9
ทัศนศิลป์ สงวนลิขสิทธิสำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒน�คุณภ�พ วิช�ก�ร (พว.) จำ�กัด พ.ศ. ๒๕๕๗ สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนน นครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อัตโนมัติ ๑๕ ส�ย), ๐-๒๒๔๓-๑๘๐๕ แฟกซ์ : ทุกหม�ยเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖ website : www.iadth.com กลุ่มส�ระก�รเรียนรู้ศิลปะ ต�มหลักสูตรแกนกล�งก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น พุทธศักร�ช ๒๕๕๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ ๑ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ผู้เรียบเรียง ศ�สตร�จ�รย์วิโชค มุกด�มณี ผู้ตรวจ รองศ�สตร�จ�รย์สรรณรงค์ สิงหเสนี รองศ�สตร�จ�รย์ศรีวรรณ เจนหัตถก�รกิจ ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ธน� เหมวงษ� บรรณาธิการ อ�จ�รย์ศร�วุธ ดวงจำ�ป�

ทัศนศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003389_example.pdfองค์ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ทัศนศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003389_example.pdfองค์ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์

ทัศนศิลป์

สงวนลิขสิทธิ์

สำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒน�คุณภ�พ

วิช�ก�ร (พว.) จำ�กัด

พ.ศ. ๒๕๕๗

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนน

นครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ

๑๐๓๐๐ โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐

(อัตโนมัติ ๑๕ ส�ย),

๐-๒๒๔๓-๑๘๐๕

แฟกซ์ : ทุกหม�ยเลข,

แฟกซ์อัตโนมัติ :

๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑,

๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖

website : www.iadth.com

กลุ่มส�ระก�รเรียนรู้ศิลปะต�มหลักสูตรแกนกล�งก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น พุทธศักร�ช ๒๕๕๑

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ผู้เรียบเรียง

ศ�สตร�จ�รย์วิโชค มุกด�มณี

ผู้ตรวจ

รองศ�สตร�จ�รย์สรรณรงค์ สิงหเสนี

รองศ�สตร�จ�รย์ศรีวรรณ เจนหัตถก�รกิจ

ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ธน� เหมวงษ�

บรรณาธิการ

อ�จ�รย์ศร�วุธ ดวงจำ�ป�

Page 2: ทัศนศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003389_example.pdfองค์ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ได้จัดทำาตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลางของหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับความแตกต่างและความคล้ายคลึงของ

งานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อมหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบให้มีเอกภาพการวาดภาพ

ทัศนียภาพ เอกภาพความกลมกลืนในงานปั้นและงานสื่อผสมการออกแบบรูปภาพสัญลักษณ์หรือ

งานกราฟิก การประเมินงานทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ไทยและท้องถิ่น และการสร้างสรรค์งานศิลปะไทย

และวัฒนธรรมต่างๆ

เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้สอนและผู้เรียน หนังสือเรียนเล่มนี้จึงได้จัดทำาเนื้อหาที่

ทันสมัย มีกิจกรรมการเรียนรู้ และคำาถามพัฒนากระบวนการคิดที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน

กระตุ้นกระบวนการคิดนอกจากนี้ยังได้สอดแทรกข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพน่ารู้ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ปลอดภัยไว้ก่อน เว็บไซต์แนะนำา คำาศัพท์สำาคัญ จุดประกายความรู้ ความรู้เพิ่มเติม และกิจกรรม

พัฒนาความสามารถในการอ่าน

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนเล่มนี้จะช่วยพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ

คณะผู้จัดทำ�

คำ�นำ� ส�รบัญ

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ คว�มแตกต่�งและคว�มคล้�ยคลึงกันของง�นทัศนศิลป์

และสิ่งแวดล้อม ๕

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ หลักก�รออกแบบและก�รจัดองค์ประกอบให้มีเอกภ�พ ๑๘

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ก�รว�ดภ�พทัศนียภ�พ ๓๓

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เอกภ�พคว�มกลมกลืนในง�นปั้นและง�นสื่อผสม ๔๕

- หลักการออกแบบ ๑๙

- การจัดองค์ประกอบ ๒๐

- หลักการจัดองค์ประกอบ ๒๓

- ภาพหุ่นนิ่ง ๓๔

- ภาพทิวทัศน์ ๓๕

- ทัศนียภาพ ๓๗

- งานประติมากรรม ๔๖

- ประเภทของงานประติมากรรม ๔๙

- ลักษณะของงานประติมากรรม ๕๑

- สื่อผสมและศิลปะแนวจัดวาง ๕๖

- การสร้างสรรค์งานประติมากรรม ๕๘

- ทัศนธาตุ ๗

- ตัวอย่างผลงานของศิลปินกับสิ่งแวดล้อม ๑๖

Page 3: ทัศนศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003389_example.pdfองค์ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรืองานกราฟิก ๖๐

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ การประเมินงานทัศนศิลป์ ๖๘

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ทัศนศิลป์ไทยและท้องถิ่น ๗๖

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ การสร้างสรรค์งานศิลปะไทย และวัฒนธรรมต่าง ๆ ๘๖

- ความหมายของการออกแบบ ๖๑

- จุดมุ่งหมายของการออกแบบ ๖๑

- การออกแบบรูปภาพ ๖๒

- การออกแบบภาพสัญลักษณ์ในลักษณะต่างๆ ๖๓

- การออกแบบกราฟิก ๖๔

- เกณฑ์การประเมินงานทัศนศิลป์ ๖๙

- ผู้ประเมินผลงาน ๗๐

- การนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ๗๑

- วิวัฒนาการของศิลปะไทย ๗๗

- ศิลปะพื้นบ้านของไทย ๘๒

- ศิลปะไทย ๘๗

- ศิลปะสากล ๘๙

- งานทัศนศิลป์ของวัฒนธรรมต่างๆ ๙๑

- จุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ๙๖

อภิธานศัพท์ ๑๐๑

หอศิลป์และศูนย์วัฒนธรรม ๙๙

บรรณานุกรม ๑๐๓

บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้

เรื่องทัศนธาตุ(ศ๑.๑ม.๑/๑)

ทัศนธาตุเป็นองค์ประกอบพื้นฐานท�าให้เกิดงานทัศนศิลป์ และในสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา

กป็ระกอบด้วยทศันธาตเุช่นกนัแต่จะมคีวามแตกต่างและความคล้ายคลงึกนัออกไปเราจงึควรเรยีนรูแ้ละ

ท�าความเข้าใจทัศนธาตุเพื่อจะได้แยกแยะความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และ

สิ่งแวดล้อมได้

ตัวอย่างผลงานของศิลปินกับสิ่งแวดล้อม

ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของ

งานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม

ทัศนธาตุ

๑ ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของ

งานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม

จุด

เส้น

น�้าหนัก

พื้นผิว

สี

ตัวชี้วัด

ผังสาระการเรียนรู้

สาระสำาคัญ

Page 4: ทัศนศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003389_example.pdfองค์ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์

ถ้าอยู่ในรูปทรงจะเกิดเป็นปริมาตรหรือ ถ้ารวมกันหลายจุดจะเป็นนํ้าหนัก

องค์ประกอบศิลป์ (Composition)

องค์ประกอบศิลป์ เป็นการน�าส่วนประกอบต่าง ๆ ของทัศนศิลป์ที่เรียกว่า ทัศนธาตุ มาประกอบ

ให้เกิดผลและสื่อความหมายตามวัตถุประสงค์องค์ประกอบศิลป์นับว่าเป็นแกนและโครงสร้างหลักของ

ศิลปะทุกสาขา

ทัศนธาตุคือส่วนประกอบที่ท�าให้เกิดงานศิลปะซึ่งสามารถมองเห็นได้ด้วยสายตาประกอบไปด้วย

จุดเส้นน�้าหนักพื้นผิวสี

๑. จุด(Point)

จุดคือทัศนธาตุเบื้องต้นที่สุดไม่มีมิติ(ไม่มีความกว้างความยาวและความลึก)

ทัศนธาตุ (Visual Elements)

จุด เมื่อนํามาเรียงต่อกันจะเกิดเส้น เมื่อนําเส้นมารวมกันจะเกิดเป็นรูปร่าง

‘ชีวิตในสายนํ้า ๑’ โอภาส โชติพันธวานนท์, สีอะคริลิกบนผ้าใบ, ๒๕๔๒ศิลปะประเภทจิตรกรรม รับสัมผัสทางการเห็น (ทัศนศิลป์)

ศิลปะ (Art)

ศิลปะคือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเป็นสิ่งที่แสดงออกของจินตนาการความรู้ปัญญาและประสบการณ์

ศิลปะแบ่งออกได้ดังนี้

ศิลปะแบ่งตามลักษณะของผลงาน

๑. จิตรกรรมภาพพิมพ์(Painting,Print)

๒. ประติมากรรม(Sculpture)

๓. สถาปัตยกรรม(Architecture)

๔. ดนตรีนาฏกรรม(Music,Drama)

๕. วรรณกรรม(Literature)

ศิลปะแบ่งตามการรับสัมผัส

๑. ทศันศลิป์(VisualArt)รบัสมัผสัทางการเหน็

๒. โสตศลิป์(Music)รบัสมัผสัทางการได้ยนิ

เช่นดนตรี

๓. วรรณศิลป์ (Literary) รับสัมผัสทาง

การอ่านและความรู้ทางภาษา

จุดประกายความคิด

นักเรียนคิดว่าทั้ง ๒ ภาพมีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร

ทัศนศิลป์ ม.๑6 7ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม

Page 5: ทัศนศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003389_example.pdfองค์ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์

เส้นกับอารมณ์ความรู้สึก

เส้นทีป่รากฏในงานศลิปะนอกจากจะบอกทศิทางแล้วการเคลือ่นไหวเส้นยงับอกอารมณ์

และความรู้สึกได้โดยเส้นแต่ละชนิดจะให้ความรู้สึกแตกต่างกันออกไปดังนี้

เส้นตั้ง ให้ความรู้สึกสงบมั่นคงไม่เคลื่อนไหวแน่นอนเป็นระเบียบสมดุุลอยู่นิ่ง

เส้นนอน ให้ความรู้สึกสงบราบเรียบพักผ่อนโล่งสบายนิ่งกว้างขวาง

เส้นประ ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวจางพร่ามัวไม่มั่นคง

เส้นหยักซิกแซ็ก ให้ความรู้สึกไม่ปกติไม่เป็นมิตรเคลื่อนไหวไม่แน่นอน

เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนหวานร่าเริงนุ่มนวลหรูหรารื่นรมย์มีระดับ

เส้นโค้งเกือบเต็มวงกลม ให้ความรู้สึกโอบอุ้มอบอุ่นเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

เกร็ดความรู้

เส้นท�าหน้าที่แบ่งส่วน

สานกันท�าให้เกิดน�้าหนัก

สร้างขอบเขตให้เกิดความแบนราบและรูปทรง

เส้นที่เห็นด้วยใจ(เส้นโครงสร้างภายใน)

สร้างขอบเขตให้เกิดรูปร่าง

เส้นที่เห็นด้วยตา

เส้นท�าให้เกิดอารมณ์ความรู้สึก

ทิศทางของเส้น

ลักษณะของเส้น

เส้นตรง

แนวนอน

เส้นขด

แนวเฉียง

เส้นหยัก

เส้นโค้ง

แนวตั้ง

๒. เส้น(Line)

เส้นเกิดจากการต่อกันของจุดที่เรียงต่อกันเป็นที่ราบสม�่าเสมอกันอย่างมีทิศทางเส้นมีมิติเดียว

คือความยาว

ทัศนศิลป์ ม.๑8 9ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม

Page 6: ทัศนศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003389_example.pdfองค์ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์

๔. พื้นผิว(Texture)

พื้นผิวคือลักษณะภายนอกของสิ่งต่างๆซึ่งสามารถสัมผัสจับหรือมองเห็นด้วยสายตาและ

ท�าให้เกิดความรู้สึกถึงลักษณะของพื้นผิวนั้น ๆพื้นผิวอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้น

ก็ได้พื้นผิวที่ต่างกันย่อมท�าให้เกิดความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไป

ตัวอย่างพื้นผิว

พื้นผิวหยาบ พื้นผิวละเอียด

พื้นผิวขรุขระ

พื้นผิวที่สามารถสัมผัสได้จริง

พื้นผิวราบเรียบ

พื้นผิวที่ถูกสร้างขึ้นดูด้วยตาแล้วรู้สึกคล้ายของจริง

พื้นผิวด้าน พื้นผิวมัน

๓. นํ้าหนัก(ToneหรือChiaroscuro)

น�้าหนัก คือ ระดับความอ่อน-แก่ของสีด�า

หรือสีอื่น ๆ หรือแสง-เงา น�้าหนักมีความกว้าง

ความยาว เมื่อรวมตัวกันท�าให้เกิดความลึก ท�าให้

รปูทรงมปีรมิาตรนอกจากนี้น�า้หนกัยงัสามารถแสดง

อารมณ์ความรู้สึกได้อีกด้วย

ภาพแสง-เงาศิลปินลดทอนรายละเอียด

ของหน้าตาและกล้ามเนือ้ออกไปแล้วระบายสี

เป็นส่วนใหญ่ๆ ของแสงทีส่ว่างมากสว่างน้อย

และส่วนที่อยู่ในเงา

ภาพวัดโพธิ์ศิลปินลดทอนรายละเอียด

แต่ใช้การระบายสีอ่อน-แก่ตามแสง-เงา

ภาพความลี้ลับของอารมณ์ ๒ เป ็นภาพ

นามธรรมจากการกลิ้งหมึกพิมพ์บนแม่พิมพ์

กระดาษให้เกิดน�้าหนักอ่อน-แก่และปริมาตร

ความโค้ง

‘แสง-เงา’ สมวงศ์ ทัพพรัตน์สีนํ้ามัน, ๒๕๑๗

ความแก่-อ่อนของสี

‘วัดโพธิ์’ นิพนธ์ ผริตะโกมล, สีนํ้ามัน, ๒๕๐๕

‘ความลี้ลับของอารมณ์ ๒’ ชลสินธุ์ ช่อสกุลแม่พิมพ์กระดาษ, ๒๕๒๖

ทัศนศิลป์ ม.๑10 11ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม

Page 7: ทัศนศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003389_example.pdfองค์ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์
Page 8: ทัศนศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003389_example.pdfองค์ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์

ภาพสีในทิวทัศน์ หมายเลข ๔ เป็นโครงสี

รวมๆไม่เน้นรายละเอียดใช้พู่กันป้ายอย่างอิสระ

และประสานสัมพันธ์กัน

ภาพสุโขทัย โครงภาพมีที่มาจากทิวทัศน์

โบราณสถานสมยัสโุขทยัแต่จนิตนาการสสีนัใหม่

ภาพ Prince of the Pool สร้างบรรยากาศ

ของภาพให้ดูเงียบเหงา น่าสงสัยและตึงเครียด

ด้วยโทนสี

ภาพสะท ้อน เป็นภาพเน ้นรายละเอียด

แบบเหมือนจริงระบายสีและเกลี่ยสีให้มีความอ่อน

แก่ตามแสง-เงา

การใช้สีเลียนแบบสีจริงในธรรมชาติ

การใช้สีที่เน้นอารมณ์ความรู้สึกของศิลปิน

‘สีในทิวทัศน์ หมายเลข ๔’จรูญ บุญสวน, สีนํ้ามัน, ๒๕๒๗

‘สุโขทัย’ ทวี รัชนีกร, สีนํ้ามัน, ๒๕๔๔ ‘Prince of the Pool’ธเนศ อ่าวสินธุ์ศิริ, สีอะคริลิก, ๒๕๓๕

‘ภาพสะท้อน’ เริงศักดิ์ บุญยวาณิชย์กุลสีนํ้ามัน, ๒๕๔๖

‘สามโคก นนทบุรี’ สงัด ปุยอ๊อกสีนํ้า, ๒๕๐๕

‘สีและรูปลักษณะ’ สุเมธา สว่าง, แม่พิมพ์ตะแกรงไหม, ๒๕๑๗

‘วันสีนํ้าเงิน-พฤษภา หมายเลข ๑’จุฬาทิตย์ ทองรุ่งโรจน์, แม่พิมพ์ตะแกรงไหม, ๒๕๒๕

สีกลมกลืนกัน (Harmony colour)การใช้สีที่น�้าหนักสีหรือค่าของสีมีความใกล้เคียงกันในวงจรสี

สปีฏปัิกษ์หรอืสคีูต่รงกนัข้ามในวงจรส ี(Contrast

colour)คือการใช้สีที่ตัดกันอย่างรุนแรงหรือ

สีที่อยู ่ตรงกันข้ามในวงจรสี การใช้สีตัดกัน

ควรใช้ในสัดส่วน๒๐ :๘๐ เปอร์เซ็นต์และ

อาจมีสีอื่นๆเข้ามาใช้ร่วมอยู่ได้

สีในงานของศิลปิน ศิลปินแต่ละคนจะเลือก

ใช้สีในการสร้างสรรค์งานศิลปะที่แตกต่างกัน

ออกไป ศิลปินบางคนเลือกใช้สีเลียนแบบ

สีจริงในสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ ในขณะ

ศลิปินบางคนเลอืกทีจ่ะใช้สถ่ีายทอดความรูส้กึ

ของตนเองให้ต่างออกไปจากสทีีเ่ป็นจรงิบางคน

จินตนาการเพิ่มเติม

ทัศนศิลป์ ม.๑14 15ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม

Page 9: ทัศนศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003389_example.pdfองค์ประกอบศิลป์ (Composition) องค์ประกอบศิลป์

จุด ไม่มีความกว้างความยาวและความลึก

เส้นแต่ละชนิดให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน

เป็นระดับความอ่อนแก่ของสีท�าให้เกิดความลึก

รูปทรงมีปริมาตร

พื้นผิวที่ต่างกันท�าให้เกิดความรู้สึกที่ต่างกัน

๑. ให้สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวจากนั้นวาดภาพ๑ภาพโดยมีองค์ประกอบของทัศนธาตุ

ครบถ้วนสมบูรณ์

๒. ให้นักเรียนน�าผลงานที่เสร็จสมบูรณ์แล้วมาน�าเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูและนักเรียนร่วม

อภิปรายถึงองค์ประกอบของทัศนธาตุจากสิ่งแวดล้อมในผลงาน

๓. ให้นักเรียนเลือกผลงานศิลปะของศิลปินที่นักเรียนชื่นชอบ๒ท่านท่านละ๑ ผลงาน

แล้ววิเคราะห์ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของผลงานจากศิลปินทั้ง๒ท่าน

๔. ให้นกัเรยีนใช้ทศันธาตมุาเป็นองค์ประกอบในการสร้างผลงานตามความคดิและจนิตนาการ

ของนักเรียนเองคนละ๑ภาพโดยระบายสีแบบโทนสีส่วนรวม

๑. การวาดภาพป่าดงดิบควรเลือกใช้สีโทนใดมากที่สุด

๒. ถ้าต้องการให้ภาพมีความรู้สึกมั่นคงควรเลือกใช้เส้นใด

๓. ทัศนธาตุมีความส�าคัญต่องานทัศนศิลป์อย่างไร

http://school.obec.go.th/schoolvit/chapter/unit1/grow.phpส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานhttp://www.mut.ac.th/~vet/Anat-html/nervous/nervous.htmlมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครhttp://art.thepbodint.ac.thโรงเรียนเทพบดินทร์วิทยา

สีโทนร้อนให้ความรู้สึกร้อนแรงอบอุ่น

สีโทนเย็นให้ความรู้สึกเย็นนิ่งสงบ

เส้น

น�้าหนัก

พื้นผิว

สี

ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม

ทัศนธาตุ

กิจกรรมการเรียนรู้

คำาถามพัฒนากระบวนการคิด

ผังสรุปสาระสำาคัญ

เว็บไซต์แนะนำา

สิ่งแวดล้อมในแต่ละสถานที่ย ่อมมีความ

แตกต่างกันออกไป เช่น สิ่งแวดล้อมที่เป็นภูเขา

ย่อมต่างจากสิ่งแวดล้อมที่เป็นทะเล การสร้าง

ผลงานศิลปะของศิลปินก็ย่อมแตกต่างกันออกไป

ตามอารมณ์ความรู ้สึก ที่ได้รับการกระตุ ้นจาก

สิ่งแวดล้อมตามสถานที่ต่าง ๆ ศิลปินแต่ละคน

ได้สร้างผลงานโดยน�าทัศนธาตุมาถ่ายทอดด้วย

เทคนิควิธีการที่แตกต่างกันออกไป ท�าให้เกิด

ผลงานที่หลากหลาย

ศิลปินอาจเลือกใช้สี เส้น หรือแสง-เงา เพื่อ

ถ่ายทอดผลงานให้ผู้ชมได้รู้สึกถึงบรรยากาศของ

สถานที่นั้นๆเช่นการใช้สีโทนเย็นในการวาดภาพ

ชนบท เพื่อแสดงถึงความร่มเย็น สงบ หรือการ

เลือกใช้สีโทนร้อนหรือสีสดใสกับภาพวาดชีวิต

ในเมืองเพื่อแสดงถึงชีวิตสีสันหรือใช้สีตามทัศนะ

และแนวความคิดส่วนตัว

ภาพเชยีงใหม่๑ศลิปินถ่ายทอดความรูส้กึจาก

สิ่งที่เห็นในธรรมชาติแบบเหมือนจริง

ภาพบนหาดทราย...อีกครั้ง ศิลปินถ่ายทอด

ผลงานจากธรรมชาติของทิวทัศน ์ทะเล โดย

ลดรายละเอียดลงไปและระบายสีให้ดูเรียบง่ายขึ้น

ภาพ๕ ธันวาคมศิลปินใช้ทีพู่กันป้ายไปตาม

ทิศทางและรูปร่างที่เห็น ท�าให้รู ้สึกมีบรรยากาศ

ยามค�่าคืนและการเคลื่อนไหวดูมีชีวิตชีวา

‘๕ ธันวาคม’ สาธิต ทิมวัฒนบรรเทิง, สีนํ้ามัน, ๒๕๔๔

‘บนหาดทราย... อีกครั้ง’ ไทวิจิต พึ่งเกษมสมบูรณ์,แม่พิมพ์โลหะ, ๒๕๒๗

‘เชียงใหม่ ๑’ สงัด ปุยอ๊อก, สีอะคริลิก, ๒๕๔๐-๔๔

ตัวอย่างผลงานของศิลปินกับสิ่งแวดล้อม

ทัศนศิลป์ ม.๑16 17ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม