครูมลฤดี ศักดิ์เพชร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 โรงเรียนสวนศรีวิทยา จังหวัดชุมพร

ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

  • Upload
    others

  • View
    97

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 1

ใบงานวชิาเคมี 1 และแบบฝกึหดั

(Chemistry Worksheets)

เรื่อง

พนัธะเคม ี

(Chemical Bond)

ของ

________________________________________________

เลขที_่______หอ้ง________

สอนโดย

ครอูงัคาร ์เทพรตันนนัท์

ครมูลฤด ีศกัดิเ์พชร

ส านักงานเขตพืน้ทีก่ารศกึษามธัยมศกึษา เขต 11

โรงเรยีนสวนศรวีทิยา จังหวดัชมุพร

Page 2: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

Worksheet 1 (Naming Covalent Compounds)

1. Name the following covalent compounds:

1.1 H2O…………………………………………… 1.2 ClF ……………………………………………

1.3 OCl2…………………………………………… 1.4 ClF5……………………………………………

1.5 ClF7…………………………………………… 1.6 B2H4……………………………………………

1.7 B3N3…………………………………………… 1.8 B4H8……………………………………………

1.9 B5H10…………………………………………… 1.10 SiF4……………………………………………

1.11 N2S3…………………………………………… 1.12 HBr……………………………………………

1.13 BBr3…………………………………………… 1.14 C2I6……………………………………………

1.15 IO2…………………………………………… 1.16 N2S3……………………………………………

1.17 P2O5…………………………………………… 1.18 SO2……………………………………………

1.19 SO3…………………………………………… 1.20 N2Se3……………………………………………

2. Write the formulas for the following covalent compounds:

2.1 diboron hexahydride ………………… 2.2 nitrogen tribromide …………………

2.3 sulfur hexachloride ………………… 2.4 diphosphorus pentaoxide …………………

2.5 dinitrogen trioxide ………………… 2.6 tetrasulfur dinitride …………………

2.7 silicon dioxide ………………… 2.8 tetraphosphorus triselenide …………………

2.9 disilicon hexabromide ………………… 2.10 diboron tetrabromide …………………

2.11 carbon tetrachloride ………………… 2.12 nitrogen tribromide …………………

2.13 nitrogen monoxide ………………… 2.14 Diphosphorus pentaoxide …………………

2.15 Phosphorus trihydride ………………… 2.16 Dichlorine heptaoxide …………………

2.17 Boron trifluoride ………………… 2.18 Silicon tetrafluoride …………………

2.19 Dicarbon dihydride ………………… 2.20 Dinitrogen monoxide …………………

Page 3: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 3

Worksheet 2 (Bond Energy) 1. Calculate the ΔH for each of the following in 1 mol; Give, C-H = 413, C-C = 348, C=C = 614, C≡ C = 839 kJ/mol 1.1 C4H8 1.2 C4H6 2. Using bond energies, calculate the ΔH for each of the following:

1) 2H2 (g) + O2 (g) → 2H2O (g) 2) CH4 (g) + 2O2 (g) → CO2 (g) + 2H2O (g) 3) CCl4(g) + 2F2 (g) → CF4(g) + 2Cl2(g)

4) CH3OH(g) + F2(g) → FCH2OH(g) + HF(g)

Page 4: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 4

Worksheet 3 (Molecular geometry and properties)

สาร HCN Name # เวเลนต์ēของอะตอมกลาง

# เวเลนต์ēของอะตอมข้างเคียง รปูคร่าวๆ

# ēจากประจุ # รวมเวเลนตē์ท้ังหมด-->วาดรูป

# อะตอมข้างเคียง

# คู่ ē คู่โดดเดี่ยว รอบอะตอมกลาง สูตรทั่วไป

รูปร่างโมเลกุล มุมระหว่างพันธะ พันธะมีขั้ว/ไม่ม ี โมเลกุลมีขั้ว/ไม่ม ี

Hybrid Orbitals รปูจริงๆ

สาร H2S Name # เวเลนต์ēของอะตอมกลาง

# เวเลนต์ēของอะตอมข้างเคียง รูปคร่าวๆ

# ēจากประจุ # รวมเวเลนตē์ท้ังหมด-->วาดรูป

# อะตอมข้างเคียง

# คู่ ē คู่โดดเดี่ยว รอบอะตอมกลาง สูตรทั่วไป

รูปร่างโมเลกุล มุมระหว่างพันธะ พันธะมีขั้ว/ไม่ม ี โมเลกุลมีขั้ว/ไม่ม ี

Hybrid Orbitals รปูจริงๆ

Page 5: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 5

สาร SF6 Name # เวเลนต์ēของอะตอมกลาง

# เวเลนต์ēของอะตอมข้างเคียง รูปคร่าวๆ

# ēจากประจุ # รวมเวเลนตē์ท้ังหมด-->วาดรูป

# อะตอมข้างเคียง

# คู่ ē คู่โดดเดี่ยว รอบอะตอมกลาง สูตรทั่วไป

รูปร่างโมเลกุล มุมระหว่างพันธะ พันธะมีขั้ว/ไม่ม ี โมเลกุลมีขั้ว/ไม่ม ี

Hybrid Orbitals รปูจริงๆ

สาร BeCl2 Name # เวเลนต์ēของอะตอมกลาง

# เวเลนต์ēของอะตอมข้างเคียง รูปคร่าวๆ

# ēจากประจุ # รวมเวเลนตē์ท้ังหมด-->วาดรูป

# อะตอมข้างเคียง

# คู่ ē คู่โดดเดี่ยว รอบอะตอมกลาง สูตรทั่วไป

รูปร่างโมเลกุล มุมระหว่างพันธะ พันธะมีขั้ว/ไม่ม ี โมเลกุลมีขั้ว/ไม่ม ี

Hybrid Orbitals รปูจริงๆ

Page 6: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 6

สาร ClF3 Name # เวเลนต์ēของอะตอมกลาง

# เวเลนต์ēของอะตอมข้างเคียง รูปคร่าวๆ

# ēจากประจุ # รวมเวเลนตē์ท้ังหมด-->วาดรูป

# อะตอมข้างเคียง

# คู่ ē คู่โดดเดี่ยว รอบอะตอมกลาง สูตรทั่วไป

รูปร่างโมเลกุล มุมระหว่างพันธะ พันธะมีขั้ว/ไม่ม ี โมเลกุลมีขั้ว/ไม่ม ี

Hybrid Orbitals รปูจริงๆ

สาร SF4 Name # เวเลนต์ēของอะตอมกลาง

# เวเลนต์ēของอะตอมข้างเคียง รูปคร่าวๆ

# ēจากประจุ # รวมเวเลนตē์ท้ังหมด-->วาดรูป

# อะตอมข้างเคียง

# คู่ ē คู่โดดเดี่ยว รอบอะตอมกลาง สูตรทั่วไป

รูปร่างโมเลกุล มุมระหว่างพันธะ พันธะมีขั้ว/ไม่ม ี โมเลกุลมีขั้ว/ไม่ม ี

Hybrid Orbitals รปูจริงๆ

Page 7: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 7

สาร I3+ Name

# เวเลนต์ēของอะตอมกลาง

# เวเลนต์ēของอะตอมข้างเคียง รูปคร่าวๆ

# ēจากประจุ # รวมเวเลนตē์ท้ังหมด-->วาดรูป

# อะตอมข้างเคียง

# คู่ ē คู่โดดเดี่ยว รอบอะตอมกลาง สูตรทั่วไป

รูปร่างโมเลกุล มุมระหว่างพันธะ พันธะมีขั้ว/ไม่ม ี โมเลกุลมีขั้ว/ไม่ม ี

Hybrid Orbitals รปูจริงๆ

สาร IF5 Name

# เวเลนต์ēของอะตอมกลาง

# เวเลนต์ēของอะตอมข้างเคียง รูปคร่าวๆ

# ēจากประจุ # รวมเวเลนตē์ท้ังหมด-->วาดรูป

# อะตอมข้างเคียง

# คู่ ē คู่โดดเดี่ยว รอบอะตอมกลาง สูตรทั่วไป

รูปร่างโมเลกุล มุมระหว่างพันธะ พันธะมีขั้ว/ไม่ม ี โมเลกุลมีขั้ว/ไม่ม ี

Hybrid Orbitals รปูจริงๆ

Page 8: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 8

Worksheet 4 Name the following ionic compounds

1) NH4Cl ___________________________ 2) Fe(NO3)3_____________________

3) TiBr3 __________________________ 4) Cu3P _________________________

5) SnSe2 _________________________ 6) GaAs ________________________

7) Pb(SO4)2 _______________________ 8) Be(HCO3)2 _____________________

9) Mn2(SO3)3 _______________________ 10) Al(CN)3_______________________

11) chromium (VI) phosphate _______________ 12) vanadium (IV) carbonate ____________

13) tin (II) nitrite _________________________ 14) cobalt (III) oxide ___________________

15) titanium (II) acetate ___________________ 16) vanadium (V) sulfide ________________

17) chromium (III) hydroxide ________________ 18) lithium iodide_____________________

19) lead (II) nitride ________________________ 20) silver bromide _____________________

21) NaBr _______________________ 22) Sc(OH)3 _____________________

23) V2(SO4)3 ____________________ 24) NH4F ___________________

25) CaCO3 __________________ 26) NiPO4 ______________________

27) Li2SO3 ____________________ 28) Zn3P2 _______________________

29) Sr(C2H3O2)2 _______________________ 30) Cu2O ______________________

31) Ag3PO4 __________________ 32) YClO3 ____________________

33) SnS2 _______________________ 34) Ti(CN)4 ___________________

35) KMnO4 ___________________ 36) Pb3N2 ___________________

37) CoCO3 ____________________ 38) CdSO3 _____________________

39) Cu(NO2)2 ________________ 40) Fe(HCO3)2 ____________________

41) lithium acetate ______________________ 42) iron (II) phosphate ______________

43) titanium (II) selenide ________________ 44) calcium bromide _______________

Page 9: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 9

45) gallium chloride ___________________ 46) sodium hydride ________________

47) beryllium hydroxide __________________ 48) zinc carbonate ________________

49) manganese (VII) arsenide ________________ 50) copper (II) chlorate ________________

51) cobalt (III) chromate ____________________ 52) ammonium oxide __________________

53) potassium hydroxide ___________________ 54) lead (IV) sulfate ____________________

55) silver cyanide _________________________ 56) vanadium (V) nitride ________________

57) strontium acetate _____________________ 58) molybdenum sulfate _____________

59) platinum (II) sulfide ____________________ 60) ammonium sulfate _________________

Mixed Ionic/Covalent Compound Naming 1) Na2CO3 ______________________ 2) P2O5 ________________________

3) NH3 _________________________ 4) FeSO4 ___________________________

5) SiO2 __________________________ 6) GaCl3 __________________________

7) CoBr2 __________________________ 8) B2H4 __________________________

9) CO _____________________________ 10) P4 ________________________

11) dinitrogen trioxide __________________ 12) nitrogen _____________________

13) methane __________________________ 14) lithium acetate _________________

15) phosphorus trifluoride ________________ 16) vanadium (V) oxide ________________

17) aluminum hydroxide _____________________ 18) zinc sulfide ____________________

19) silicon tetrafluoride _______________________ 20) silver phosphate ___________________

Page 10: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 10

Worksheet 5 (Born-Haber cycles and Bond energies) 1. Use the following to calculate the ΔH0

f MgF2 : Mg(s) Mg(g) ΔH0 = 148 kJ/mol F2(g) 2F(g) ΔH0 = 159 kJ/mol Mg(g) Mg+(g) + e- ΔH0 = 738 kJ/mol Mg+(g) Mg2+(g) + e- ΔH0 = 1,450 kJ/mol F(g) + e- F-(g) ΔH0= -328 kJ/mol Mg(s) + F2(g) MgF2(s) ΔH0 = -1,123 kJ/mol Draw Born-Haber diagram 2. Write the equation and draw Born-Haber diagram of Al2O3 Step 1 Step 2 Step 3 Step 4 Step 5 Net Equation

Page 11: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 11

Worksheet 6

1. Underline ionic compound soluble in water.

NaBr CaO Li2S MgBr2

Be(OH)2 AgNO3 Ca(CH3COO)2 PbS

K3N CuOH Sn(CO3)2 VO2

potassium iodide magnesium oxide calcium carbonate

sodium cyanide magnesium acetate cobalt (II) hydroxide

2. Write equation of ionic compound soluble in water.

1. LiCl(s)

พลังงานแลซทิซ :

พลังงานไฮเดรชัน :

สมการการละลาย :

2. CaF2(s)

Lattice Energy :

Hydration Energy :

Dissolution Equation :

3. Na2CO3(s)

Lattice Energy :

Hydration Energy :

Dissolution Equation :

4. (NH4)2SO3(s)

Lattice Energy :

Hydration Energy :

Dissolution Equation :

Page 12: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 12

2. Write equation of ionic reaction.

1. KF กับ Pb(NO3)2

สมการเคมี :

สมการไอออนิก :

สมการไอออนิกสุทธ ิ :

2. BaCl2 กับ K3PO4

Chemical Equation :

Ionic Equation :

Net Ionic Equaion :

3. Ca(OH)2 กับ (NH4)SO4

Chemical Equation :

Ionic Equation :

Net Ionic Equaion :

4. Na2S กับ MgBr2

Chemical Equation :

Ionic Equation :

Net Ionic Equaion :

5. LiI กับ Hg(NO3)2

Chemical Equation :

Ionic Equation :

Net Ionic Equaion :

Page 13: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 13

แบบฝกึหัด 2.1 1. เมื่ออะตอมฟลูออรีน 2 อะตอม เคล่ือนท่ีเข้าใกล้กันและรวมตัวกันเป็นโมเลกุลฟลูออรีนจะมีการเปล่ียนแปลงพลังงานศักย์อย่างไร 2. จงเขียนสูตรของสารที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างอะตอมคู่ต่อไปนี้(ท่ีเป็นไปตามกฏออกเตต) ก. H กับ S ข. C กับ F

ค. Be กับ H ง. S กับ O 3. จงเรียกชื่อสารประกอบออกไซด์และคลอไรด์ของไนโตรเจนต่อไปน้ี

NO NO2

N2O N2O3

N2O4 N2O5

4. จงเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบระหว่างธาตุต่อไปนี้

ก. ซิลิคอนกับไฮโดรเจน

ข. ฟอสฟอรัสกับโบรมีน

ค. สารหนูกับฟลูออรีน

5. จงเขียนสูตรโครงสร้างลิวอิสแบบจุดและแบบเส้น รวมท้ังแบบผสมแสดงการเกิดพันธะของสารท่ีก าหนดให้ต่อไปน้ี

สูตรโมเลกุล สูตรโครงสร้างแบบจุด สูตรโครงสร้างแบบเส้น Br2

H2O

H2O2

CS2

Page 14: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 14

N2H4

CH3OH

PCl5

SF6

Page 15: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 15

แบบฝกึหัด 2.2 1. ก าหนดความยาวพันธะระหว่างอะตอมของ C กับ C เป็น 154 , 120 และ 134 พิโกเมตร ตามล าดับ จงระบุชนิดของพันธะและเปรียบเทยีบความยาวพันธะ 2. จงเขียนโครงสร้างลิวอิสของโมเลกุล O2 H2O และ H2O2 และเปรียบเทยีบ ก. ความยาวพันธะระหว่าง H กับ O ใน H2O และ H2O2

ข. ความยาวพันธะระหว่าง O กับ O ใน O2 และ H2O2 3. จงเปรียบเทียบความยาวพันธะและพลังงานพันธะระหว่างอะตอมคาร์บอนใน C2H2 C2H4 และ C2H6

4. จงค านวณหาพลังงานท่ีต้องใช้เพื่อสลายแก๊สบิวเทน(C4H10) 0.5 โมล ออกเป็นอะตอมอย่างสมบูรณ ์ 5. จงใช้ข้อมูลค่าพลังงานพันธะ ค านวณพลังงานของปฏิกิริยา (ΔH) ส าหรับสมการ ก. C2H4 + 3O2 ---> 2CO2 + 2H2O

Page 16: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 16

แบบฝกึหัด 2.3

1. จงท านายรูปร่างโมเลกุลของสารที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างธาตุต่อไปนี้ ก. Arsenic กับ Hydrogen ข. Oxygen กับ Fluorine ค. Selenium กับ Hydrogen 2. จงเขียนชื่อสาร สูตรโมเลกุล รูปร่างโมเลกุลและโครงสร้างลิวอิสของสารหรือไอออนในตารางตอ่ไปน้ี

3. จงคาดคะเนมุมระหว่างพันธะ θ1 θ2 และ θ3 ของสารที่มีสูตรโครงสร้างต่อไปน้ี

Page 17: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 17

4. ก าหนดมุมระหว่างพันธะในสารต่อไปนี ้

5. CO2 CS2 และ H2S มีรูปร่างโมเลกุลและมุมระหว่างพันธะเท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด

Page 18: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 18

แบบฝกึหัด 2.4

1. จงเขียนสัญลักษณ์ δ+ และ δ- แสดงสภาพขั้วของพันธะต่อไปนี ้

ก. H—S ข. H—Si ค. N—H

ง. N—O จ. C—O ฉ. C—Cl

ช. C—H ซ. Cl—F ฌ. O—S

2. จงท านายว่าโมเลกุลโคเวเลนต์ต่อไปนี้มีขั้วหรือไม่ และมีทิศทางของขั้วในโมเลกุลเป็นอย่างไร

ก. HI ข. CS2

ค. OF2 ง. NCl3

จ. CH2Cl2 ฉ. CH2O (C เป็อนอะตอมกลาง)

ช. AsF5 ซ. PH3

3. จงอธิบายว่าโมเลกุล C2H2Cl2 ท่ีมีโครงสร้างต่อไปน้ี เป็นโมเลกุลมีขั้วหรือไม่มีขั้วและแสดงทิศทางขั้วลัพธ์ของโมเลกุล

Page 19: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 19

แบบฝกึหัด 2.5

1. จงบอกชนิดของแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลท่ีส าคัญของสารที่ก าหนดให้ต่อไปน้ี

ก. มีเทน(CH4)

ข. ไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S)

ค. กรดไฮโดรคลอริก(HCl)

ง. น้ าแข็งแห้ง(CO2)

จ. กรดแอซิติก(CH3COOH) 2. SiH4 มีมวลโมเลกุลสูงกว่า NH3 แต่มจีุดเดือดต่ ากว่า เพราะเหตุใด 3. ก าหนดตารางแสดงจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารดังนี้

สาร จุดหลอมเหลว(oC) จุดเดือด(oC) เอทานอล(CH3CH2OH) -114.1 78.3 เมทอกซีมีเทน(CH3OCH3) -138.5 -23.0

สารใดน่าจะมีพันธะไฮโดรเจนยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล เพราะเหตุใด

Page 20: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 20

แบบฝกึหัด 2.6

1. จงเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกท่ีเกิดจากการรวมตัวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบที่ก าหนดให้ต่อไปน้ี

2. จงเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกท่ีเกิดจากการรวมตัวระหว่างธาตุต่อไปนี้

ก. โพแทสเซียมกบัคลอรีน ข. แคลเซียมกับไอโอดีน

ค. สทรอนเชียมกับออกซิเจน ง. ซีเซียมกบัก ามะถัน

จ. อะลูมิเนียมกับไฮโดรเจน

3. จงเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกต่อไปนี้

ก. เลด(II) ไนเตรต ข. แคลเซียมฟอสเฟต

ค. อะลูมิเนียมคาร์บอเนต ง. โครเมียม(III) คลอไรด์

4. จงเรียกชื่อสารประกอบต่อไปนี้

CuCO3 NH4CN

BaSO4 Na2HPO4

ไอออนลบ ไอออนบวก F- S2- NO3

- SO42-

PO43-

Na+

Ba2+

Al3+

Ag+

Cu+

Cu2+

Cr3+

NH4+

Page 21: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 21

Al(OH)3 Fe2O3

AgNO3 CoCl2

5. โครงสร้างผลึกของสารประกอบไอออนิกต่อไปน้ี มีจ านวนไอออนลบล้อมรอบไอออนบวกเท่าใด

Page 22: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 22

แบบฝกึหัด 2.7

1. จงเขียนแผนภาพแสดงการเปล่ียนแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิกจากธาตุท่ีก าหนดให้ต่อไปน้ี

ก. โพแทสเซียมกบัฟลูออรีน ข. อะลูมิเนียมกับคลอรีน

2. แผนภาพแสดงการเปล่ียนแปลงพลังงานในการเกิดลิเทียมฟลูออไรด์(LiF) 1 โมล เป็นดังน้ี

ก. ในขั้น 2 และขั้น 4 เป็นการเปล่ียนแปลงพลังงานแบบใด และมีชื่อว่าอย่างไร

ข. พลังงานแลตทิซของลิเทียมฟลูออไรด์มีค่าเท่าใด

ค. การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์เป็นการเปล่ียนแปลงแบบดูดพลังงานหรือคายพลังงาน และมีการเปล่ียนพลังงานของปฏิกิริยาเป็นเท่าใด

ง. การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์ 1.5 โมล มีการเปล่ียนแปลงพลังงานเท่าใด

Page 23: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 23

แบบฝกึหัด 2.8

1. น าโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 2 g ใส่ลงในบีกเกอร์ท่ีมีน้ าบรรจุอยู ่100 cm3 เมื่อ NaOH ละลายหมดพบว่าสารละลายและ บีกเกอรร์้อนขึ้นอย่างรวดเร็ว

ก. การละลายของ NaOH เป็นการเปล่ียนแปลงพลังงานแบบใด เพราะเหตุใด

ข. เขียนสมการแสดงขั้นตอนการละลายของ NaOH และบอกชื่อพลังงานท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละขั้น

2. ทดลองละลายสาร A B และ C อย่างละ 3 g ในน้ า 50cm3 แล้ววัดอุณหภูมิที่เปล่ียนไปของสารละลาย ได้ผลการทดลองดังตาราง

สาร อุณหภูมิของน้ า(oC) อุณหภูมิของสารละลาย(oC) A 29.0 57.0 B 29.0 29.0 C 29.0 24.0

ก. การละลายของสาร A B C เป็นการเปล่ียนแปลงพลังงานแบบใด

ข. เพราะเหตุใดอุณหภูมิของสารละลาย B จึงไม่เปล่ียนแปลง

3. จงเขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ แสดงปฏิกิริยาท่ีเกิดขึ้นจากการผสมสารแต่ละคู่ต่อไปนี้

ก. KBr กับ AgNO3

ข. CaCl2 กับ Na2CO3

Page 24: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 24

ค. CuSO4 กับ (NH4)2S

ง. Na2SO4 กับ BaCl2

4. ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าจะต้องน าสารละลายชนิดใดผสมเข้าด้วยกัน จึงจะได้ตะกอนต่อไปนี ้(ให้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกีย่วกับสภาพละลายได้ในน้ าของสารจากภาคผนวกหรือหนังสือรวมข้อมูล)

ก. Ag3PO4

ข. PbBr2

ค. MgCO3

ง. Fe(OH)2

Page 25: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 25

แบบฝกึหัดท้ายบทที ่2

1. พิจารณาสมบัติของสารในตารางต่อไปน้ี

สาร จุดหลอมเหลว(oC) การน าไฟฟ้า การละลายในน้ า ของแข็ง ของเหลว

A -91 ไม่น า ไม่น า ไม่ละลาย B 1560 ไม่น า น า ละลาย C 3600 ไม่น า ไม่น า ไม่ละลาย D 1453 น า น า ไม่ละลาย

จงท านายว่าสาร A B C และ D เป็นสารประเภทใดต่อไปน้ี

ก. โลหะ

ข. สารโคเวเลนต ์

ค. สารประกอบไอออนิก

ง. สารโคเวเลนต์ชนิดโครงผลึกร่างตาข่าย

2. สารประกอบท่ีเกิดจากธาตุหมู่ IIA กับ VIA และสารประกอบท่ีเกิดจากธาตุหมู่ VIA กับไฮโดรเจนจะแตกต่างกันอย่างไรในเรื่องต่อไปน้ี

ก. อัตราส่วนจ านวนอะตอมของธาตุท่ีรวมกันเป็นสารประกอบ

ข. จุดหลอมเหลวและจุดเดือด

ค. การน าไฟฟ้าของสารเมื่อมีสถานะเป็นของเหลว

3. เมื่อให้พลังงานแก่แก๊สไฮโดรเจนจนกลายเป็นอะตอมของไฮโดรเจนดังสมการ

H2(g) + 436 kJ/mol ---> 2H(g)

จงพิจารณาว่าข้อใดผิด พร้อมท้ังอธิบายเหตุผล

ก. เมื่ออะตอมของไฮโดรเจนรวมตัวกันเป็นโมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจน จะมีการดูดพลังงาน

ข. โมเลกุลของไฮโดรเจนมีเสถียรภาพต่ ากว่าอะตอมของไฮโดรเจน

ค. อะตอมไฮโดรเจนรวมเป็นแกส๊ไฮโดรเจน 1 โมเลกุล จะมีการดูดพลังงาน 436 กิโลจูลต่อโมล

ง. ไฮโดรเจนสองอะตอมมีพลังงานสูงกว่าไฮโดรเจน 1 โมเลกุล

Page 26: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 26

4. สารในตารางข้อมูลต่อไปน้ีเป็นสารประเภทใด เพราะเหตุใด

สาร จุดหลอมเหลว(oC) จุดเดือด(oC) การน าไฟฟ้า ของแข็ง ของเหลว

A 801 1413 ไม่น า น า B 89 220 ไม่น า ไม่น า C 1310 2850 น า น า

5. จงเขียนโครงสร้างและบอกรปูร่างโมเลกุลของสารต่อไปนี้

BCl3

AsCl5

SiCl4

CH2Cl2

Cl2O

6. จงบอกชนิดของพันธะและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ท่ีส าคัญของสารต่อไปนี้

Fe

HF

CO2

H2O

KCl

SF6

7. จงเรียงล าดับสภาพขั้วของพันธะต่อไปน้ีจากน้อยไปมาก

N-H F-H B-H C-H O-H และ S-H

Page 27: ใบงานวิชาเคมี 1 และแบบฝึกหัด · พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 2

พันธะเคมี ครูอังคาร์ เทพรัตนนันท์ 27

8. จงเรียกชื่อสารต่อไปนี ้

P4O6

CBr4

AsCl5

FeCl3

NaBr

Cu(NO3)2

(NH4)2CO3

9. เพราะเหตุใดแกศ๊ออกซิเจนจึงมีจุดเดือดสูงกว่าแก๊สไนโตรเจน

10. สารประกอบไอออนิกและโลหะเมื่อหลอมเหลวสามารถน าไฟฟ้าได้แตกต่างกับเมื่อเป็นของแข็งหรือไม่ อย่างไร