4
ภาวะเส นเล อดสมองต (Acute Stroke) นพ. รพงษ ภเสาวภาคย พญ.ปฏ มา พ ทธไพศาล ภาวะเส นเล อดสมองต บ เป นภาวะฉ กเฉ นท จำเป นต องได บการตรวจพบด วยความรวดเร และให การร กษาท นเวลา ด วยการให ยาละลายล มเล อดภายใน 3 วโมงหล งจากเก ดอาการ จะสามารถลดอ ตราการเส ยช ต และความพ การได การพ ฒนาระบบการตรวจพบ ช วยเหล อ และส งต อท เป นป จจ ยสำค ญของความสำเร จในการด แลร กษาผ วยเส นเล อดสมองต เช นเด ยวก บภาวะเส นเล อดห วใจต เป าหมายของการร กษา 2 เป าหมายด วยก 1. ลดปร มาณสมองท เส ยหายจากการขาดเล อด 2. นฟ วยให กล บค นให มากท “Time is Brain” Early detection โดยคนใกล ทำให สามารถตรวจพบภาวะเส นเล อดสมองต บและขอความช วยเหล อได เร วข โดยอาการท ชวนให สงส ยว าผ วยม เส นเล อดสมองต บม งต อไปน อาการอ อนแรง หร อชา ของใบหน า แขน ขา โดยเฉพาะเม อเป นข างใดข างหน งเฉ ยบพล บสนเฉ ยบพล ดตะก กตะก ก หร อเส ยความสามารถในการเข าใจภาษา ตามองไม เห นข างใดข างหน ง หร อท 2 างเฉ ยบพล เส ยความสามารถในการทรงต วเฉ ยบพล ปวดศ รษะเฉ ยบพล น โดยไม สาเหต การให ความร บประชาชนท วไป ให สามารถตรวจพบอาการท สงส และขอความช วยเหล ออย างรวดเร ว เป นป จจ ยสำค ญของการพ ฒนาระบบการด แลร กษาผ วย การประเม นผ วยโดย EMS ให ทำด วยความรวดเร ว โดยอาศ ย หล กการของ Cincinnati Stroke Scale ประกอบไปด วย 3 อาการด วยก นค 1. หน าเบ ยว ไปข างใดข างหน (Facial droop) 2. แขนตก ข างหน ง เม อย นแขน 2 างไปข างหน (Arm drift)

Acute Stroke 2010

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Acute Stroke 2010

ภาวะเสน้เลอืดสมองตบี

(Acute Stroke)นพ.จริพงษ ์ศภุเสาวภาคย์พญ.ปฏมิา พทุธไพศาล

ภาวะเส้นเลอืดสมองตบี เป็นภาวะฉกุเฉนิ ที่จำเป็นต้องได้รับการตรวจพบด้วยความรวดเร็วและให้การรักษาทันเวลา ด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลอืดภายใน 3 ชัว่โมงหลังจากเกดิอาการจะสามารถลดอัตราการเสยีชวีติ และความพกิารได้ การพัฒนาระบบการตรวจพบ ชว่ยเหลอื และสง่ตอ่ที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญของความสำเร็จในการดแูลรักษาผู้ปว่ยเส้นเลอืดสมองตบีเชน่เดยีวกับภาวะเส้นเลอืดหัวใจตบี

เป้าหมายของการรักษาม ี2 เป้าหมายด้วยกัน

1. ลดปรมิาณสมองที่เสยีหายจากการขาดเลอืด2. ฟื้นฟผูู้ปว่ยให้กลับคนืให้มากที่สดุ

“Time is Brain”Early detection โดยคนใกล้ตัวทำให้สามารถตรวจพบภาวะเส้นเลอืดสมองตบีและขอความชว่ยเหลอืได้เร็วขึ้นโดยอาการที่ชวนให้สงสัยวา่ผุ้ปว่ยมเีส้นเลอืดสมองตบี มดัีงตอ่ไปนี้

● อาการออ่นแรง หรอืชา ของใบหน้า แขน ขา โดยเฉพาะเมื่อเป็นข้างใดข้างหนึ่งเฉยีบพลัน● สับสนเฉยีบพลัน● พดูตะกกุตะกัก หรอืเสยีความสามารถในการเข้าใจภาษา● ตามองไมเ่ห็นข้างใดข้างหนึ่ง หรอืทั้ง 2 ข้างเฉยีบพลัน● เสยีความสามารถในการทรงตัวเฉยีบพลัน● ปวดศรีษะเฉยีบพลัน โดยไมม่สีาเหตอุื่น

การให้ความรู้กับประชาชนทัว่ไป ให้สามารถตรวจพบอาการที่สงสัยและขอความชว่ยเหลอือยา่งรวดเร็ว เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาระบบการดแูลรักษาผู้ปว่ย

การประเมนิผู้ปว่ยโดย EMSให้ทำด้วยความรวดเร็ว โดยอาศัย หลักการของ Cincinnati Stroke Scale ที่ประกอบไปด้วย 3

อาการด้วยกัน คอื1. หน้าเบี้ยว ไปข้างใดข้างหนึ่ง (Facial droop)2. แขนตก ข้างหนึ่ง เมื่อยื่นแขน 2 ข้างไปข้างหน้า (Arm drift)

Page 2: Acute Stroke 2010

3. พดูไมชั่ด หรอืไมพ่ดู (Abnormal speech)

เมื่อตรวจพบอาการดังกลา่วควรนำตัวผู้ปว่ยสง่โรงพยาบาลที่สามารถให้การรักษาผู้ปว่ยเส้นเลอืดในสมองตบีด้วยการให้ยาละลายลิ่มเลอืดโดยทันที

Page 3: Acute Stroke 2010

การดแูลผู้ปว่ย Stroke แบง่ออกเป็น 2 ระดับ1. การดแูลทัว่ไป ได้แก่

a. ความดันโลหติ: รักษา volume status ผู้ปว่ยให้อยู่ในระดับปกต ิให้ IV เป็น isotonic

Page 4: Acute Stroke 2010

solution หลกีเลี่ยงการให้ IV fluid ที่มนี้ำตาล นอกจากนี้ยังต้องควบคมุความดันโลหติให้< 185/100 mmHg ในกรณผีู้ปว่ยอยู่ใน criteria ที่สามารถให้ยาละลายลิ่มเลอืดได้

b. ลดไข้: เนื่องจากอณุหภมูริา่งกายที่สงู > 37.5 c จะทำให้สมองได้รับความเสยีหายเพิ่มขึ้นc. ควบคมุระดับน้ำตาลในเลอืดให้ตำ่กวา่ 185 mg/dLd. การดแูลทางเดนิหายใจ และรักษาระดับออกซเิจนในเลอืดให้ >=94%

โดยใช้ออกซเิจนน้อยที่สดุ รวมถึงการให้ยาป้องกันการชักกรณมีขี้อบง่ชี้e. ตรวจ EKG เพื่อหาภาวะหัวใจเต้นผดิปกติf. สง่ CT brain ภายใน 25 นาท ีเพื่อประเมนิวา่ เป็นภาวะอื่น

นอกเหนอืจากเส้นเลอืดสมองตบีหรอืไม่2. การให้ยาละลายลิ่มเลอืด (Fibrinolytics) : rtPA โดยมขี้อบง่ชี้ในผู้ปว่ยที่มอีาการมาภายใน 3

ชัว่โมง (หรอื 4.5 ชัว่โมง ในผู้ปว่ยที่เข้า criteria) โดยมเีกณฑ์พจิารณาดังตาราง