35
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชนิดของผลไม้และสัดส่วนที่เหมาะสมในการทาน ายาซักผ้า โดย นางสาว ตวงพร นิพยาภรณ์ เลขที5 .6/6 นางสาว เพ็ญพิชชา เชี ้ยบุญคณา เลขที14 .6/6 รายงานนี ้เป็นส่วนหนึ ่งของวิชา โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 (402921) ตามหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ของ สสวท. โรงเรียน ชลกันยานุกูล ชลบุรี ภาคเรียนที1 ชั ้นมัธยมศึกษาปีที6 ปีการศึกษา 2553

โครงงานวิทยาศาสตร์chonkanya.ac.th/Gifted/pro/24.pdf · 2015. 8. 11. · โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง

  • Upload
    others

  • View
    13

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • โครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง

    ชนิดของผลไมแ้ละสดัส่วนท่ีเหมาะสมในการท าน ้ายาซกัผา้

    โดย นางสาว ตวงพร นิพยาภรณ ์ เลขท่ี 5 ม.6/6 นางสาว เพญ็พิชชา เช้ียบุญคณา เลขท่ี 14 ม.6/6

    รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชา โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 (ว 402921)

    ตามหลกัสูตรหอ้งเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ของ สสวท. โรงเรียน ชลกนัยานุกลู ชลบุรี

    ภาคเรียนท่ี 1 ชั้นมธัยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2553

  • โครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง

    ชนิดของผลไมแ้ละสัดส่วนท่ีเหมาะสมในการท าน ้ายาซกัผา้

    โดย นางสาว ตวงพร นิพยาภรณ ์ เลขท่ี 5 ม.6/6 นางสาว เพญ็พิชชา เช้ียบุญคณา เลขท่ี 14 ม.6/6

    อาจารยท่ี์ปรึกษาประจ าโรงเรียน อาจารยสุ์ภาพ แป้นดี

    รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชา โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 (ว 402921)

    ตามหลกัสูตรหอ้งเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ของ สสวท. โรงเรียน ชลกนัยานุกลู ชลบุรี

    ภาคเรียนท่ี 1 ชั้นมธัยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2553

  • บทคัดย่อ

    การใชส้ารเคมีมากเกินความจ าเป็น ส่งผลใหเ้กิดมลพิษ ซ่ึงผลิตภณัฑท่ี์ใชใ้นครัวเรือนส่วนใหญ่มีสารเคมีเป็นส่วนประกอบ ผูจ้ดัท าจึงคิดหาส่ิงทดแทนสารเคมีเหล่านั้นโดยเร่ิมศึกษาจากผลผลิตธรรมชาติท่ีหาไดใ้นชุมชน เช่น ผลไมต่้างๆ ซ่ึงน ามาเป็นส่วนประกอบของน ้ ายาซกัผา้โดยจะเป็นอาหารของจุลินทรีย ์นอกจากนั้นยงัเป็นการใชท้รัพยากรใหเ้กิดประโยชน์สูงสุดและช่วยรักษาส่ิงแวดลอ้ม จึงไดศึ้กษาชนิดของผลไมแ้ละสดัส่วนของส่วนผสม ท่ีท าใหน้ ้ ายาซกัผา้จากผลไดไ้มมี้ประสิทธิภาพสูงสุด เพ่ือสามารถใชท้ดแทนน ้ ายาซกัผา้ทัว่ไป โดยน ้ ายาซกัผา้จากผลไม้นั้นมีตน้ทุนในการผลิตต ่า เน่ืองจากใชผ้ลไมท่ี้หาไดง่้ายและมีอยูใ่นทอ้งถ่ิน

    โดยท าการทดลองใชผ้ลไม ้2 ชนิด คือ สม้และมะกรูด เป็นส่วนผสมในการท าน ้ าจุลินทรีย ์ซ่ึงในการทดลองแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนท่ี1 เป็นการท าน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูด ซ่ึงมีการแบ่งสดัส่วนของส่วนผสมออกเป็น3สดัส่วน ดงัน้ี สดัส่วนท่ี1 N8000:จุลินทรียผ์ลไม ้= 150:150 3cm สดัส่วนท่ี2 N8000:จุลินทรียผ์ลไม ้= 200:100 3cm สดัส่วนท่ี3 N8000:จุลินทรีย์ผลไม ้= 250:50 3cm ตอนท่ี 2 เป็นการทดสอบประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัจากสม้และมะกรูด โดยท าการนบัจ านวนจุลินทรียใ์นน ้ าหมกัจากสม้และมะกรูดจากการเพาะเช้ือในอาหารเล้ียงเช้ือ พบว่าจ านวนจุลินทรียจ์ากสม้มีมากกว่าจุลินทรียจ์ากมะกรูด นอกจากน้ียงัท าการสงัเกตและจดบนัทึกลกัษณะทางกายภาพและทางเคมีของน ้ ายาซกัผา้ คือ สี กล่ิน ความหนืด และค่าpH จากนั้นจะท าการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดกบัน ้ ายาซกัผา้ทัว่ไปโดยน าไปซกัคราบสกปรกชนิดต่างๆบนผนืผา้ คือ คราบดินโคลน ซอสมะเขือเทศ และช็อกโกแลตเหลว แลว้จดัท าแบบส ารวจความเห็นจากกลุ่มตวัอยา่ง 20คน

    จากการทดลองพบว่าน ้ ายาซกัผา้จากผลไมท่ี้ต่างชนิดกนัจะมีลกัษณะทางกายภาพและทางเคมีท่ีต่างกนัดว้ย และจากผลการส ารวจพบว่าน ้ ายาซกัผา้จากสม้สดัส่วนท่ี1 สามารถท าความสะอาดคราบทั้งสามชนิดไดดี้ท่ีสุด

  • กิตติกรรมประกาศ

    โครงงานน้ีส าเร็จลงไดด้ว้ยความกรุณาจากอาจารยสุ์ภาพ แป้นดี อาจารยท่ี์ปรึกษาโครงงาน ผูซ่ึ้งกรุณาใหค้วามรู้ ค าแนะน าและตรวจแกไ้ขจนโครงงานเสร็จส้ินสมบูรณ์ ทางคณะผูจ้ดัท าจึงได้ขอกราบขอบพระคุณไวเ้ป็นอยา่งสูง ณ โอกาสน้ี

    ขอกราบขอบพระคุณผูช่้วยศาสตราจารยด์ร.วิสาตรี จากคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา มหาวิทยาลยับูรพา ท่ีใหค้วามรู้ในการนบัจ านวนจุลินทรียท่ี์เกิดข้ึนในน ้ าหมกั และเอ้ือเฟ้ือขอ้มลูในการท าอาหารเล้ียงเช้ือ

    นอกจากน้ียงัขอขอบพระคุณ คุณนอ้ม ธาตุอินทร์ เจา้หนา้ท่ีวิทยาศาสตร์การแพทยจ์ากโรงพยาบาลบา้นบึง ท่ีช่วยเหลือและเอ้ือเฟ้ือสถานท่ีและอุปกรณ์ในการเพาะเล้ียงและนบัจ านวนจุลินทรียใ์นน ้ าหมกั ทา้ยท่ีสุดน้ีหากมีขอ้ผดิพลาดประการใดทางคณะผูจ้ดัท าก็ตอ้งขออภยัในความผดิพลาดนั้นไว ้ณ โอกาสน้ี และหวงัว่าโครงงานน้ีจะเป็นประโยชน์แก่บุคคลท่ีสนใจศึกษาในเร่ือง ชนิดของผลไมแ้ละสดัส่วนท่ีเหมาะสมในการท าน ้ ายาซกัผา้ เพื่อน าไปพฒันาใหเ้กิดประโยชนต่์อไป

    คณะผูจ้ดัท า

  • สารบัญ

    เร่ือง หน้า

    บทคดัยอ่ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบญั ค บทท่ี 1 บทน า ความเป็นมาและความส าคญัของโครงงาน 1 วตัถุประสงค ์ 1 สมมติฐาน 1 ตวัแปรท่ีเก่ียวขอ้ง 2 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดรั้บ 2 ขอบเขตในการศึกษา 2 นิยามศพัทเ์ฉพาะ 2 2 เอกสาร หลกัการ และทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ง ขอ้มลูเบ้ืองตน้เก่ียวกบัจุลินทรียE์M 4 ประเภทของจุลินทรีย ์ 5 ความรู้เบ้ืองตน้เก่ียวกบั Autoclave 7 งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง เร่ือง การประยกุตใ์ชวุ้น้ตามทอ้งตลาดเตรียมเป็น 10 อาหารเล้ียงเช้ือในการเรียนการสอนปฏิบติัการจุลชีววิทยา 3 วิธีด าเนินการ อุปกรณ์ และวตัถุดิบ 11 วิธีการทดลอง 12 ตอนที่ 1 การท าน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูด 12 ตอนที่ 2 การทดสอบประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัจากสม้และมะกรูด 13 ผลการทดลองท่ีคาดว่าจะไดรั้บ 15

  • เร่ือง หน้า

    4 ผลการด าเนินการ ตอนที่ 2 การทดสอบประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัจากสม้และมะกรูด 16 การนบัจ านวนจุลินทรียใ์นน ้ าหมกัจากสม้และมะกรูด 16 การตรวจสอบลกัษณะทางกายภาพของน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูด 16 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพน ้ ายาซกัผา้จากสม้ มะกรูด และน ้ ายาซกัผา้ 18

    ท่ีขายทัว่ไปตามทอ้งตลาดโดยน าไปซกัคราบสกปรกบนผนืผา้ 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้เสนอแนะ สรุปผลการด าเนินการ 21 อภิปรายผลการด าเนินการ 21 ขอ้เสนอแนะ 22 เอกสารอา้งอิง 23 ภาคผนวก ภาคผนวก ภาพประกอบโครงงาน 25 ภาคผนวก แบบส ารวจความคิดเห็น 30

  • บทที1่ บทน า

    ความเป็นมาและความส าคญัของโครงงาน การใชส้ารเคมีมากเกินความจ าเป็น ส่งผลใหเ้กิดมลพิษทั้งทางดิน ทางน ้ า และทางอากาศ ซ่ึงผลิตภณัฑท่ี์ใชใ้นครัวเรือนส่วนใหญ่มีสารเคมีเป็นส่วนประกอบ ท าใหผู้บ้ริโภคไม่สามารถหลีกเล่ียงได ้กลุ่มของพวกเราจึงคิดหาส่ิงทดแทนสารเคมีเหล่านั้นโดยเร่ิมศึกษาจากผลผลิตธรรมชาติท่ีหาไดใ้นชุมชน เช่น ผลไมต่้างๆ ซ่ึงน ามาเป็นส่วนประกอบของน ้ ายาซกัผา้โดยจะเป็นอาหารของจุลินทรีย ์ จุลินทรียE์M เป็นของเหลวสีน ้ าตาล กล่ินเปร้ียวอมหวาน ไม่เป็นอนัตรายต่อส่ิงมีชีวิต เช่น คน สตัว ์พืช และแมลงท่ีเป็นประโยชน์ ช่วยปรับสภาพความสมดุลของส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดลอ้มธรรมชาติ ใชเ้ป็นหวัเช้ือในการเพาะเล้ียงจุลินทรียใ์หมี้จ านวนเพ่ิมข้ึน จึงเป็นการลดระยะเวลาในการเกิดจุลินทรียต์ามธรรมชาติซ่ึงใชเ้วลานานหลายเดือน

    นอกจากนั้นยงัเป็นการใชท้รัพยากรใหเ้กิดประโยชน์สูงสุดและช่วยรักษาส่ิงแวดลอ้ม จึงได้ศึกษาชนิดของผลไมแ้ละสดัส่วนของส่วนผสม ท่ีท าใหน้ ้ ายาซกัผา้จากผลไดไ้มมี้ประสิทธิภาพสูงสุด เพ่ือสามารถใชท้ดแทนน ้ ายาซกัผา้ทัว่ไป โดยน ้ ายาซกัผา้จากผลไมน้ั้นมีตน้ทุนในการผลิตต ่า เน่ืองจากใชผ้ลไมท่ี้หาไดง่้ายและมีอยูใ่นทอ้งถ่ิน

    วตัถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาชนิดของผลไมท่ี้เหมาะสมในการท าน ้ ายาซกัผา้ 2) เพื่อหาอตัราส่วนท่ีเหมาะสมของN8000 จุลินทรียผ์ลไม ้และน ้ า ท่ีมีผลต่อประสิทธิภาพของ น ้ายาซกัผา้ 3) เพ่ือเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้จากผลไมช้นิดต่างๆและน ้ ายาซกัผา้ท่ีขายทัว่ไปตามทอ้งตลาดโดยศึกษาปริมาณจุลินทรียท่ี์เกิดข้ึน ลกัษณะทางกายภาพ ค่าpH และน าไปทดลองซกักบัผา้ท่ีเป้ือนคราบต่างๆและตรวจสอบความจางของคราบหลงัซกั

    สมมตฐิาน 1) ผลไมต่้างชนิดกนัจะน ามาท าน ้ ายาซกัผา้ไดแ้ตกต่างกนั 2) อตัราส่วนของN8000 จุลินทรียผ์ลไม ้และน ้ า ท่ีแตกต่างกนัจะท าใหน้ ้ ายาซกัผา้มีประสิทธิภาพต่างๆกนั 3) ปริมาณจุลินทรีย ์ลกัษณะทางกายภาพ และค่าpH ท่ีต่างกนัจะท าใหผ้ลการทดสอบออกมาต่างกนั

  • ตวัแปร ตวัแปรต้น : ชนิดของผลไม ้ตวัแปรตาม : ประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้จากผลไม ้ตวัแปรควบคุม : ระยะเวลาในการหมกั น ้ าหนกัของผลไม ้ ปริมาณEMท่ีใชเ้ป็นหวัเช้ือ ปริมาณกากน ้ าตาล ปริมาณN8000 ปริมาณน ้ า ปริมาณน ้ าหมกั ตวัแปรต้น : สดัส่วนของN8000 และจุลินทรียผ์ลไม ้ตวัแปรตาม : ประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้จากผลไม ้ตวัแปรควบคุม : ระยะเวลาในการท าน ้ ายาซกัผา้จากผลไม ้

    ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาการท าโครงงาน 1) สามารถใชน้ ้ ายาซกัผา้จากผลไมแ้ทนการใชน้ ้ ายาซกัผา้ท่ีขายตามทอ้งตลาดได ้และทราบสดัส่วนท่ีเหมาะสมท่ีสุด 2) รู้จกั เขา้ใจในวตัถุดิบ สารเคมีและกระบวนการในการผลิตน ้ ายาซกัผา้ เพ่ือปรับปรุงน ้ ายาซกัผา้ใหม้ีประสิทธิภาพ รวมถึงรู้จกัใชท้รัพยากรท่ีมีอยูใ่นทอ้งถ่ิน ใหเ้กิดประโยชน์สูงสุด 3) สามารถหาชนิดของผลไมท่ี้เหมาะสมในการท าน ้ ายาซกัผา้จากผลไมไ้ด ้

    ขอบเขตในการศึกษา - ศึกษาชนิดของผลไม ้คือ สม้ และมะกรูด ในการท าน ้ ายาซกัผา้จากผลไม ้ - ศึกษาสดัส่วนของN8000 จุลินทรียผ์ลไม ้และน ้ า ท่ีเหมาะสมในการท าน ้ ายาซกัผา้

    นิยามศัพท์เฉพาะ 1. น ้ายาซกัผา้จากผลไม ้ - น ้ายาซกัผา้ท่ีใชผ้ลไมเ้ป็นตวัเพาะเช้ือจุลินทรีย ์แลว้น าน ้ า

    จุลินทรียท่ี์ไดไ้ปผสมกบัN8000และน ้ า 2. ประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้ - ความสามารถในการก าจดัคราบสกปรก ในรูปโปรตีน

    ไขมนับนผนืผา้ชนิดต่างๆ มีการตรวจสอบโดยดูจากลกัษณะทางกายภาพ ค่าpH และปริมาณ จุลินทรีย ์

    3. ลกัษณะทางกายภาพ - ลกัษณะท่ีสงัเกตไดจ้ากภายนอก เช่น กล่ิน สี และความหนืด โดยวดัจากระยะเวลาท่ีใชใ้นการไหลไปตามพ้ืนผวิท่ีระยะทางระยะหน่ึง

  • 4. N8000 - มีช่ือทาง เคมีว่า sodium laeryl ether sulfate (SLES)แต่ความเขม้ขน้แตกต่างกนั ส าหรับ N8000 มี SLES approx 27-28% pH approx. 6.5 ซ่ึงถือว่าดีมากในตระกลูน้ี ส่วน N40 กบั N70 เป็น SLES เช่นกนั ทราบว่าเขม้ขน้กว่า ค่าpH สูงกว่า อาจมี % surfactant สูงเกินไป ควรปรับลด%ลง และเพ่ิม foam booster เช่น Comperan KD

  • บทที2่ เอกสารทีเ่กีย่วข้อง

    จุลินทรีย์ (microorganism)

    คือส่ิงท่ีมีชีวิตขนาดเลก็มาก มองดว้ยตาเปล่าไม่เห็น ตอ้งใชก้ลอ้งจุลทรรศน์เพ่ือส่อง เมื่อพดูถึงจุลินทรียค์นส่วนใหญ่ มกั จะเขา้ใจว่า จุลินทรียคื์อเช้ือโรคเป็นตน้เหตุของการเน่าเสียเส่ือมสลายของส่ิงต่างๆ ตลอดจนเป็นสาเหตุของโรคนานาชนิดในมนุษย ์สตัว ์และพืช ซ่ึงตามความเป็นจริงแลว้ จุลินทรียไ์ม่ใช่ว่ามีแต่โทษอยา่งเดียว ประโยชน์ท่ีมนุษยไ์ดจ้ากจุลินทรียก์็มีมาก จุลินทรียม์ีส่วนเก่ียวขอ้งกบัมนุษยใ์นชีวิต ประจ าวนัหลายดา้น เช่น ดา้นอาหาร ไดแ้ก่ ผกั ผลไมด้อง ขนมปัง น ้ าสม้สายชู ซีอ๊ิว เหล่าน้ีลว้นแต่อาศยักิจกรรมของจุลินทรียใ์นการผลิตทั้งส้ิน ทั้งทางตรงและทางออ้ม นอกจากน้ียงัมียารักษาโรคต่างๆ อีกมากมาย โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะ เป็นตน้

    จุลนิทรีย์อเีอม็ (EM)

    EM ยอ่มาจาก Effective Microorganisms หมายถึง กลุ่มจุลินทรียท่ี์มีประสิทธิภาพ ซ่ึง ศ.ดร.เทรูโอะ ฮิงะ นกัวิทยาศาสตร์ ผูเ้ช่ียวชาญสาขาพืชสวน มหาวิทยาลยัริวกิว เมืองโอกินาวา ประเทศญ่ีปุ่น ไดศ้ึกษาแนวคิดเร่ือง " ดินมีชีวิต" ของท่านโมกิจิ โอกะดะ (พ.ศ.2425-2498) บิดาเกษตรธรรมชาติของโลกจากนั้น ดร.ฮิงะ เร่ิมคน้ควา้ทดลองตั้งแต่ปี พ.ศ 2510 และคน้พบ EM เมื่อ พ.ศ. 2526 ท่านอุทิศทุ่มเทท าการวิจยัผลว่ากลุ่มจุลินทรียน้ี์ใชไ้ดผ้ลจริง หลงัจากนั้นศาสนาจารยว์าคุกามิ ไดน้ ามาเผยแพร่ในประเทศไทย โดยท่านเป็นประธานมลูนิธิบ าเพญ็สาธารณประโยชน์ดว้ยกิจกรรมทางศาสนา หรือ คิวเซ (คิวเซ แปลว่า ช่วยเหลือโลก) ปัจจุบนั ตั้งอยูท่ี่ อ.แก่งคอย จ.สระบุรี

  • จากการค้นคว้าพบความจริงเกีย่วกบัจุลนิทรีย์ว่าม ี3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มสร้างสรรค ์เป็นกลุ่มจุลินทรียท่ี์มีคุณภาพ มีประมาณ 10 % 2. กลุ่มท าลาย เป็นกลุ่มจุลินทรียท่ี์เป็นโทษ ท าใหเ้กิดโรค มีประมาณ 10 % 3. กลุ่มเป็นกลาง มีประมาณ 80 % จุลินทรียก์ลุ่มน้ีหากกลุ่มใด มีจ านวนมากกว่ากลุ่มน้ีจะสนบัสนุนหรือร่วมดว้ย ดงันั้น การเพ่ิมจุลินทรียท่ี์มีคุณภาพลงในดิน ก็เพ่ือใหก้ลุ่มสร้างสรรคมี์จ านวนมากกว่า ซ่ึงจุลินทรีย์เหล่าน้ีจะช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินใหก้ลบัมีพลงัข้ึนมาอีกหลงัจากท่ีถกูท าลายดว้ยสารเคมีจนดินตายไป จุลนิทรีย์ม ี2 ประเภท 1. ประเภทตอ้งการอากาศ (Aerobic Bacteria) 2. ประเภทไม่ตอ้งการอากาศ (Anaerobic Bacteria) จุลินทรียท์ั้ง 2 กลุ่มน้ี ต่างพ่ึงพาอาศยัซ่ึงกนัและกนั และสามารถอยูร่่วมกนัได ้จากการคน้ควา้ดงักล่าว ไดม้ีการน าเอาจุลินทรียท่ี์ไดรั้บการคดัและเลือกสรรอยา่งดีจากธรรมชาติ ท่ีมีประโยชน์ต่อพืช สตัว ์และส่ิงแวดลอ้ม มารวมกนั 5 กลุ่ม (Families) 10 จีนสั (Genues) 80 ชนิด (Spicies) ไดแ้ก่

    กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มจุลินทรียพ์วกเช้ือราท่ีมีเสน้ใย (Filamentous fungi) ท าหนา้ท่ีเป็นตวัเร่งการยอ่ยสลาย สามารถท างานไดดี้ในสภาพท่ีมีออกซิเจน มีคุณสมบติัตา้นทานความร้อนไดดี้ ปกติใชเ้ป็นหวัเช้ือผลิตเหลา้ ผลิตปุ๋ยหมกั ฯลฯ

    กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มจุลินทรียพ์วกสงัเคราะห์แสง (Photosynthetic microorganisms) ท าหนา้ท่ีสงัเคราะห์สารอินทรียใ์หแ้ก่ดิน เช่น ไนโตรเจน (N2) กรดอะมิโน (Amino acids) น ้าตาล (Sugar) วิตามิน (Vitamins) ออร์โมน (Hormones) และอ่ืนๆ เพื่อสร้างความสมบูรณ์ใหแ้ก่ดิน

    กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มจุลินทรียท่ี์ใชใ้นการหมกั (Zynogumic or Fermented microorganisms) ท าหนา้ท่ีเป็นตวักระตุน้ใหดิ้นตา้นทานโรค (Diseases resistant) ฯลฯ เขา้สู่วงจรการยอ่ยสลายไดดี้ ช่วยลดการ พงัทลายของดิน ป้องกนัโรคและแมลงศตัรูพืชบางชนิด ของพืชและสตัว ์สามารถบ าบดัมลพิษในน ้ าเสียท่ีเกิดจากส่ิงแวดลอ้มเป็นพิษต่างๆ ได ้

    กลุ่มที ่4 เป็นกลุ่มจุลินทรียพ์วกตรึงไนโตรเจน (Nitrogen fixing microorganisms) มีทั้งพวกท่ีเป็นสาหร่าย (Algae) และพวกแบคทีเรีย (Bacteria) ท าหนา้ท่ีตรึงก๊าซไนโตรเจนจากอากาศเพื่อใหดิ้นผลิตสารท่ีเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโต เช่น โปรตีน (Protein) กรดอินทรีย ์(Organic acids) กรดไขมนั (Fatty acids) แป้ง (Starch or Carbohydrates) ฮอร์โมน(Hormones) วิตามิน (Vitamins) ฯลฯ

    กลุ่มที่ 5 เป็นกลุ่มจุลินทรียพ์วกสร้างกรดแลคติก (Lactic acids) มีประสิทธิภาพในการต่อตา้นเช้ือรา และแบคทีเรียท่ีเป็นโทษ ส่วนใหญ่เป็นจุลินทรียท่ี์ไม่ตอ้งการอากาศหายใจ ท าหนา้ท่ี

  • เปล่ียนสภาพดินเน่าเป่ือย หรือดินก่อโรคใหเ้ป็นดินท่ีตา้นทานโรค ช่วยลดจ านวนจุลินทรียท่ี์เป็นสาเหตุของโรคพืชท่ีมีจ านวนนบัแสน หรือใหห้มดไป นอกจากน้ียงัช่วยยอ่ยสลายเปลือกเมลด็พนัธุ์พืช ช่วยใหเ้มลด็งอกไดดี้และแข็งแรงกว่าปกติอีกดว้ย ลกัษณะทั่วไปของ EM EM เป็นจุลินทรีย ์กลุ่มสร้างสรรค ์เป็นกลุ่มท่ีมีประโยชน์ หรือ เรียกว่ากลุ่มธรรมะ ดงันั้น เวลาจะใช ้EM ตอ้งค านึงถึงอยูเ่สมอว่า EM เป็น ส่ิงมีชีวิต EM มีลกัษณะดงัน้ี

    1. ตอ้งการท่ีอยู ่ท่ีเหมาะสม ไม่ร้อนเกินไป หรือเยน็เกินไป อยูใ่นอุณหภูมิปกติ 2. ตอ้งการอาหารจากธรรมชาติ เช่น น ้ าตาล ร าขา้ว โปรตีน และสารประกอบอ่ืน ๆท่ีไม่เป็นอนัตรายต่อส่ิงมีชีวิต 3. เป็นจุลินทรียจ์ากธรรมชาติ ไม่สามารถใชร่้วมกบัสารเคมีและ ยาฆ่าเช้ือต่าง ๆได ้ 4. เป็นตวัเอ้ือประโยชน์แก่พืช สตัว ์และส่ิงมีชีวิตทั้งมวล 5. EM จะท างานในท่ีมืดไดดี้ ดงันั้นควรใชช่้วงเยน็ของวนั 6. เป็นตวัท าลายความสกปรกทั้งหลาย

    การดูแลเกบ็รักษา 1. หวัเช้ือ EM สามารถเก็บไดน้านประมาณ 1 ปี โดยปิดฝา ใหส้นิท 2. อยา่ท้ิง EM ไวก้ลางแดด และ อยา่เก็บไวใ้นตูเ้ยน็ เก็บรักษาไวใ้นอุณหภูมิปกติ 3. ทุกคร้ังท่ีแบ่งไปใชต้อ้งรีบปิดฝาใหส้นิท เพ่ือไม่ใหเ้ช้ือโรค หรือจุลินทรียใ์นอากาศท่ีเป็นโทษ เขา้ไปปะปน 4. การน า EM ไปขยายต่อ ควรใชภ้าชนะท่ีสะอาด และใชใ้หห้มดในระยะเวลาท่ีเหมาะสม

    ข้อสังเกตพเิศษ

    1. หาก EM เปล่ียนเป็นสีด า มีกล่ินเหมน็เน่า ถือว่า EM ตาย ไม่สามารถใชป้ระโยชนไ์ดอี้ก ให้น า EM ท่ีเสียผสมน ้ ารดก าจดัหญา้และวชัชพืชท่ีไม่ตอ้งการได ้ 2. กรณีเก็บไวน้าน ๆจะมีฝ้าขาวเหนือผวิน ้ า แสดงว่า EM พกัตวั เมื่อเขยา่ภาชนะ ฝ้าสีขาวจะสลายตวั กลบัไปอยูใ่นน ้ าเหมือนเดิมน าไปใชไ้ด ้ 3. เม่ือน าไปขยายเช้ือในน ้ าและกากน ้ าตาล จะมีกล่ินหอมและ เป็นฟองขาวๆ ภายใน 2-3 วนั ถา้ไม่มีฟอง น ้ าน่ิงสนิทแสดงว่าการหมกัขยายเช้ือยงัไม่ไดผ้ล

  • Basic Knowledge of Autoclave and Retort Autoclave เป็นเคร่ืองมือท่ีใชส้ าหรับน่ึงฆ่าเช้ือ โดยใชไ้อน ้ าร้อนและแรงดนัสูง ท าใหข้องท่ีผา่นการน่ึงแลว้อยูใ่นสภาพปราศจากเช้ือ จึงมกัใชเ้คร่ืองน้ีในการน่ึงฆ่าเช้ือของเสียทางชีวภาพเพ่ือก าจดัและป้องกนัการปนเป้ือน และนอกจากจะใชป้้องกนัการปนเป้ือนแลว้ เคร่ือง Autoclave ยงัสามารถใช้ฆ่าเช้ือตวัอยา่งก่อนจะน ามาใชใ้นการทดลองไดอี้กดว้ย ส่วนการใชง้านเคร่ือง Autoclave นั้น ควรมีการทดสอบเคร่ืองอยา่งสม ่าเสมอเพื่อใหส้ามารถใชง้านเคร่ือง Autoclave

    หลักการของ Autoclave คือการน าส่ิงของท่ีตอ้งการท าใหป้ราศจากเช้ือมาไวใ้นหอ้งท่ีมีความร้อนและแรงดนัของไอน ้ าสูงกว่าสภาวะบรรยากาศปกติในช่วงระยะเวลาหน่ึง การน่ึงฆ่าเช้ือโดยทัว่ไปจะใชส้ภาวะท่ี อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส แรงดนัไอน ้ า 15 ปอนดต่์อตารางน้ิว โดยใชร้ะยะเวลาน่ึง 15 นาที หากใช้อุณหภูมิสูงมากๆ และแรงดนัไอน ้ ามากกว่า 15 ปอนดต่์อตารางน้ิว อาจจะมีผลเสียต่ออุปกรณ์ท่ีเป็นโลหะ เพราะอุณหภูมิท่ีสูงมากเกินจะท าใหเ้น้ือโลหะมีคุณสมบติัเปล่ียนไปและมีอายกุารใชง้านสั้นลง รวมทั้งแรงดนัไอน ้ าท่ีสูงเกินไปอาจท าใหผ้วิโลหะเป็นสนิมและสึกกร่อนได ้(ถึงแมจ้ะใช้ระยะเวลาท่ีสั้นก็ตาม) ระยะเวลาในการน่ึงตามท่ีไดก้ล ่่าวถึงน้ี เป็นเวลาท่ีหอ้งน่ึงมีอุณหภูมิและแรงดนัของไอน ้ าเป็นไปตามท่ีก าหนดเท่านั้น ไม่รวมเวลาในการเตรียมหอ้งน่ึงใหม้ีอุณหภูมิและแรงดนัตามท่ีก าหนด Autoclave Model

    คือ Autoclave ขนาดเลก็ท่ีมีความจุไม่เกิน 20 ลิตร (มกัใชใ้นระดบัหอ้งปฏิบติัการ) ) มีคุณสมบติัท่ีส าคญัดงัน้ี 1. หากใชอุ้ณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส แรงดนัไอน ้ าจะเป็น 15 ปอนดต่์อตารางน้ิว และหากใช้อุณหภูมิ 134 องศาเซลเซียส แรงดนัไอน ้ าจะเป็น 30 ปอนด/์ตารางน้ิว โดยอตัโนมติั (เมื่อน่ึงในความดนับรรยากาศปกติ) 2. ไม่จ าเป็นตอ้งมีการไล่อากาศออกจากหอ้งน่ึงก่อนเพ่ิมความดนัดว้ยไอน ้ า เพราะแรงดนัไอน ้ า 15 ปอนดต่์อตารางน้ิว เพียงพอท่ีจะไล่อากาศออกใหห้มดไดอ้ยูแ่ลว้ Autoclave ระบบ Gravity ท่ีขาย

  • กนัในทอ้งตลาดปัจจุบนัมี 2 แบบ โดยดูจากวิธีการท าใหข้องท่ีน่ึงแหง้เป็นหลกั ไดแ้ก่ ระบบการท าใหแ้หง้ใชค้วามร้อนท าใหข้องท่ีน่ึงแลว้แหง้แบบใหม่ (Dry Heat): ระบบการท าใหแ้หง้จะมีตวัดูดอากาศจากภายนอกท่ีเยน็กว่าเขา้สู่หอ้งน่ึง โดยผา่นแผน่กรอง (Bacterial Filter) ขนาดรูพรุน 0.2 ไมครอน อากาศท่ีเยน็กว่าจะไล่อากาศและไอน ้ าท่ีร้อนกว่าซ่ึงอยูภ่ายในหอ้งน่ึงออกสู่หมอ้ตม้ การใชเ้วลาในการท าใหแ้หง้จึงสั้นกว่า แต่ความช้ืนท่ีเกาะอยูก่บัของท่ีน่ึงจะออกไปไม่หมด และจะตอ้งเปล่ียนแผน่กรองอยูบ่่อยๆ เพราะแผน่กรองอาจจะตนัจากอากาศท่ีดูดเขา้ไปได ้ ¡ในปัจจุบนั Autoclave มีระบบปิด-เปิดฝาแบบอตัโนมติั โดยไม่ไดใ้ชว้ิธีการปิดฝาแบบเดิมซ่ึงเป็นแบบหมุนวาวส์ ระบบน้ีจะมี circumferential ring (แหวนเสน้รอบวง) เป็นตวัลอ็กแบบพิเศษซ่ึงท าข้ึนมาจากซิลิโคนกนัความร้อน โดยเม่ือปิดฝาแหวนน้ีก็จะเขา้มาลอ็กฝาปิดไวต้ามรูปท่ี 6 โดยไม่จ าเป็นตอ้งใชแ้รงบีบอดัของฝาแบบเดิม ระบบน้ีจะลอ็กฝาปิดอยา่งอิสระโดยไม่ข้ึนอยูก่บัอุณหภูมิ แต่จะข้ึนอยูก่บัความดนัภายใน โดยฝาปิดจะไม่ยอมเปิดออกจนกว่าความดนัภายในหอ้งบ่มจะอยูใ่นระดบัปกติ และสามารถตั้งการท างานใหฝ้าปิดเปิดออกเม่ือความดนัอยูใ่นระดบัปกติแลว้โดยอตัโนมติัได ้ในส่วนของฝาปิดภายในนั้นส่วนใหญ่จะท ามาจากสเตนเลส ส่วนฝาปิดดา้นบนซ่ึงมีส่วนควบคุม (control panel) และหนา้จอแสดงผลนั้น ท ามาจากพลาสติกชนิดท่ีมีคุณสมบติัเป็นฉนวนกนัความร้อน จึงมีความเส่ียงนอ้ยท่ีจะเกิดความเสียหายของส่วนควบคุมจากความร้อน ส่วนของตวัใหก้ าเนิดไอน ้ า (steam generator) ท่ีอยูใ่นตวัเคร่ืองนั้น เม่ือใช้ร่วมกบัการ Pre-heating แลว้ จะสามารถท าความร้อนใหไ้ดอุ้ณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส โดยใชเ้วลาเพียง 10 นาที (ในกรณีท่ีมีเพียงหอ้งบ่มเปล่าๆ) ส่วนระบบท าความเยน็นั้นจะมีทั้งแบบท่ีเป็นท่อต่ออากาศเยน็จากภายนอกเขา้สู่หอ้งบ่มและระบบท าความเยน็ภายในตวัเคร่ืองเอง ท าใหส้ามารถลดเวลาในการท าความเยน็ไดม้าก การปล่อยอากาศออกเพื่อลดความดนัภายในและลดอุณหภูมิจะมีแผน่กรองช่วยกรองอากาศท่ีผา่นเขา้-ออกหอ้งบ่ม โดยในส่วนของฝาปิดดา้นในจะพดัลมช่วยในการหมุนเวียนอากาศ และมีระบบท าความเยน็โดยใชก้ารควบแน่นของน ้ า เพ่ือช่วยลดกล่ินจากของเสียซ่ึงอาจมีพิษต่อสุขภาพได ้และมีระบบการท าแหง้แบบรวดเร็ว โดยใชเ้คร่ืองใหก้ าเนิดไอน ้ าช่วยในการท าความร้อนใหก้บัภายในหอ้งบ่ม ท าใหข้องท่ีอยูภ่ายในแหง้ไวข้ึน นอกจากน้ี Autoclave ในปัจจุบนัยงัสามารถเช่ือมต่อกบัเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ท าใหส้ามารถเก็บขอ้มลู ดูรายงานผลการน่ึงฆ่าเช้ือเป็นกราฟ และทดสอบการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิไดอี้กดว้ย

  • Old Model

    New Model

  • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การประยุกต์ใช้วุ้นตามท้องตลาดเตรียมเป็นอาหารเลีย้งเช้ือในการเรียนการสอนปฏิบัตกิารจุลชีววทิยา Ploenpit Hanond (เพลินพิศ หานนท)์ 1, Kittipan Samerpitak (กิตติพนัธุ ์เสมอพิทกัษ)์ 2, Aranya Kongthawon (อรัญญา คงถาวร) 3, Krissana Thrakarathai (กฤษณา ตระการไทย) 4

    หลกัการและเหตุผล : เน่ือง จากวุน้ท่ีใชใ้นงานปฏิบติัการจุลชีววิทยาจะเป็นวุน้คุณภาพดี มีราคาแพง ดงันั้นการใชวุ้น้ท าอาหารตามทอ้งตลาดมาทดลองเตรียมเป็นอาหารเล้ียงเช้ือ จุลินทรีย ์ถา้ไดผ้ลท่ีไม่ต่างกนั ยอ่มจะสามารถใชท้ดแทนเพื่อลดตน้ทุนโดยเฉพาะในงานการเรียนการสอนได ้ วตัถุประสงค์ : เพ่ือ ประเมินศกัยภาพของวุน้ตามทอ้งตลาดส าหรับใชใ้นการเตรียมเป็นอาหารเล้ียงเช้ือ แบคทีเรียและเช้ือรา ส าหรับใชใ้นการเรียนการสอนปฏิบติัการจุลชีววิทยา วธิีการ: ทดลองใชวุ้น้ตามทอ้งตลาดเตรียมอาหาร Nutrient agar (NA) และ Sugar assimilation media ส าหรับเพาะเล้ียงแบคทีเรีย 86 สายพนัธุ ์และใชเ้ตรียมอาหาร Sabouraud dextrose agar (SDA) เพ่ือ เพาะเล้ียงเช้ือ 22 สายพนัธุ ์(ราสาย 19 สายพนัธุ,์ ยสีต ์3 สายพนัธุ)์ เปรียบเทียบคุณภาพ และการเจริญเติบโตของจุลินทรียด์งักล่าว กบัอาหารท่ีเตรียมโดยวุน้คุณภาพดีท่ีใชป้ระจ า ผลการทดลอง : แบคทีเรียทั้ง 86 สายพนัธุท่ี์เพาะเล้ียงใน NA และ Sugar assimilation media ท่ี เตรียมจากวุน้ตามทอ้งตลาด มีคุณภาพและคุณสมบติั ไม่แตกต่างจากการเพาะเล้ียงในอาหารท่ีเตรียมดว้ยวุน้คุณภาพดี ส าหรับการใชวุ้น้ตามทอ้งตลาดในอาหาร SDA พบว่าราสาย 9 สายพนัธุ์ใหผ้ลการเจริญเติบโตท่ีไม่แตกต่างจากวุน้คุณภาพดี ส่วน 5 สายพนัธุใ์หผ้ลดีกว่า และ 5 สายพนัธุ์ใหผ้ลท่ีดอ้ยกว่า (Paired t-test, p

  • บทที3่ ขั้นตอนการทดลอง

    อุปกรณ์ 1) ถงัหมกัมีฝาปิด 4 ถงั 2) ขวดพลาสติก 4 ขวด 3) ถงัผสม 6 ถงั 4) ไมพ้าย 5) ขวดพลาสติก 6 ขวด 6) หลอดไมโครทิวบ ์24 หลอด 7) จานเพาะเช้ือ 24 ใบ 8) ขวดชมพู่ บีกเกอร์ แท่งแกว้คนสาร 9) ส าลีกา้น 10) ตะเกียงแอลกอฮอล ์11) ถาดส่ีเหล่ียมยาว 36 cm. 1 ใบ 12) นาฬิกาจบัเวลา 13) กระดาษยนิูเวอร์แซล อินดิเคเตอร์ 14) กะละมงัซกัผา้ 7 ใบ 15) ผา้ดิบขนาด 15x24 2cm 24 ช้ิน 16) ดินโคลน7 ชอ้นโต๊ะ 17) ซอสมะเขือเทศ 7 ชอ้นโต๊ะ 18) ช็อกโกแลตเหลว 7 ชอ้นโต๊ะ 19) น ้ายาซกัผา้ท่ีขายทัว่ไปตามทอ้งตลาด วตัถุดิบ 1) สม้ 600 กรัม 2) มะกรูด 600 กรัม 3) น ้าตาลทรายแดง 400 กรัม 4) Effective Microorganism(EM) 1 ชอ้นโต๊ะ 5) กากน ้ าตาล 1 ชอ้นโต๊ะ 6) น ้าสะอาด 21.3 ลิตร

  • 7) กล่ินผลไม ้4

    3 ออนซ์

    8) N8000 700 กรัม 9) น ้าตม้กระดูกหม ูใชก้ระดูก 1 กก. ต่อ น ้า 1 ลิตร 10) ผงวุน้ 15 กรัม 11) น ้าเกลือเขม้ขน้ 0.85%

    ตอนที่ 1 การท าน ้ายาซกัผา้จากส้มและมะกรูด - การท าน ้าจุลินทรีย์จากน ้าผลไม้ วธิีการทดลอง 1) น า EM 1 ชอ้น ผสมกบักากน ้ าตาล 1 ชอ้น ลงในถงัหมกั 2) ผสมน ้ า 200 3cm ลงในถงัหมกั คนใหเ้ขา้กนัแลว้ปิดฝาหมกัไวเ้ป็นเวลา 7 วนั 3) แบ่งน ้ าจุนทรียท่ี์หมกัไดเ้ป็น 2 ขวด ปริมาณขวดละเท่าๆกนั 4) น าสม้ 600 กรัม หัน่เป็นช้ินๆ น าไปใส่ในถงัหมกัอีกใบหน่ึง 5) ใส่น ้ าตาลทรายแดง 200 กรัม ผสมน ้ าจุลินทรียท่ี์หมกัไดใ้นขอ้ 3 ลงไปหน่ึงขวด 6) ผสมน ้ าสะอาด 4000 3cm คนใหเ้ขา้กนั หมกัท้ิงไว ้10 วนั 7) เมื่อครบ 10 วนั น าช้ินสม้ข้ึนมาแลว้บีบน ้ าออก จะไดเ้ป็นจุลินทรียน์ ้ าสม้ 8) ท าตามขอ้ท่ี 3-7 แต่เปล่ียนจากสม้เป็นมะกรูด ผสมในถงัหมกัอีกใบหน่ึง 9) แบ่งน ้ าหมกัท่ีไดจ้ากสม้และมะกรูดใส่ขวดขนาด 1.25 ลิตร โดยจะเป็นน ้ าหมกัจากสม้ 3 ขวด และน ้ าหมกัจากมะกรูด 3 ขวด

    - การท าน ้ายาซักผ้าจากส้มและมะกรูด ในสัดส่วนของN8000ต่อจุลินทรีย์ผลไม้ ที่ต่างกัน วธิีการทดลอง 1) แบ่งสดัส่วนของน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดดงัต่อไปน้ี น ้ายาซกัผา้จากสม้ - สดัส่วนท่ี1 N8000:จุลินทรียส์ม้ = 150:150 3cm - สดัส่วนท่ี2 N8000:จุลินทรียส์ม้ = 200:100 3cm - สดัส่วนท่ี3 N8000:จุลินทรียส์ม้ = 250:50 3cm น ้ายาซกัผา้จากมะกรูด - สดัส่วนท่ี1 N8000:จุลินทรียม์ะกรูด:น ้า = 150:150 3cm

  • - สดัส่วนท่ี2 N8000:จุลินทรียม์ะกรูด:น ้า = 200:100 3cm - สดัส่วนท่ี3 N8000:จุลินทรียม์ะกรูด:น ้า = 250:50 3cm 2) กวน N8000 100 กรัม กบัจุลินทรียส์ม้ 100 3cm ใหเ้ขา้กนั

    3) เติมน ้ าสะอาด 150 3cm และใส่กล่ินผลไม ้8

    1 ออนซ์

    4) รอใหฟ้องยบุเป็นเวลา 1 วนั จะไดเ้ป็นน ้ ายาซกัผา้จากสม้จ๊ีด 5) ท าตามขอ้ท่ี 2-4 แต่เปล่ียนมาท าในสดัส่วนท่ี2 และ3 จะไดน้ ้ ายาซกัผา้จากสม้ 3 สดัส่วน 6) ท าตามขอ้ 2-5 แต่เปล่ียนจากจุลินทรียส์ม้เป็นจุลินทรียม์ะกรูด

    ตอนที2่ การทดสอบประสิทธิภาพของน ้ายาซกัจากส้มและมะกรูด - ศึกษาปริมาณจุลินทรีย์ในน ้าหมักจากส้มและมะกรูด วธิีการทดลอง 1) น าขวดชมพู่ บีกเกอร์ แท่งแกว้คนสาร จานเพาะเช้ือ หลอดไมโครทิวบ ์ไปฆ่าเช้ือโรคโดยการ autoclave 2) ผสมผงวุน้ลงในน ้ าตม้กระดูกหม ูตั้งไฟคนใหล้ะลาย แลว้น าไป autoclave 3) เทอาหารท่ีผสมในขอ้2 ลงในจานเพาะเช้ือ 24 ใบ แลว้รอใหแ้หง้ 1 คืน 4) dilute น ้าจุลินทรียจ์ากสม้และมะกรูด โดยใชค้วามเขม้ขน้ 10-1 และ10-2

    5) น าสารท่ี dilute ทั้ง 24 หลอด มาเกล่ียในจานเพาะเช่ือท่ีมีอาหาร เก็บในตูอ้บ 37 องศาเซลเซียส รอใหเ้ช้ือโตเป็นเวลา 24 ชม. 6) นบัจ านวนโคโลนีท่ีเกิดข้ึนบนจานเพาะเช้ือแต่ละใบ 7) น าจ านวนโคโลนี ท่ีนบัไดม้าค านวณโดยใชสู้ตร

    จ านวนโคโลนี ส่วนต่างปริมาณ( ) ส่วนกลบัของไดลทูชนั (101, 102)

    8) บนัทึกผลลงในตาราง และ เปรียบเทียบ

    - ตรวจสอบลักษณะทางกายภาพ วธิีการทดลอง 1) เทน ้ ายาซกัผา้จากสม้ในสดัส่วนท่ี 1 ปริมาณ 1 ชอ้นชา ท่ีขอบดา้นหน่ึงของถาดยาวเป็นระยะ 36 cm.

  • 2) เอียงถาดท ามุม 45 องศา กบัแนวระดบั แลว้จบัเวลาท่ีน ้ ายาซกัผา้ไหลจากขอบถาดไปยงัขอบอีกดา้นหน่ึง 3) จดบนัทึกเวลาลงในตาราง และท าเช่นเดิมกบัน ้ ายาซกัผา้อีก 5 ชนิด 4) สงัเกตกล่ินและสีของน ้ ายาซกัผา้ทั้งหกชนิด 5) จดบนัทึกผลการสงัเกตลงในตาราง

    - วดัค่าpH ของน ้ายาซักผ้าจากส้มและมะกรูด วธิีการทดลอง 1) น ากระดาษยนิูเวอร์แซล อินดิเคเตอร์ 6 ช้ิน จุ่มลงในน ้ ายาซกัผา้จากสม้ และมะกรูด อยา่งละ 3 สดัส่วน สดัส่วนละ 1 ช้ิน สงัเกตสีท่ีเปล่ียนแปลงของกระดาษยนิูเวอร์แซลอินดิเคเตอร์ 2) บนัทึกค่าpHท่ีวดัไดล้งในตาราง

    - การเปรียบเทียบประสิทธิภาพน ้ายาซักผ้าจากส้ม มะกรูด และน ้ายาซักผ้าที่ขายทั่วไปตามท้องตลาดโดยน าไปซักคราบสกปรกบนผนืผ้า วธิีการทดลอง 1) ป้ายโคลนลงบนผา้ 8 ผนื ปริมาณผนืละ 1 ชอ้นโต๊ะ ป้ายซอสมะเขือเทศลงบนผา้ อีก8 ผนื ปริมาณผนืละ 1 ชอ้นโต๊ะ และป้ายช็อกโกแลตลงบนผา้อีก7ผนื ปริมาณผนืละ 1 ชอ้นโต๊ะ 2) ผสมน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดทั้ง 3 สดัส่วน และน ้ ายาซกัผา้ท่ีขายทัว่ไปตามทอ้งตลาดกบัน ้ าสะอาดในอตัราส่วน 20:500 3.cm 3) น าผา้ท่ีเป้ือนโคลนไปซกัในน ้ ายาซกัผา้ทั้ง7ชนิด ชนิดละ 1 ผนื 4) ท าตามขอ้ 2-3 แต่เปล่ียนจากผา้ท่ีเป้ือนโคลนเป็นผา้ท่ีเป้ือนซอสมะเขือเทศ และช็อกโกแลต 5) น าผา้ท่ีเป้ือนโคลน ซอสมะเขือเทศ และช็อกโกแลต คราบละ 1 ผนื ไปซกัในน ้ าสะอาด 500

    3.cm เพียงอยา่งเดียว 6) เปรียบเทียบความสะอาดของผา้แต่ละผนืโดยการจดัท าแบบสอบถามผูล้งความเห็นจ านวน 20 คนและบนัทึกผล 7) จดัท าขอ้มลูท่ีเปรียบเทียบไดเ้ป็นกราฟแท่ง

  • ผลการทดลองที่คาดว่าจะได้รับ 1) น ้าจุลินทรียจ์ากมะกรูดสดัส่วนท่ี1 มีค่าpH และจ านวนจุลินทรียท่ี์เหมาะสมในการท าน ้ ายาซกัผา้ใหม้ีประสิทธิภาพมากท่ีสุด 2) น ้ายาซกัผา้จากมะกรูดมีประสิทธิภาพมากกว่าน ้ ายาซกัผา้ท่ีขายทัว่ไปตามทอ้งตลาด เพราะสามารถขจดัคราบโคลน ซอสมะเขือเทศและช็อกโกแลตไดส้ะอาดกว่า 3) เรียงล าดบัประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้ตามสดัส่วนไดด้งัน้ี สดัส่วนท่ี1>สดัส่วนท่ี2>สดัส่วนท่ี3 4) เรียงล าดบัประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้ตามชนิดของน ้ ายาไดด้งัน้ี น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูด>น ้ายาซกัผา้จากสม้>น ้ายาซกัผา้ทัว่ไป

  • บทที ่4

    ผลการด าเนินการ

    ตอนที่ 2 การทดสอบประสิทธิภาพของน า้ยาซักผ้าจากส้มและมะกรูด - การนับจ านวนจุลนิทรีย์ในน า้หมกัจากส้มและมะกรูด

    จากการค านวณจุลินทรียท่ี์เกิดทั้งหมดในน ้ าหมกัจากสม้และมะกรูด โดยน าจ านวนโคโลนี

    ท่ีนบัไดม้าค านวณโดยใชสู้ตร จ านวนโคโลนี ส่วนต่างปริมาณ( ) ส่วนกลบัของไดลทู

    ชนั (101, 102) ไดผ้ลดงัตารางท่ี 1

    ตารางที่ 1 ตารางแสดงจ านวนจุลินทรียใ์นน ้ าหมกัจากสม้และมะกรูด

    ชนิดของผลไมท่ี้น ามา เพาะจุลินทรีย ์

    ความเขม้ขน้ จ านวนโคโลนี ท่ีนบัได ้

    จ านวนจุลินทรีย ์ในน ้ าจุลินทรีย์ทั้งหมด(cfu)

    ค่าเฉล่ีย(cfu)

    สม้ 1 160 1600

    1766.67 10-1 17 1700 10-2 2 2000

    มะกรูด 1 103 1030

    976.67 10-1 9 900 10-2 1 1000

    จากขอ้มลูในการทดลองดงัแสดงในตารางท่ี 1 พบว่าค่าเฉล่ียของจ านวนจุลินทรียใ์นน ้ าหมกั หลงัจากเพาะในจานเพาะเช้ือแลว้เก็บในตูอ้บ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชม. สามารถเปรียบเทียบไดด้งัน้ี จ านวนจุลินทรียใ์นน ้ าหมกัจากสม้ 1766.67 cfu มีมากกว่าจ านวนจุลินทรียใ์นน ้ าหมกัจากมะกรูด 976.67cfu

    - การตรวจสอบลกัษณะทางกายภาพของน า้ยาซักผ้าจากส้มและมะกรูด จากการตรวจสอบความหนืดของน ้ ายาซกัผา้โดยจบัเวลาท่ีน ้ ายาซกัผา้ในถาดไหลจากขอบดา้นหน่ึงไปยงัขอบอีกดา้นหน่ึง ไดผ้ลดงัตารางท่ี 2

  • ตารางที ่2 ตารางบนัทึกเวลาท่ีน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดใชใ้นการไหลจากปลายดา้นหน่ึงของถาดไปยงัอีกดา้นหน่ึง เป็นระยะ 36 cm.

    ทดลองคร้ังท่ี

    เวลาท่ีน ้ ายาซกัผา้ชนิดต่างๆใชใ้นการไหล(วินาที) น ้ายาซกัผา้จากสม้ น ้ายาซกัผา้จากมะกรูด

    สดัส่วนท่ี1

    สดัส่วนท่ี2

    สดัส่วนท่ี3

    สดัส่วนท่ี1

    สดัส่วนท่ี2

    สดัส่วนท่ี3

    1 5 11.7 29.5 8 11.3 68 2 6 10.5 30 7 13 64.8 3 5.6 12 29 7.5 12.4 66.1

    ค่าเฉลีย่ 5.5 11.4 29.5 7.5 12.2 66.3

    จากขอ้มลูในการทดลองดงัแสดงในตารางท่ี 2 พบว่าเวลาท่ีน ้ ายาซกัผา้ชนิดต่างๆใชใ้นการไหลจากปลายดา้นหน่ึงของถาดไปยงัอีกดา้นหน่ึง เป็นระยะ 36 cm. ท ามุม 45 องศากบัแนวระดบั สามารถเรียงล าดบัจากมากไปนอ้ยไดด้งัน้ี คือ น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี3 66.3 วินาที น ้ ายาซกัผา้ซกัผา้จากสม้สดัส่วนท่ี3 29.5 วินาที น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี2 12.2 วินาที น ้ ายาซกัผา้จากสม้สดัส่วนท่ี2 11.4 วินาที น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี1 7.5 วินาที และน ้ ายาซกัผา้จากสม้สดัส่วนท่ี1 5.5 วินาที

    จากการสงัเกตกล่ินและสีของน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูด ไดผ้ลดงัตารางท่ี 3 ตารางที ่3 ตารางบนัทึกลกัษณะทางกายภาพ(กล่ินและสี) ของน ้ ายาซกัผา้

    น ้ายาซกัผา้จากผลไม ้ กล่ิน สี

    สม้ สดัส่วนท่ี1 กล่ินเปร้ียวของสม้แรง ฉุน สีเหลืองออกสม้ สดัส่วนท่ี2 กล่ินเปร้ียวของสม้เลก็นอ้ย สีเหลือง สดัส่วนท่ี3 มีกล่ินฉุนเลก็นอ้ย สีเหลืองอ่อน

    มะกรูด สดัส่วนท่ี1 กล่ินมะกรูดชดัเจน ฉุน สีสม้เขม้ สดัส่วนท่ี2 มีกล่ินมะกรูดไม่ฉุนนกั สีสม้ สดัส่วนท่ี3 มีกล่ินมะกรูดจาง ๆ สีสม้อ่อน

  • จากขอ้มลูในการทดลองดงัแสดงในตารางท่ี 3 พบว่าทั้งน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดในสดัส่วนท่ี1 มีสีเขม้กว่าในสดัส่วนท่ี 2 และ 3 ตามล าดบั ส่วนกล่ินของทั้งน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดในสดัส่วนท่ี1 มีกล่ินแรงกว่าในสดัส่วนท่ี 2 และ 3 ตามล าดบัเช่นกนั

    การวดัค่าpHของน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดโดยใชก้ระดาษยนิูเวอร์แซล อินดิเคเตอร์ ไดผ้ลดงัตารางท่ี 4 ตารางที่ 4 ตารางบนัทึกค่าpHของน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูด

    น ้ายาซกัผา้จากผลไม ้ ค่าpH

    สม้ สดัส่วนท่ี1 7 สดัส่วนท่ี2 8 สดัส่วนท่ี3 8

    มะกรูด สดัส่วนท่ี1 6.5 สดัส่วนท่ี2 7.5 สดัส่วนท่ี3 8

    จากขอ้มลูในการทดลองดงัแสดงในตารางท่ี 4 พบว่า ค่าpHของน ้ ายาซกัผา้ท่ีวดัโดยใช้กระดาษยนิูเวอร์แซล อินดิเคเตอร์ สามารถเรียงล าดบัจากมากไปนอ้ยไดด้งัน้ี คือ น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี3 เท่ากบัน ้ ายาซกัผา้จากสม้สดัส่วนท่ี 2 และ 3 คือ pH=8 น ้ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี2 pH=7.5 น ้ายาซกัผา้จากสม้สดัส่วนท่ี1 pH=7 และน ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี1 pH=6.5 - การเปรียบเทียบประสิทธิภาพน า้ยาซักผ้าจากส้ม มะกรูด และน า้ยาซักผ้าที่ขายทั่วไปตามท้องตลาดโดยน าไปซักคราบสกปรกบนผนืผ้า จากการเปรียบเทียบประสิทธิภาพน ้ ายาซกัผา้จากสม้ มะกรูด และน ้ ายาซกัผา้ท่ีขายทัว่ไปตามทอ้งตลาดโดยน าไปซกัคราบสกปรกบนผนืผา้แลว้สงัเกตรอยคราบท่ีเหลืออยูบ่นผา้ และจดัท าแบบส ารวจจากกลุ่มตวัอยา่ง 20 คน เพ่ือลงความเห็นว่าน ้ ายาซกัผา้ชนิดใดสามารถซกัผา้ไดส้ะอาดท่ีสุด ไดผ้ลดงัตารางท่ี 5

  • ตารางที ่5 ตารางเปรียบเทียบความสะอาดของผา้หลงัจากซกัดว้ยน ้ ายาซกัผา้ชนิดต่างๆ

    ชนิดของคราบ

    จ านวนผูท่ี้ลงความเห็นว่าซกัผา้ไดส้ะอาดท่ีสุด น ้ายาซกัผา้จากสม้ น ้ายาซกัผา้จากมะกรูด น ้ายา

    ซกัผา้ทัว่ไป

    น ้าสะอาด

    สดัส่วนท่ี1

    สดัส่วนท่ี2

    สดัส่วนท่ี3

    สดัส่วนท่ี1

    สดัส่วนท่ี2

    สดัส่วนท่ี3

    โคลน 20 - - 16 2 1 - - ซอสมะเขือเทศ 10 2 2 8 6 - 6 - ช็อกโกแลตเหลว 12 - - 6 5 1 8 - จากขอ้มลูในการทดลองดงัแสดงในตารางท่ี 5 พบว่า จ านวนผูล้งความเห็นว่าน ้ ายาซกัผา้ท่ีสามารถท าความสะอาดคราบโคลนบนผา้ดิบไดส้ะอาดท่ีสุด เรียงล าดบัจากมากไปนอ้ยไดด้งัน้ี คือ น ้ ายาซกัผา้จากสม้สดัส่วนท่ี1 20คน น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี1 16คน น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี2 2คน และน ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี3 1คน น ้ ายาซกัผา้ท่ีสามารถท าความสะอาดคราบซอสมะเขือเทศบนผา้ดิบไดส้ะอาดท่ีสุด เรียงล าดบัจากมากไปนอ้ยไดด้งัน้ี คือ น ้ ายาซกัผา้จากสม้สดัส่วนท่ี1 10คน น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี1 8คน น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี2และน ้ ายาซกัผา้ทัว่ไปอยา่งละ 6คน และน ้ ายาซกัผา้จากสม้สดัส่วนท่ี2และ3 อยา่งละ 2 คน น ้ ายาซกัผา้ท่ีสามารถท าความสะอาดคราบช็อกโกแลตเหลวบนผา้ดิบไดส้ะอาดท่ีสุด เรียงล าดบัจากมากไปนอ้ยไดด้งัน้ี คือ น ้ ายาซกัผา้จากจากสม้สดัส่วนท่ี1 12คน น ้ ายาซกัผา้ทัว่ไป 8คน น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี1 6คน น ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี2 5คน และน ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดสดัส่วนท่ี3 1คน

  • 0

    5

    10

    15

    20

    25

    ส้ม1 ส้ม2 ส้ม3 มะกรูด1 มะกรูด2 มะกรูด3 ทัว่ไป น า้เปลา่

    โคลนซอสมะเขือเทศช็อคโกแลต

    กราฟที ่2.1 แสดงจ านวนผูท่ี้ลงความเห็นว่าน ้ ายาซกัผา้ชนิดใดสามารถซกัผา้ท่ีเป้ือนคราบต่างๆได้สะอาดท่ีสุด

  • บทที ่5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

    สรุปผลการทดลอง

    1. น ้าหมกัท่ีหมกัจากผลไมต่้างชนิดกนัคือ สม้และมะกรูด มีจ านวนจุลินทรียท่ี์เกิดข้ึนต่างกนั โดยน ้ าหมกัจากสม้สม้เกิดจุลินทรียไ์ดม้ากกว่าน ้ าหมกัจากมะกรูด เพราะมีสภาพเหมาะสมกบัการเจริญเติบโตของจุลินทรียม์ากกว่า 2. น ้ายาซกัผา้จากผลไมต่้างชนิดและต่างสดัส่วนกนั มีลกัษณะทางกายภาพ คือ ความหนืด สี และกล่ิน แตกต่างกนั 3. น ้ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดในสดัส่วนท่ี1 คือ N8000:น ้าจุลินทรีย ์เท่ากบั 1:1 มีประสิทธิภาพในการท าความสะอาดคราบชนิดต่างๆไดดี้ท่ีสุด และพบว่าน ้ ายาซกัผา้จากสม้มีประสิทธิภาพดีกว่าน ้ ายาซกัผา้จากมะกรูดและน ้ ายาซกัผา้ทัว่ไป 4. ปริมาณจุลินทรียใ์นน ้ ายาซกัผา้มีผลต่อประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้ โดยน ้ ายาซกัผา้ท่ีมีปริมาณจุลินทรียม์ากจะสามารถขจดัคราบต่างๆไดดี้

    อภปิรายผลการด าเนินการ

    จากการศึกษาผลการทดสอบประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดในสดัส่วนต่างๆทางดา้นกายภาพและทางเคมีโดยการสงัเกตสี กล่ิน ความหนืด วดัค่าpHของน ้ ายาซกัผา้ และนบัจ านวนจุลินทรียใ์นน ้ าหมกั พบว่า สดัส่วนของปริมาณN8000ต่อน ้ าจุลินทรีย ์และจ านวนจุลินทรียใ์นน ้ าหมกัท่ีแตกต่างกนั เป็นปัจจยัท่ีมีผลต่อประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้ จึงส่งผลใหน้ ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดสามารถท าความสะอาดคราบต่างๆบนผา้ไดต่้างกนั โดยท าการส ารวจลงความเห็นจากกลุ่มตวัอยา่ง 20 คน จุลินทรียE์Mท่ีใชเ้ป็นส่วนประกอบในน ้ าหมกัคือกลุ่มจุลินทรียห์ลายชนิดท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถช่วยก าจดัคราบต่างๆบนผา้ได ้โดยท างานร่วมกบัN8000ซ่ึงเป็นสารซกัลา้ง สงัเกตไดจ้ากน ้ ายาซกัผา้ท่ีมีปริมาณจุลินทรียม์ากจะสามารถก าจดัคราบสกปรกบนผา้ไดดี้กว่าน ้ ายาซกัผา้ท่ีมีปริมาณ จุลินทรียน์อ้ยกว่า

  • ข้อเสนอแนะ 1. ควรท าการทดลองใชผ้ลไมห้ลากหลายชนิดในการหมกัเป็นน ้ าจุลินทรีย ์ เน่ืองจากอาจพบผลไมช้นิดอ่ืนท่ีเหมาะสมในการท าน ้ ายาซกัผา้มากกว่าสม้ 2. ควรศึกษาวิธีการค านวณจุลินทรียใ์นน ้ าหมกัใหไ้ดจ้ านวนท่ีละเอียดยิง่ข้ึน และใชอ้าหารเล้ียงเช้ือท่ีไดม้าตรฐาน เพ่ือใหไ้ดข้อ้มลูท่ีถกูตอ้งและน่าเช่ือถือมากข้ึน 3. ควรท าการทดลองเปล่ียนสดัส่วนของN8000ต่อน ้ าจุลินทรียใ์นน ้ ายาซกัผา้ใหห้ลากหลายยิง่ข้ึน เพ่ือหาสดัส่วนท่ีท าใหน้ ้ ายาซกัผา้มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด 4. ควรท าการทดสอบประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้กบัคราบชนิดอ่ืนๆบนผา้หลากหลายชนิด เพื่อใหผ้ลการทดลองมีความถกูตอ้งแม่นย ามากข้ึน รวมท าศึกษาวิธีการอ่ืนๆท่ีใชใ้นการทดสอบใหไ้ดม้าตรฐานยิง่ข้ึน

  • เอกสารอ้างอิง

    จุลินทรีย(์ออนไลน์). สืบคน้จาก: ดร. สนัทดั ศิริอนนัตไ์พบูลย ์http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=81&i2=3

    จุฬา รัตน์ ปริยชาติกุล, ภทัราภรณ์ กา้นสิทธ์ิ, วิจิตรา สุขรมย,์ พรทิพย ์ป่ินละออ, อรุณนี สงักา, เสกสิทธ์ิ สงัคีรี. การใชผ้งวุน้ไทยในงานทางชีวโมเลกุล. การประชุมวิชาการทางเทคนิคการแพทยค์ร้ังท่ี 27 : การวิเคราะห์ทางหอ้งปฏิบติัการสู่การประยกุตใ์ชท้างคลินิก (Laboratory Investigation from lab to Clinical use). สมาคมเทคนิคการแพทยแ์ห่งประเทศไทย. 2546 : 237. มลูนิธิ สอวน. ชีววิทยา . พิมพค์ร้ังท่ี4 . บริษทัด่านสุทธาการพิมพ ์จ ากดั, 2550

    จริยา ชมวารินทร์, กิตติพนัธุ ์เสมอพิทกัษ,์ นเรศ วโรภาสตระกลู. แบคทีเรียวิทยาทางการแพทย ์พิมพค์ร้ังท่ี 2. ขอนแก่น : มหาวิทยาลยัขอนแก่น, 2541. Basic Knowledge of Autoclave and Retortz(ออนไลน์). สืบคน้จาก: http://www.acmega.co.th/thai/Knowing%20Retort%20%28Thais%29.htm

    http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=81&i2=3

  • ภาคผนวก

  • ภาคผนวก ภาพประกอบโครงงาน

    ภาพที่1 แสดงการท าน ้ าหมกัจากสม้และมะกรูด

    ภาพที่2 แสดงการท าน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดในสดัส่วนต่างๆ

    สม้

    มะกรูด

    กากน ้าตาล

    น ้าตาลทรายแดง

    N8000และกลิ่นผลไม ้

  • ภาพที3่ แสดงการนบัจ านวนจุลินทรียท่ี์เกิดข้ึนในน ้ าหมกัจากสม้และมะกรูด

    ภาพที่4 แสดงการวดัค่าpH ของน ้ ายาซกัผา้จากสม้และมะกรูดในสดัส่วนต่าง ๆ

    ภาพที่5 แสดงการวดัความหนืดของน ้ ายาซกัผา้

  • ภาพที่6 แสดงการทดสอบประสิทธิภาพของน ้ ายาซกัผา้โดยน ามาซกัคราบสกปรกต่าง ๆ

    ภาพที่7 แสดงภาพผา้ดิบก่อนซกั

  • ภาพที่8 แสดงภาพผา้ดิบหลงัจากท่ีซกัดว้ยน ้ ายาซกัผา้ชนิดต่างๆและน ้ าเปล่า

  • ภาพที่9 แสดงภาพการลงความเห็นจากกลุ่มตวัอยา่ง 20 คน ว่าผา้ท่ีซกัดว้ยน ้ ายาซกัผา้ชนิดใดซกัผา้ไดส้ะอาดท่ีสุด