23
1 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (สาหรับผู้เรียน) คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning โดยใช้ระบบการบริหารจัดการเรียนการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (สาหรับผู้เรียน) ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นระบบในลักษณะที่ครูเป็นผู้บริหารจัดการเนื้อหาในระบบ ให้สอดคล้องกับการเรียนการสอนในห้องเรียน และมอบหมายงานให้กับผู้เรียน รวมไปถึงการเก็บผลการ เข้าเรียน การทากิจกรรมกรรม ต่าง ๆ คะแนนผ่านระบบที่ ติ ด ตั้ ง ทีURL : http://www.krusarawut.net/lms โดยใช้ระบบบริหารการจัดการเรียนรู้ ที่เรียกย่อ ๆ ว่า LMS ทีย่อมาจาก Learning Management System เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ บริหารการจัดการเรียนการ สอนออนไลน์ ซึ่งประกอบด้วยเครื่องมืออานวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ดูแลระบบ โดยทีผู้สอนนาเนื้อหา สื่อการเรียนรู้ ใบงาน ใบความรู้ และกิจกรรมในการเรียนรู้ที่เคยใช้ในห้องเรียนปกติ ขึ้น ไว้บนเว็บไซต์รายวิชาตามที่ได้ขอให้ระบบจัดไว้ให้โดยสะดวก ส่วนผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหา การทา แบบฝึกหัด การทาแบบทดสอบ และกิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยผ่านเว็บทั้งผู้สอนและผู้เรียนสามารถพูดคุย ติดต่อสื่อสารกันได้โดยผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ เช่น ไปรษณีย์อีเล็กทรอนิกส์ ห้อง สนทนา กระดานถาม-ตอบ โดยใช้ MOODLE อ่านว่า มูเดิ้ลหรือมู้ดี้ ย่อมาจาก Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment เป็นระบบจัดการบทเรียนออนไลน์ ( Course Management System -CMS) หรือรู้จักกันในชื่อ Learning Management System ( LMS) หรือ Virtual Learning Environment ( VLE) โดย Moodle เป็นซอฟต์แวร์ฟรี พัฒนาขึ้นในแนวโอเพ่น ซอร์ส ( Open Source) มีลิขสิทธิ์แบบ GPL (General Public License) หรือลิขสิทธิ์แบบฟรีนั่นเอง ผู้ใช้งานสามารถดาว์นโหลดไปติดตั้งใช้งานได้ฟรีโดยไม่ต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์แต่อย่างใด สามารถดู รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ท่าของ Moodel ทีwww.moodle.org คุณสมบัติเด่นของ Moodle โปรแกรม Moodle มีผู้นิยมใช้งานกันอย่างขวาง ด้วยคุณสมบัติเด่นหลากหลายประการ อาทิ โปรแกรมมีความสามารถสูง มีโมดูลกิจกรรมการเรียนการสอนให้ใช้งานจานวนมาก จึงตอบ โจทย์สาหรับองค์กรที่ต้องการทาระบบ e-Learning แทบทุกองค์กร เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นในแนว Open Source มีลิขสิทธิ์แบบ GLP (General Public License) ผู้ใช้งานสามารถดาว์นโหลดไปติดตั้งใช้งานได้ฟรีโดยไม่ต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์แต่อย่างใด ส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface) ใช้งานง่าย ทาให้ง่ายต่อการเรียนรู้สาหรับผู้ใช้งานราย ใหม่ สามารถติดตั้งได้ทุกแพลตฟอร์มไม่ว่าจะเป็น Windows, Linux, FreeBSD, MS SQL Server และ Oracle รองรับการใช้งานมากกว่า 60 ภาษา รวมทั้งภาษาไทย มีเว็บไซต์ให้คาปรึกษาจานวนมาก เนื่องจากมีหน่วยงานที่ใช้อยู่ 1,000 เว็บไซต์ มีระบบตรวจสอบว่าผู้ใช้งานใช้อุปกรณ์ประเภทใดเข้าใช้งานผ่านทาง Desktop version, Tablet version, Mobile version รองรับมาตรฐาน e-Learning

คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

1 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning โดยใช้ระบบการบริหารจัดการเรียนการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

(ส าหรับผู้เรียน)

ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นระบบในลักษณะที่ครูเป็นผู้บริหารจัดการเนื้อหาในระบบให้สอดคล้องกับการเรียนการสอนในห้องเรียน และมอบหมายงานให้กับผู้เรียน รวมไปถึงการเก็บผลการเข้ า เ รี ย น ก า ร ท า กิ จ ก ร ร ม ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ค ะ แ น น ผ่ า น ร ะ บ บ ที่ ติ ด ตั้ ง ที่ URL : http://www.krusarawut.net/lms โดยใช้ระบบบริหารการจัดการเรียนรู้ ที่เรียกย่อ ๆ ว่า LMS ที่ย่อมาจาก Learning Management System เป็นซอฟต์แวร์ที่ท าหน้าที่ บริหารการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ซึ่งประกอบด้วยเครื่องมืออ านวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ดูแลระบบ โดยที่ผู้สอนน าเนื้อหา สื่อการเรียนรู้ ใบงาน ใบความรู้ และกิจกรรมในการเรียนรู้ที่เคยใช้ในห้องเรียนปกติ ขึ้นไว้บนเว็บไซต์รายวิชาตามที่ได้ขอให้ระบบจัดไว้ให้โดยสะดวก ส่วนผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหา การท าแบบฝึกหัด การท าแบบทดสอบ และกิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยผ่านเว็บทั้งผู้สอนและผู้เรียนสามารถพูดคุย ติดต่อสื่อสารกันได้โดยผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ เช่น ไปรษณีย์อีเล็กทรอนิกส์ ห้องสนทนา กระดานถาม-ตอบ โดยใช้ MOODLE อ่านว่า มูเดิ้ลหรือมู้ดี้ ย่อมาจาก Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment เป็ น ระบ บ จั ด ก ารบ ท เรี ย น ออน ไลน์ (Course Management System -CMS) หรือรู้จักกันในชื่อ Learning Management System (LMS) หรือ Virtual Learning Environment (VLE) โดย Moodle เป็นซอฟต์แวร์ฟรี พัฒนาขึ้นในแนวโอเพ่นซอร์ส (Open Source) มีลิขสิทธิ์แบบ GPL (General Public License) หรือลิขสิทธิ์แบบฟรีนั่นเอง ผู้ใช้งานสามารถดาว์นโหลดไปติดตั้งใช้งานได้ฟรีโดยไม่ต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์แต่อย่างใด สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ท่าของ Moodel ที่ www.moodle.org คุณสมบัติเด่นของ Moodle โปรแกรม Moodle มีผู้นิยมใช้งานกันอย่างขวาง ด้วยคุณสมบัติเด่นหลากหลายประการ อาทิ

โปรแกรมมีความสามารถสูง มีโมดูลกิจกรรมการเรียนการสอนให้ใช้งานจ านวนมาก จึงตอบโจทย์ส าหรับองค์กรที่ต้องการท าระบบ e-Learning แทบทุกองค์กร

เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นในแนว Open Source มีลิขสิทธิ์แบบ GLP (General Public License) ผู้ใช้งานสามารถดาว์นโหลดไปติดตั้งใช้งานได้ฟรีโดยไม่ต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์แต่อย่างใด

ส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface) ใช้งานง่าย ท าให้ง่ายต่อการเรียนรู้ส าหรับผู้ใช้งานรายใหม่

สามารถติดตั้งได้ทุกแพลตฟอร์มไม่ว่าจะเป็น Windows, Linux, FreeBSD, MS SQL Server และ Oracle

รองรับการใช้งานมากกว่า 60 ภาษา รวมทั้งภาษาไทย มีเว็บไซต์ให้ค าปรึกษาจ านวนมาก เนื่องจากมีหน่วยงานที่ใช้อยู่ 1,000 เว็บไซต์ มีระบบตรวจสอบว่าผู้ใช้งานใช้อุปกรณ์ประเภทใดเข้าใช้งานผ่านทาง Desktop version,

Tablet version, Mobile version รองรับมาตรฐาน e-Learning

Page 2: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

2 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

องค์ประกอบภายใน Moodle ในโปรแกรม Moodle ประกอบด้วยองคป์ระกอบภายใน ดังนี้

1. ระบบจัดการหลักสูตรการเรียนการสอน (Course Management) ใช้ส าหรับจัดการหลักสูตรรายวิชา ไม่ว่าจะเป็นการเพ่ิมหลักสูตรใหม่ การเพ่ิมเนื้อหารายวิชา การเพ่ิมกิจกรรมการเรียนการสอน อาทิ ใบเนื้อหา การมอบหมายงาน แบบทดสอบ กระดานข่าว ค าศัพท์รายวิชา รวมทั้งการประเมินปลและติดตามดูพฤติกรรมของผู้เรียน

2. ระบบจัดการไซต์ (Site Management) ใช้ส าหรับบริหารไซต์ ไม่ว่าจะเป็นการเพ่ิมเติมข่าวสารหน้าเว็บไซต์ หรือหน้ารายวิชาที่เปิดสอน การบันทึกข้อมูลส่วนตัวผ่านบล็อก (Blogs) การสร้างแท็กรายวิชา การเพ่ิมเติมโปรแกรมอิสระ (Modules) การจัดการฉากหลัง (Themes) การก าหนดค่าด้านความปลอดภัย (Security) และการส ารองและกู้คืนข้อมูล (Backup and Restore) เป็นต้น

3. ระบบจัดการผู้ใช้งาน (Account Management) ใช้ส าหรับจัดการผู้ใช้งานในระบบไม่ว่าจะเป็น การจัดกลุ่มผู้เรียน การเพิ่ม ลบ แก้ไข และค้นหาสมาชิก รวมทั้งการก าหนดสิทธิ์และบทบาทของสมาชิกว่าต้องการให้สมาชิกเข้าถึงส่วนใดได้บ้าง

4. ระบบจัดการไฟล์ (File Management) ใช้ส าหรับจัดการไฟล์ในเว็บไซต์ไม่ว่าไฟล์เอกสาร ไฟล์รูปภาพ ไฟล์เสียง และไฟล์วิดีโอ

5. ระบบการมอบหมายงานและการประเมินผลการเรียน (Assessment Management) ใช้ส าหรับมอบหมายงานให้ผู้เรียน และประเมินผลการเรียน

6. ระบบติดตามและรายงานผลการเรียน (Tracking and Report) การติดตามการเข้าถึงการใช้งานของผู้เรียน และการตรวจสอบรายงานผลการเรียนในแต่ละบทเรียน

ที่มา : http://ci.lnwfile.com/9r53qs.jpg

Page 3: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

3 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

เว็บไซต์ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ www.krusarawut.net

1. การสมัครสมาชิก ผู้เข้าใช้ที่ยังไม่ได้สมัครสมาชิกจะมีสิทธิ์เพียงดูข้อความจากหน้าเว็บหลักเท่านั้น เรียกผู้ใช้กลุ่มนี้ว่า ผู้ใช้งานทั่วไป (Guest) และเมื่อสมัครสมาชิกเรียบร้อย และได้รับการยืนยันสิทธิ์จะได้สถานะเป็น ผู้เรียน (Student) และหากขอเปิดรายวิชา และได้ได้รับการอนุมัติการเปิดรายวิชาแล้วก็จะได้สถานะเป็น ผู้สอน (Teacher) โดยทั่วไปผู้เรียนในรายวิชาต่าง ๆ ในเว็บไซต์นี้ ได้รับการสมัครจากผู้ดูแลระบบให้เรียบร้อยแล้ว และแจ้งชื่อผู้ใช้ พร้อมกับรหัสผ่าน ในห้องเรียน

ส่วนบุคคลทั่วไป ที่ต้องการเข้าศึกษา ให้ติดต่อได้ที่ e-mail : [email protected] หรือ [email protected] กรณีเร่งด่วนกรุณาติดต่อผู้ดูแลระบบได้ที่ โทร 089-0585590

Page 4: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

4 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

2. การเข้าสู่ระบบ (Login) 1. ให้นักเรียนเปิดโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Browser) เช่น Internet Explorer แล้ว พิมพ์ URLในช่อง Address ของ Browser เป็น http://www.krusarawut.net/lms ซึ่ งจะปรากฏบนหน้าจอดังภาพ

2. ในการเข้าสู่บทเรียน e-Learning ในครั้งแรก โดยการคลิก ซึ่งจะปรากฏบนหน้าจอดังภาพ

3. คลิกเลือกภาษาที่ต้องการให้แสดงผล โดยมีภาษาในเลือกในประเทศอาเซียน

Page 5: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

5 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

4. พิมพ์ ชื่อผู้ใช้ (ให้ใช้เลขประจ าตัวของนักเรียนเอง) และรหัสผ่าน (Pn@12345)

5. คลิกปุ่ม “เข้าสู่ระบบ” หรือปุ่ม “Login”

6. หากกรอกชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านผิด จะไม่สามารถเข้าบทเรียนได้ ซึ่งระบบจะท าการ Redirect กลับมาทีห่น้าต่างเดิม เพื่อให้กรอกรหัสใหม่

7. หากลืมรหัสผ่าน ให้คลิกปุ่ม “ลืมชื่อผู้ใช้หรือรหัสผ่าน” ระบบจะท าการส่งรหัสผ่านไปให้

ผู้ใช้ใหม่ทาง e-mail ในกรณีที่ผู้ดูแลระบบสมัครสมาชิกให้ ให้ติดต่อผู้ดูแลระบบ 089-0585590

ในช่อง Username พิมพ์ เลขประจ าตัวนักเรียน ในช่อง Password พิมพ์ Pn@12345

Page 6: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

6 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

8. ให้กรอก ชือบัญชี e-mail ที่ได้เคยบันทึกไว้

9. หากกรอกชื่อผู้ใช้และอีเมลที่ถูกต้องแล้ว ระบบจะท าการส่งอีเมลถึงท่านในทันที ในอีเมลจะประกอบไปด้วยวิธีการยืนยันและวิธีการเปลี่ยนรหัสผ่านของท่าน ถ้าหากยังพบปัญหากรุณาติดต่อผู้ดูแลระบบ ที่ e-mail : [email protected] หรือ เบอร์โทรศัพท์ 089-0585590

3. การแก้ไขข้อมูลส่วนตัว

หลังจากนักเรียนเข้าสู่ระบบเรียบร้อยจะพบหน้าจอหลักของระบบบทเรียน ดังภาพ จากนั้นให้นักเรียนท าตามข้ันตอน ดังนี้

1. ในบล็อกที่ชื่อว่าการจัดการระบบ คลิกเลือกรายการ “แก้ไขข้อมูลส่วนตัว”

Page 7: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

7 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

2. ให้แก้ไขข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้ - ชื่อ : ให้ใส่ชื่อจริงของนักเรียน - นามสกุล : ให้ใส่นามสกุลจริงของนักเรียน - อีเมล์ : ใส่อีเมล์ของนักเรียน (จ าเป็นในกรณีที่นักเรียนลืมรหัสผ่าน และ

ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างครูผู้สอนและเพ่ือนในห้อง) - แสดงอีเมล์ : เปลี่ยนหรือไม่เปลี่ยนก็ได้ - รูปแบบอีเมล์ : ไม่ต้องเปลี่ยนแปลง - สมัครเป็นสมาชิกกระดานเสวนาอัตโนมัติ : ไม่ต้องเปลี่ยนแปลง - ในการแก้ไขข้อความ : ไม่ต้องเปลี่ยนแปลง - จังหวัด :ให้กรอกจังหวัดตามที่อยู่ของตัวเอง - ภาษาท่ีต้องการ : เลือก Thai (th) - โซนเวลา : ไม่ต้องเปลี่ยนแปลง - รายละเอียด : ใส่รายละเอียดเกี่ยวกับตัวเอง เช่น ครูที่ปรึกษา ชั้นเรียน เลขที่

3. การเปลี่ยนรูปภาพประจ าตัว ให้คลิกที่ปุ่ม User picture

Page 8: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

8 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

แล้วลากรูปที่ต้องการมาวางไว้ในบริเวณกรอบสีแดง

4. หลังจากกรอกรายละเอียดต่าง ๆ เรียบร้อยแล้วให้คลิกปุ่ม “อัพเดทประวัติส่วนตัว”

4. การเปลี่ยนรหัสผ่าน สมาชิกสามารถท าการเปลี่ยนรูปภาพที่แสดงตนได้ ดังนี้ 1. เข้าสู่ระบบ 2. คลิกท่ี การจัดการระบบ > My profile setting > เปลี่ยนรหัสผ่าน

3. กรอกรหัสผ่านปัจจุบัน และรหัสผ่านใหม่ จากนั้นคลิก บันทึกการเปลี่ยนแปลง

Page 9: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

9 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

5. การเข้าเรียน การเข้าสู่บทเรียนครูผู้สอนได้ท าการรับสมัครนักเรียนในรายวิชาต่าง ๆ ไว้แล้ว ในการเข้าเรียนสามารถเข้าเรียนได้โดยท าตามข้ันตอนดังนี้ 1. คลิก NAVIGATION > วิชาเรียนของฉัน

2. คลิกเลือกรายวิชาที่ต้องการเข้าเรียน

3. หรือนักเรียนสามารถคลิกเลือกรายวิชาที่ต้องการเข้าเรียน โดนคลิกที่เมนู วิชาเรียนของฉัน แล้วคลิกเลือกรายวิชาที่ต้องเข้าเรียนได้เลย

Page 10: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

10 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

4. เริ่มต้นบทเรียนโดยเลือกคลิกอ่านข้อตกลงเบื้องต้น เพื่อทราบแนวทางการศึกษา 5. ท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน 6. เข้าเรียนในแต่ละหน่วยย่อย ทีละหน่วย โดยในแต่ละหน่วยย่อยให้เข้าตามล าดับหัวข้อ เริ่ม

จากจุดประสงค์ ไปจนถึงทดสอบหลังเรียน

6. การท าแบบทดสอบ 1. การท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน การท าแบบฝึกหัด หรือการท าแบบทดสอบก่อนเรียน- หลังเรียน ในแต่ละหน่วย ให้คลิกเลือกแบบทดสอบที่ต้องการ

Page 11: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

11 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

2. จะปรากฏหน้าต่างของแบบทดสอบ ค าชี้แจงในการท าแบบทดสอบ แจ้งจ านวนครั้ง และเวลาในการท าแบบทดสอบ เมื่ออ่านค าชี้แจง เข้าใจดีแล้ว คลิกปุ่ม “ท าแบบทดสอบตอนนี้”

3. จะปรากฏหน้าต่าง การยืนยันในการท าแบบทดสอบ หากยังไม่พร้อมในการท าแบบทดสอบ ให้คลิกปุ่ม “ยกเลิก” หากพร้อมที่จะท าแบบทดสอบให้คลิกท่ีปุ่ม “Start attempt”

4. ให้นักเรียนอ่านค าถามให้เข้าใจ หากต้องการเลือกค าตอบให้คลิกเลือกในปุ่มหน้าค าตอบ

5. เมื่อท าแบบทดสอบ และได้ตรวจสอบค าตอบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม “ต่อไป”

Page 12: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

12 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

6. จะปรากฏหน้าต่างแสดงเวลาที่เหลือในการท าแบบทดสอบ ข้อทดสอบที่ยังไม่ได้ตอบ และข้อทดสอบที่ตอบแล้ว หากต้องการท าแบบทดสอบข้อใดสามารถคลิกที่เลขข้อสอบในนั้นเพ่ือท าแบบทดสอบได้เลย

7. เมื่อตรวจสอบการท าแบบทดสอบเสร็จทุกข้อแล้ว ให้คลิกที่ “ส่งค าตอบแล้วสิ้นสุดการท าแบบทดสอบ” เพ่ือส่งแบบทดสอบ ถ้าต้องการกลับไปแก้ไขค าตอบอีกครั้งให้คลิกที่ปุ่ม “Return to attempt”

8. หลังจากคลิกปุ่ม ส่งค าตอบแล้วสิ้นสุดการท าแบบทดสอบ แล้วระบบจะมีหน้าต่างขึ้นมาถาม เพ่ือให้ยืนยันการส่งค าตอบ ดังภาพ ถ้าต้องการส่งค าตอบให้คลิกที่ปุ่ม “ส่งค าตอบแล้วสิ้นสุดการท าแบบทดสอบ” หากต้องการแก้ไขค าตอบอีกครั้ง ให้คลิกท่ีปุ่ม “ยกเลิก”

Page 13: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

13 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

9. หลังจากยืนยันค าตอบแล้วระบบจะแสดงผลคะแนนที่ได้ ค าอธิบายค าตอบในข้อที่ถูกต้อง รายละเอียด ดังภาพ

10. หลังจากดูผลคะแนนของแบบทดสอบเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกเลือกเมนู “Finish review”

11. จะแสดงรายละเอียดของการท าแบบทดสอบให้ทราบ หากต้องการกลับเข้าสู่บทเรียนอีกครั้งให้คลิกปุ่ม “Back to course”

Page 14: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

14 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

7. การส่งงาน หรือการบ้าน (Assignment) เป็นกิจกรรมที่ครูผู้สอนได้ก าหนดให้นักเรียนเข้าไปส่งงาน หรือการบ้านไว้ในระบบ โดยก่อนส่งงานนักเรียนจะต้องมีไฟล์เอกสารที่จัดท าเสร็จเรียบร้อย พร้อมส่งแล้วอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นจึงจะท าการส่งงานให้ครูผู้สอนผ่านระบบ และช่องทางส่งการบ้านที่ครูผู้สอนได้ก าหนดไว้ โดยการส่งงานจะสามารถแก้ไขไฟล์งานที่ส่งได้ตั้งแต่วันแรก จนถึงวันสิ้นสุดการส่งงานที่ครูผู้สอนก าหนดไว้ในระบบ หากหมดระยะเวลาที่ครูผู้ก าหนดแล้วนักเรียนจะไม่สามารถส่งงานได้ หรือแก้ไขไฟล์งานที่ส่งได้อีก วิธีการส่งงานมีข้ันตอนดังนี้ 1. เข้าไปในรายวิชา > เลือกกิจกรรมการบ้านที่ครูผู้สอนได้ก าหนดไว้

2. คลิก “Add submission” เพ่ือแนบไฟล์งานที่จะส่งครูผู้สอน (กรณีที่หมดระยะในการส่งงานจะไม่มีปุ่ม Add submission ขึ้นให้)

3. คลิก Add เพ่ือแนบไฟล์

Page 15: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

15 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

4. คลิก Upload a file > เลือกปุ่ม Browse

5. เลือกแหล่งจัดเก็บไฟล์ข้อมูล (การบ้าน) ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของนักเรียน > คลิก Open

6. คลิก Upload this flie

7. จะปรากฏไฟล์ที่ต้องการแนบ จากนั้นคลิก “บันทึกการเปลี่ยนแปลง”

Page 16: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

16 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

8. จะปรากฏรายละเอียดการส่งงาน พร้อมกับไฟล์ที่แนบมา ถือเป็นการเสร็จสิ้นกระบวนการส่งการบ้าน

8. การลบ และการแก้ไขการส่งงาน การลบ และแก้ไขการส่งงานจะสามารถแก้ไขไฟล์ส่งงานที่ส่งได้ตั้งแต่วันแรก จนถึงวันสิ้นสุดการส่งงานที่ครูผู้สอนก าหนดไว้ในระบบ หากหมดระยะเวลาที่ครูผู้สอนก าหนดแล้วนักเรียนจะไม่สามารถส่งงาน หรือแก้ไขไฟล์งานได้อีก วิธีการแก้ไขมีข้ันตอนดังนี้ 1. เข้าไปในรายวิชา > เลือกกิจกรรมการบ้านที่ครูผู้สอนได้ก าหนดไว้

2. คลิก แก้ไขงานที่ส่ง

Page 17: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

17 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

3. คลิกท่ีชื่อไฟล์งานเดิม

4. นักเรียนจะต้องลบไฟล์เก่าออกก่อน โดยคลิกที่ลบ

5. คลิกท่ี เรียบร้อย เพ่ือยืนยันการลบข้อมูล

6. การส่งไฟล์งานใหม่อีกครั้ง ให้ตามข้ันตอนการส่งไฟล์ตามข้อ 6.1 - 6.8

Page 18: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

18 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

9. การติดต่อ - สอบถามกับครูผู้สอนและเพื่อนในห้องเรียนเสมือนจริง กระดานสนทนาเป็นกระดานส าหรับแสดงความคิดเห็น มีวิธีการเขียนกระดานเสวนาดังนี้

1. เข้าไปยังหัวข้อกระดานเสวนาที่ครูผู้สอนได้สร้างไว้

2. คลิก ตั้งกระทู้ เพื่อตั้งค าถาม ข้อสงสัย ให้ครูผู้สอน หรือเพ่ือน ๆ ได้ตอบข้อสงสัย หรือ

ปัญหาของนักเรียน

7.3 พิมพ์หัวข้อค าถาม ลงใน หัวข้อ และพิมพ์ค าถามลงในช่อง หากต้องการแนบไฟล์ ก็ให้

ด าเนินการเช่นเดียวกับวิธีการส่งการบ้าน เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้วให้คลิก โพสต์ลงในกระดานเสวนา

Page 19: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

19 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

7.4 การตอบค าถามหรือข้อสงสัยของเพ่ือน ในกระดานเสวนา ให้คลิกท่ีปุ่ม ตอบ

7.5 พิมพ์อธิบาย ค าถามหรือข้อสงสัย ให้กับเพ่ือน ลงในช่องว่าง เสร็จแล้วคลิก โพสต์ลงกระดานเสวนา

10. การส่งข้อความ การส่งข้อความเป็นวิธีการส่งข้อความ ค าถาม ขอสงสัยสั้น ๆ ไปยังครูผู้สอนหรือระหว่างเพ่ือนที่เรียนอยู่ในระบบ ผ่านเมนูข้อความที่ระบบมีให้ มีวิธีการส่งข้อความดังนี้

1. ใช้เมนู Navigation > My profile > ข้อความ

Page 20: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

20 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

2. สามารถค้นหาครูผู้สอนหรือเพ่ือนที่จะส่งข้อความได้ 2 วิธี คือเลือกจากสมาชิกในรายวิชาที่เรียน หรือเลือกจากการค้นหาในช่อง Search people and messages

วิธีที่ 1 เลือกจากสมาชิกในรายวิชาที่เรียน 1. คลิกเลือกรายวิชาที่เรียน

2. คลิกเลือกรายชื่อที่ต้องการส่งข้อความ > พิมพ์ข้อความที่ต้องการ > คลิกส่งข้อความ

วิธีที่ 2 เลือกจากรายช่ือในช่อง Search people and messages 1. พิมพ์รายชื่อที่ต้อง > คลิก Search people and messages > คลิกเลือกรายชื่อที่ต้องการ

Page 21: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

21 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

2. พิมพ์ข้อความท่ีต้องการ > คลิกส่งข้อความ

11. วิธีอ่านข้อความ 1. ใช้เมนู Navigation > My profile > ข้อความ

2. เลือกข้อความที่ยังไม่ได้อ่านโดยคลิกที่รายชื่อคนส่งข้อความ

3. สามารถส่งข้อความกลับโดยเขียนข้อความในช่อง ข้อความ แล้วคลิกส่งข้อความ

Page 22: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

22 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

12. ดูคะแนนการท ากิจกรรม เป็นการดูคะแนนการท ากิจกรรมทั้งหมดที่มีอยู่ในรายวิชา ผู้เรียนสามารถตรวจสอบดูได้ว่าแต่ละกิจกรรมได้คะแนนเท่าไหร่ มีวิธีการดังนี้ 1. เข้าไปยังรายวิชาที่เป็นสมาชิก

2. เลือกเมนูการจัดการระบบ > คะแนนทั้งหมด

3. จะปรากฏตารางแสดงคะแนนที่ได้ในแต่ละกิจกรรม

13. การออกจากระบบ เมื่อนักเรียนต้องการออกจากบทเรียน นักเรียนต้องท าการออกจากระบบ (Logout) ก่อน เพ่ือเป็นการรักษาความปลอดภัย โดยคลิกที่เมนู “ออกจากระบบ” ที่อยู่ด้านบนของหน้าจอบทเรียน

Page 23: คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน) 1 · 6. การท าแบบทดสอบ

23 คู่มือการใช้บทเรียน e-Learning ด้วย Moodle (ส าหรับผู้เรียน)

บรรณานุกรม

[1] เอกรินทร์ วทัญญูเลิศสกุล. (2556). คู่มือการใช้งานระบบ e-Learning ด้วย Moodle 2.5 ส าหรับผู้สอน

[2] อาณัติ รัตนถิรกุล. (2558). ติดตั้งและบริหารระบบ e-Learning ด้วย Moodle กรุงเทพ. บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จ ากัด

[3] https://moodle.org/

[4] http://www.moodlenew.cmru.ac.th/