57
6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาอาชีวศึกษา vesar.org/#/print_sar/2018 1/57 สวนที่ 1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร 1. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 1.1 ผลสัมฤทธิมาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค วิทยาลัยเทคนิคนครปฐมมุงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาใหมีความรู มีทักษะและการ ประยุกตใชเปนไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม จริยธรรม และ คุณลักษณะที่พึงประสงค จึงไดมีการจัดกิจกรรมอบรมใหความรูตางๆ รวมถึงการอบรมคุณธรรม จริยธรรมขึ้นทุก ป เพื่อที่ตองการใหนักเรียน นักศึกษาของทางวิทยาลัยเทคนิคนครปฐมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยา บรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู อื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาทหนาที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข มีจิตสาธารณะ และมีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา 1. วิทยาลัยเทคนิคนครปฐมใชหลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคลองกับความตองการของผูเรียน ชุมชน สถาน ประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม เพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความ ตองการของตลาดแรงงาน โดยความรวมมือกับสถานประกอบการหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ 2.ดานการจัดการเรียนการสอนนั้น ครูผูสอนมีการวิเคราะหหลักสูตรรายวิชา เพื่อกําหนดหนวยการเรียนรูที่มุเนนสมรรถนะอาชีพ และมีแผนการจัดการเรียนรูมีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึง ประสงค และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกําหนดรูปแบบการเรียนรูสูการปฏิบัติและกิจกรรมการจัด การ เรียนรูที่หลากหลาย เชน PjBL Active Learning STEM Education มีการใชสื่อ เครื่องมือ อุปกรณ และ เทคโนโลยีการจัดการเรียนรูที่เหมาะสม และนํามาใชในการจัดการเรียนการสอน และการกําหนดแนวทางการวัด และประเมินผลตามสภาพจริง ดวยรูปแบบ วิธีการที่หลากหลาย 3 .มีการประเมินคุณภาพและนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน และเปนการประเมินผลงานครูผูสอนแตละภาค เรียน 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน การสอน การแกปญหาการบริหารจัดการชั้นเรียนดวยการทําวิจัยในชั้นเรียน และกระบวนการ PLC

บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 1/57

สวนที่ 1

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

1. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

1.1 ผลสัมฤทธิ์

มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค

วิทยาลัยเทคนิคนครปฐมมุงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาใหมีความรู มีทักษะและการ

ประยุกตใชเปนไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม จริยธรรม และ

คุณลักษณะที่พึงประสงค จึงไดมีการจัดกิจกรรมอบรมใหความรูตางๆ รวมถึงการอบรมคุณธรรม จริยธรรมขึ้นทุก

ป เพื่อท่ีตองการใหนักเรียน นักศึกษาของทางวิทยาลัยเทคนิคนครปฐมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยา

บรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยท่ีดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู

อ่ืน มีความรับผิดชอบตามบทบาทหนาที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน

ประมุข มีจิตสาธารณะ และมีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม

มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา

1. วิทยาลัยเทคนิคนครปฐมใชหลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคลองกับความตองการของผูเรียน ชุมชน สถาน

ประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม เพ่ือใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความ

ตองการของตลาดแรงงาน โดยความรวมมือกับสถานประกอบการหรือหนวยงานที่เกี่ยวของ

2.ดานการจัดการเรียนการสอนนั้น ครูผูสอนมีการวิเคราะหหลักสูตรรายวิชา เพื่อกําหนดหนวยการเรียนรูที่มุง

เนนสมรรถนะอาชีพ และมีแผนการจัดการเรียนรูมีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึง

ประสงค และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกําหนดรูปแบบการเรียนรูสูการปฏิบัติและกิจกรรมการจัด การ

เรียนรูท่ีหลากหลาย เชน PjBL Active Learning STEM Education มีการใชสื่อ เครื่องมือ อุปกรณ และ

เทคโนโลยีการจัดการเรียนรูที่เหมาะสม และนํามาใชในการจัดการเรียนการสอน และการกําหนดแนวทางการวัด

และประเมินผลตามสภาพจริง ดวยรูปแบบ วิธีการที่หลากหลาย

3 .มีการประเมินคุณภาพและนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน และเปนการประเมินผลงานครูผูสอนแตละภาค

เรียน

4. มีการควบคุมการจัดการเรียน การสอน การแกปญหาการบริหารจัดการชั้นเรียนดวยการทําวิจัยในชั้นเรียน

และกระบวนการ PLC

Page 2: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 2/57

5. มีการพัฒนาระบบอินเตอรเน็ตเพ่ือใชในการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู มีการสนับสนุนงบประมาณ

เพ่ือใหครูไดเขารับการพัฒนาตนเองทั้งที่สถานศึกษาจัดและหนวยงานอื่นจัดอยางตอเนื่องในทุกปการศึกษา

6. มีการบริหารสถานศึกษาโดยใชคณะกรรมการวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา สมาคมครู ผู

ปกครอง และคณะกรรมการมูลนิธิที่เก่ียวของ

7. มีการประชุมคณะกรรมการอยางนอยภาคเรียนละ 1 ครั้ง นําระบบการดูแลนักเรียนดวยโปรแกรม

คอมพิวเตอร Student care มาใชในระบบการดูแลนักเรียน ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในงานทะเบียน พัสดุ

การเงิน บัญชี และงานสารบรรณ

8. มี Website ของสถานศึกษาใชเผยแพรขอมูลขาวสาร ใชระบบ Line ในการสื่อสารภายในกําหนดใหมีการลง

นามความรวมมือในการจัดการเรียน การสอนรวมกันระหวางสถานประกอบการกับสถานศึกษาในการฝกงาน

และฝกประสบการณทั้งในระบบปกติและระบบทวิภาคี

9. มีการนิเทศและประเมินผลการฝกโดยครูฝกมีการปฐมนิเทศผูเรียนกอนฝกงาน และฝกประสบการณ

10. มีการสัมมนาครูฝกประจําสถานประกอบการ มีการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอนโดยรับการ

สนับสนุนดานครุภัณฑ อุปกรณการสอนจากสถานประกอบการเชน แผนกชางอิเล็กทรอนิกส , ชางยนต, ชางกล

โรงงาน , ชางกอสราง

วิทยาลัยจัดงบประมาณในการจัดหาครุภัณฑ และปรับปรุงแผนกวิชาโดยใชเงินบํารุงการศึกษา และยังของบ

ลงทุนจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในการจัดหาครุภัณฑที่มีราคาสูงในระดับ ปวช. ปวส. และ

ปริญญาตรี

11. มีการปรับปรุงแผนกวิชา หองเรียน หองปฏิบัติการ สถานที่จัดทํากิจกรรมเขาแถวและจัดหาอาคารเรียนเขา

ถึงระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอน

12. มีการจัดปจจัยเอื้ออํานวยการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ และการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนา

บุคลากร

13. มีระบบจัดการหองสมุด แหลงทรัพยากรการเรียนรู และระบบสารสนเทศอยางเพียงพอ และใชงานไดอยางมี

Page 3: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 3/57

ประสิทธิภาพ

14. มีอาคารสถานที่และสภาพแวดลอม ที่เอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่

เหมาะสม

15. หองเรียน และหองปฏิบัติการเหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอน

16. มีสิ่งอํานวยความสะดวก และสาธารณูปโภคที่พอเพียงและเหมาะสม

มาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู

1. มีการสนับสนุนใหผูเรียน และผูสอนไดทํานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค หรืองานวิจัย โดยสนับสนุนงบ

ประมาณ ในการจัดทําใหเกิดผลงานประกวด แขงขันในระดับสถานศึกษา จังหวัด ภาค และ ระดับชาติทั้งโครง

งานส่ิงประดิษฐ หุนยนต ไดรับการประกวด และรางวัลอยางตอเนื่อง

2. มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใหครูไดเขารับการพัฒนาตนเองทั้งที่สถานศึกษาจัดและหนวยงานอ่ืนจัดอยาง

ตอเน่ืองในทุกปการศึกษา

3. มีการบริหารงานแบบมีสวนรวมในสวนของบุคลากรมีรูปแบบคณะกรรมการในการทํากิจกรรม/โครงการตาง

ๆ มีคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา คณะกรรมการวิทยาลัยฯ

4. มีการสนับสนุนงบประมาณใหผูเรียน และผูสอนพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพไดรับการสนับสนุนทาง

วิชาการ เครื่องมืออุปกรณครุภัณฑจากสถานประกอบการ ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากสํานักงานคณะ

กรรมการการอาชีวศึกษาอยางตอเนื่อง

5. มีการจัดโครงการบริการรชุมชน ในรูปแบบตาง ๆ โดยนําฝายบริหาร ครู บุคลากร และผูเรียนไปเขารวม เชน

การซอมแซมเครื่องมืออุปกรณในชุมชนทองถ่ิน ในโครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน การทําเครื่องเติมออกซิเจน

ในนํ้าที่คลองเปรมประชากร ทําหนาที่ศูนยประสานงานการจัดทําเครื่องกําจัดฝุนละอองในอากาศ กําหนด

คุณธรรมอัตลักษณ “จิตอาสา” ในโครงการสถานศึกษาคุณธรรม

Page 4: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 4/57

6. มีการสนับสนุนใหผูเรียน และผูสอนไดทํานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค หรืองานวิจัย โดยสนับสนุนงบ

ประมาณ ในการจัดทําใหเกิดผลงานประกวด แขงขันในระดับสถานศึกษา จังหวัด ภาค และ ระดับชาติทั้งโครง

งานส่ิงประดิษฐ หุนยนต ไดรับการประกวด และรางวัลอยางตอเนื่องทั้งในสนามแขงขันที่จัดโดยสํานักงานคณะ

กรรมการการอาชีวศึกษา และหนวยงานอื่นที่ไดรับการยอมรับ

7. ดานการจัดการเรียนการสอน มีการสนับสนุนใหจัดการเรียนการสอน ในระดับ ปวช, ปวส และระดับปริญญา

ตรี ท้ังในระบบปกติ และทิวภาคี และเปดสอนหลักสูตรระยะสั้นในบางวิชาที่สดอดคลองกับความตองการของ

ตลาดแรงงาน

1.2 จุดเดน

1. สถานศึกษามีการแตงตั้งครูที่ปรึกษา ครูปกครอง ดูแลนักเรียน ตั้งแตเขาวิทยาลัยจนสิ้นสุดการเรียน มีการ

กําหนดชั่วโมงโฮมรูม บันทึกผลการใหคําปรึกษา พบนักศึกษารายงานผูบริหาร มีการเชิญผูปกครองรวมแกปญหา

มีการจัดโปรแกรม แนะแนวการศึกษา มีการปฐมนิเทศ และปจฉิมนิเทศ นักศึกษาปกติ มีการจัดกิจกรรมให

นักศึกษามีรายไดระหวางเรียน และอบรมใหความรู ศึกษาดูงานในการเปนผูประกอบการ และสงโครงการเขา

ประกวดอบรมสถานศึกษา จังหวัดและภาค มีการกําหนดวิชาโครงการใหนักศึกษาไดเรียนรูในระดับ ปวช.3 และ

ปวส.2 และพัฒนาตอเน่ือง เชน สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมและมีการประกวดไดรับรางวัลในระดับสถานศึกษา

จังหวัดภาค และระดับชาติ มีการสนับสนุนใหผูเรียนไดเขาแขงขันทักษะวิชาชีพระดับสถานศึกษาจังหวัดระดับ

ภาค และระดับชาติ ไดรับรางวัลอยางตอเนื่อง มีการกําหนดใหแผนก/สาขาวิชา ไดจัดกิจกรรมประเมิน

มาตรฐานวิชาชีพท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบัติ โดยใชเครื่องมือเปนมาตรฐานวิชาชีพของสํานักงานคณะกรรมการ

อาชีวศึกษามีการเตรียมความพรอมผูเรียนกอนทดสอบ และจัดใหมีการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดาน

อาชีวศึกษา (V-net) ในระดับชั้นปวช. 3 และ ปวส .2

2. มีการติดตามการงานทํา และการศึกษาตอของผูสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2561

3. มีการบริการชุมชนและจัดอาสาในรูปแบบตาง ๆ เชน อาชีวะอาสา , ศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน การจัดทํา

เครื่องเติมอากาศในน้ํา แผงพนนํ้ากันฝุน ฯ

4. มีการใชหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ซึ่งจัดทําโดยสํานักงาน

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา และเปน หลักสูตรฐานสมรรถนะ มีการกําหนดใหครูผูสอนจัดทําแผนการเรียนรู

สงใหฝายวิชาการตรวจสอบ มีการประเมินคุณภาพและนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน และเปนการประเมิน

ผลงานครูผูสอนแตละภาคเรียน มีการควบคุมการจัดการเรียน การสอน การแกปญหาการบริหารจัดการชั้นเรียน

ดวยการทําวิจัยในชั้นเรียน และกระบวนการ PLC มีการพัฒนาระบบอินเตอรเน็ตเพื่อใชในการจัดการเรียนการ

Page 5: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 5/57

สอนและการเรียนรู มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใหครูไดเขารับการพัฒนาตนเองทั้งที่สถานศึกษาจัดและ

หนวยงานอ่ืนจัดอยางตอเนื่องในทุกปการศึกษา มีการบริหารสถานศึกษาโดยใชคณะกรรมการวิทยาลัย คณะ

กรรมการบริหารสถานศึกษา สมาคมครู ผูปกครอง และคณะกรรมการมูลนิธิที่เกี่ยวของ มีการประชุมคณะ

กรรมการอยางนอยภาคเรียนละ 1 คร้ัง นําระบบการดูแลนักเรียนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร Student care มา

ใชในระบบการดูแลนักเรียน ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในงานทะเบียน พัสดุ การเงิน บัญชี และงาน

สารบรรณ มี Website ของสถานศึกษาใชเผยแพรขอมูลขาวสาร ใชระบบ Line ในการสื่อสารภายในกําหนดให

มีการลงนามความรวมมือในการจัดการเรียน การสอนรวมกันระหวางสถานประกอบการกับสถานศึกษาในการ

ฝกงาน และฝกประสบการณท้ังในระบบปกติและระบบทวิภาคี เพ่ือมีการนิเทศและประเมินผลการฝกโดยครูฝก

มีการปฐมนิเทศผูเรียนกอนฝกงาน และฝกประสบการณ มีการสัมมนาครูฝกประจําสถานประกอบการ มีการ

ระดมทรัพยากรเพ่ือการจัดการเรียนการสอนโดยรับการสนับสนุนดานครุภัณฑ อุปกรณการสอนจากสถาน

ประกอบการเชน แผนกชางอิเล็กทรอนิกส , ชางยนต, ชางกลโรงงาน , ชางกอสราง วิทยาลัยจัดงบประมาณใน

การจัดหาครุภัณฑ และปรับปรุงแผนกวิชาโดยใชเงินบํารุงการศึกษา และยังของบลงทุนจากสํานักงานคณะ

กรรมการการอาชีวศึกษาในการจัดหาครุภัณฑท่ีมีราคาสูงในระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี มีการปรับปรุง

แผนกวิชา หองเรียน หองปฏิบัติการ สถานที่จัดทํากิจกรรมเขาแถวและจัดหาอาคารเรียน 4 ชั้น ขนาด 1920

ตารางเมตรเพ่ิมเติม

5. มีการปรับปรุงคูระบายนํ้า ระบบกรองนํ้าในโรงงานผลิตนํ้าดื่ม นําระบบไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยมาใช

บําบัดนํ้าเสีย และระบบแสงสวาง

6. มีการปรับยายศูนยวิทยบริการจากอาคารเดิม มายังอาคารใหมที่กอสรางเสร็จและปรับปรุงใหสามารถให

บริการดวยหนังสือปกติ และคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนรูปรับปรุงระบบอินเตอรเน็ตเดิมในสถานศึกษา เปนการ

เชื่อมโยงดวยสายไฟเบอรนํา แสง ทั้งวิทยาลัยฯ พรอมขยายเครือขาย WIFI ใหครอบคลุมภายในวิทยาลัย ทั้ง

ระบบของสถานศึกษาเอง และขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอก (AIS)

7. มีการสนับสนุนงบประมาณใหผูเรียน และผูสอนพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพอยางตอเนื่อง มีการบริหาร

งานแบบมีสวนรวมในสวนของบุคลากรมีรูปแบบคณะกรรมการในการทํากิจกรรม/โครงการตาง ๆ มีคณะ

กรรมการบริหารสถานศึกษา คณะกรรมการวิทยาลัยฯ ในสวนการดําเนินการของผูเรียน มีคณะกรรมการ

องคการวิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย หนวยวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม มีการประชุมอยางตอเนื่องในทุกๆ

กิจกรรม มีการจัดทํา Website ของสถานศึกษาเพื่อใชในการบริหารจัดการ เชนแจงขอมูล ขาวสาร ความ

กาวหนาของการจัดทํากิจกรรม/โครงการ การจัดซื้อจัดจาง การรับสมัครบุคลากร การแจงขาวสารทางการศึกษา

ใหกับผูเรียน ไดรับการสนับสนุนทางวิชาการ เครื่องมืออุปกรณครุภัณฑจากสถานประกอบการ ไดรับงบประมาณ

สนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาอยางตอเนื่อง มีการจัดโครงการบริหารชุมชน ในรูปแบบ

ตาง ๆ โดยนําฝายบริหาร ครู บุคลากร และผูเรียนไปเขารวม เชนการซอมแซมเครื่องมืออุปกรณในชุมชนทองถิ่น

ในโครงการศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน การทําเครื่องเติมออกซิเจนในนํ้าที่คลองเปรมประชากร ทําหนาที่ศูนย

Page 6: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 6/57

ประสานงานการจัดทําเครื่องกําจัดฝุนละอองในอากาศ กําหนดคุณธรรมอัตลักษณ “จิตอาสา” ในโครงการสถาน

ศึกษาคุณธรรม

8. มีการสนับสนุนใหผูเรียน และผูสอนไดทํานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค หรืองานวิจัย โดยสนับสนุนงบ

ประมาณ ในการจัดทําใหเกิดผลงานประกวด แขงขันในระดับสถานศึกษา จังหวัด ภาค และ ระดับชาติทั้งโครง

งานส่ิงประดิษฐ หุนยนต ไดรับการประกวด และรางวัลอยางตอเนื่องทั้งในสนามแขงขันที่จัดโดยสํานักงานคณะ

กรรมการการอาชีวศึกษา และหนวยงานอื่นที่ไดรับการยอมรับ

9. ดานการจัดการเรียนการสอน มีการสนับสนุนใหจัดการเรียนการสอน ในระดับ ปวช, ปวส และระดับปริญญา

ตรี ท้ังในระบบปกติ และทิวภาคี และเปดสอนหลักสูตรระยะสั้นในบางวิชาที่สดอดคลองกับความตองการของ

ตลาดแรงงาน

1.3 จุดที่ควรพัฒนา

1. การทําระบบดูแลนักเรียนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร Student care ยังใชงานไดไมเต็มประสิทธิภาพ การ

รายงานพฤติกรรมไมพึงประสงคของผูเรียนยังไมรวดเร็วและตอเนื่อง กิจกรรมแนะแนวควรเปนการแนะแนวรูป

แบบแนะนําอาชีพมากกวาแนะแนวการศึกษา ควรมีการจัด Openhouse ในสถานศึกษา กิจกรรมการหาราย

ไดระหวางเรียนและการสรางผูประกอบการ ควรมีกิจกรรมรูปแบบใหม ๆ เชน Start up ควรมีการประกวด

โครงงานทุกแผนกวิชา และสงเสริมใหนําชิ้นงานที่ไดลําดับ 1 – 3 ของแตละแผนกมาตอยอดเปนนวัตกรรม และ

สิ่งประดิษฐ และสนับสนุนงบประมาณจัดใหมีการแขงขันทักษะวิชาชีพในทุกแผนกวิชา เพื่อคัดเลือกตัวแทนเขา

แขงขันระดับจังหวัด การประเมินมาตรฐานวิชาชีพควรมีการประเมินทั้ง 2 ภาค เรียนในปการศึกษาสุดทาย

เพ่ือใหครบถวนตามที่เครื่องมือประเมินกําหนด ควรเพ่ิมจํานวนชั่วโมงในการเตรียมความพรอม V-net และควร

สนับสนุนใหมีการนําขอสอบ V-net ท่ีใชประเมินเผยแพรใหผูเรียนไดเตรียมความพรอม ควรกําหนดระยะเวลาที่

ชัดเจนในการติดตามการมีงานทํา และศึกษาตอ เนื่องจากมีผูเรียนไมจบการศึกษาตามหลักสูตรและควรใชระบบ

สารสนเทศในการติดตาม

2. การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา, หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกําหนดรายวิชาเพิ่ม

เติม ควรดําเนินการรวมกันระหวางสถานศึกษากับสถานประกอบการในสาขาที่จัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี

ควรดําเนินการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูใหครบทุกรายวิชา ควรมีระบบการนิเทศ ติดตามการเรียนการสอน

พัฒนาระบบเครือขายอินเตอรเน็ตความเร็วสูงในสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อใชประโยชนในการ

จัดการเรียนการสอน ควรใชระบบเครือขายอินเตอรเน็ตและโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อการบริหาร การจัดการเรียน

การสอน ควรเพ่ิมสาขา และจํานวนผูเรียนระบบทวิภาคีและเพิ่มเครือขายสถานประกอบการที่จัดการเรียนการ

สอนระบบทวิภาคีใหมีจํานวนมากขึ้น

Page 7: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 7/57

3. การพัฒนาตนเองของผูสอน และผูเรียนยังไมทั่วถึงและสอดคลองกับแผนพัฒนาบุคลากร (ID PLAN) การใช

สารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการสถานศึกษายังไมมีประสิทธิภาพ และยอมรับจากผูสอนและผูเรียน

4. การจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค และงานวิจัย ของผูสอนและผูเรียน ยังมีจํานวนนอยและไม

คลอบคลุมทุกแผนกวิชา

5. การจัดการเรียน การสอน ระบบทวิภาคียังไมครบทุกแผนกและจํานวนผูเรียนยังมีจํานวนนอย

1.4 ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา

1. ควรสนับสนุนการจัดทําโครงงานส่ิงประดิษฐ นวัตกรรม ใหครบทุกแผนกและทุกระดับ

2. สนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาสมรรถนะผูเรียนใหสามารถเขาสูการแขงขันทักษะวิชาชีพระดับชาติ และได

รับรางวัล

3. ควรมีการจัดทําสถานประกอบการในสถานศึกษาเพ่ือสงเสริมการมีรายไดผูเรียน

4. พัฒนาความพรอมดานเครื่องมือ ครุภัณฑ เพ่ือการจัดการเรียน การสอน

5. พัฒนาอาคารสถานท่ีโรงฝกงาน หองเรียน หองปฏิบัติการ ใหสวยงาม

6. ปรับปรุงทัศนียภาพ

7. จัดหางบประมาณเพ่ือพัฒนาระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูง และโปรแกรมสําเร็จรูป

8. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรจัดงบประมาณดานการพัฒนาตนเองใหกับผูสอนและผูเรียน

และงบประมาณในการจัดทําสิ่งประดิษฐ นวัตกรรมงานวิจัยใหมีจํานวนมากขึ้น

9. ควรมีการพัฒนาบุคลากรดานการใชสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน และมีงบ

ประมาณสนับสนุน

10. ปรับเปลี่ยนทัศนคติบุคลากร ผูเรียนเรื่องประโยชนของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ แทนการใชระบบปกติ

ในการบริหารจัดการขอมูล ขาวสารและการเรียนการสอน

2. การสรางความเชื่อม่ันใหแกผูมีสวนเกี่ยวของและสถานประกอบการ

1. มีการศึกษาความตองการของตลาดแรงงานเพ่ือการพัฒนาหรือการปรับปรุงหลักสูตร

2. มีการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติที่เนนผูเรียนเปนสําคัญและนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน

3. มีการสงเสริม คิดคน งานวิจัย สิ่งประดิษฐ และพัฒนานวตกรรม ทั้งของครูและผูเรียน

4. มีการจัดหางบประมาณ เพ่ือสงเสริมใหมีวัสดุฝก เครื่องมือ อุปกรณ ใหพอเพียงแกการจัดการศึกษา

5. มีระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน นักศึกษา อยางมีคุณภาพ

6. มีการวางแผนการใชหองเรียน หองปฏิบัติการ อาคารฝกงาน และติดตามประเมินผลเพื่อปรับปรุงหองเรียน

หองปฏิบัติการ อาคารฝกงานใหสามารถใชไดอยางมีคุณภาพ

Page 8: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 8/57

7. มีการจัดการจัดสรรคุรุภัณฑื เครื่องมือ และอุปกรณของแตละวิชาชีพอยางเหมาะสม

8. มุงเนนการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมในตัวผูเรียน

3. การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่บรรลุเปาประสงคของหนวยงานตนสังกัด

1. มุงเนนการจัดการอาชีวศึกษาเพ่ือความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ

2. ผลิตและพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาเพ่ือสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ

3. พัฒนาศักยภาพกําลังคนดานการอาชีวศึกษาใหมีสมรรถนะ สอดคลองกับความตองการในการพัฒนาประเทศ

4. สรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมในดานการอาชีวศึกษา

5. สรางเสริมคุณภาพชีวิต เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

6. พัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา

4. การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่เปนแบบอยางที่ดี (Best Practice)

การประกวดสิ่งประดิษฐของคนรุนใหม ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

ความเปนมาและความสําคัญ

ในปจจุบันการขยายตัวทางดานเศรษฐกิจและภาวการณเปลี่ยนแปลงของสังคมเปนผลใหความ

เจริญทางดานเทคโนโลยีเจริญรุดหนาอยางรวดเร็ว ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีนโยบายที่จะเรง

พัฒนาคุณภาพการเรียน การสอนมุงเนนการสรางทักษะวิชาชีพดานความคิดวิเคราะหและสงเสริมใหนักเรียน

นักศึกษามีความรูความชํานาญสามารถประดิษฐคิดคนพัฒนาสรางผลงานใหกาวหนาในการคิดคนสิ่งประดิษฐ

ตางๆ โดยสามารถนําไปประยุกตใหเกิดประโยชนตอความเปนอยูที่ดีขึ้นของสังคมสวนงานตอไปจึงไดจัดใหมีการ

ประกวดส่ิงประดิษฐของคนรุนใหมขึ้นเปนประจําทุกป ตั้งแตปการศึกษา 2532 เปนตนมาถึงปการศึกษาปจจุบัน

นับเปนที่ 27 ซ่ึงผลงานสิ่งประดิษฐสวนใหญไดแสดงใหเห็นถึงภูมิปญญาทางดานวิทยาศาสตรและอุตสาหกรรม

ควบคูไปกับการอนุรักษฟนฟูธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สมควรอยางยิ่งที่จะไดรับการพัฒนาใหเขาสูความเปนฐาน

พรอมกับพัฒนานักศึกษาใหมีโอกาสไดแสดงออกอยางเต็ม ความสามารถเสริมลักษณะนิสัยอันพึงประสงคของ

สังคม เพ่ือใหสามารถทํางานรวมกับผูอื่นและแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณไดอยางกวางขวาง ผลงานสิ่ง

ประดิษฐของนักศึกษามีจํานวนมากที่สงเขารวมประกวดมีประโยชนตอสังคมสวนรวมสามารถนําไปใชในงานได

อยางมีคุณภาพ และไดรับความสนใจจากประชาชนรวมทั้งสื่อมวลชนเปนอยางสูง ผลงานที่นักศึกษาประดิษฐขึ้น

ไดรับการเผยแพรเปนท่ีประจักษแกสาธารณชนอยางตอเนื่อง โดยขณะนี้มีหลายหนวยงานใหความสนใจในผล

งานของนักศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และไดเชิญชวนใหสงผลงานเขารวมประกวด

หรือนําไปจัดแสดง

วัตถุประสงค

Page 9: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 9/57

1. เสริมสรางเยาวชนและอาชีวศึกษาใหเปนนักคิด นักประดิษฐ โดยอาศัยความรูดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร

และทักษะวิชาชีพ เปนพ้ืนฐานในการปฏิบัติคิดคน สิ่งประดิษฐ

2. สงเสริมใหเยาวชนและอาชีวศึกษาสามารถทํางานรวมกับผูอื่น มีความรับผิดชอบ กลาคิดกลาปฏิบัติอยางมี

เหตุผล และแลกเปลี่ยนความรูประสบการณไดอยางกวางขวาง

3. พัฒนาผลงานประดิษฐใหเขาสูความเปนมาตรฐาน สามารถนําไปใชงานไดอยางมีคุณภาพประหยัดและ

ปลอดภัย เนนการอนุรักษฟนฟูธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กรอบแนวคิด

เชิงปริมาณ

1. สรางพัฒนานักวิจัยสิ่งประดิษฐของคนรุนใหม ในกลุมอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม จํานวนไม

นอยกวา 300 คน

2. มีผลงานสิ่งประดิษฐของคนรุนใหมที่เขารวมกิจกรรมการประกวดในระดับจังหวัดนครปฐมของสถานศึกษา 11

แหง จํานวนไมนอยกวา 100 ผลงาน

3. มีผลงานสิ่งประดิษฐของคนรุนใหมเปนตัวแทนเขารวมกิจกรรมการประกวดในระดับภาคกลางจํานวน 36 ผล

งาน

เชิงคุณภาพ

1. มีจํานวนผลงานนวัตกรรมสิ่งประดิษฐของนักเรียน นักศึกษาในอาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐมที่มี

คุณภาพ และประสิทธิภาพไดมาตรฐาน สามารถน าไปประกวดผลงานสิ่งประดิษฐรุนใหมใน ระดับภาคกลาง

2. อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม มีนักวิจัย นักประดิษฐท่ีมีคุณภาพและสามารถสรางผลงานนวัตกรรมอื่นๆ ได

อยางหลากหลาย ครบทุกประเภทตามขอกําหนดของสิ่งประดิษฐของคนรุนใหม

วิธีการดําเนินงาน

ข้ันการวางแผน (Plan)

1. เสนอโครงการ/ขออนุมัติฯ

2. แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน

3.ประชุมฯ/ประสานงานผูท่ีเกี่ยวของ

ข้ันตอนการปฏิบัติ (Do)

Page 10: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 10/57

1. จัดทํารายการขอซ้ือ ขอจาง

2. ดําเนินการตามโครงการ

ข้ันตอนติดตามประเมินผล(Check)

1. แจกแบบสอบถาม

2. ประเมินผล/สรุปผลการปฏิบัติงาน

ข้ันนําผลไปใช (Action)

1. รายงานผลโครงการ

2. ปรับปรุง/นําผลไปใช

ผลการดําเนินงาน

1. นักเรียน นักศึกษาไดรับแรงจูงใจในการประดิษฐและสรางสรรคผลงาน

2. มีผลงานสิ่งประดิษฐเพิ่มมากข้ึน เปนผลงานที่มีคุณภาพไดมาตรฐานอุตสาหกรรม

3. ผลงานสิ่งประดิษฐไดรับการเผยแพรมากข้ึน มีการพัฒนาไปสูการใชงานจริง

4. ผลงานสิ่งประดิษฐท่ีไดสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนในทองถ่ิน

5. ไดทรัพยากรบุคคลท่ีมีพ้ืนฐานทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรองรับการขยายตัวทางดานเศรษฐกิจของ

ประเทศในอนาคต

6. วิทยาลัยเทคนิคนครปฐมไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 ระดับประเทศ ในการแขงขันการประกวดสิ่ง

ประดิษฐของคนรุนใหม และการแขงขันหุนยนตอาชีวศึกษา ระดับชาติ ประจําปการศึกษา 2561 ณ ศูนยการคา

เซียรรังสิต ประเภทท่ี 2 สิ่งประดิษฐดานการประกอบอาชีพ ไดแก เครื่องคั่วและกะเทาะเปลือกถั่วลิสง

ผลท่ีไดรับ

นักเรียนมีความกาวหนาในการสรางองคความรูเพ่ิมขึ้นอยางสมํ่าเสมอ การปฏิบัติกิจกรรมการสรางสิ่งประดิษฐ

ดวยความสนใจและตั้งใจ การมีปฏิสัมพันธที่ดีตอครูและเพ่ือนนักเรียน การมีสวนรวมและมีโอกาสในดําเนินการ

สรางสิ่งประดิษฐอยางท่ัวถึง การมีสวนรวมในการวางแผนการดําเนินการงาน กลาแสดงออก ถาม และตอบ

คําถาม อยางถูกตองและมีเหตุผล

Page 11: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 11/57

สวนที่ 2

ขอมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

2.1 ขอมูลพ้ืนเกี่ยวกับสถานศึกษา

ที่อยู

วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม เลขที่ 2 ถ.เพชรเกษม ต.พระประโทน อ.เมือง จ.นครปฐม 73000

โทรศัพท 034-395093-5 โทรสาร 034-289635

E-mail [email protected] Website http://www.nptc.ac.th

ประวัติสถานศึกษา

จัดตั้งเมื่อปพ.ศ.2481เดิมชื่อโรงเรียนชางไมนครปฐม ตั้งอยูบริเวณพระราชวังสนามจันทร ทาง ทิศใตของ

ศาลา กลางจังหวัดนครปฐมเปดสอนหลักสูตร อาชีวศึกษาชั้นตน ดานวิชาชางปลูกสรางรับนัก-เรียนจบชั้นประถม

ศึกษาปท่ี 4 เขาศึกษาตอ 3 ป

พ.ศ.2490 ไดยายโรงเรียนมาตั้งที่โรงงานชางทอผา ของโรงเรียนการชางสตรีนครปฐม บริเวณใกลวัดไผลอมซึ่งเปนที่

ตั้งของวิทยาลัยอาชีวนครปฐมในปจจุบัน

พ.ศ.2497 อาจารยประพันธ ปานทิพย ซึ่งเปนครูใหญในสมัยนั้นไดพิจารณาวาบริเวณที่ตั้งมีนอยมากไมเหมาะแก

การขยายการศึกษาในอนาคต จึงไดยายโรงเรียนไปตั้งใหมบริเวณแยกสนามจันทร ซึ่งเปนที่ตั้งของโรงเรียนสาธิต

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปจจุบัน

พ.ศ.2500 กรมอาชีวศึกษา ไดมีคําสั่งเปลี่ยนชื่อชางไมนครปฐมเปนโรงเรียนการชางนครปฐม แตยังคงเปดสอนวิชา

ชางไมปลูกสรางเพียงแผนกเดียว ซึ่งตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปนแผนกวิชาชางกอสราง

พ.ศ.2515 ทางราชการตองการท ี่ซึ่งโรงเรียนการชางนครปฐมและโรงเรียนเกษตรกรรมนครปฐม ตั้งเปน

มหาวิทยาลัยศิลปากร และโรงเรียนสาธิต คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงไดยายโรงเรียนมาตั้งใหม

บริเวณใกลวัดพระประโทนเจดียวรวิหาร ซึ่งเปนสถานที่อยูปจจุบันเชาที่วัด เปน รายปปละ 5,000 บาท (ปจจุบัน

ปละ 80,000 บาท)

พ.ศ.2519 กรมอาชีวศึกษา ไดมีคําสั่งใหโรงเรียนการชางนครปฐมยุบรวมกับโรงเรียนการชางสตรีนครปฐม แตยังคง

แยกกันอยูและใหเปลี่ยนชื่อใหมเปนวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม โดยโรงเรียนการชางใหวงเล็บตอทายวา วิทยาเขต

Page 12: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 12/57

1 และโรงเรียนการชางสตรี ตอทายวา วิทยาเขต 2

พ.ศ.2520 กรมอาชีวศึกษา ไดมีคําสั่งใหสองวิทยาเขตแยกออกจากกัน โดยตั้งเปนวิทยาลัย

วิทยาเขต1 ใหเปลี่ยนชื่อเปน วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม

วิทยาเขต2 ใหเปลี่ยนชื่อเปน วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม ดังเชนในปจจุบัน

วิทยาลัยเทคนิคนครปฐมเปนสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้ง

เม่ือป พ.ศ.2481 ในนามโรงเรียนชางไมนครปฐม ไดรับการพัฒนาปรับปรุงและยกฐานะเปนวิทยาลัยเมื่อป พ.ศ.

25522 ปจจุบันมีเนื่อท่ีรวม 35 ไร ตั้งอยูเลขที่ 2 ตําบลพระประโทน อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม รหัสไปรษณีย

73000 โทรศัพท 0-3439-5093-5 โทรสาร 0-3428-9635 หางจากตัวเมืองนครปฐม 4 กิโลเมตร และหางจาก

กรุงเทพมหานคร 50 กิโลเมตร

การจัดการศึกษา

วิทยาลัยเทคนิคนครปบม เปนสถานศึกาาที่เปดการเรียนการสอน 3 ระดับดวยกัน ดังนี้

1. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มีทั้งสิ้น 9 สาขาวิชาไดแก

1.1 สาขาวิชาชางยนต

1.2 สาขาวิชาชางกลโรงงาน

1.3 สาขาวิชาชางเชื่อมโลหะ

1.4 สาขาวิชาชางไฟฟากําลัง

1.5สาขาวิชาชางอิเล็กทรอนิกส

1.6 สาขาวิชาชางกอสราง

1.7 สาขาวิชาสถาปตยกรรม

1.8 สาขาวิชาชางวอมบํารุง

1.9 สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร

2.ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้รสูง (ปวส.) มีทั้งสิ้น 7 สาขาวิชาไดแก

2.1 สาขาวิชาเทคนิคเครื่องมือกล

2.2 สาขาวิชาเทคนิคการผลิต

2.3 สาขาวิชาเทคนิคโลหะ

Page 13: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 13/57

2.4 สาขาวิชาไฟฟา

2.5 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส

2.6 สาขาวิชาชางกอสราง

2.7 สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม

3. ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ (ทล.บ) มีทั้งสิ้น 1 สาขาวิชาไดแก

3.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟา (ตอเนื่อง)

สภาพชุมชน

นครปฐม เปนอูอารยธรรมสําคัญที่มีประวัติความเปนมายาวนานในแผนดินสุวรรณภูมิ จากหลักฐานทาง

ประวัติศาสตรกลาววา เมืองนครปฐมแตเดิมนั้นตั้งอยูริมทะเล เปนเมืองเกาแก มีความเจริญรุงเรืองมานับตั้งแตสมัย

สุวรรณภูมิ และเปนราชธานีสําคัญในสมัยทวารวดี ในยุคนั้น นครปฐมเปนแหลงเผยแพรอารยธรรมจากประเทศ

อินเดีย ซ่ึงรวมทั้งพุทธศาสนา นครปฐมจึงเปนศูนยกลางของความเจริญ มีชนชาติตาง ๆ อพยพเขามาตั้งถิ่นฐานอยู

เปนจํานวนมาก ตอมาไดเกิดความแหงแลงข้ึนในเมืองนครปฐม เพราะกระแสนํ้าที่ไหลผานตัวเมืองเปลี่ยนเสนทาง

ประชาชนจึงอพยพไปตั้งหลักแหลงอยูริมนํ้า และสรางเมืองใหมขึ้นชื่อ “เมืองนครไชยศรี” หรือ “ศรีวิชัย” นครปฐม

จึงกลายเปนเมืองรางมาเปนเวลาหลายรอยป จนกระท่ังพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ขณะที่ทรงยังผนวช

ไดธุดงคไปพบพระปฐมเจดีย และทรงเห็นวาเปนเจดียองคใหญไมมีที่ใดเทียบเทา ครั้นเมื่อไดครองราชย จึงโปรดฯ

ใหกอเจดียแบบลังกาครอบองคเดิมไว โดยใหชื่อวา “พระปฐมเจดีย” ทรงปฏิสังขรณสิ่งตาง ๆ ในบริเวณองคพระ

ปฐมเจดียใหมีสภาพดี และโปรดฯ ใหขุดคลองเจดียบูชาเพื่อใหการเสด็จมานมัสการสะดวกขึ้น

ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดเริ่มกอสรางทางรถไฟสายใตผานเมือง นครปฐม ซึ่งขณะ

น้ันยังเปนปารก พระองคจึงโปรดฯ ใหยายเมืองจากตําบลทานา อําเภอนครชัยศรี มาตั้งที่บริเวณองคพระปฐมเจดีย

เหมือนเชนครั้งสมัยโบราณครั้งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว โปรดฯ ใหสรางพระราชวังสนาม

จันทร เปนที่เสด็จแปรพระราชฐานและฝกซอมรบแบบเสือปา โดยโปรดฯ ใหตัดถนนเพิ่มขึ้นอีกหลายสาย รวมทั้ง

สรางสะพานเจริญศรัทธาขามคลองเจดียบูชาเชื่อมระหวางสถานีรถไฟกับองคพระปฐมเจดีย ตลอดจนสราง พระรวง

โรจนฤทธิ์ทางดานทิศเหนือขององคพระปฐมเจดียและบูรณะองคพระปฐมเจดียใหสมบูรณสวยงามดังที่เห็นอยูใน

ปจจุบัน และไดโปรดใหเปลี่ยนชื่อจากเมือง “นครไชยศรี” เปน “นครปฐม"

ภูมิศาสตร

จังหวัดนครปฐมตั้งอยูบริเวณลุมแมน้ําทาจีน ซึ่งเปนพ้ืนที่บริเวณที่ราบลุมภาคกลาง โดยหนวยงานบางแหง เชน

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กําหนดใหจังหวัดนครปฐมอยูภาคตะวันตก จังหวัดนี้ตั้งอยู

Page 14: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 14/57

ระหวางเสนละติจูดท่ี 13 องศา 45 ลิปดา 10 พิลิปดา เสนลองจิจูดที่ 100 องศา 4 ลิปดา 28 พิลิปดา มีพื้นที่

2,168.327 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,355,204 ไร เทากับ รอยละ 0.42 ของประเทศ และมีพื้นที่เปนอันดับที่ 62

ของประเทศ อยูหางจากกรุงเทพมหานครไปตามเสนทางถนนเพชรเกษม 56 กิโลเมตร หรือตามเสนทางถนนบรม

ราชชนนี 51 กิโลเมตร และตามเสนทางรถไฟ 62 กิโลเมตร

จังหวัดที่ติดตอกับจังหวัดนครปฐม วนตามเข็มนาิกาจากทิศเหนือ ไดแก จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา จังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดราชบุรี และจังหวัดกาญจนบุรี

สัญลักษณประจําจังหวัด

ตัวอักษรยอ: นฐ

ตราประจําจังหวัด: รูปพระปฐมเจดีย ประดับดวยเครื่องหมายเลข 4 ไทยในพระมหาพิชัยมงกุฎ

คําขวัญประจําจังหวัด: สมโอหวาน ขาวสารขาว ลูกสาวงาม ขาวหลามหวานมัน สนามจันทรงามลน พุทธมณฑลคู

ธานี พระปฐมเจดียเสียดฟา สวยงามตาแมนํ้าทาจีน

พันธุไมมงคลพระราชทานประจําจังหวัด: จันทนชะมดชนิด Mansonia gagei หรือจันทนหอม

ตนไมประจําจังหวัด: จัน (Diospyros decandra)

ดอกไมประจําจังหวัด: แกว (Murraya paniculata)

สัตวน้ําประจําจังหวัด: กุงกามกราม (Macrobrachium rosenbergii)

การเมืองการปกครอง

นครปบมแบงหนวยการปกครองเปน 2 แบบดวยกัน โดยมี นายชาญนะ เอ่ียมแสง ปฏิบัติหนาที่ผูวาราชการจังหวัด

นครปฐม (1 ตุลาคม 2560 - ปจจุบัน) ดังนี้

1.การปกครองสวนภูมิภาค

การปกครองสวนภูมิภาคในจังหวัดนครปฐม แบงออกเปน 7 อําเภอ ประกอบดวย 106 ตําบล และ 930 หมูบาน

โดยอําเภอตาง ๆ มีดังน้ี

1 อําเภอเมืองนครปฐม มีประชากร 280,695 คน

2 อําเภอกําแพงแสน มีประชากร 129,548 คน

3 อําเภอนครชัยศรี มีประชากร 111,475 คน

4 อําเภอดอนตูม มีประชากร 48,788 คน

5 อําเภอบางเลน มีประชากร 93,862 คน

6 อําเภอสามพราน มีประชากร 211,223 คน

7 อําเภอพุทธมณฑล มีประชากร 41,462 คน

Page 15: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 15/57

2.การปกครองสวนทองถิ่น

พ้ืนท่ีจังหวัดนครปฐมประกอบดวยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 117 แหง แบงตามประเภทและอํานาจบริหารจัดการ

ภายในทองที่ไดเปน องคการบริหารสวนจังหวัด 1 แหง เทศบาลนคร 1 แหง เทศบาลเมือง 4 แหง เทศบาลตําบล

18 แหง และองคการบริหารสวนตําบล 93 แหง

สภาพเศรษฐกิจ

ภาพรวมเศรษฐกิจ

ขอมูลผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product: GPP) ณ ราคาประจําป 2558 เทากับ

300,221 ลานบาท มีมูลคาเพิ่มข้ึนจากป 2557 จํานวน 22,135 ลานบาท และมีผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดตอ

ประชากร (GPP per capita) เทากับ 288,820 บาท คิดเปนลําดับที่ 10 ของประเทศ และสูงสุดในกลุมภาคกลาง

ตอนลาง 1 สาขาที่มูลคาสูงสุดและมีความสําคัญในการสรางรายไดใหกับจังหวัด 3 ลําดับแรก มีสาขาการผลิตที่

สําคัญอันดับที่ 1 คือ สาขาอุตสาหกรรม มีสัดสวนรอยละ 55.30 มีคาเทากับ 166,023 ลานบาท รองลงมาอันดับที่

2 คือ สาขาการขายสง การขายปลีกฯ มีสัดสวนรอยละ 10.91 มีคาเทากับ 32,749 ลานบาท และอันดับที่ 3 สาขา

การศึกษา มีสัดสวนรอยละ 9.30 มีคาเทากับ 27,931 ลานบาท มีพ้ืนที่เกษตรกรรม จํานวนทั้งสิ้น 729,880 ไร คิด

เปนประมาณรอยละ 53.86 ของพื้นที่ท้ังจังหวัด การเกษตรเปนสาขาการผลิตที่สําคัญของจังหวัดนครปฐม

ประชากรสวนใหญรอยละ 23.59 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาชีพสําคัญ ไดแก การทํานา ทําไร ทําสวนผลไม

และพืชผัก การเลี้ยงสัตวและการทําการประมง ไดแก การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า ระบบการเกษตรในจังหวัดนครปฐม จัด

เปนเขตเกษตรกาวหนา เพราะมีระบบชลประทานที่ดี โดยอาศัยแหลงนํ้าจากลุมแมนํ้าเจาพระยา ทาจีน และแม

กลอง ประกอบกับเกษตรกรจังหวัดนครปฐมมีศักยภาพสูงสามารถเรียนรูวิทยาการแบบใหม ๆ และมีการใช

เทคโนโลยีภาคการเกษตรที่พัฒนามากขึ้น การเกษตรกรรมของจังหวัดมีความเปนไปไดสูงตอการวางแผนจัดระบบ

การผลิตเพ่ือเชื่อมโยงการสงออก

ภาคเกษตร

การเพาะปลูก จังหวัดนครปฐมมีพ้ืนที่เพาะปลูกแยกเปนพื้นที่ใชทํานาป จํานวน 334,211 ไร ทํา

นาปรัง จํานวน 199,203 ไร พืชไร จํานวน 101,034 ไร พืชสวน จํานวน 151,847 ไร อําเภอที่มีพื้นที่เพาะปลูก

มากท่ีสุดคือ อําเภอบางเลน อําเภอกําแพงแสน และอําเภอเมือง

พืชเศรษฐกิจที่สําคัญ ไดแก

ขาว จังหวัดนครปฐมมีการทํานาปละ 2 ครั้ง คือ ขาวนาปและขาวนาปรัง โดยขาวนาปเปนขาวเพาะ

ปลูกในชวงเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม และจะเก็บเกี่ยวในชวงเดือนสิงหาคม-มกราคม สวนขาวนาปรังเปนขาวที่เพาะ

Page 16: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 16/57

ปลูกในชวงเดือนพฤศจิกายน-เมษายน และจะเก็บเกี่ยวในชวงเดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม

แตเน่ืองจากจังหวัดนครปฐมมีระบบชลประทานที่สมบูรณ จึงสามารถปลูกขาวไดตอเนื่องตลอดป คือสามารถปลูกได

2 ป 5 ครั้ง

ผลไม การทําสวนผลไมนับเปนอาชีพหน่ึงที่ราษฎรทําการเพาะปลูกมาก ประกอบดวย มะพราวนํ้าหอม

สมโอ มะมวง ฝรั่ง ชมพู มะนาว กลวยนํ้าวา กลวยหอม ลําไย ฯลฯ สําหรับผลไมที่มีชื่อเสียงของจังหวัดมีผลผลิต

รวมประมาณ 106,660.46 ตัน เน้ือที่เพาะปลูก จํานวน 73,802 ไร ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 1,970 กิโลกรัม

พืชผัก มีการปลูกกันทั่วไป นอกจากจะใชบริโภคภายในจังหวัดนครปฐมแลว ยังสงไปจําหนายยัง

จังหวัดขางเคียงและกรุงเทพฯ เชน หนอไมฝรั่ง ขาวโพดฝกออน คะนา มีผลผลิตผักรวมประมาณ 97,849.55 ตัน

เน้ือท่ีเพาะปลูก จํานวน 58,253 ไร ผลผลิตเฉลี่ยตอไร จํานวน 3,137 กิโลกรัม

การปศุสัตว

การเลี้ยงสัตวเพ่ือการบริโภคและการคา สัตวที่นิยมเลี้ยง (สํานักงานปศุสัตวจังหวัดนครปฐม ป

พ.ศ.2559)

ตาราง 1-9 ประเภทสัตวและจํานวนเกษตรกรผูเลี้ยง

ลําดับท่ี ประเภทสัตว จํานวน (ตัว) เกษตรกร (ราย)

1 สุกร 182,478 677

2 โคนม 22,557 728

3 โคเนื้อ 39,748 2,190

4 ไกเน้ือ 4,270,777 6,412

5 ไกไข 4,534,766 5,246

6 เปดเนื้อ 1,181,742 588

7 เปดไข 666,616 921

การประมง

จังหวัดนครปฐมมีเกษตรกรประกอบอาชีพประมงนํ้าจืดเปนสวนใหญ ผลผลิตของสาขาประมงโดยทั่วไปไดจากการ

เพาะเลี้ยงสัตวนํ้ามีเกษตรกรดานการประมงทั้งสิ้น จํานวน 6,926 ราย พ้ืนที่ทํา

การประมงมีจํานวนท้ังสิ้น 67,925 ไร สัตวนํ้าที่นิยมเลี้ยง ไดแก กุงกามกราม กุงขาว ปลานํ้าจืด ปลาสวยงาม

จระเข และสัตวนํ้าอื่นๆ ตามลําดับ มีผูประกอบการดานการประมง ทั้งสิ้น 198 ราย ประกอบดวย ผูคาปจจัยการ

ผลิต/ ผูคา ผูรวบรวม สัตวน้ํา/แพปลา ทาข้ึนปลา/โรงงานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑสัตวนํ้า/กลุมและผูแปรรูปสัตวนํ้า/

ผูนําเขา ผูสงออกสัตวน้ําและผลิตภัณฑสัตวนํ้า โครงสรางการผลิต ประกอบดวยกิจกรรมการเลี้ยงปลานํ้าจืดทุกชนิด

Page 17: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 17/57

(ปลานิล ปลาตะเพียน ปลายี่สก ปลาดุก ฯลฯ) รอยละ 75.9 รองลงมาคือการทําฟารมเลี้ยงกุงขาว กุงกามกราม

รอยละ 22.6 สวนการเพาะพันธุปลาและกุงมีสัดสวนรอยละ 1.6 ซึ่งมาจากกิจกรรม

การเพาะพันธุและอนุบาลกุงทะเลกุงกามกราม ปลานํ้าจืด สัตวนํ้าสวยงามและสัตวนํ้าอ่ืน ๆ ในป 2559 พบวามี

จํานวนครัวเรือนทําการประมงจากการจับ จํานวน 2,478 ครัวเรือน ประเมินวามีผลผลิตจากการลงแรงทําการ

ประมงในป 2559 จํานวน 105,533 กิโลกรัม คิดเปนมูลคา 5,193,568 กิโลกรัม ชนิดสัตวนํ้าสําคัญที่จับได

ประกอบดวย กุงกามกราม ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาชอน และปลาดุก โดยผลผลิตเกือบทั้งหมดเพื่อการบริโภค มี

เพียงประมาณรอยละ 19 ของน้ําหนักที่จับไดนําไปจําหนายเปนรายไดครัวเรือน

ภาคอุตสาหกรรม

ในป พ.ศ. 2560 จังหวัดนครปฐมมีโรงงานจํานวนทั้งสิ้น 3,325 แหง จํานวนเงินลงทุนประมาณ 116,480.80

ลานบาท การจางงาน 163,814 คน เปนชาย 82,435 คน เปนหญิง 81,358 คน กําลังการผลิตทั้งสิ้น 4,538,665

แรงมา โดยมีจํานวนโรงงานแยกตามหมวดอุตสาหกรรม ป พ.ศ. 2560 ดังนี้

1. อุตสาหกรรมการเกษตร 161 แหง

2. อุตสาหกรรมการอาหาร 412 แหง

3. อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม 58 แหง

4. อุตสาหกรรมสิ่งทอ 253 แหง

5. อุตสาหกรรมเครื่องแตงกาย 58 แหง

6. อุตสาหกรรมเครื่องหนัง 16 แหง

7. อุตสาหกรรมไมและผลิตภัณฑจากไม 98 แหง

8. อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรและเครื่องเรือน 52 แหง

9. อุตสาหกรรมกระดาษและผลิตภัณฑจากกระดาษ 55 แหง

10. อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ 51 แหง

11. อุตสาหกรรมเคมี 306 แหง

12. อุตสาหกรรมปโตรเคมีและผลิตภัณฑ 8 แหง

13. อุตสาหกรรมยาง 63 แหง

14. อุตสาหกรรมพลาสติก 406 แหง

15. อุตสาหกรรมอโลหะ 159 แหง

16. อุตสาหกรรมโลหะ 74 แหง

17. อุตสาหกรรมผลิตภัณฑโลหะ 309 แหง

18. อุตสาหกรรมเครื่องจักรกล 89 แหง

19. อุตสาหกรรมไฟฟา 130 แหง

Page 18: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 18/57

20. อุตสาหกรรมขนสง 200 แหง

21. อุตสาหกรรมอื่น ๆ 367 แหง

รวม 3,325 แหง

การพาณิชยกรรม

จังหวัดนครปฐมเปนศูนยกลางทางการคาของภูมิภาคตะวันตกและเปนชุมทางการขนสง

การขนถายสินคามายาวนาน โดยทางรถไฟ รถยนต และการขนสงสินคาเกษตรทางนํ้าเพื่อเขาสูตลาดกรุงเทพฯ รวม

ท้ังมีความไดเปรียบทางดานทําเลท่ีตั้งประกอบกับโครงสรางพ้ืนฐานของจังหวัดมีการพัฒนาการเกษตรในทุกดาน จึง

กอใหเกิดการลงทุนอุตสาหกรรมตอเนื่องจากการเกษตรไดเปนอยางดี และรวดเร็ว ทําใหโครงสรางทางเศรษฐกิจของ

จังหวัดกระจายไปสูสาขาตางๆ และมีความมั่นคง จนกลายเปนศูนยกลางทางพาณิชยกรรม

มีทุนจดทะเบียนรวมท้ังสิ้น 90,076,572,540 บาท แยกเปนขอมูลนิติบุคคล ประจําป 2560 ดังนี้

(1) นิติบุคคลจัดตั้งใหม ทั้งหมด 78 ราย ทุนจดรวม 91.25 ลานบาท แยกเปน

- บจก. 61 ราย ทุนจด 76.60 ลานบาท

- หจก. 17 ราย ทุนจด 14.65 ลานบาท

ประเภทธุรกิจจัดตั้งใหมสวนใหญเปน ธุรกิจคาสง/คาปลีก 28 ราย, ธุรกิจภาคบริการ 17 ราย ธุรกิจ

อุตสาหกรรม และรับเหมากอสราง 8 ราย ตามลําดับ

(2) นิติบุคคลเลิกกิจการ ท้ังหมด 15 ราย ทุนจดรวม 123.38 ลานบาท

- บจก. 15 ราย ทุนจด 123.38 ลานบาท

ประเภทธุรกิจเลิกกิจการสวนใหญเปน ธุรกิจภาคบริการ , ธุรกิจอุตสาหกรรม , และรับเหมากอสรางตามลําดับ สวน

ธุรกิจคาสง/ปลีก ยังไมมีการจดทะเบียนเลิกกิจการ

(3) นิติบุคคลคงอยู ณ ปจจุบัน ท้ังหมด 10,210 ราย ทุนจดรวม 90,076,572,540 บาท แยกเปน

- หางหุนสวนสามัญ (หส.) 11 ราย ทุนจด 39.30 ลานบาท

- หจก. 2,659 ราย ทุนจด 4,565.56 ลานบาท

- บจก. 7,650 ราย ทุนจด 7649.89 ลานบาท

การเงิน การคลัง และการธนาคาร

1) การเงิน การคลัง

ในเดือนพฤษภาคม 2560 พบวา ผลการเบิกจายเงินงบประมาณมีจํานวนเงินทั้งสิ้น 419.6 ลานบาท ตํ่ากวาเดือน

เดียวกันของปกอนคิดเปนรอยละ -44.9 สําหรับผลการจัดเก็บรายไดมีจํานวนทั้งสิ้น 4,511.8 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอย

ละ 6.6 เม่ือเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เปนผลมาจากหนวยงานจัดเก็บภาษี และนําสงรายไดเพิ่มขึ้น โดย

สํานักงานสรรพสามิตพ้ืนที่นครปฐม จัดเก็บภาษีเพิ่มข้ึนรอยละ 19.1 และหนวยงานอ่ืนจัดเก็บภาษีเพิ่มขึ้นรอยละ

Page 19: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 19/57

103.2 และสําหรับดุลเงินงบประมาณในเดือนพฤษภาคม 2560 เกินดุล จํานวน 3,469.6 ลานบาท

2) เงินฝากและเงินสินเชื่อ

ในป พ.ศ. 2559 จังหวัดนครปฐมมีเงินฝากรวมทั้งสิ้น 243,699.86 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของป

2558 จํานวน 9,864.66 ลานบาท คิดเปนรอยละ 4.2 สวนเงินสินเชื่อมีจํานวน 154,403.56 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก

เดือนเดียวกันป 2558 จํานวน 2,222.54 ลานบาท คิดเปนรอยละ 71.5 เงินฝากขยายตัวสูงกวาสินเชื่อเนื่องจาก

ธนาคารสวนใหญใชกลยุทธบริหารตนทุนดอกเบ้ีย เพ่ือประคองสวนตางอัตราดอกเบี้ยในจังหวะที่สินเชื่อเติบโตใน

อัตราท่ีชะลอลง เปนผลมาจากการบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชนมีทิศทางทรงตัวอยูในระดับตํ่า

3) การประกันภัย

ในป พ.ศ.๒๕๕8 จังหวัดนครปฐมมีขอมูลสาขาบริษัทประกันภัย ดังนี้ การประกันวินาศภัย

3.1) สาขา จํานวน 22 บริษัท รวม 23 สาขา สาขายอย จํานวน 2 บริษัท รวม 2 สาขา และสาขาเฉพาะเพื่อการ

ชดใชคาสินไหมทดแทน จํานวน 5 บริษัท รวม 5 สาขา

3.2) ศูนยบริการบริษัท จํานวน 3 บริษัท รวม ๓ สํานักงาน - ตัวแทนประกันวินาศภัย จํานวน 12 บริษัท รวม 31

สํานักงาน - นายหนาประกันวินาศภัยบุคคล จํานวน 4 สํานักงาน

4) การประกันชีวิต

4.1) สาขาของบริษัทประกันชีวิต จํานวน 8 บริษัท รวม 12 สาขา

4.2) ตัวแทนประกันชีวิต จํานวน 3 บริษัท รวม 18 สํานักงาน

ดานแรงงาน

1) ขอมูลทั่วไปดานแรงงาน

จากขอมูลตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดนครปฐม พบวาอัตราการวางงานของจังหวัดอยูที่รอยละ 0.60 ในป พ.ศ.

2560 และรอยละ 0.20 ในปพ.ศ. 2559 ซึ่งพบวาอยูในเกณฑที่ดีกวาคาเฉลี่ยของประเทศ (รอยละ 1.65 ในป พ.ศ.

2560 และรอยละ 0.98 ในป พ.ศ. 2559 ตามลําดับ) ผูอยูในกําลังแรงงานมีจํานวน 653,138 คน จําแนกเปน

- ผูมีงานทํา 651,305 คน (รอยละ 99.72 ของผูอยูในกําลังแรงงาน)

- ผูวางงาน 1,833 คน (รอยละ 0.28 ของผูอยูในกําลังแรงงาน)

- ผูที่รอฤดูกาล - คน

2) สถานประกอบกิจการและลูกจาง

ในป พ.ศ. 2560 จังหวัดนครปฐมมีสถานประกอบกิจการทั้งหมด 7,094 แหง มีจํานวนลูกจางทั้งหมด

212,113 คน ในจํานวนน้ีเปนสถานประกอบกิจการขนาดใหญมีลูกจาง 1,000 คนขึ้นไป จํานวน 16 แหง มีจํานวน

ลูกจาง 27,353 คน

3) ผูสมัครงาน ตําแหนงงานวาง และการบรรจุงาน

ในป พ.ศ. 2559 จังหวัดนครปฐมมีสถิติผูสมัครงานจํานวนทั้งสิ้น 4,052 คน ตําแหนงงานวางจํานวน 7,084 อัตรา

Page 20: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 20/57

การบรรจุงานจํานวนท้ังสิ้น 6,164 คน

4) การบริหารแรงงานไทยไปตางประเทศและคุมครองคนหางาน

ในป 2559 จังหวัดนครปฐมมีผูเดินทางไปทํางานตางประเทศ รวมทั้งสิ้น 51 คน เปนการเดินทางไปดวยตนเอง

จํานวน 3 คน แจงเดินทางดวย RE-ENTRY VISA จํานวน 48 คน และท่ีแรงงานไทยไปทํางานในสวนใหญจะใน

ภูมิภาคเอเชีย ไดแก อินโดนีเซีย อินเดีย และสาธารณรัฐเกาหลี

5) การควบคุมการทํางานของคนตางดาว

ในป พ.ศ. 2559 จังหวัดนครปฐมมีคนตางดาวขออนุญาตทํางาน จําแนกตามประเภทการไดรับอนุญาตทํางาน คง

เหลือ ป พ.ศ. 2559 จํานวน 94,790 คน นายจาง 23,798 คน

สภาพสังคม

การศึกษา

จังหวัดนครปฐมเปนจังหวัดหนึ่งที่มีความพรอมทางการจัดการศึกษา กลาวคือ มีสถานศึกษาทุกระดับที่

จะใหบริการทางการศึกษาแกเด็ก เยาวชน และประชาชนในจังหวัดนครปฐมอยางพอเพียงตั้งแตระดับ

กอนประถมศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษา โดยมีสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ทําหนาที่ในการกํากับดูแล สํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๑ รับผิดชอบดูแลสถานศึกษาในพื้นที่อําเภอเมืองนครปฐม

กําแพงแสน และดอนตูม และสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๒ รับผิดชอบดูแลสถาน

ศึกษาในพื้นที่อําเภอนครชัยศรี บางเลน สามพราน และพุทธมณฑล

นอกจากน้ี ยังมีสถาบันอุดมศึกษาอีกหลายแหง ประกอบดวย มหาวิทยาลัยคริสเตียน มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต

ของมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วิทยาเขตของ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร และโรงเรียนนายรอย

ตํารวจ

ในดานการศึกษาจังหวัดนครปฐมมีสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๑

รับผิดชอบดูแลสถานศึกษาในพ้ืนที่อําเภอเมืองนครปฐม กําแพงแสน และดอนตูม และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษานครปฐม เขต ๒ รับผิดชอบดูแลสถานศึกษาในพ้ืนที่อําเภอนครชัยศรี บางเลน สามพราน และพุทธ

มณฑล

ในป พ.ศ.๒๕๕9 จังหวัดนครปฐมมีสถานศึกษาจํานวน 367 แหง แยกเปนสถานศึกษาในพื้นที่

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) จํานวน 277 แหง สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษา

Page 21: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 21/57

เอกชน (สช.) จํานวน 43 แหง สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา(สอศ.) จํานวน 11 แหง สํานักงานคณะ

กรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จํานวน 5 แหง สํานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม จํานวน 7 แหง สวนราชการอื่นๆ

จํานวน 24 แหง (ที่มา: ขอมูลสารสนเทศทางการศึกษา ปการศึกษา 2559 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม)

การสาธารณสุข

ในป พ.ศ. 2559 จังหวัดนครปฐมมีโรงพยาบาลในกํากับของรัฐ จํานวน 12 แหง โรงพยาบาล/

สถานบริการเอกชน จํานวน 4 แหง โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงอื่น จํานวน 1 แหง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ

ประจําตําบล จํานวน 134 แหง

จังหวัดนครปฐมมีบุคลากรดานสาธารณสุขสังกัดภาครัฐและเอกชน แยกเปน แพทย รวม 509 คน ทันตแพทย รวม

ท้ังสิ้น 50 คน เภสัชกร รวมทั้งสิ้น 172 คน

การศาสนา

จังหวัดนครปฐม ในป 2559 มีวัด จํานวน 227 แหง สํานักสงฆ 2 แหง ที่พักสงฆ 2 แหง วัดราง 14 แหง

และพระอารามหลวง 5 แหง มีโปรเตสแตนท 23 แหง คาธอลิก 6 แหง และมีมัสยิดปากีสถาน (ปาทาน) 1 แหง

วัฒนธรรม/ประเพณี

จังหวัดนครปฐม มีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และการละเลนพ้ืนเมืองสําคัญที่นิยมปฏิบัติสืบทอดกันมาแต

โบราณจนถึงปจจุบัน รวมถึงงานท่ีจัดขึ้นเปนประจําทุกป ดังนี้

งานนมัสการองคพระปฐมเจดีย

งานประเพณีท่ีมีมาแตโบราณ จัดขึ้นระหวางวันข้ึน 12 คํ่า ถึงแรม 4 ค่ํา เดือน 12 ของทุกป บริเวณองคพระปฐม

เจดีย เพ่ือบูชาพระบรมสารีริกธาตุและรวมกันบริจาคทรัพยบํารุงรักษาองคพระปฐมเจดีย ใหมั่นคงสืบตอไป ภายใน

งานจะมีการออกรานจําหนายสินคาพื้นเมืองและการแสดงมหรสพตางๆ

งานเทศกาลอาหาร ผลไม และของดีนครปฐม

จัดข้ึนในชวงเทศกาลตรุษจีน ปลายเดือนมกราคมถึงตนเดือนกุมภาพันธของทุกป บริเวณองคพระปฐมเจดีย เพื่อ

เปนการประชาสัมพันธเผยแพรผลิตภัณฑดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่มีชื่อเสียงของจังหวัด เชน สมโอ

มะพราวน้ําหอม ฝรั่ง และกลวย เปนตน สวนผลิตภัณฑอื่นๆ ไดแก กุนเชียง หมูแผน หมูหยอง หมูหัน ขาวหลาม

ฯลฯ รวมท้ังอาหารโตะจีนที่ข้ึนชื่อ ตลอดจนสินคาทางอุตสาหกรรมอื่นๆ โดยในงานจะมีการประกวดผลผลิตดาน

การเกษตรประเภทตางๆ

Page 22: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 22/57

งานมหาธีรราชเจารําลึก มหกรรมวัฒนธรรมจังหวัดนครปฐม

จัดข้ึนในชวงเทศกาลปใหม ระหวางวันที่ 1-7 มกราคมของทุกป ณ บริเวณองคพระปฐมเจดีย เริ่มจัดเมื่อป

พุทธศักราช 2545 จนถึงปจจุบัน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

และสืบสานวัฒนธรรมไทย ในงานดังกลาวจะมีกิจกรรมการประกวดตางๆ การแสดงทางวัฒนธรรมพื้นบาน และ

การแสดงทางวัฒนธรรมของนักเรียน นิทรรศการพระราชประวัติพระราชกรณียกิจรัชกาลที่ 6 และกิจกรรมอื่นๆ อีก

มากมาย การจําหนายสินคาทางวัฒนธรรม ศูนยอาหารของดีจังหวัดนครปฐมตลอดจนการจําหนายสินคาตาง ๆ

ประเพณีการแหผาหมองคพระปฐมเจดีย

การนมัสการองคพระปฐมเจดียที่พุทธศาสนิกชนนิยมกระทํา ไดแก การบูชาดวยดอกไม ธูป เทียน ในวันธรรมดาเปน

ปกติ และในวันสําคัญทางศาสนา เชน วันวิสาฃบูชา วันมาฆบูชา จะมีการบูชาดวยการเดินเวียนเทียนทักษิณาวัตร

รอบองคพระปฐมเจดีย เพ่ือเปนการทําใหจิตใจสงบ

ประเพณีลอยกระทง

ตรงกับชวงงานเทศกาลนมัสการองคพระปฐมเจดีย จึงนับไดวาเปนสวนหน่ึงของงานองคพระปฐมเจดียดวย ใน

วันลอยกระทงคืนวันเพ็ญเดือน 12 นี้ มีประชาชนมาเที่ยวงานอยางคับค่ังมากกวาวันอื่นๆ เปนประจําทุกป จัดใหมี

พิธีลอยกระทงบริเวณคลองเจดียบูชาทางดานสะพานเจริญศรัทธา

ประเพณีแหธงสงกรานต

เปนประเพณีพ้ืนบานและเปนสวนหน่ึงของงานเทศกาลสงกรานต ซึ่งปฏิบัติสืบทอดกันมาชานานในหมูคนไทยเชื้อ

สายลาวครั่ง บริเวณเขตตําบลโพรงมะเดื่อ อําเภอเมืองนครปฐม และในตําบลหวยดวน ตําบลดอนรวก ตําบลลําเหย

อําเภอดอนตูม การแหธงสงกรานตเปนประเพณีเกี่ยวกับพุทธศาสนาที่ปฏิบัติแตกตางไปจากคนไทยกลุมอื่นในชวง

เทศกาลของทุกป

ประเพณีการแขงเรือยาว

เปนงานประเพณีที่จัดขึ้นเปนประจําทุกป บริเวณลุมแมนํ้านครชัยศรี (แมนํ้าทาจีน) หนาวัดบางพระ อําเภอ

นครชัยศรี ประมาณชวงออกพรรษา โดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานโลรางวัลแกทีมชนะเลิศ

นอกจากน้ัน ตั้งแตวันแรม 1 ค่ํา เปนตนไป เปนเวลา 1 เดือน จะมีการแขงเรือในวันทอดกฐินตามวัดตางๆ ที่ตั้งอยู

ริมแมน้ํา ซ่ึงในชวงดังกลาววัดตางๆ จะมีการทอดกฐินหรือถวายผาไตรจีวรพรอมเครื่องอัฐบริขารแดพระภิกษุสงฆ

อันเปนประเพณีสืบตอกันมาตั้งแตสมัยโบราณ

การสวัสดิการสังคม

ป พ.ศ. 2559 จังหวัดนครปฐม มีจํานวนสถานประกอบการข้ึนทะเบียน ทั้งสิ้น 7,886 ราย สูงกวาป พ.ศ.

2558 และ 2557 คิดเปนรอยละ 0.70, 2.19 และรอยละ 2.73 ตามลําดับ และสําหรับลูกจางที่ขึ้นทะเบียนประกัน

ตนในป พ.ศ.2559 มีจํานวนท้ังสิ้น 215,926 ราย สูงกวาป พ.ศ. 2558 และ 2557 คิดเปนรอยละ 9.44, 1.50

Page 23: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 23/57

และรอยละ 4.44 ตามลําดับ

อาชญากรรม

จังหวัดนครปฐมมีกลุมความผิดในคดีอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญของจังหวัดเกิดขึ้น จํานวน 67 ราย จับกุมได

จํานวน 57 ราย

ยาเสพติด

ผลการจับกุมคดียาเสพติดในป พ.ศ. 2559 มีจํานวนรวมทั้งสิ้น 1,548 คดี โดยคดีที่มีจํานวนมากที่สุด ยังคง

เปนคดียาบา มีผลการจับกุม จํานวน 1.207 คดี รองลงมาคือ คดียาไอซมีผลการจับกุม จํานวน 247 คดี คดีกัญชา

แหง จํานวน 55 คดี และคดีพืชกระทอม จํานวน 28 คดี ตามลําดับ จํานวนผูตองหารวมทั้งสิ้น 1,626 คน นํ้าหนัก

รวมทั้งสิ้น 1,022.74 กิโลกรัม

การสาธารณภัย

จังหวัดนครปฐมเปนจังหวัดท่ีมีสาธารณภัยตางๆ เกิดข้ึนไมมากนัก ทั้งนี้ สาธารณภัยที่เกิดขึ้น

สวนใหญ ไดแก อุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย ภัยแลง และอุบัติเหตุทางถนน

คดีอุบัติเหตุทางถนน

1) สถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนน ป 2560 มีผูเสียชีวิต 141 ราย การเกิดอุบัติเหตุทั้งหมด 4,768 ครั้ง

2) ศูนยปฏิบัติการรวมปองกันและลดอุบัติเหตุทางถนนชวงเทศกาลเทศกาลปใหม ประจําป 2560 จังหวัดนครปฐม

ไดสรุปผลการปฏิบัติงานวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซึ่งเปนวันที่ 3 ของการรณรงค “ขับรถมีนํ้าใจ รักษาวินัยจราจร”

เกิดอุบัติเหตุ 7 ครั้ง มีผูบาดเจ็บ 9 คน มีผูเสียชีวิต 2 ราย อําเภอที่มีผูบาดเจ็บในวันที่ 3 ของการรณรงค ไดแก

อําเภอเมืองนครปฐม 4 ราย รองลงมาอําเภอพุทธมณฑล อําเภอกําแพงแสน 2 ราย และอําเภอสามพราน 1 ราย

รวมสามวันของการรณรงค เกิดอุบัติเหตุสะสม 30 ครั้ง มีผูบาดเจ็บ 36 ราย และมีผูเสียชีวิต 2 ราย

(ท่ีมา: แผนพัฒนาจังหวัดนครปฐม 4 ป (พ.ศ. 2561 - 2564) ฉบับทบทวน)

Page 24: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 24/57

2.2 แผนภูมิการบริหารของสถานศึกษา

2.3 ขอมูลของสถานศึกษา

ขอมูลผูเรียน

Page 25: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 25/57

ระดับช้ัน ปกติ ทวิภาคี ทวิศึกษา รวมระดับช้ัน ปกติ ทวิภาคี ทวิศึกษา รวม

ปวช.1 403 69 0 472

ปวช.2 330 46 0 376

ปวช.3 281 40 0 321

รวม ปวช. 1014 155 0 1169

ระดับช้ัน ปกติ ทวิภาคี รวม

ปวส.1 149 102 251

ปวส.2 158 56 214

รวม ปวส. 307 158 465

ขอมูลผูสําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2560

ระดับช้ัน แรกเขา สําเร็จการศึกษา คิดเปนรอยละ

ปวช.3 546 260 47.62

ปวส.2 228 183 80.26

รวม 774 443 57.24

ขอมูลผูสําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2561

ระดับช้ัน แรกเขา สําเร็จการศึกษา คิดเปนรอยละ

ปวช.3 561 245 43.67

ปวส.2 248 170 68.55

รวม 809 415 51.30

ขอมูลบุคลากร

ประเภท ท้ังหมด(คน)มีใบประกอบ

วิชาชีพ(คน)

สอนตรง

สาขา(คน)

ผูบริหาร/ ผูรับใบอนุญาตผูจัดการ/ ผูอํานวยการ/ รองผูอํานวย

การ/ ผูชวยผูอํานวยการ5 5 -

Page 26: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 26/57

ประเภท ท้ังหมด(คน)มีใบประกอบ

วิชาชีพ(คน)

สอนตรง

สาขา(คน)

ขาราชการครู/ ครูเอกชนที่ไดรับการบรรจุ/ ผูที่ไดรับการรับรอง 67 67 67

ขาราชการพลเรือน 1 - -

พนักงานราชการครู 1 1 1

พนักงานราชการ(อื่น) 2 - -

ครูพิเศษสอน 12 10 12

เจาหนาที่ 1 - -

บุคลากรอื่นๆ (นักการภารโรง/ ยามรักษาการ/ พนักงานขับรถ/

ฯ)34 - -

รวม ครู 80 78 80

รวมทั้งสิ้น 123 78 80

ขอมูลหลักสูตรการเรียนการสอน

ประเภทวิชา ระดับ ปวช.(สาขาวิชา) ระดับ ปวส.(สาขาวิชา) รวม(สาขาวิชา)

อุตสาหกรรม 9 7 16

พาณิชยกรรม 0 0 0

ศิลปกรรม 0 0 0

คหกรรม 0 0 0

เกษตรกรรม 0 0 0

ประมง 0 0 0

อุตสาหกรรมทองเท่ียว 0 0 0

อุตสาหกรรมสิ่งทอ 0 0 0

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 0 0 0

รวมทั้งส้ิน 9 7 16

ขอมูลอาคารสถานที่

Page 27: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 27/57

ประเภทอาคาร จํานวน(หลัง)ประเภทอาคาร จํานวน(หลัง)

อาคารเรียน 2

อาคารปฏิบัติการ 7

อาคารวิทยบริการ 1

อาคารอเนกประสงค 2

อาคารอื่น ๆ 10

รวมทั้งสิ้น 22

ขอมูลงบประมาณ

ประเภทงบประมาณ จํานวน(บาท)

งบบุคลากร 4349760.00

งบดําเนินงาน 2561200.00

งบลงทุน 1835840.00

งบเงินอุดหนุน 6042210.00

งบรายจายอื่น 9900000.00

รวมทั้งสิ้น 24689010.00

2.4 ปรัชญา อัตลักษณ เอกลักษณ ของสถานศึกษา

ปรัชญา

" มีความรู คูคุณธรรม นําเทคโนโลยี"

อัตลักษณ

ประพฤติดี มีวิชา สามัคคี

เอกลักษณ

วิทยาลัยแหงนวัตกรรม และเทคโนโลยี

2.5 วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค ยุทธศาสตร กลยุทธ การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

วิสัยทัศน

"วิทยาลัยแหงนวัตกรรม ที่มุงจัดการเรียนรูดานวิชาชีพอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพอยางยั่งยืน"

Page 28: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 28/57

พันธกิจ

1 พัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ ระบบบริหารงานคุณภาพ โดยการมีสวนรวมตามหลักธรรมาภิบาล และ

ประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

2 ยกระดับประสิทธิภาพเครือขายความรวมมือจัดการศึกษา กับสถานประกอบการ หนวยงานภาครัฐ เอกชน ทั้งใน

ประเทศ และตางประเทศ

3 พัฒนาสมรรถนะครู ผูบริหาร และบุคลากรทางการศึกษา ใหสามารถจัดการอาชีวศึกษาไดอยางมีคุณภาพ

4 พัฒนาหลักสูตรและวิธีการเรียนรูท่ีหลากหลายอยางยั่งยืน สงเสริมการใชกระบวนการวิจัยเปนฐานยกระดับ

คุณภาพ งานวิจัยดานวิชาชีพอุตสาหกรรม และการเผยแพร นําไปใชประโยชนตอสังคม ชุมชน

5 เพ่ิมประสิทธิภาพการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และกรอบคุณวุฒิ

อาชีวศึกษาใหผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษา มีคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 และมีคุณภาพตรงตามความตองการ

กําลังคนของประเทศ

เปาประสงค

1. เพื่อบริหารจัดการดวยระบบบริหารงานคุณภาพสมัยใหม ตามหลักธรรมาภิบาล มีความรวมมือกับทุกภาค

สวนจัดการศึกษา

2. เพ่ือพัฒนาสมรรถนะครูดานการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ พัฒนาหลักสูตรวิชาชีพ การจัดการเรียนรูดาน

อุตสาหกรรมที่หลากหลายอยางยั่งยืน การใชกระบวนการวิจัยเปนฐานและการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง

3. เพ่ือพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา การตรวจสอบ ติดตามใหผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษามีคุณภาพตาม

กรอบมาตรฐานอาชีวศึกษาและมีคุณลักษณะในศตวรรณที่ 21 สอดคลองตามความตองการกําลังคนของประเทศ

ยุทธศาสตร

1.1 พัฒนาระบบบริหารงานคุณภาพโดยการมีสวนรวมตามหลักธรรมภิบาล

1.2 ยกระดับประสิทธิภาพการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการบริหาร

1.3 เพ่ิมศักยภาพการพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ และงานวิจัย

2.1 ขยายเครือขายความรวมมือกับสถานประกอบการดานจัดการศึกษา

2.2 เพ่ิมประสิทธิภาพความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐ เอกชน ในประเทศ

2.3 เพ่ิมประสิทธิภาพความรวมมือกับหนวยงานในตางประเทศ

3.1 สงเสริมการพัฒนาประสิทธิภาพครู

3.2 พัฒนาสมรรถนะผูบริหาร และบุคลากร ทางการศึกษาในการจัดการอาชีวศึกษาไดอยางมีคุณภาพ

Page 29: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 29/57

4.1 พัฒนาหลักสูตรวิชาชีพตามความตองการกําลังคนของประเทศ

4.2 พัฒนาวิธีการเรียนรูท่ีหลากหลายตามศักยภาพผูเรียนอยางยั่งยืน

4.3 พัฒนาคุณภาพงานวิจัยดานวิชาชีพอุตสาหกรรม

5.1 ยกระดับประสิทธิภาพการประกันคุณภาพการศึกษาใหสอดคลองตามมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัย

5.2 ตรวจ กํากับ ติดตาม คุณภาพของผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาตามกรอกคุณวุฒิอาชีวศึกษา

5.3 สงเสริมผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาใหมีคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21

กลยุทธ

1.1.1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารงานคุณภาพ

1.1.2 เสริมสรางจิตสํานึกรักองคกร

1.2.1 เพ่ิมประสิทะิภาพครุภัณฑสารสนเทศใหเพียงพอ

1.2.2 เพ่ิมประสิทะิฟภาพบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.3.1 ประสิทธิภาพนวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานวิจัย

1.3.2 ยกระดับกระบวนการวิจัยดานอุตสาหกรรม นวัตกรรม งานวิจัย

2.1.1 ยกระดับความรวมมือกับสถานประกอบการที่รวมจัดการศึกษา

2.1.2 เพ่ิมสมรรถณะครูฝกในสถานประกอบการ

2.2.1 ขยายความรวมมือกับ หนวยงานภาครัฐ เอกชนในประเทศ

2.2.2 เพ่ิมคุณภาพในการจัดการเรียนการสอน

2.2.3 เพ่ิมทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอน

3.1.1 เพ่ิมสมรรถนะครูดานการจัดการเรียนรู

3.1.2 ยกระดับคุณภาพชีวิตครู

3.2.1 เพ่ิมสมรรถนะผูบริหาร

3.2.2 เพ่ิมสมรรถนะบุคลากรทางการศึกษา

4.1.1 พัฒนาหลักสูตร วิชาชีพ

4.1.2 พัฒนาหลักสูตรวิชาชีพทางเลือก

4.2.1 เพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู

Page 30: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 30/57

4.2.2 พัฒนาสื่อการเรียนรูที่ตรงตามศักยภาพผูเรียน

4.2.3 พัฒนาวิธีการวัดผลและประเมินผล

4.3.1 สงเสริมคุณภาพงานวิจัย

4.3.2 พัฒนาคุณภาพโครงการ

4.3.3 พัฒนาทักษะการคิดอยางเปนระบบ

4.3.4 ยกระดับประสิทธิภาพ โครงงาน/สิ่งประดิษฐ/นวัตกรรม

5.1 เพ่ิมประสิทธิภาพระบบประกันคุณภาพการศึกษา

5.2 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

5.2.1 พัฒนาคุณภาพของผูเรียน

5.2.2 สํารวจความพึงพอใจของผูสําเร็จการศึกษา

5.3.1 พัฒนาคุณลักษณะของผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษา

2.6 เกียรติประวัติของสถานศึกษา

รางวัลและผลงานของสถานศึกษา ปการศึกษา 2560

รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

จัดตั้งศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน (Fix it Center)รางวัล

อื่น ๆภาค

สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

กิจกรรมทดสอบกําลังใจชนะ

เลิศภาค

สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

กองเกียรติยศดีเดน คายยอย 3ชนะ

เลิศภาค

สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

หมูมาตรฐานดีเดน งานสื่อและอุปกรณการฝกกิจกรรมกองวิชาการ

2

ชนะ

เลิศภาค

สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

เดินทางไกลดีเดน ชายชนะ

เลิศภาค

สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

กิจกรรมทดสอบกําลังใจรางวัล

อื่น ๆภาค

สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

Page 31: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 31/57

รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

การประกวดระเบียบแถวลูกเสือ เนตรนารี จังหวัดนครปฐม ประจํา

ป 2560

ชนะ

เลิศจังหวัด

สํานักงานเขตพื้นที่การ

ศึกษาจังหวัดนครปฐม

การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร สมาคมวิทยาศาสตรฯ-

อาชีวศึกษา-เอสโซ ประจําปพุทธศักราช 2560

รอง

ชนะ

เลิศ

จังหวัดสมาคมวิทยาศาสตรฯ-

อาชีวศึกษา-เอสโซ

แขงขันทักษะวิชาชีพเทคนิคพ้ืนฐาน (งานฝกฝมือ)

รอง

ชนะ

เลิศ

ภาคสํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

การแขงขันทักษะวิชาชีพ สาขาวิชาชางเชื่อมโลหะ ระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

รอง

ชนะ

เลิศ

ภาคสํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

กิจกรรมทดสอบกําลังใจรางวัล

อื่น ๆภาค

สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

หมูมาตรฐานดีเดน งานสื่อและอุปกรณการฝกกิจกรรมกองวิชาการ

2

ชนะ

เลิศภาค

สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

การแขงขันฝมือแรงงานแหงชาติ ครั้งที่ 27 ระดับภาค สาขามาตร

วิทยาดานมิติ

ชนะ

เลิศภาค

สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน

4 ราชบุรี

การประกวดโฟลคซองคนพันธุ R ระดับปวช./ปวส.รางวัล

อื่น ๆภาค

สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

การประกวดโฟลคซองคนพันธุ R ระดับ ปวช./ปวส.รางวัล

อื่น ๆภาค

สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

การแขงขันหุนยนตตอสู "ศึกชางเหล็ก"ชนะ

เลิศจังหวัด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคลรัตนโกสินทร

การแขงขันหุนยนตตอสู "ศึกชางเหล็ก"รางวัล

อื่น ๆจังหวัด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช

มงคลรัตนโกสินทร

โครงการลดการใชพลังงานในภาครัฐ ประจําป พ.ศ. 2560 (สวนที่

2) จังหวัดนครปฐม

ชนะ

เลิศจังหวัด สํานักงานจังหวัดนครปฐม

Page 32: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 32/57

รางวัลและผลงานของสถานศึกษา ปการศึกษา 2561

รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม สถานศึกษาตนแบบดานความ

ปลอดภัยทางถนน

รางวัล

อื่น ๆภาค

บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัย

จากรถ จํากัด

กิจกรรมเดินทางไกลดีเดนลูกเสือวิสามัญชาย ชนะเลิศ ชาติสํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

ชนะเลิศคายยอยดีเดน (ผานเกณฑมาตรฐาน) อันดับที่ 1 ชนะเลิศ ชาติสํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

การสรางโมเดลหอคอยระดับยอดเยี่ยมรางวัล

อื่น ๆชาติ

สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

กิจกรรมแขงขันทักษะระเบียบแถว (ชาย)รองชนะ

เลิศชาติ

สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

กิจกรรมทดสอบกําลังใจ (ชาย)รางวัล

อื่น ๆชาติ

สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

หมูลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมกองวิชาการ ฝายกิจกรรม

วิชาการลูกเสือ

รองชนะ

เลิศชาติ

สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

กลุมลูกเสือวิสามัญ (ชาย) ดีเดน ชนะเลิศ ชาติสํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

การแขงขันทักษะการทําหุนจําลองรองชนะ

เลิศจังหวัด อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

รางวัลและผลงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา ปการศึกษา 2560

ช่ือ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

นายพีระกิต อิสสอาด

ครูผูสอนทักษะวิชาชีพดีเดนรางวัลอื่น ๆ จังหวัด อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

นางชนิตา ศรีทองคํา

ครูผูสอนทักษะวิชาชีพดีเดนรางวัลอื่น ๆ จังหวัด อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

Page 33: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 33/57

ช่ือ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

นายชิงชัย จันทรเสนา

ครูผูสอนวิชาชีพดีเดนรางวัลอื่น ๆ จังหวัด อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

วาท่ี ร.ต.อนุวัฒน อินทรนุรักษ

ครูผูสอนวิชาชีพดีเดนรางวัลอื่น ๆ จังหวัด อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

นายปราโมทย พันธสวาง

ครูผูมีความวิริยะอุตสาหะรางวัลอื่น ๆ จังหวัด อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

นายคมสันต มวงทิพย

ครูผูมีผลงานดีเดนประเภทนวัตกรรมหรือส่ิงประดิษฐรางวัลอื่น ๆ จังหวัด อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

นายสุวรรณ มวงนวล

ผูบริหารดีเดนรางวัลอื่น ๆ จังหวัด อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

รางวัลและผลงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา ปการศึกษา 2561

ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

นายเทอดศักดิ์ แกวคงคา

ผูบริหารดีเดน

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นายปญโญ สุขแกวฟา

ครูดีเดนประเภทผูมีความวิริยะอุตสาหะ

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นายสัมฤทธ์ิ รัตนไพบูลยกิจ

ครูดีเดนประเภทผูมีผลงานดานการจัดการเรียนการสอน

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นายคมสัน กลางแทน

ครูดีเดนประเภทผูมีผลงานดานสื่อการเรียนการสอน นวัตกรรม และสิ่ง

ประดิษฐ

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นายคมสันต มวงทิพย

ครูท่ีปรึกษาผลงาน ประเภทนวัตกรรมเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณการ

แปรรูปอาหาร "เครื่องซอยรอยเสน"

รางวัล

อ่ืน ๆชาติ

สํานักงานคณะ

กรรมการการ

อาชีวศึกษา

Page 34: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 34/57

ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

นายคุณวัฒน ศรีอรุณเอี่ยม

ครูท่ีปรึกษาผลงาน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร สมาคมวิทยาศาสตรฯ-

อาชีวศึกษา-เอสโซ "เครื่องออกกําลังกายอเนกประสงค"

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นายคุณวัฒน ศรีอรุณเอี่ยม

ครูท่ีปรึกษาผลงาน การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร สมาคมวิทยาศาสตรฯ-

อาชีวศึกษา-เอสโซ "ชุดวงจรควบคุมเครื่องกายภาพบําบัดขอเขาเสื่อม"

รอง

ชนะ

เลิศ

จังหวัดอาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นายคุณวัฒน ศรีอรุณเอี่ยม

ครูท่ีปรึกษาผลงาน การประกวดสิ่งประดิษฐ ประเภทที่ 1 สิ่งประดิษฐดาน

พัฒนาคุณภาพชีวิต "เครื่องแยกไขมันในครัวเรือนพลังงาน Version 2"

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นางสาวภัทราภรณ ปอโนนสูง

ครูท่ีปรึกษาผลงาน การประกวดสิ่งประดิษฐ ประเภทที่ 3 สิ่งประดิษฐเพื่อการ

อนุรักษพลังงาน "เครื่องบีบขวดนํ้าประหยัดพลังงาน"

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นางสาวกุสุมา สิบแมแต

ผานการคัดเลือกและนําเสนอผลงานทางวิชาการการประชุมวิชาการระดับชาติ

สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 1 "เทคโนโลยีอาชีวศึกษาเพื่อการพัฒนา

ประเทศ"

รางวัล

อ่ืน ๆชาติ

สถาบันการ

อาชีวศึกษาภาค

ตะวันออกเฉียง

เหนือ 3

นายนิวัทธ วรรณวงศ

ผานการคัดเลือกและนําเสนอผลงานทางวิชาการการประชุมวิชาการระดับชาติ

สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 1 "เทคโนโลยีอาชีวศึกษาเพื่อการพัฒนา

ประเทศ"

รางวัล

อ่ืน ๆชาติ

สถาบันการ

อาชีวศึกษาภาค

ตะวันออกเฉียง

เหนือ 3

นางสาวนฤมล เหรียญทองวัฒนา

ผานการคัดเลือกและนําเสนอผลงานทางวิชาการการประชุมวิชาการระดับชาติ

สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 1 "เทคโนโลยีอาชีวศึกษาเพื่อการพัฒนา

ประเทศ"

รางวัล

อ่ืน ๆชาติ

สถาบันการ

อาชีวศึกษาภาค

ตะวันออกเฉียง

เหนือ 3

นายพลกฤษณ หนูทองพูล

ครูผูควบคุมผลงาน การแขงขันหุนยนต รัตนโกสินทรโรบอทเกมส ครั้งที่ 3

"ศึกชางเหล็ก"

รอง

ชนะ

เลิศ

ชาติ

มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราช

มงคล

รัตนโกสินทร

Page 35: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 35/57

ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

นายณัฐ เกิดสุขผล

ครูผูควบคุมผลงาน ประเภททักษะวิชาชีพ "ทักษะงานเครื่องยนตแกสโซลีน

ควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส

ชนะ

เลิศจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นายคมสัน กลางแทน

ผานการคัดเลือกและนําเสนอผลงานทางวิชาการการประชุมวิชาการระดับชาติ

สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 1 "เทคโนโลยีอาชีวศึกษาเพื่อการพัฒนา

ประเทศ"

รางวัล

อ่ืน ๆชาติ

สถาบันการ

อาชีวศึกษาภาค

ตะวันออกเฉียง

เหนือ 3

นายคมสัน กลางแทน

ไดรับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ "คุรุสดุดี" ในฐานะเปนผูปฏิบัติตนตามจรรยา

บรรณวิชาชีพ

รางวัล

อ่ืน ๆชาติ คุรุสภา

นายคมสัน กลางแทน

ครูผูมีคุณูปการตอการศึกษา "รางวัลสมเด็จเจาฟามหาจักรี"

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด จังหวัดนครปฐม

นายธรรมนูญ ล้ําเลิศ

ครูท่ีปรึกษาผลงาน การประกวดสิ่งประดิษฐ ประเภทที่ 2 สิ่งประดิษฐดาน

การประกอบอาชีพ "เครื่องตัดขวดแกว V.2"

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

วาท่ี ร.ต.ธณัชชนม จาคาภิรมย

ครูท่ีปรึกษาผลงาน ประเภทที่ 2 สิ่งประดิษฐดานการประกอบอาชีพ "เครื่อง

ตัดขวดแกว V.2"

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นายธรรมนูญ ล้ําเลิศ

ครูท่ีปรึกษาผลงานการประกวดสิ่งประดิษฐ ประเภทที่ 2 สิ่งประดิษฐดานการ

ประกอบอาชีพ "เครื่องตัดขวดแกว V.2"

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นายอิทธิวัฒน สุวรรณรังสิมา

ครูท่ีปรึกษาผลงานการประกวดสิ่งประดิษฐ ประเภทที่ 3 สิ่งประดิษฐเพื่อการ

อนุรักษพลังงาน "เตาฟนไรควัน"

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

นายประดิษฐ เลิศโพธาวัฒนา

ครูท่ีปรึกษาผลงานการประกวดสิ่งประดิษฐ ประเภทที่ 3 สิ่งประดิษฐเพื่การ

อนุรักษพลังงาน "เตาฟนไรควัน"

รางวัล

อ่ืน ๆจังหวัด

อาชีวศึกษา

จังหวัดนครปฐม

Page 36: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 36/57

รางวัลและผลงานของผูเรียน ปการศึกษา 2560

ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

นายศุภกาญจน ศิริรัตน

กิจกรรมการประกวดวงดนตรีโฟลคซองคนพันธุ R

รอง

ชนะ

เลิศ

จังหวัดอาชีวศึกษาจังหวัด

นครปฐม

นายพีระฉัตร คุมโพธิ

กิจกรรมการประกวดวงดนตรีโฟลคซองคนพันธุ R

รอง

ชนะ

เลิศ

จังหวัดอาชีวศึกษาจังหวัด

นครปฐม

นายชูเกียรติ เหลากัง

กิจกรรมการประกวดวงดนตรีโฟลคซองคนพันธุ R

รอง

ชนะ

เลิศ

จังหวัดอาชีวศึกษาจังหวัด

นครปฐม

นายนฤพนธ ฉํ่าปรีชา

กิจกรรมการประกวดวงดนตรีโฟลคซองคนพันธุ R

รอง

ชนะ

เลิศ

จังหวัดอาชีวศึกษาจังหวัด

นครปฐม

นายสิทธา อาจคงหาญ

กิจกรรมการประกวดวงดนตรีโฟลคซองคนพันธุ R

รอง

ชนะ

เลิศ

จังหวัดอาชีวศึกษาจังหวัด

นครปฐม

นายชวลิต บุญชัย

ทักษะงานเครื่องยนตแกสโซลีนและเครื่องยนตดีเซลควบคุมดวย

อิเล็กทรอนิกส

ชนะ

เลิศจังหวัด

อาชีวศึกษาจังหวัด

นครปฐม

นายคุณาวัฒน วรสวาท

การประกวดส่ิงประดิษฐของคนรุนใหม ระดับอาชีวศึกษาจังหวัด จังหวัด

นครปฐม ประจําปการศึกษา 2560 ปงบประมาณ พ.ศ.2561

ชนะ

เลิศจังหวัด

อาชีวศึกษาจังหวัด

นครปฐม

นายวีรภัทร วรพิน

การประกวดส่ิงประดิษฐของคนรุนใหม ระดับอาชีวศึกษาจังหวัด จังหวัด

นครปฐม ประจําปการศึกษา 2560 ปงบประมาณ พ.ศ.2561

ชนะ

เลิศจังหวัด

อาชีวศึกษาจังหวัด

นครปฐม

นายณัฐพล เปยแกว

หมูมาตรฐานดีเดน คายยอย 3

ชนะ

เลิศภาค

สํานักงานคณะ

กรรมการการ

อาชีวศึกษา

Page 37: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 37/57

ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

นายพงศณภัทร รุจิวรพัฒน

ตัวแทนเขารวมกองเกียรติยศของคายยอย 3

รางวัล

อ่ืน ๆภาค

สํานักงานคณะ

กรรมการการ

อาชีวศึกษา

นายธีรพัฒน นิลจินดา

ไดผานหมูมาตรฐานดีเดน คายยอย 3

ชนะ

เลิศภาค

สํานักงานคณะ

กรรมการการ

อาชีวศึกษา

นายธีรภัทร ชุมพาลี

หมูมาตรฐานดีเดน

ชนะ

เลิศภาค

สํานักงานคณะ

กรรมการการ

อาชีวศึกษา

นายพุฒิพงษ สืบอินทร

การแขงขันฝมือแรงงานแหงชาติ ครั้งที่ 27 ระดับภาค สาขาออกแบบและ

เขียนเเบบเครื่องกลคอมพิวเตอร

รางวัล

อ่ืน ๆภาค

สถาบันพัฒนาฝมือ

แรงงาน 4 ราชบุรี

รางวัลและผลงานของผูเรียน ปการศึกษา 2561

ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

นายสุทรา เหลาสิม

การแขงขันกีฬาหมากลอม ประเภททีมชายชนะเลิศ ภาค

สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

นายนุตพงศ ทองแท

การแขงขันกีฬาหมากลอม ประเภทคูชายชนะเลิศ ภาค

สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

นายกองภพ แสงทับ

การแขงขันกีฬาหมากลอม ประเภททีมชายชนะเลิศ ภาค

สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

นายธนบดี กงอุบล

การแขงขันกีฬาหมากลอม ประเภททีมชายชนะเลิศ ภาค

สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

นายณฐพงศ ชื่นดวง

การแขงขันกีฬาหมากลอม ประเภทคูชายชนะเลิศ ภาค

สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

Page 38: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 38/57

ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโดย

นายชลสิทธ์ิ พงษสุวรรณ,นายไตรวิทย สถิระรัตน และ นายเอก

รินทร เพชรรักษ

การประกวดส่ิงประดิษฐของคนรุนใหม ระดับชาติ ประจําปการ

ศึกษา 2561

รองชนะ

เลิศชาติ

สํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา

Page 39: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 39/57

สวนที่ 3

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

มาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม ประกอบดวย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็น ดังนี้

การจัดการอาชีวศึกษา เปนการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาใหมีความรู มีทักษะ

และการประยุกตใชเปนไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม จริยธรรม และ

คุณลักษณะที่พึงประสงค ประกอบดวยประเด็นการประเมิน ดังนี้

1.1 ดานความรู

ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรูเกี่ยวกับขอเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฏี และแนวปฏิบัติตาง ๆ ที่

เกี่ยวของกับสาขาวิชาท่ีเรียน หรือทํางาน โดยเนนความรูเชิงทฤษฏี และหรือขอเท็จจริง เปนไปตามมาตรฐาน

คุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา

1.2 ดานทักษะและการประยุกตใช

ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิตเปนไปตาม

มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา สามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงาน และการดํารงชีวิต

อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีสุขภาวะที่ดี

1.3 ดานคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค

ผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจ

และรักษาเอกลักษณของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผูอ่ืน มีความรับผิดชอบตามบทบาทหนาที่

ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีจิตสาธารณะ และมีจิตสํานึกรักษ

สิ่งแวดลอม

สถานศึกษามีครูท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและจํานวนตามเกณฑท่ีกําหนด ใชหลักสูตรฐานสมรรถนะในการ

จัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ มี

ความสําเร็จในการดําเนินการตามนโยบายสําคัญของหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษา

ประกอบดวยประเด็นการประเมิน ดังนี้

2.1 ดานหลักสูตรอาชีวศึกษา

สถานศึกษาใชหลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคลองกับความตองการของผูเรียน ชุมชน สถานประกอบการ

ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกําหนดรายวิชาใหม หรือกลุมวิชาเพิ่มเติมใหทันตอการ

มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาท่ีพึงประสงค

มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา

Page 40: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 40/57

เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความตองการของตลาดแรงงาน โดยความรวมมือกับสถานประกอบการหรือ

หนวยงานที่เกี่ยวของ

2.2 ดานการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

สถานศึกษามีครูท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและมีจํานวนตามเกณฑท่ีกําหนด ไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบ

ตอเน่ือง เพื่อเปนผูพรอมท้ังดานคุณธรรม จริยธรรมและความเขมแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียน

การสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ตอบสนองความตองการของผูเรียนทั้งวัยเรียนและวัยทํางาน ตามหลักสูตร

มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแตละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือขอบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและ

การประเมินผลการเรียนของแตละหลักสูตร สงเสริม สนับสนุน กํากับ ดูแลใหครูจัดการเรียนการสอนรายวิชา

ใหถูกตอง ครบถวน สมบูรณ

2.3 ดานการบริหารจัดการ

สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ

โรงฝกงาน ศูนยวิทยบริการ สื่อ แหลงเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ และงบประมาณของสถาน

ศึกษาที่มีอยูอยางเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ

2.4 ดานการนํานโยบายสูการปฏิบัติ

สถานศึกษามีความสําเร็จในการดําเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสําคัญที่หนวยงานตน

สังกัดหรือหนวยงานท่ีกํากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความรวมมือของผูบริหาร ครู บุคลากรทางการ

ศึกษาและผูเรียน รวมทั้งการชวยเหลือ สงเสริม สนับสนุนจากผูปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและ

หนวยงานที่เกี่ยวของท้ังภาครัฐและภาคเอกชน

สถานศึกษารวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ เพ่ือสรางสังคมแหงการเรียนรู มีการจัดทํานวัตกรรม สิ่ง

ประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย ประกอบดวยประเด็นการประเมิน ดังนี้

3.1 ดานความรวมมือในการสรางสังคมแหงการเรียนรู

สถานศึกษามีการสรางความรวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศในการ

จัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช

เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพื่อพัฒนาผูเรียนและคนในชุมชนสูสังคมแหงการเรียนรู

3.2 ดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย

สถานศึกษาสงเสริมสนับสนุนใหมีการจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย โดยผูบริหาร

ครู บุคลากรทางการศึกษา ผูเรียน หรือรวมกับบุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ ที่สามารถนําไปใชประโยชนได

ตามวัตถุประสงค และเผยแพรสูสาธารณชน

มาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู

Page 41: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 41/57

สวนที่ 4

ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

4.1 มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาท่ีพึงประสงค

4.1.1 ผลสัมฤทธ์ิ

1) ดานความรู

วิทยาลัยเทคนิคนครปฐมเปนวิทยาลัยที่ผลิตและสรางกําลังคนเพื่อตอบสนองความตองการดาน

แรงงานในประเทศ ซึ่งทางวิทยาลัยการันตีไดวานักศึกษาที่จบออกไปจากวิทยาลัยเทคนิคนครปฐมนั้นเปนผูที่มีความ

รูความสามารถอยางแทจริง

ในดานการดูแลและแนะแนวผูเรียนนั้น ทางวิทยาลัยไดมีการจัดอบรมและใหความรูเกี่ยวกับเปนผูประกอบการหรือ

การประกอบอาชีพอิสระโดยมีโครงการสงเสริมอาชีพอิสระในกลุมผูเรียนอาชีวศึกษา ในแตละปการศึกษามาอยางตอ

เน่ือง ซ่ึงในปจจุบันทางวิทยาลัยไดผานการประเมินโครงการศูนยบมเพาะในระดับจังหวัด รางวัลที่ 1 (ระดับ 3 ดาว)

นอกจากน้ีทางวิทยาลัยยังไดมีการสนับสนุนใหนักเรียนนักศึกษามีความรูความสามารถดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

งานสรางสรรค หรืองานวิจัย ซ่ึงรางวัลลาสุดที่ไดรับในปจจุบันคือรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 ระดับประเทศ ในการ

แขงขันการประกวดสิ่งประดิษฐของคนรุนใหม และการแขงขันหุนยนตอาชีวศึกษา ระดับชาติ ประจําปการศึกษา

2561 ณ ศูนยการคา เซียรรังสิต ประเภทที่ 2 สิ่งประดิษฐดานการประกอบอาชีพ ไดแก เครื่องคั่วและกะเทาะ

เปลือกถั่วลิสง

สําหรับการแขงขันทักษะวิชาชีพนั้น นักเรียนและนักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคนครปฐมก็ไดรับรางวัลมากมายดังใน

ตาราง “รางวัลและผลงานของสถานศึกษา” ในขางตน และนอกจากนี้ ผลการประเมินกิจกรรมองคการ อวท. ยังได

รับผลการประเมิน เหรียญทอง ระดับ จังหวัดอีกดวย และท่ีสําคัญผลการสอบ V – net ที่ผานมาของวิทยาลัย

เทคนิคนครปฐมนั้นมีผูผานเกณฑท้ังสิ้น 347 คน จาก 509 คน คิดเปนคาเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์รอยละที่ 51.64 และ

นอกจากน้ีผูเรียนท่ีสําเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคนครปฐมนั้นมีงานทําและศึกษาตอจํานวนทั้งสิ้น 368 คน

จาก 774 คน คิดเปนคาเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์รอยละท่ี 47.54

เกณฑการประเมินอยูที่รอยละ 87.92 อยูในระดับยอดเยี่ยม

2) ดานทักษะและการประยุกตใช

ในดานทักษะและการประยุกตใชนั้น นักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคนครปฐมนั้นไดรับการ

อบรมเพ่ือเพ่ิมพูนทักษะความสามารถในสาขาของตนอยางตอเนื่อง จึงทําใหนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิค

Page 42: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 42/57

นครปฐมน้ันเปนผูท่ีมีความรูความสามารถในวิชาชีพของตน และมีทักษะที่ชํานาญการในสาขาวิชาชีพของตนเอง

จากการรายงานผลการสอบมาตรบาวิชาชีพพบวา ในระดับ ปวช. มีผูสอบผาน 312 คน จาก 316 คน คิดเปนรอย

ละ 98.73 และระดับ ปวส. ปวช. มีผูสอบผาน 205 คน จาก 212 คน คิดเปนรอยละ 96.69

ดวยความรูความสามารถนี้เอง ทางวิทยาลัยฯจึงไดจัดใหนักเรียน นักศึกษาไดออกหนวยบริการชุมชนภายใตโครงการ

พัฒนารูปแบบและยกระดับคุณภาพศูนยซอมสรางเพ่ือชุมชน (Fix It Center Thailand 4.0) ซึ่งในโครงการนี้

นักเรียน นักศึกษาจะใชความสามารถและทักษะที่มีนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนกับชุมชนไดอยางแทจริง และได

เสียงตอบรับจากชุมชนดวยดีเสมอมา และที่สําคัญนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม และออกบริการ

จิตอาสาพัฒนาโรงเรียนในโครงการแตมสี เติมฝน โรงเรียนวัดสองหอง และนอกจากนั้นนักเรียน นักศึกษาของทาง

วิทยาลัยเทคนิคนครปฐมยังไดมีสวนรวมในการใชทักษะทางวิชาชีพที่ไดรํ่าเรียนมาในการพัฒนาวิทยาลัยอีกดวย เชน

หลังคาทางเดินขางสนามฟุตบอล ลานพักผอนบริเวณขางโรงอาหาร และสนามเปตอง การพัฒนาสวนหยอมขางโรง

ฝกอาคารชางยนต เปนตน

ไมเพียงเทานี้ นักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม ยังใชทักษะท่ีไดเรียนมาเพื่อพัฒนาและปรับเปลี่ยนภูมิ

ทัศนของประเทศ โดยการผลิตเครื่องกลเติมอากาศพลังงานแสงอาทิตย เพื่อนําไปใชในการบําบัดนํ้าเสียบริเวณคลอง

เปรมประชากรอีกดวย

สําหรับดานการดํารงชีวิตอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีสุขภาวะที่ดีนั้น

ทางวิทยาลัยฯไดมีการจัดอบรมคุณธรรม จริยธรรม โดยมุงหวังใหผูเรียนรูจักเสียสละ มีระเบียบวินัย บริการสังคมดัง

ท่ีกลาวไวขางตนและเปนประชากรที่ดีของสังคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยูเปนนิจ โดยสังเกตไดจาก

โครงการณรงค และบริการจิตสาธารณะตางๆที่ไดดําเนินการไป

เกณฑการประเมินอยูที่รอยละ 87.92 อยูในระดับยอดเยี่ยม

3) ดานคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค

วิทยาลัยเทคนิคนครปฐมมุงเห็นถึงการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมในตัวผูเรียนเปนอยางยิ่ง จึงไดมีการ

จัดกิจกรรมอบรมคุณธรรม จริยธรรมขึ้นทุกป เพ่ือท่ีตองการใหนักเรียน นักศึกษาของทางวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม

เปนผูท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณของชาติไทย

เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผูอื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาทหนาที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีจิตสาธารณะ และมีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม ดังนั้นในทุกๆปการศึกษาจะมีการ

อบรมคุณธรรม จริยธรรมใหกับนักเรียนนักศึกษาใหมอยูเสมอเปนประจําทุกป โดยรวมกับ กรมการสัตวทหารบก

Page 43: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 43/57

ดําเนินการจัดโครงการ ปฐมนิเทศ และเตรียมความพรอมของผูเรียน ดานคุณธรรม จริยธรรม ตานทุจริต สรางความ

สามัคคี รูทันภัยสังคม ใหแกนักเรียน นักศึกษา ปวช.1 ปวส.1 ณ กรมการสัตวทหารบก คายทองฑีฆายุ จ.นครปฐม

ซ่ึงนักเรียน นักศึกษาที่ไดผานการอบรมมานั้น เปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัย

ท่ีดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผูอื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาท

หนาที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีจิตสาธารณะ และมีจิตสํานึกรักษ

สิ่งแวดลอมอยางแทจริง โดยดูไดจากการที่นักเรียน นักศึกษาเขารวมกิจกรรมวันสําคัญของ ชาติ ศาสนา และพระ

มหากษัตริย อยูเปนนิจ นอกจากน้ียังรวมกันรณรงคเกี่ยวกับดานความปลอดภัยบนทองถนน รณรงคการเลือกตั้ง

และยังมีสวนรวมในโครงการบําบัดนํ้าเสียบริเวรคลองเปรมประชากรอีกดวย

เกณฑการประเมินอยูที่รอยละ 82.69 อยูในระดับยอดเยี่ยม

4.1.2 จุดเดน

สถานศึกษามีการแตงตั้งครูที่ปรึกษา ครูปกครอง ดูแลนักเรียน ตั้งแตเขาวิทยาลัยจนสิ้นสุดการเรียน มีการ

กําหนดชั่วโมงโฮมรูม บันทึกผลการใหคําปรึกษา พบนักศึกษารายงานผูบริหาร มีการเชิญผูปกครองรวมแกปญหามี

การจัดโปรแกรม แนะแนวการศึกษา มีการปฐมนิเทศ และปจฉิมนิเทศ นักศึกษาปกติ มีการจัดกิจกรรมใหนักศึกษา

มีรายไดระหวางเรียน และอบรมใหความรู ศึกษาดูงานในการเปนผูประกอบการ และสงโครงการเขาประกวดอบรม

สถานศึกษา จังหวัดและภาค มีการกําหนดวิชาโครงการใหนักศึกษาไดเรียนรูในระดับ ปวช.3 และปวส.2 และพัฒนา

ตอเน่ือง เชน ส่ิงประดิษฐ นวัตกรรมและมีการประกวดไดรับรางวัลในระดับสถานศึกษาจังหวัดภาค และระดับชาติ

มีการสนับสนุนใหผูเรียนไดเขาแขงขันทักษะวิชาชีพระดับสถานศึกษาจังหวัดระดับภาค และระดับชาติ ไดรับรางวัล

อยางตอเนื่อง มีการกําหนดใหแผนก/สาขาวิชา ไดจัดกิจกรรมประเมินมาตรฐานวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

โดยใชเครื่องมือเปนมาตรฐานวิชาชีพของสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษามีการเตรียมความพรอมผูเรียนกอน

ทดสอบ และจัดใหมีการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานอาชีวศึกษา (V-net) ในระดับชั้นปวช. 3 และ ปวส

.2

มีการติดตามการงานทํา และการศึกษาตอของผูสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2561

มีการบริการชุมชนและจัดอาสาในรูปแบบตาง ๆ เชน อาชีวะอาสา , ศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน การจัดทําเครื่อง

เติมอากาศในนํ้า แผงพนน้ํากันฝุน ฯ

4.1.3 จุดที่ควรพัฒนา

การทําระบบดูแลนักเรียนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร Student care ยังใชงานไดไมเต็มประสิทธิภาพ การ

รายงานพฤติกรรมไมพึงประสงคของผูเรียนยังไมรวดเร็วและตอเนื่อง กิจกรรมแนะแนวควรเปนการแนะแนวรูปแบบ

แนะนําอาชีพมากกวาแนะแนวการศึกษา ควรมีการจัด Openhouse ในสถานศึกษา กิจกรรมการหารายไดระหวาง

Page 44: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 44/57

เรียนและการสรางผูประกอบการ ควรมีกิจกรรมรูปแบบใหม ๆ เชน Start up ควรมีการประกวดโครงงานทุก

แผนกวิชา และสงเสริมใหนําชิ้นงานที่ไดลําดับ 1 – 3 ของแตละแผนกมาตอยอดเปนนวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ

และสนับสนุนงบประมาณจัดใหมีการแขงขันทักษะวิชาชีพในทุกแผนกวิชา เพื่อคัดเลือกตัวแทนเขาแขงขันระดับ

จังหวัด การประเมินมาตรฐานวิชาชีพควรมีการประเมินทั้ง 2 ภาค เรียนในปการศึกษาสุดทาย เพื่อใหครบถวน

ตามที่เครื่องมือประเมินกําหนด ควรเพิ่มจํานวนชั่วโมงในการเตรียมความพรอม V-net และควรสนับสนุนใหมี

การนําขอสอบ V-net ท่ีใชประเมินเผยแพรใหผูเรียนไดเตรียมความพรอม ควรกําหนดระยะเวลาที่ชัดเจนในการ

ติดตามการมีงานทํา และศึกษาตอ เนื่องจากมีผูเรียนไมจบการศึกษาตามหลักสูตรและควรใชระบบสารสนเทศในการ

ติดตาม

4.1.4 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

- ควรสนับสนุนการจัดทําโครงงานสิ่งประดิษฐ นวัตกรรม ใหครบทุกแผนกและทุกระดับ

- สนับสนุนงบประมาณเพ่ือพัฒนาสมรรถนะผูเรียนใหสามารถเขาสูการแขงขันทักษะวิชาชีพระดับชาติ และไดรับ

รางวัล

- ควรมีการจัดทําสถานประกอบการในสถานศึกษาเพื่อสงเสริมการมีรายไดผูเรียน

4.2 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา

4.2.1 ผลสัมฤทธ์ิ

1) ดานหลักสูตรอาชีวศึกษา

สถานศึกษามีการศึกษาความตองการของตลาดแรงงานเพื่อการพัฒนาหรือการปรับปรุงหลักสูตร

สถานศึกษามีการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติที่เนนผูเรียนเปนสําคัญและนําไปใชในการจัดการเรียนการ

สอน

ระดับคุณภาพ ปานกลาง

2) ดานการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

1 สถานศึกษามีครูท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและมีจํานวนตามเกณฑท่ีกําหนด ไดรับการพัฒนาอยางเปน

ระบบตอเน่ือง

2 มีการควบคุมการจัดการเรียน การสอน การแกปญหาการบริหารจัดการชั้นเรียนดวยการทําวิจัยในชั้นเรียน

3 มีการพัฒนาระบบอินเตอรเน็ตเพื่อใชในการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู

4 นําระบบการดูแลนักเรียนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร Student care มาใชในระบบการดูแลนักเรียน

Page 45: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 45/57

5 มีหองเรียน smart classroom เพื่อรองรับการเรียนรูในยุค Thailand 4.0

ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

3) ดานการบริหารจัดการ

1 มีการประเมินคุณภาพและนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน และเปนการประเมินผลงานครูผูสอน

แตละภาคเรียน

2 มีการควบคุมการจัดการเรียน การสอน การแกปญหาการบริหารจัดการชั้นเรียนดวยการทําวิจัยในชั้นเรียน และ

กระบวนการ PLC

3 มีการพัฒนาระบบอินเตอรเน็ตเพื่อใชในการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อให

ครูไดเขารับการพัฒนาตนเองท้ังที่สถานศึกษาจัดและหนวยงานอื่นจัดอยางตอเนื่องในทุกปการศึกษา

4 มีการบริหารสถานศึกษาโดยใชคณะกรรมการวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา สมาคมครู ผูปกครอง

และคณะกรรมการมูลนิธิที่เกี่ยวของ

5 มีการประชุมคณะกรรมการอยางนอยภาคเรียนละ 1 ครั้ง นําระบบการดูแลนักเรียนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร

Student care มาใชในระบบการ

ดูแลนักเรียน ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในงานทะเบียน พัสดุ การเงิน บัญชี และงานสารบรรณ

6 มี Website ของสถานศึกษาใชเผยแพรขอมูลขาวสาร ใชระบบ Line ในการสื่อสารภายในกําหนดใหมีการลงนาม

ความรวมมือในการจัดการเรียน การสอนรวมกันระหวางสถานประกอบการกับสถานศึกษาในการฝกงาน และฝก

ประสบการณทั้งในระบบปกติและระบบทวิภาคี

7 มีการนิเทศและประเมินผลการฝกโดยครูฝกมีการปฐมนิเทศผูเรียนกอนฝกงาน และฝกประสบการณ

8 มีการสัมมนาครูฝกประจําสถานประกอบการ มีการระดมทรัพยากรเพ่ือการจัดการเรียนการสอนโดยรับการ

สนับสนุนดานครุภัณฑ อุปกรณการสอนจากสถานประกอบการเชน แผนกชางอิเล็กทรอนิกส , ชางยนต, ชางกล

โรงงาน , ชางกอสราง

Page 46: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 46/57

9 วิทยาลัยจัดงบประมาณในการจัดหาครุภัณฑ และปรับปรุงแผนกวิชาโดยใชเงินบํารุงการศึกษา และยังของบลงทุน

จากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในการจัดหาครุภัณฑท่ีมีราคาสูงในระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี

10 มีการปรับปรุงแผนกวิชา หองเรียน หองปฏิบัติการ สถานที่จัดทํากิจกรรมเขาแถวและจัดหาอาคารเรียนเขาถึง

ระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอน

11 มีหองเรียน smart classroom เพื่อรองรับการเรียนรูในยุค Thailand 4.0

ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

4) ดานการนํานโยบายสูการปฏิบัติ

1 มีการสอนรวมกันระหวางสถานประกอบการกับสถานศึกษาในการฝกงาน และฝกประสบการณทั้ง

ในระบบปกติและระบบทวิภาคี

2 มีการระดมทรัพยากรเพ่ือการจัดการเรียนการสอนโดยรับการสนับสนุนดานครุภัณฑ อุปกรณการสอนจากสถาน

ประกอบการเชน แผนกชางอิเล็กทรอนิกส , ชางยนต, ชางกลโรงงาน , ชางกอสราง

3 สถานศึกษามีนวัตกรรมการบริการชุมชน วิชาการวิชาชีพ และจิตอาสาของสถานศึกษา

4 มีการปรับยายศูนยวิทยบริการจากอาคารเดิม มายังอาคารใหมที่กอสรางเสร็จและปรับปรุงใหสามารถใหบริการ

ดวยหนังสือปกติ และคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนรูปรับปรุงระบบอินเตอรเน็ตเดิมในสถานศึกษา

5 การเชื่อมโยงดวยสายไฟเบอรนํา แสง ทั้งวิทยาลัยฯ พรอมขยายเครือขาย WIFI ใหครอบคลุมภายในวิทยาลัย ทั้ง

ระบบของสถานศึกษาเอง และขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอก (AIS)

ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

4.2.2 จุดเดน

มีการใชหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ซึ่งจัดทําโดย

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และเปน หลักสูตรฐานสมรรถนะ มีการกําหนดใหครูผูสอนจัดทําแผนการ

เรียนรูสงใหฝายวิชาการตรวจสอบ มีการประเมินคุณภาพและนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน และเปนการ

Page 47: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 47/57

ประเมินผลงานครูผูสอนแตละภาคเรียน มีการควบคุมการจัดการเรียน การสอน การแกปญหาการบริหารจัดการชั้น

เรียนดวยการทําวิจัยในชั้นเรียน และกระบวนการ PLC มีการพัฒนาระบบอินเตอรเน็ตเพื่อใชในการจัดการเรียนการ

สอนและการเรียนรู มีการสนับสนุนงบประมาณเพ่ือใหครูไดเขารับการพัฒนาตนเองทั้งที่สถานศึกษาจัดและหนวย

งานอ่ืนจัดอยางตอเน่ืองในทุกปการศึกษา มีการบริหารสถานศึกษาโดยใชคณะกรรมการวิทยาลัย คณะกรรมการ

บริหารสถานศึกษา สมาคมครู ผูปกครอง และคณะกรรมการมูลนิธิที่เกี่ยวของ มีการประชุมคณะกรรมการอยาง

นอยภาคเรียนละ 1 ครั้ง นําระบบการดูแลนักเรียนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร Student care มาใชในระบบการ

ดูแลนักเรียน ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในงานทะเบียน พัสดุ การเงิน บัญชี และงานสารบรรณ มี Website

ของสถานศึกษาใชเผยแพรขอมูลขาวสาร ใชระบบ Line ในการสื่อสารภายในกําหนดใหมีการลงนามความรวมมือใน

การจัดการเรียน การสอนรวมกันระหวางสถานประกอบการกับสถานศึกษาในการฝกงาน และฝกประสบการณทั้งใน

ระบบปกติและระบบทวิภาคี เพ่ือมีการนิเทศและประเมินผลการฝกโดยครูฝกมีการปฐมนิเทศผูเรียนกอนฝกงาน

และฝกประสบการณ มีการสัมมนาครูฝกประจําสถานประกอบการ มีการระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการ

สอนโดยรับการสนับสนุนดานครุภัณฑ อุปกรณการสอนจากสถานประกอบการเชน แผนกชางอิเล็กทรอนิกส , ชาง

ยนต, ชางกลโรงงาน , ชางกอสราง วิทยาลัยจัดงบประมาณในการจัดหาครุภัณฑ และปรับปรุงแผนกวิชาโดยใชเงิน

บํารุงการศึกษา และยังของบลงทุนจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในการจัดหาครุภัณฑที่มีราคาสูงใน

ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี มีการปรับปรุงแผนกวิชา หองเรียน หองปฏิบัติการ สถานที่จัดทํากิจกรรมเขา

แถวและจัดหาอาคารเรียน 4 ชั้น ขนาด 1920 ตารางเมตรเพ่ิมเติม

มีการปรับปรุงคูระบายน้ํา ระบบกรองนํ้าในโรงงานผลิตนํ้าดื่ม นําระบบไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยมาใช

บําบัดน้ําเสีย และระบบแสงสวาง

มีการปรับยายศูนยวิทยบริการจากอาคารเดิม มายังอาคารใหมที่กอสรางเสร็จและปรับปรุงใหสามารถใหบริการ

ดวยหนังสือปกติ และคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนรูปรับปรุงระบบอินเตอรเน็ตเดิมในสถานศึกษา เปนการเชื่อมโยงดวย

สายไฟเบอรนํา แสง ท้ังวิทยาลัยฯ พรอมขยายเครือขาย WIFI ใหครอบคลุมภายในวิทยาลัย ทั้งระบบของสถาน

ศึกษาเอง และขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอก (AIS)

4.2.3 จุดที่ควรพัฒนา

การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา, หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกําหนดรายวิชาเพิ่ม

เติม ควรดําเนินการรวมกันระหวางสถานศึกษากับสถานประกอบการในสาขาที่จัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี

ควรดําเนินการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูใหครบทุกรายวิชา ควรมีระบบการนิเทศ ติดตามการเรียนการสอน

พัฒนาระบบเครือขายอินเตอรเน็ตความเร็วสูงในสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อใชประโยชนในการจัดการ

เรียนการสอน ควรใชระบบเครือขายอินเตอรเน็ตและโปรแกรมสําเร็จรูปเพ่ือการบริหาร การจัดการเรียนการสอน

ควรเพิ่มสาขา และจํานวนผูเรียนระบบทวิภาคีและเพิ่มเครือขายสถานประกอบการที่จัดการเรียนการสอนระบบ

ทวิภาคีใหมีจํานวนมากข้ึน

Page 48: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 48/57

4.2.4 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

- พัฒนาความพรอมดานเคร่ืองมือ ครุภัณฑ เพ่ือการจัดการเรียน การสอน

- พัฒนาอาคารสถานท่ีโรงฝกงาน หองเรียน หองปฏิบัติการ ใหสวยงาม

- ปรับปรุงทัศนียภาพ

- จัดหางบประมาณเพ่ือพัฒนาระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูง และโปรแกรมสําเร็จรูป

4.3 มาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู

4.3.1 ผลสัมฤทธ์ิ

1) ดานความรวมมือในการสรางสังคมแหงการเรียนรู

1 มีการสนับสนุนใหผูเรียน และผูสอนไดทํานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค หรืองานวิจัย โดย

สนับสนุนงบประมาณ ในการจัดทําใหเกิดผลงานประกวด แขงขันในระดับสถานศึกษา จังหวัด ภาค และ ระดับชาติ

ท้ังโครงงานสิ่งประดิษฐ หุนยนต ไดรับการประกวด และรางวัลอยางตอเนื่อง

2 มีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อใหครูไดเขารับการพัฒนาตนเองทั้งที่สถานศึกษาจัดและหนวยงานอ่ืนจัดอยางตอ

เน่ืองในทุกปการศึกษา

3 มีการบริหารงานแบบมีสวนรวมในสวนของบุคลากรมีรูปแบบคณะกรรมการในการทํากิจกรรม/โครงการตาง ๆ มี

คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา คณะกรรมการวิทยาลัยฯ

4 มีการสนับสนุนงบประมาณใหผูเรียน และผูสอนพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพไดรับการสนับสนุนทางวิชาการ

เครื่องมืออุปกรณครุภัณฑจากสถานประกอบการ ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษาอยางตอเน่ือง

5 มีการจัดโครงการบริการรชุมชน ในรูปแบบตาง ๆ โดยนําฝายบริหาร ครู บุคลากร และผูเรียนไปเขารวม เชนการ

ซอมแซมเครื่องมืออุปกรณในชุมชนทองถิ่น ในโครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน การทําเครื่องเติมออกซิเจนในนํ้าที่

คลองเปรมประชากร ทําหนาที่ศูนยประสานงานการจัดทําเครื่องกําจัดฝุนละอองในอากาศ กําหนดคุณธรรมอัต

ลักษณ “จิตอาสา” ในโครงการสถานศึกษาคุณธรรม

ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

2) ดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย

Page 49: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 49/57

1 มีการสนับสนุนใหผูเรียน และผูสอนไดทํานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค หรืองานวิจัย โดย

สนับสนุนงบประมาณ ในการจัดทําใหเกิดผลงานประกวด แขงขันในระดับสถานศึกษา จังหวัด ภาค และ ระดับชาติ

ท้ังโครงงานสิ่งประดิษฐ หุนยนต ไดรับการประกวด และรางวัลอยางตอเนื่องทั้งในสนามแขงขันที่จัดโดยสํานักงาน

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา และหนวยงานอื่นที่ไดรับการยอมรับ

2 ดานการจัดการเรียนการสอน มีการสนับสนุนใหจัดการเรียนการสอน ในระดับ ปวช, ปวส และระดับปริญญาตรี

ท้ังในระบบปกติ และทิวภาคี และเปดสอนหลักสูตรระยะสั้นในบางวิชาที่สดอดคลองกับความตองการของตลาด

แรงงาน

ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

4.3.2 จุดเดน

มีการสนับสนุนงบประมาณใหผูเรียน และผูสอนพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพอยางตอเนื่อง มีการบริหาร

งานแบบมีสวนรวมในสวนของบุคลากรมีรูปแบบคณะกรรมการในการทํากิจกรรม/โครงการตาง ๆ มีคณะกรรมการ

บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการวิทยาลัยฯ ในสวนการดําเนินการของผูเรียน มีคณะกรรมการองคการวิชาชีพใน

อนาคตแหงประเทศไทย หนวยวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม มีการประชุมอยางตอเนื่องในทุกๆ กิจกรรม มีการจัดทํา

Website ของสถานศึกษาเพ่ือใชในการบริหารจัดการ เชนแจงขอมูล ขาวสาร ความกาวหนาของการจัดทํากิจกรรม/

โครงการ การจัดซื้อจัดจาง การรับสมัครบุคลากร การแจงขาวสารทางการศึกษาใหกับผูเรียน ไดรับการสนับสนุน

ทางวิชาการ เครื่องมืออุปกรณครุภัณฑจากสถานประกอบการ ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากสํานักงานคณะ

กรรมการการอาชีวศึกษาอยางตอเน่ือง มีการจัดโครงการบริหารชุมชน ในรูปแบบตาง ๆ โดยนําฝายบริหาร ครู

บุคลากร และผูเรียนไปเขารวม เชนการซอมแซมเครื่องมืออุปกรณในชุมชนทองถิ่น ในโครงการศูนยซอมสรางเพื่อ

ชุมชน การทําเครื่องเติมออกซิเจนในนํ้าที่คลองเปรมประชากร ทําหนาที่ศูนยประสานงานการจัดทําเครื่องกําจัดฝุน

ละอองในอากาศ กําหนดคุณธรรมอัตลักษณ “จิตอาสา” ในโครงการสถานศึกษาคุณธรรม

มีการสนับสนุนใหผูเรียน และผูสอนไดทํานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค หรืองานวิจัย โดยสนับสนุนงบ

ประมาณ ในการจัดทําใหเกิดผลงานประกวด แขงขันในระดับสถานศึกษา จังหวัด ภาค และ ระดับชาติทั้งโครงงาน

สิ่งประดิษฐ หุนยนต ไดรับการประกวด และรางวัลอยางตอเนื่องทั้งในสนามแขงขันที่จัดโดยสํานักงานคณะ

กรรมการการอาชีวศึกษา และหนวยงานอื่นที่ไดรับการยอมรับ

ดานการจัดการเรียนการสอน มีการสนับสนุนใหจัดการเรียนการสอน ในระดับ ปวช, ปวส และระดับปริญญา

ตรี ท้ังในระบบปกติ และทิวภาคี และเปดสอนหลักสูตรระยะสั้นในบางวิชาที่สดอดคลองกับความตองการของตลาด

แรงงาน

4.3.3 จุดที่ควรพัฒนา

Page 50: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 50/57

การพัฒนาตนเองของผูสอน และผูเรียนยังไมทั่วถึงและสอดคลองกับแผนพัฒนาบุคลากร (ID PLAN) การ

ใชสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการสถานศึกษายังไมมีประสิทธิภาพ และยอมรับจากผูสอนและผูเรียน

การจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค และงานวิจัย ของผูสอนและผูเรียน ยังมีจํานวนนอยและไม

คลอบคลุมทุกแผนกวิชา

การจัดการเรียน การสอน ระบบทวิภาคียังไมครบทุกแผนกและจํานวนผูเรียนยังมีจํานวนนอย

4.3.4 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

- สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ควรจัดงบประมาณดานการพัฒนาตนเองใหกับผูสอนและผูเรียน

และงบประมาณในการจัดทําสิ่งประดิษฐ นวัตกรรมงานวิจัยใหมีจํานวนมากขึ้น

- ควรมีการพัฒนาบุคลากรดานการใชสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน และมีงบ

ประมาณสนับสนุน

- ปรับเปลี่ยนทัศนคติบุคลากร ผูเรียนเรื่องประโยชนของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ แทนการใชระบบปกติ ในการ

บริหารจัดการขอมูล ขาวสารและการเรียนการสอน

ตารางที่ 4.1 สรุปคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561คะแนนที่ได

มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค 88.23

ประเด็นท่ี 1.1 ดานความรู 87.92

ประเด็นท่ี 1.2 ดานทักษะและการประยุกตใช 87.92

ประเด็นท่ี 1.3 ดานคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค 88.85

มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษา 82.67

ประเด็นท่ี 2.1 ดานหลักสูตรอาชีวศึกษา 76.00

ประเด็นท่ี 2.2 ดานการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา 84.00

ประเด็นท่ี 2.3 ดานการบริหารจัดการ 90.67

ประเด็นท่ี 2.4 ดานการนํานโยบายสูการปฏิบัติ 80.00

มาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู 96.25

ประเด็นท่ี 3.1 ดานความรวมมือในการสรางสังคมแหงการเรียนรู 100.00

ประเด็นท่ี 3.2 ดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค งานวิจัย 92.50

สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 89.05

Page 51: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 51/57

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561คะแนนที่ได

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา

ยอดเยี่ยม (รอยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (รอยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (รอยละ 50.00 –

59.99) กําลังพัฒนา (นอยกวารอยละ 50.00)

Page 52: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 52/57

สวนที่ 5

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

ตามเกณฑการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา

ใหสถานศึกษารายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามเกณฑการประเมินคุณภาพการ

ศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา จํานวน 5 ดาน ตามระดับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ดังนี้

5.1 ผลการประเมินรายดานและภาพรวม

สถานศึกษาที่จัดการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น

สูง (ปวส.) และ หรือการฝกอบรมวิชาชีพ รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จํานวน 5 ดาน

25 ขอการประเมิน ดังน้ี

5.1.1 ดานผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษา

การประเมินสมรรถนะผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ที่เปนผลมาจากการพัฒนาคุณภาพ

ทางวิชาการ ทักษะและการประยุกตใช คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค ปรากฏผลดังตารางที่ 5.1

ตารางที่ 5.1 ผลการประเมินดานผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาโดยภาพรวมและจําแนกเปนรายการประเมิน

ขอท่ี รายการประเมิน

ผลการประเมิน คา

นํ้าหนัก

(50)

คะแนนที่ได

จากการประเมิน

(คานํ้าหนักXคาคะแนน)คะแนน

ระดับ

คุณภาพ

1 การดูแลและแนะแนวผูเรียน 2 ปานกลาง 2 4

2 ผูเรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค 5 ยอดเยี่ยม 2 10

3ผูเรียนมีสมรรถนะในการเปนผูประกอบการ หรือการ

ประกอบอาชีพอิสระ3 ดี 3 9

4ผลงานของผูเรียนดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค

หรืองานวิจัย4 ดีเลิศ 3 12

5 ผลการแขงขันทักษะวิชาชีพ 1 กําลังพัฒนา 2 2

6 ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 5 ยอดเยี่ยม 20 100

7ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา (V-

NET)3 ดี 3 9

8 การมีงานทําและศึกษาตอของผูสําเร็จการศึกษา 5 ยอดเยี่ยม 15 75

ผลรวมคะแนนที่ไดจาการประเมิน 221

รอยละของคะแนน ดานท่ี 1 = (ผลรวมคะแนนที่ได X 100) / 250 88.4

Page 53: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 53/57

ขอท่ี รายการประเมิน

ผลการประเมิน คา

นํ้าหนัก

(50)

คะแนนที่ได

จากการประเมิน

(คานํ้าหนักXคาคะแนน)คะแนน

ระดับ

คุณภาพ

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ดานที่ 1 ดานผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษา

ยอดเยี่ยม (รอยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (รอยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอยละ 60.00 – 69.99)

ปานกลาง (รอยละ 50.00 – 59.99) กําลังพัฒนา (นอยกวารอยละ 50.00)

5.1.2 ดานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

สถานศึกษามีการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรใหเปนหลักสูตรฐานสมรรถนะอยางเปนระบบ มีการ

พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกําหนดรายวิชาเพิ่มเติม และมี

การสงเสริมสนับสนุนใหครูจัดทําแผนการจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และนําไปใชในการจัดการ

เรียนการสอนอยางมีคุณภาพ เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะและทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 ปรากฏผลดัง

ตารางท่ี 5.2

ตารางที่ 5.2 ผลการประเมินดานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนโดยภาพรวมและจําแนกเปนรายการ

ประเมิน

ขอท่ี รายการประเมิน

ผลการประเมิน คา

นํ้าหนัก

(10)

คะแนนที่ได

จากการประเมิน

(คานํ้าหนักXคาคะแนน)คะแนนระดับ

คุณภาพ

1. การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ 5

1.1 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอยางเปนระบบ 5 ยอดเยี่ยม 2 10

1.2การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา

หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกําหนดรายวิชาเพิ่มเติม1 กําลังพัฒนา 3 3

2. การจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ 5

2.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติ 5 ยอดเยี่ยม 2 10

2.2การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูสูการปฏิบัติท่ีเนนผูเรียน

เปนสําคัญและนําไปใชใน การจัดการเรียนการสอน5 ยอดเยี่ยม 3 15

ผลรวมคะแนนที่ไดจาการประเมิน 38

รอยละของคะแนน ดานท่ี 2 = (ผลรวมคะแนนที่ได X 100) / 50 76

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ดานที่ 2 ดานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

ยอดเยี่ยม (รอยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (รอยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอยละ 60.00 – 69.99)

ปานกลาง (รอยละ 50.00 – 59.99) กําลังพัฒนา (นอยกวารอยละ 50.00)

Page 54: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 54/57

5.1.3 ดานครูผูสอนและผูบริหารสถานศึกษา

สถานศึกษามีการสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาครูผูสอนใหมีความรู ความสามารถในการจัดการเรียนรู

ตามมาตรฐานตําแหนง สายงานครูผูสอน และผูบริหารสถานศึกษามีทักษะในการบริหาร จัดการศึกษาใหบรรลุเปา

หมายท่ีกําหนดไว ปรากฏผลดังตารางที่ 5.3

ตารางที่ 5.3 ผลการประเมินดานครูผูสอนและผูบริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมและจําแนกเปนรายการประเมิน

ขอท่ี รายการประเมิน

ผลการประเมิน คา

นํ้าหนัก

(20)

คะแนนที่ได

จากการประเมิน

(คานํ้าหนักXคาคะแนน)คะแนนระดับ

คุณภาพ

1. ครูผูสอน 10

1.1 การจัดการเรียนการสอน 5 ยอดเยี่ยม 5 25

1.2 การบริหารจัดการชั้นเรียน 5 ยอดเยี่ยม 3 15

1.3 การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ 5 ยอดเยี่ยม 2 10

2. ผูบริหารสถานศึกษา 10

2.1 การบริหารสถานศึกษาแบบมีสวนรวม 5 ยอดเยี่ยม 5 25

2.2การบริหารจัดการระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหาร

จัดการสถานศึกษา5 ยอดเยี่ยม 5 25

ผลรวมคะแนนที่ไดจาการประเมิน 100

รอยละของคะแนน ดานท่ี 3 = (ผลรวมคะแนนที่ได X 100) / 100 100

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ดานที่ 3 ดานครูผูสอนและผูบริหารสถานศึกษา

ยอดเยี่ยม (รอยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (รอยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอยละ 60.00 – 69.99)

ปานกลาง (รอยละ 50.00 – 59.99) กําลังพัฒนา (นอยกวารอยละ 50.00)

5.1.4 ดานการมีสวนรวม

สถานศึกษามีการสงเสริม สนับสนุนใหสถานประกอบการ บุคคล ชุมชน องคกรตาง ๆ มีสวนรวมใน

การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มีการระดมทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอน เพื่อยกระดับ

และพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ปรากฏผลดังตารางที่ 5.4

ตารางที่ 5.4 ผลการประเมินดานการมีสวนรวมโดยภาพรวมและจําแนกเปนรายการประเมิน

ขอท่ี รายการประเมิน ผลการประเมิน คา คะแนนที่ได

Page 55: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 55/57

นํ้าหนัก

(10)

จากการประเมิน

(คานํ้าหนักXคาคะแนน)คะแนน

ระดับ

คุณภาพ

ขอท่ี รายการประเมิน ผลการประเมิน คา

นํ้าหนัก

(10)

คะแนนที่ได

จากการประเมิน

(คานํ้าหนักXคาคะแนน)คะแนน

ระดับ

คุณภาพ

1 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 4 ดีเลิศ 6 24

2 การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน 5 ยอดเยี่ยม 2 10

3 การบริการชุมชนและจิตอาสา 5 ยอดเยี่ยม 2 10

ผลรวมคะแนนที่ไดจาการประเมิน 44

รอยละของคะแนน ดานท่ี 4 = (ผลรวมคะแนนที่ได X 100) / 50 88

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ดานที่ 4 ดานการมีสวนรวม

ยอดเยี่ยม (รอยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (รอยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอยละ 60.00 – 69.99)

ปานกลาง (รอยละ 50.00 – 59.99) กําลังพัฒนา (นอยกวารอยละ 50.00)

5.1.5 ดานปจจัยพื้นฐาน

สถานศึกษาดําเนินการพัฒนาและดูแลสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติ

การ แหลงการเรียนรู โรงฝกงาน หรืองานฟารม และส่ิงอํานวยความสะดวกใหมีความพรอมและเพียงพอตอการใช

งานของผูเรียนหรือผูรับบริการ เอื้อตอการจัดการเรียนรู สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ปรากฏผลดังตารางที่

5.5

ตารางที่ 5.5 ผลการประเมินดานปจจัยพ้ืนฐานโดยภาพรวมและจําแนกเปนรายการประเมิน

ขอท่ี รายการประเมิน

ผลการประเมิน คา

นํ้าหนัก

(10)

คะแนนที่ได

จากการประเมิน

(คานํ้าหนักXคาคะแนน)คะแนน

ระดับ

คุณภาพ

1อาคารสถานท่ี หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน หรือ

งานฟารม5 ยอดเยี่ยม 2 10

2 ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน 5 ยอดเยี่ยม 2 10

3 แหลงเรียนรูและศูนยวิทยบริการ 5 ยอดเยี่ยม 2 10

4ระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพื่อการใชงานดานสารสนเทศ

ภายในสถานศึกษา5 ยอดเยี่ยม 2 10

5การเขาถึงระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียน

การสอนในช้ันเรียน1 กําลังพัฒนา 2 2

ผลรวมคะแนนที่ไดจาการประเมิน 42

Page 56: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 56/57

ขอท่ี รายการประเมิน

ผลการประเมิน คา

นํ้าหนัก

(10)

คะแนนที่ได

จากการประเมิน

(คานํ้าหนักXคาคะแนน)คะแนน

ระดับ

คุณภาพ

รอยละของคะแนน ดานท่ี 5 = (ผลรวมคะแนนที่ได X 100) / 50 84

สรุป ระดับคุณภาพสถานศึกษา ดานที่ 5 ดานปจจัยพื้นฐาน

ยอดเยี่ยม (รอยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (รอยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอยละ 60.00 – 69.99)

ปานกลาง (รอยละ 50.00 – 59.99) กําลังพัฒนา (นอยกวารอยละ 50.00)

5.1.6 ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษาทั้ง 5 ดาน ปรากฏผลดังตารางที่ 5.6

ตารางที่ 5.6 ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษาจําแนกเปนรายดาน

ท่ี ดานการประเมิน

คา

นํ้าหนัก

(100)

คะแนนที่ได

จากการประเมิน

แตละดาน

รอยละของคะแนน

ที่ไดจากการประเมิน

(ผลรวมคะแนนที่ไดจากการประเมินของดาน X

นํ้าหนักคะแนนของดาน) / คะแนนรวมของดาน

1 ผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษา 50 221 (221 x 50) / 250 = 44.20

2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 10 38 (38 x 10) / 50 = 7.60

3 ครูผูสอนและผูบริหารสถานศึกษา 20 100 (100 x 20) / 100 = 20.00

4 การมีสวนรวม 10 44 (44 x 10) / 50 = 8.80

5 ปจจัยพื้นฐาน 10 42 (42 x 10) / 50 = 8.40

รอยละคะแนนท่ีไดจากการประเมินในภาพรวม 445 89.00

สรุป ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

ยอดเยี่ยม (รอยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (รอยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอยละ 60.00 – 69.99)

ปานกลาง (รอยละ 50.00 – 59.99) กําลังพัฒนา (นอยกวารอยละ 50.00)

Page 57: บทสรุปสําหรับผู บริหาร ส วนที่ 1nptc.ac.th/files/sar/61/V-e-Sar _ ระบบรายงานการ... · 4. มีการควบคุมการจัดการเรียน

6/6/2562 V-e-Sar : ระบบรายงานการประเมนิตนเองของสถานศกึษาอาชวีศกึษา

vesar.org/#/print_sar/2018 57/57

สวนที่ 6

แผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ประเด็นการพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถาน

ศึกษา

แผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

(แผนงาน โครงการ กิจกรรม)

1.การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา 2.การ

พัฒนาตนเองของผูสอน และผูเรียนยังไมทั่วถึงและสอดคลองกับแผน

พัฒนาบุคลากร (ID PLAN) 3.การใชสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ

สถานศึกษายังไมมีประสิทธิภาพ และยอมรับจากผูสอนและผูเรียน

4..การจัดการศึกษาในระบบทวิภาคี 5.การจัดทํานวัตกรรม สิ่ง

ประดิษฐ งานสรางสรรค และงานวิจัย ของผูสอนและผูเรียน

1.โครงการพัมนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชาในแตละ

สาขาวิชา 2.โครงการอบรมเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

3.โครงการปรับปรุงระบบสารสนเทศ 4.โครงการ open house

ตลาดนัดวิชาการ 5.โครงการสนับสนุนการจัดทํานวัตกรรม สิ่ง

ประดิษฐ งานสรางสรรค และงานวิจัย ของผูสอนและผูเรียน