181
รรรรร รร รรรร rachadamnurn issue23 รรรรรรรร 2555 รรรรรรรรรรรรรรรร

ข้อมูลประเทศสิงคโปร์เพื่อใช้ ...thaifranchisedownload.com/dl/group12120120724151804.doc · Web view52 ธ รย ทธ บ

  • Upload
    others

  • View
    32

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ข้อมูลประเทศสิงคโปร์เพื่อใช้วิเคราะห์AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ราชดำเนิน

rachadamnurn issue23

มิถุนายน 2555

ราชดำเนินโพลล์

เปิดโปง

ค่าครองชีพคนข่าว

สุรินทร์ พิศสุวรรณ

เลขาธิการอาเซียน

“สื่อมวลชนไทย

ยงั ขาดองค์ความรู้

เรื่องประชาคมอาเซียน”

are you ready ?

aec

• สารบัญ

2 • ราชดำเนิน • มิถุนายน 2555

5 นักข่าวไทย

14 ทีวีดาวเทียม

คณะกรรมการบริหาร สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ปี พ.ศ.2555

10 เทคนิคสัมภาษณ์สไตล์

Larry Jagan

นายกสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย

นายชวรงค์ ลิมป์ปัทมปาณี (ไทยรัฐ)

กรรมการบริหาร สมาคมฯ

ดร.สุรศักดิ์ จิรวสั ตร์มงคล (ASTV ผ้จู ดั การ) อปุ นายกฝ่ายบรหิ าร สมาคมฯ

นายเสด็จ บุนนาค (คมชัดลึก) อุปนายกฝ่ายสิทธิเสรีภาพ

และการปฏิรูปสื่อ สมาคมฯ

นายอนุชา เจริญโพธิ์ (บางกอกโพสต์) อุปนายกฝ่ายต่างประเทศ สมาคมฯ

นางสาวอมรรัตน์ มหิทธิรุกข์ (บางกอกโพสต์) เลขาธิการและอุปนายก

ฝ่ายวิชาการ สมาคมฯ

นางสาวจินตนา จันทร์ไพบูลย์ (สยามรัฐ) รองเลขาธิการฝ่ายวิชาการ สมาคมฯ

นายปราเมศ เหล็กเพ็ชร์ (ไทยรัฐ) รองเลขาธิการ ฝ่ายสิทธิเสรีภาพ

และการปฏิรูปสื่อ สมาคมฯ

นางสาวเรวดี พงศ์ไชยยง (มติชน) เหรัญญิก สมาคมฯ

นายพริษฐ์ เอี่ยมพงษ์ไพบูลย์ (เดลินิวส์) นายทะเบียน สมาคมฯ

นายสมศักดิ์ ศรีกำเหนิด (บ้านเมือง) กรรมการฝ่ายสวัสดิการ

และสมาชิกสัมพันธ์ สมาคมฯ

นายเชษฐ์ สุขสมเกษม (ไทยรัฐ) กรรมการฝ่ายสิทธิเสรีภาพ

และการปฏิรูปสื่อ สมาคมฯ

นายนวพรรษ บุญชาญ (เดลินิวส์) กรรมการฝ่ายวิชาการ สมาคมฯ

นางสาวบุษดี พนมภู (บ้านเมือง) กรรมการฝ่ายวิชาการ สมาคมฯ

นางสาวประนอม บุญล้ำ (กรุงเทพธุรกิจ) กรรมการฝ่ายวิชาการ สมาคมฯ

นางสาวกรชนก รักษาเสรี (เดอะเนชั่น) กรรมการฝ่ายต่างประเทศ สมาคมฯ

กรรมการควบคุมจริยธรรม

นายสมาน สุดโต(โพสต์ทูเดย์)

นายจักรกฤษ์ เพิ่มพูล (กรุงเทพธุรกิจ)

นายบรรยงค์ สุวรรณผ่อง (อีคอนนิวส์)

นายบุตรดา ศรีเลิศชัย (เดลินิวส์)

นายสวิชย์ บำรุงสุข (สยามรัฐ)

ทำไม...ต้องอาเซียน

‘ผมถามแทนประชาชน’

สมรภูมิใหม่ของคนข่าว

บรรณาธิการ

นายเสถียร วิริยะพรรณพงศา

..........................................

กองบรรณาธิการ

นายสวิชย์ บำรุงสุข

นายบุตรดา ศรีเลิศชัย

นายสุริยะ คชินทร

นายปราเมศ เหล็กเพ็ชร์

นายชัยฤทธิ์ ยนเปี่ยม

นายพรพัฒน์ ชุนชฎาธาร

นายพนัสชัย คงศิริขันต์

นายสุเมธ สมคะเน

นายพีรพัฒน์ ดิลกกัลยากุล

นายพงศ์พิพัฒน์ บัญชานนท์

นายธนวัฒน์ เพ็ชรล่อเหลียน

น.ส.สุภาภรณ์ อัษฎมงคล

น.ส. น.รินี เรืองหนู

น.ส.อรพิน ลิลิตวิศิษฏวงศ์

น.ส.ขนิษฐา เทพจร

นายวิจักร์พันธุ์ หาญลำยวง

นายอรรถภูมิ กุลอองนะ

นายจำนง ศรีนคร

เยาวริน แก่นภักดี

..........................................

เลขานุการกองบรรณาธิการ

น.ส.หทัยรัตน์ พหลทัพ

..........................................

ออกแบบปก

นายยอดยิ่ง บุญญานุภาพ

..........................................

ฝ่ายศิลป์

นายนคร บุญญา

นายยอดยิ่ง บุญญานุภาพ

..........................................

พิสูจน์อักษร

น.ส.ศิรินิภาภรณ์ อุฒมนตรี

น.ส.ภัทราพร โพธิ์ทองสุข

..........................................

มิถุนายน 2555 • ราชดำเนิน • 3

มารี โคลวิน

ตำนานเหยี่ยวข่าวสงคราม

หญิงแดนตาย

33

35 นายประชาช้ำชอก

ตอบโจทย์สื่อ

41 ร่างทรงสิงสื่อไทย 44 ยุทธการ‘ยึด’

หอกการเมอื งพ่งุตรง

ถึงกอง บก.

รายนามคณะกรรมการสภาการหนังสือพิมพ์ แห่งชาติ สมัยที่ 7

1. นายจักร์กฤษ เพิ่มพูล กรรมการ ประเภทที่ 2

ประธาน

2. นางผุสดี คีตวรนาฏ กรรมการประเภทที่ 3

รองประธานคนที่ 1

3. ศ.พเิศษ สทิ ธโิชค ศรเีจรญิ กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ

รองประธานคนที่ 2

4. นายวิโรจน์ วัฒนธาดากุล กรรมการประเภทที่ 1

เลขาธิการ

5. ดร.เฉลิมชัย ยอดมาลัย กรรมการประเภทที่ 2

รองเลขาธิการ

6. นางสาวเจียมจิตต์ แซ่อึ่ง กรรมการประเภทที่ 3

เหรัญญิก

7. นางอุบลนัดดา สุภาวรรณ กรรมการประเภทที่ 1

8. นายพรชัย ปุณณวัฒนาพร กรรมการประเภทที่ 1

9. นายธนดล มีถม กรรมการประเภทที่ 1

10. นายบรรหาร บุญเขต กรรมการประเภทที่ 1

11. นายธีรวัฒน์ ธรรมสกุล กรรมการประเภทที่ 2

12. นายศักดิ์สิทธิ์ วิบูลศิลป์โสภณ กรรมการประเภทที่ 2

13. นายภัทระ คำพิทักษ์ กรรมการประเภทที่ 2

14. นายนพรัฐ พรวนสุข กรรมการประเภทที่ 3

15. นายสุริยะ คชินทร กรรมการประเภทที่ 3

16. นายเกยี รตชิ ยั พงษ์พาณชิ ย์ กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ

17. นายกวี จงกจิ ถาวร กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ

18. รศ.ดร.ดรณุ ีหริ ญั รกั ษ์ กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ

19. นายวทิ ติ ลนี ตุ พงษ์ กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ

20. นางสาวสารี อ๋องสมหวงั กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ

21. รศ.ดร.เจษฎ์ โทณะวณกิ กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ

ดร.อิสระ นิติทัณฑ์ประภาศ ที่ปรึกษาฯ

ศ.นพ.ประเวศ วะสี ที่ปรึกษาฯ

ดร.อัมมาร สยามวาลา ที่ปรึกษาฯ

พล.ต.อ.วสิษฐ เดชกุญชร ที่ปรึกษาฯ

คุณหญิงอัมพร มีศุข ที่ปรึกษาฯ

นายมานิจ สุขสมจิตร ที่ปรึกษาฯ

นายสมชาย กรุสวนสมบัติ ที่ปรึกษาฯ

นายพงษ์ศักดิ์ พยัฆวิเชียร ที่ปรึกษาฯ

นางบัญญัติ ทัศนียะเวช ที่ปรึกษาฯ

นายสุวัฒน์ ทองธนากุล ที่ปรึกษาฯ

นายเกียรติชัย พงษ์พาณิชย์ ที่ปรึกษาฯ

ที่ปรึกษาคณะกรรมการสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ

17 นักข่าวต้องไม่เป็น

DEADWOOD

19 aday Bulletin

ความท้าทายของสื่อกระดาษ

22 ค่าครองชีพ‘กระจอกข่าว’

เรื่องจริงผ่าโพลล์

24 ‘สื่อ’พิฆาต ‘นิติราษฎร์’

เปิดอกระทม ‘วรเจตน์ ภาคีรัตน์’

28 ย้อนรอย‘นิติราษฎร์’

30 บทเรียนอารมณ์

สะท้อนผ่านสื่อ

31 ปากคำประวัติศาสตร์

บาดแผล 6 ตุลา ‘ผมไม่ได้แต่งภาพ’

38 เราต้องสลายข้างให้ได้

39 บัญญัติ 10 ประการ

ทำข่าวความขัดแย้ง

42 สื่อทางเลือกที่ชายแดนภาคใต้

47 ทางรอดของเว็บข่าวเจาะ

48 วัตรปฏิบัติ‘พิราบใหญ่’

อนาคต‘พิราบใหม่’

49 บรรณาธิการกับความรับผิด

ตาม พ.ร.บ.จดแจ้งการพิมพ์

51 เจาะเทรนด์..‘ไลฟ์บล็อก’

เสริมทัพนักข่าว‘เร็ว-กว้าง-ลึก’

52 ธีรยุทธ บุญแผ่ผล

คนดีไม่มีวันตาย’

53 นักข่าวเด็กวัด

56 นินทาสื่อโลก

59 การเมืองกินนักข่าว

61 แนวรบสงครามยุคใหม่

เปิดฉากรบบน‘ไซเบอร์’

‘เป็นนักข่าต้องมีอุดมการณ์’

4 • ราชดำเนิน • มิถุนายน 2555

• บทบรรณาธิการ

‘คนดีไม่มีวันตาย’

จุลสารราชดำเนิน กลับมาอยู่ในมือท่านอีกแล้ว การเดินทางมาครั้งนี้รับรองว่าจะไม่ทำให้ท่าน

ผิดหวัง เพราะกองบรรณาธิการตั้งใจที่จะถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆที่เกิดขึ้นในแวดวงสื่อสารมวลชน

ผ่านสายตาและความคิดอันเป็นอิสระของนักข่าวภาคสนามจากหลายค่าย หลายสำนัก

หนังสือเล่มเล็กๆนี้ ประกอบร่างขึ้นมาด้วยเนื้อหาที่หนักแน่นและหลากหลาย ด้วยความมุ่งหวัง

ที่จะสะท้อนสถานการณ์ความท้าทายที่รายล้อมอยู่รอบตัวพวกเราคนทำสื่อ ไล่ตั้งแต่ความท้าทาย

ระดับสากล ว่าด้วยความพร้อมของสื่อมวลชนในการก้าวเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน

ในปี 2558 ความพยายามปรับตัวจากสื่อสิ่งพิมพ์ไปสู่สมรภูมิใหม่ทีวีดาวเทียม รวมทั้งความท้าทายใน

การทำหน้าที่ท่ามกลางความขัดแย้งในบ้านเมืองที่แหลมคม สื่อจะเป็นเครื่องมือของสังคมไทยในการ

สร้างสันติภาพหรือเป็นหนึ่งในชนวนจุดไฟสงครามกลางเมือง สถานการณ์เหล่านี้ล้วนเป็นโจทย์ใหญ่ที่

คนทำสื่อต้องเผชิญหน้าอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยง

และโอกาสนี้ กองบรรณาธิการขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งกับการจากไปก่อนวัยอันควร

ของ “ยุทธ” ธีรยุทธ บุญแผ่ผล นักข่าวมือดีจากสำนักข่าวไทย นักข่าวที่เต็มเปี่ยมด้วยอุดมการณ์

มุ่งมั่นที่จะทำหน้าที่เป็นปากเสียงให้คนด้อยโอกาส ซึ่งนับว่าหาได้ยากเย็นในโลกของข่าวสารที่นับ

วันยิ่งมีสภาพใกล้เคียงกับโรงงานอุตสาหกรรมผลิตข่าวสารเป็นสินค้าป้อนตลาดการค้า หวังผลกำไร

มิแยแสว่าคุณภาพสังคมจะเป็นอย่างไร

“ยุทธ” คือแบบอย่างให้กับนักข่าวรุ่นหลัง ทั้งในด้านของการทำงาน กล้าหาญที่จะทำข่าวสวน

กระแส ด้วยม่งุ หมายทจี่ ะกอบก้สู ทิ ธขิ องเพอื่ นมนษุ ย์ให้มคี วามทดั เทยี มกบั คนอนื่ ในสงั คม ขณะเดยี วกนั

ก็เป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตที่สมถะ เรียบง่าย ไม่ฟุ้งเฟ้อ ทำงานหนักเพื่อประชาชน และอุทิศตน

เพื่อพระศาสนา ถึงแม้วันนี้ร่างของยุทธจะไม่อยู่แล้ว แต่ชื่อของเขาจะได้รับการจารึกในความทรงจำ

ของประชาชนและคนข่าวรุ่นหลังตลอดไป ในฐานะคนดีที่ไม่มีวันตาย

เสถียร วิริยะพรรณพงศา

บรรณาธิการ

2 รายการสื่อ เสาร์-อาทิตย์ FM 100.5

ติดตามรายการ รู้ทันข่าวกับสื่อ “รู้ทันสื่อกับสภาการหนังสือพิมพ์ฯ” อยากรู้จักตัวตนวงการสื่อ

อย่าลืมหมุนหน้าปัดวิทยุฟังรายการ “รู้ทันสื่อกับสภาการหนังสือพิมพ์ฯ”

ทุกวันเสาร์ เวลา 11.00 น. -12.00 น. ทางสถานีวิทยุสำนักข่าวไทย อสมท เอฟเอ็ม 100.5 MHZ

หรือฟังย้อนหลังได้ที่ ww .pres council.or.th

ส่วนวันอาทิตย์ ช่วงเวลาและคลื่นเดียวกัน ฟังรายการ “ช่วยกันคิดทิศทางข่าว” กับสมาคมนักข่าว

นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย พร้อมเบื้องหน้าเบื้องหลังข่าว และความเคลื่อนไหว

ขององค์กรวิชาชีพสื่อในรอบสัปดาห์ หรือดูรายระเอียดที่ ww .tja.or.th

มิถุนายน 2555 • ราชดำเนิน • 5

นักข่าวไทย

ทำไม...ต้อง

• เรอื่ งจากปก

สื่อไม่ควรกระพือความขัดแย้ง โดยเฉพาะ

การใส่ความเป็นชาตินิยมจนมากเกินไป เพราะกระแส

ชาตนิ ยิ มทแี่ ต่ละกล่มุ แต่ละประเทศนำ มาใช้นนั้

สดุ ท้ายหาทางลงยาก และยงั นำ ไปส่ปู ัญหาอนื่ ๆ ตามมา ‘ ‘ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการอาเซียน

aec

6 • ราชดำเนิน • มิถุนายน 2555

นับจากนี้เหลือเวลาอีกไม่ถึง 3 ปี

ประเทศไทยจะก้าวเข้าส่กู ารเป็นชาติ

สมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต้ หรือ “ประชาคมอาเซียน”

แต่ “ประชาคมอาเซียน” ในมุมมองของคน

ไทยส่วนใหญ่อาจคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัวหรือจับ

ต้องไม่ได้ ทั้งที่พลวัตของโลกทั้งด้านบวก และ

ลบล้วนมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของคน

ไทย อาทิ ปัญหาภาวะโลกร้อน การก่อการร้าย

อาชญากรรมข้ามชาติ โรคอุบัติใหม่ การแย่ง

ชิงทรัพยากร การแข่งขันทางการค้า การย้าย

ถิ่นฐานแรงงาน ตลอดจนการแลกเปลี่ยนทาง

วัฒนธรรม ทุกปัญหาล้วนเกี่ยวพันกับความร่วม

มือ 3 ด้านที่ประกอบกันเป็นประชาคมอาเซียน

ในยุคที่สังคมไทยกระหายข้อมูลข่าวสาร

ตลอดเวลา

กอรปกับสื่อมวลชนไทย ไม่ว่าจะเป็น

หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ รวมทั้งสื่อใหม่ ๆ

อาทิ หนังสือพิมพ์ออนไลน์ วิทยุชุมชน โทรทัศน์

ผ่านดาวเทียม ล้วนตอบสนองความต้องการดัง

กล่าวด้วยการเป็นสื่อกลางทำหน้าที่ถ่ายทอด

เหตุการณ์ เรื่องราว ข้อเท็จจริง และสะท้อน

ความคิดเห็น ผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ

ตลอดทงั้ วนั เสมอื นเป็นการตอกยำ้ ให้ผ้บู รโิภค

หรอื ผ้รู บั สารมกั ให้ความเชอื่ ถอื ในข้อมลู ข่าวสาร

ที่ได้รับผ่านทางสื่อมวลชน หรืออาจเรียกได้ว่า

สื่อมวลชนไทยมีอิทธิพลต่อความคิดของคนไทย

ก็ว่าได้

ในสายตาของผ้ทู มี่ บี ทบาทเกยี่ วข้อง มอง

อย่างไรกับความพร้อมของสื่อมวลชนไทยในการ

ปรบั ตวั ก้าวเข้าส่กู ารทำ หน้าที่ในฐานะส่วนหนงึ่

ของประชาคมอาเซียน

กวี: นกั ข่าวไทยร้จู กั อาเซยี นน้อย

เกินไป

กวี จงกิจถาวร คอลัมนิสต์อิสระ อดีต

บรรณาธิการหนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น มองว่า

สื่อมวลชนไทยกลัวการเสนอข่าวต่างประเทศ

เนอื่ งจากคนเขยี นต้องใช้ความร้ภู าษาองั กฤษ

หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ และจะแปลหรือ

เขียนผิดไม่ได้เลย โดยเฉพาะข่าวที่มีผลต่อความ

สัมพันธ์ระหว่างประเทศ หากเกิดความผิดพลาด

จะส่งผลต่อความน่าเชื่อถือต่อหนังสือพิมพ์หรือ

สำนักข่าวนั้นๆ ทันที ทำให้นักข่าวไทยมักไม่

ค่อยนำเสนอข่าวต่างประเทศหรือเจาะลึกราย

ละเอียดของเวทีการประชุมระดับภูมิภาคหรือ

ระดับโลกที่จัดขึ้นในประเทศไทย คงมีเพียง

ภาพการจบั มอื ระหว่างผ้นู ำ ของประเทศทมี่ า

ประชุม และมีรายละเอียดของการพบปะเพียง

เล็กน้อยเท่านั้น

จากเหตุผลข้างต้นทำให้บทบาทของสื่อ

ไทย ในการนำเสนอข่าวประชาคมอาเซียนจึงมี

ไม่มากนักเมื่อเทียบกับสื่อมวลชนของประเทศ

เพื่อนบ้าน ทั้งที่การเป็นประชาคมอาเซียนมี

ผลกระทบต่อคนไทยและพลเมืองของประเทศ

อาเซียนอย่างมาก เช่น การเดินทางข้ามแดนไม่

จำเป็นต้องขอวีซ่าอีกต่อไป การค้าขายชายแดน

จะมีความสะดวกมากขึ้น เมื่อสื่อมวลชนไทย

ส่วนใหญ่ไม่ได้นำเสนอก็ทำให้คนไทยจำนวนมาก

ไม่ได้รบั ร้แู ละไม่เกดิ การตนื่ ตวั เพอื่ เตรยี มความ

พร้อมเข้าส่ตู ลาดการค้าเสรี

“เชอื่ ว่าคนไทยเกอื บทงั้ ประเทศเพงิ่ จะร้จู กั

อาเซียนเมื่อมีเหตุการณ์คนเสื้อแดงบุกล้มการ

ประชุมสุดยอดอาเซียน ที่พัทยา จ.ชลบุรี เมื่อ

เดอื นเมษายน พ.ศ.2552 แต่ก็ไม่ได้ร้อู ะไรมาก

ไปกว่านี้เลย ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าเสียดาย” กวี ระบุ

เขายกตัวอย่างอีกว่า ไม่เคยมีสื่อมวลชน

ไทยเสนอข่าวการชักธงอาเซียนในวันที่ 8

สิงหาคม ของทุกปี เนื่องจากเป็นวันก่อตั้ง

อาเซียน หรือจะเรียกว่าเป็นวันชาติอาเซียน

ก็ได้ เมอื่ ยงั ไม่ร้แู ม้กระทงั่ วนั ชาตอิ าเซยี น ก็ไม่

ต้องถามต่อเลยว่าหน้าตาของธงอาเซียนจะเป็น

อย่างไร มีอะไรเป็นสัญลักษณ์ หรือวิธีการชัก

ธงมีขั้นตอนอย่างไร เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ เหล่า

นี้ล้วนมีผลต่อการสร้างจิตสำนึกให้คนไทยมีส่วน

ร่วมในการเป็นประชาคมอาเซยี นแบบไม่ร้ตู วั

สำหรับสื่อมวลชนไทย ไม่ว่าจะเป็น

หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ และวิทยุ ควรจะให้ความ

สำคัญกับข่าวประชาคมอาเซียนมากขึ้น ควรจะ

มีคอลัมน์อาเซียนสัปดาห์ละครั้งนำเสนอเรื่อง

ราวเกี่ยวกับอาเซียนในแง่มุมต่าง ๆ บางสื่อ

อาจเน้นประเด็นเศรษฐกิจ บางสื่ออาจเน้นเรื่อง

เกรด็ ความรู้เช่น วนั ชาตอิ าเซยี น ธงอาเซยี น

ตราสัญลักษณ์ เพลงอาเซียน กฎบัตรอาเซียน

เป็นต้น แต่การจะนำเสนอในลักษณะดังกล่าว

จำเป็นที่สื่อมวลชนไทยแต่ละแห่งจะต้องปรับ

เปลี่ยนแนวคิดต่อการนำเสนอข่าวประชาคม

อาเซียนตั้งแต่ระดับเจ้าของสื่อ บรรณาธิการ

ข่าว หัวหน้าข่าว ไปจนถึงระดับนักข่าวภาค

สนาม

ประภัสสร์ : อย่ามองเพื่อนบ้านเป็น

ศัตรู

รศ.ดร.ประภสั สร์ เทพชาตรีผ้อู ำ นวย

การโครงการอาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัย

• เรอื่ งจากปก

ขอบคณุ ภาพจากเนชนั่ กร๊ปุ

กวี จงจิตรถาวร

ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า สื่อมวลชนไทยไม่ค่อย

ให้ความสำคัญกับข่าวประชาคมอาเซียน ทั้ง

ที่ภาครัฐหลายกระทรวงที่เกี่ยวข้องมีความตื่น

ตัวกันมาก ไม่ต้องพูดถึงภาคเอกชนที่จำนวน

ไม่น้อยได้มีการปรับปรุงองค์กรหรือเตรียมการ

เข้าสู่โหมดประชาคมเศรษฐกจิ ไปล่วงหน้าแล้ว

อย่างไรก็ตามไม่สามารถตอบได้อย่างชัดเจน

ว่าสื่อมวลชนของชาติสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ให้

ความสำคัญกับการเสนอข่าวประชาคมอาเซียน

มากกว่าสื่อมวลชนไทยมากหรือน้อยกว่าหรือไม่

อย่างไร

สื่อมวลชนไทยต้องเน้นสร้างความ

ตระหนักแก่คนไทย โดยให้ข้อมูลเชิงลึกในด้าน

ต่างๆ ที่จะเป็นประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ

สาขาต่าง ๆ การนำเสนอสารคดีเกี่ยวกับ

ประเทศเพอื่ นบ้านเพอื่ จะได้เรยี นร้วู ฒั นธรรม

ภาษาของเพื่อนบ้าน เพื่อช่วยเสริมสร้างอัต

ลักษณ์ของอาเซียน ตลอดจนการสร้างบุคลากร

ทมี่ คี วามร้คู วามเชยี่ วชาญเกยี่ วกบั เพอื่ นบ้าน

นอกจากนั้นทัศนคติในการทำข่าวต้อง

เปลี่ยน ต้องไม่มองประเทศเพื่อนบ้านในเชิงลบ

หรอื มองว่าเป็นศตั รคู ่อู าฆาตหรอื ผ้รู ้ายด้วยมติ ิ

ของประวัติศาสตร์ ต้องลืมเหตุการณ์เสียกรุง

ศรีอยุธยา หรืออิทธิพลของขอมที่มีเหนือแผ่น

ดินสุวรรณภูมิ เมื่อครั้งอดีต แต่ปัจจุบันเป็นเรื่อง

ผลประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติเป็นหลัก

ดงั นนั้ สอื่ มวลชนไม่ควรกระต้นุ ให้เกดิ ความขดั

แย้ง หรือยั่วยุให้รบกัน ควรนำเสนอข่าวด้วย

ความเป็นกลาง ไม่ปลุกเร้าอารมณ์ กระแส

คลั่งชาติ

ธานี : สื่อจะช่วยเตรียมความพร้อม

ให้ไทยเข้าอาเซียน

ธานี ทองภักดี อธิบดีกรมสารนิเทศ

กระทรวงการต่างประเทศ กล่าวว่า ในช่วง

หลายปีที่ผ่านมาก่อนที่จะมีประเด็นเรื่องการ

เป็นประชาคมอาเซียน สื่อมวลชนไทย ส่วนใหญ่

ให้ความสนใจรายงานงานข่าวอาเซียนในภาพ

รวมค่อนข้างน้อย แต่อาจสนใจรายงานข่าวใน

บางประเด็นเป็นการเฉพาะมากว่า ทั้งนี้ อาจ

เป็นเพราะคนทั่วไปมักคิดว่าอาเซียนในภาพรวม

ยังเป็นเรื่องที่ไกลตัวมากสำหรับคนไทย แต่

เมื่ออาเซียนได้ตั้งเป้าหมายที่จะเป็นประชาคม

อาเซียนในปี พ.ศ.2558 โดยภาครัฐได้พยายาม

ให้ข้อมลู ความรู้และความเข้าใจเกยี่ วกบั

อาเซียน

โดยเฉพาะการเป็นประชาคมอาเซียนว่า

จะมผี ลกระทบต่อชวี ติ และความเป็นอย่ขู อง

คนไทยไม่มากก็น้อย ทำให้สื่อมวลชนส่วนใหญ่

ติดตาม และให้ความสนใจรายงานข่าวนี้มากขึ้น

นอกเหนือจากการรายงานข่าวความเคลื่อนไหว

กิจกรรมเกี่ยวกับอาเซียนแล้ว ยังมีสื่อมวลชนที่

เขียนบทความวิเคราะห์ และให้ความเห็น รวม

ถึงวิพากษ์วิจารณ์การเป็นประชาคมอาเซียนใน

หลายด้าน ทั้งในด้านผลดี และผลเสีย ในภาพ

รวมของไทย ด้านการเตรียมความพร้อมของ

ไทย เป็นต้น สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของ

สื่อมวลชนไทยในเรื่องนี้มากขึ้น

แต่ถึงแม้ว่าสาธารณชนคนไทยจะมี

ความตื่นตัวมากขึ้นเกี่ยวกับการเป็นประชาคม

อาเซียน แต่ก็อาจยังเป็นจำนวนน้อย ในขณะที่

คนไทยส่วนใหญ่อาจไม่ได้ติดตามข้อมูลข่าวสาร

ในเรื่องนี้เท่าที่ควร ดังนั้น จึงต้องขอความร่วม

มือสื่อมวลชนไทยร่วมกันเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร

ในเรื่องนี้เพิ่มมากขึ้น หากประชาชนสามารถรับ

ร้ขู ้อมลู ข่าวสารเกยี่ วกบั ความเคลอื่ นไหว

และพัฒนาการของการเป็นประชาคมอาเซียน

ได้เป็นระยะๆ จะทำให้ประชาชนสามารถปรับ

ตัว และเตรียมความพร้อมได้มากยิ่งขึ้น รวมถึง

สามารถใช้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงที่จะ

เกิดขึ้นด้วย

ส่วนความคาดหวังต่อการนำเสนอข่าว

นนั้ สอื่ มวลชนไทยควรจะได้รบั ร้ขู ้อมลู ข่าวสาร

เกี่ยวกับพัฒนาการดังกล่าวอย่างรอบด้านและ

ทุกมิติ รายงานข่าวสารในกิจกรรมและความ

เคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นตลอดเวลา อีกทั้งในปัจจุบัน

มีสื่อมวลชนจำนวนมากที่มีความเข้าใจในเรื่อง

ประชาคมอาเซียนและสามารถวิเคราะห์ได้ถึง

ผลดีผลเสีย และแนวโน้มในอนาคต รวมถึง

สามารถวิพากษ์วิจารณ์การเตรียมความพร้อม

ของไทยในการเป็นประชาคมอาเซียนได้เป็น

อย่างดี ซึ่งข้อคิดเห็น ข้อวิเคราะห์ และการ

วิพากษ์วิจารณ์ดังกล่าวถือเป็นการสะท้อนความ

เห็นของประชาชนให้ภาครัฐรับทราบ อันจะเป็น

ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการกำหนดนโยบายและ

แนวปฏิบัติที่ดีสำหรับการเตรียมความพร้อมของ

ไทยอีกด้วย

อย่างไรก็ตาม การที่มีคนไทยส่วนใหญ่ที่

ยังคงไม่ได้ติดตามหรือให้ความสนใจเกี่ยวกับ

อาเซยี น เนอื่ งจากอาจขาดความร้คู วามเข้าใจ

พื้นฐานมากพอในเรื่องดังกล่าว สื่อมวลชน

อาจต้องคำนึงถึงข้อจำกัดเรื่องนี้และอาจต้อง

พจิ ารณาว่าจะเสนอข่าวอย่างไรสำ หรบั กล่มุ เป้า

หมายอีกระดับหนึ่ง ขณะเดียวกันสื่อมวลชน

มีอิทธิพลอย่างสูงต่อการสร้างทัศนคติของ

สาธารณชนไทย ซึ่งการเป็นประชาคมอาเซียน

จะมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระดับประชาชน

ด้วย ดังนั้น สื่อมวลชนจึงอาจมีบทบาทในการ

สร้างทัศนคติในทางบวก และเปิดกว้างต่อ

สาธารณชนไทยในเรื่องนี้ด้วย

สุภาค์พรรณ : สื่อไทยขาดองค์

ความรู้

สุภาค์พรรณ ตั้งตรงไพโรจน์ นักวิจัย

สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชี้ว่า สื่อมวลชนไทยรายงานข่าวเกี่ยวกับ

ประชาคมอาเซียนค่อนข้างน้อย จะมีการเสนอ

ข่าวมากขนึ้ เลก็ น้อยกอ็ ยู่ในช่วงทปี่ ระเทศไทย

เป็นประธานอาเซียนระหว่าง พ.ศ. 2551-

2552 สถานีโทรทัศน์หลายแห่งมีการส่งนักข่าว

ไปรายงานข่าวการประชมุ ผ้นู ำ อาเซยี นและ

มิถุนายน 2555 • ราชดำเนิน • 7

ธานี ทองภักดี

ประเทศค่เูจรจา ทงั้ ทชี่ ะอำ หวั หนิ และพทั ยา

นอกจากนี้บางช่อง เช่น ช่อง 9 โมเดิร์น

ไนน์ มกี ารทำ สก๊ปู ข่าวเพมิ่ เตมิ ส่วนสถานไีทย

พบี เีอสกท็ ำ สก๊ปู ต่อเนอื่ งตดิ ต่อกนั หลายวนั

แต่เมื่อประเทศไทยไม่ได้เป็นประธานอาเซียน

บทบาทสื่อมวลชนไทยในการเสนอข่าวดังกล่าว

ก็กลับมาเป็นปกติ นั่นคือ ให้ความสำคัญน้อย

กว่าข่าวการเมืองหรือข่าวภายในประเทศอื่นๆ

ยิ่งไปกว่านั้นสื่อมวลชนไทยจำนวนมาก และ

อีกหลายภาคส่วนในสังคมไทย รวมถึงรัฐมนตรี

บางคนบางรัฐบาลยังเข้าใจผิดคิดว่า ประชาคม

อาเซียนมีเฉพาะเรื่องประชาคมเศรษฐกิจเท่านั้น

ทั้งที่ความเป็นจริงประชาคมอาเซียน ประกอบ

ด้วย 3 เสาหลัก ซึ่งมีประชาคมการเมืองและ

ความมั่นคง กับประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

รวมอย่ดู ้วย

สะท้อนให้เห็นว่าสื่อมวลชนไทยยังขาด

องค์ความร้เูกยี่ วกบั ประชาคมอาเซยี นทำ ให้ไม่

สามารถสอื่ สารให้ผ้บู รโิภคได้รบั ร้คู วามเป็นไป

ต่าง ๆ ของประเทศเพื่อนบ้าน ตลอดจนช่อง

ทางที่ทำให้ประเทศไทยหรือนักลงทุนไทยใช้

ศักยภาพในด้านต่าง ๆ สร้างผลประโยชน์ให้กับ

ประเทศหรือภาคธุรกิจได้เท่าที่ควร

สื่อมวลชนไทยทุกแขนงจึงต้องมีการตื่น

ตัวเพื่อให้ทันกระแสโลก ดังนี้ 1. เพิ่มองค์ความ

รู้2. เพมิ่ ช่องทางการเผยแพร่ และ 3. กลวธิ ี

การนำเสนอ กล่าวคือ แต่ละสำนักข่าวจะต้อง

พยายามสร้างหรอื พฒั นานกั ข่าวให้มคี วามร้หู รอื

เสาะหาความร้เูกยี่ วกบั ประชาคมอาเซยี นให้มาก

ขึ้น จากนั้นเพิ่มพื้นที่หรือจัดลำดับความสำคัญ

ของข่าวสารเกยี่ วกบั ประชาคมอาเซยี นอยู่ใน

ลำดับแรก ๆ และคิดหาวิธีการนำเสนออย่าง

ง่าย ๆ เช่น หนังสือพิมพ์หรือสถานีโทรทัศน์อาจ

มีคอลัมน์แนะนำภาษาอาเซียนวันละคำ หรือ

อาจจะหยิบคำทักทายของประเทศสมาชิก

อาเซียน 10 ชาติ มานำเสนอ เป็นต้น เพื่อสอด

แทรกความเป็นอาเซียนให้เข้าถึงคนไทย

ขณะเดียวที่สื่อมวลชนไทยมีอิทธิพลต่อ

ความคิดของคนไทยค่อนข้างมาก และในหลาย

กรณีมักมีการใส่อารมณ์หรือความคิดเห็นลงไป

ในเนื้อหาข่าวด้วยซึ่งถือว่าทำเกินหน้าที่ ข่าว

การเมืองหรือเศรษฐกิจมักไม่ค่อยมีการใส่

อารมณ์หรือความคิดเห็นลงไปในเนื้อหาข่าว แต่

หากเป็นข่าวข้อพิพาทเรื่องเขตแดนกับประเทศ

เพื่อนบ้านหรือข่าวการแข่งขันกีฬาไม่ว่าจะเป็น

ซีเกมส์ เอเชียนเกมส์ รวมไปถึงโอลิมปิกเกมส์

มักพบว่าพิธีกรเล่าข่าวหรือนักพากษ์กีฬาล้วน

แล้วใส่อารมณ์เอนเอียงเข้าข้างประเทศไทยหรือ

นักกีฬาไทย สร้างกระแสชาตินิยมเพื่อเอาชนะ

เพอื่ นบ้านหรอื ค่แู ข่งขนั

ฉะนั้นหากสื่อมวลชนไทยทำหน้าที่ด้วย

ความเป็นกลาง นำเสนอข่าวอย่างถูกต้อง

ครบถ้วน และปราศจากอคติ จะช่วยส่งเสริมให้

ประชาคมอาเซียนบรรลุวัตถุประสงค์ของการ

รวมตัวกันอย่างยั่งยืน

สุรินทร์ : สื่ออาเซียนอย่าชูชาตินิยม

กระพือความขัดแย้ง

ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิการ

อาเซียน ประเมินภาพรวมการนำเสนอข่าว

ประชาคมอาเซียนระหว่างสื่อมวลชนไทยและ

ชาติสมาชิกอาเซียนว่า ความตื่นตัวของสื่อใน

อาเซียนไม่แตกต่างกัน แต่ลักษณะการนำเสนอ

ข่าวมกั ขนึ้ อย่กู บั อเีว้นท์ ถ้าเป็นช่วงทมี่ กี าร

8 • ราชดำเนิน • มิถุนายน 2555

‘สื่อมวลชนไทยยังขาด

องค์ความรู้เกี่ยวกับ

ประชาคมอาเซียน

ทำให้ไม่สามารถ

สื่อสารให้ผู้บริโภค

ได้รับรู้ความเป็น

ไปต่าง ๆ ของประเทศ

เพื่อนบ้านได้ ‘

• เรอื่ งจากปก

สุภาค์พรรณ ตั้งตรงไพโรจน์

มิถุนายน 2555 • ราชดำเนิน • 9

ประชุมอาเซียนก็จะมีการนำเสนอข่าวมากขึ้น

โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากประเทศใดเป็นประธาน

อาเซียน และต้องเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม

เวทีต่าง ๆ สื่อมวลชนของชาตินั้น ๆ ก็จะออก

ข่าวเกี่ยวกับการประชุมมากเป็นพิเศษ อย่างไร

ก็ดีในหลายประเทศนอกจากประเด็นประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียนแล้ว ก็ให้ความสำคัญเรื่อง

การเปลยี่ นผ่านไปส่รู ะบอบประชาธปิ ไตย

ของพม่า และประเด็นทางเศรษฐกิจของจีน

เนื่องจากจะมีผลกระทบต่อประชาคมอาเซียน

ในภายภาคหน้า

เป็นเรื่องน่าเสียดายที่สื่อมวลชนไทย

ในภาพรวมมองข้ามโอกาสทองของการเป็น

ประชาคมอาเซียน ที่จะทำให้ประเทศไทย

ได้รับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ คงมีเพียง

สื่อเครือเนชั่น ที่นำเสนอข่าวสารด้านนี้อย่าง

สม่ำเสมอ ซึ่งในระยะสั้น อยากให้สื่อมวลชน

ไทยส่วนใหญ่ปรับกระบวนทัศน์การนำเสนอ

ข่าวประชาคมอาเซียนด้วยการ 1.มองเห็น

โอกาสที่ตลาดอาเซียนจะขยายตัวเพิ่มเป็น

สิบเท่า 2.ให้ความสำคัญกับการนำเสนอแง่มุม

ต่างๆ ทเี่ออื้ ประโยชน์ให้ผ้เูกยี่ วข้องไม่ว่าจะเป็น

นักลงทุน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป และ

3.ม่งุ มนั่ ผลกั ดนั ให้คนไทยมสี ่วนร่วมกบั การเป็น

ประชาคมอาเซียน

โดยถ่ายทอดประเด็นข่าวต่าง ๆ ที่คนไทย

สนใจ เพื่อปลุกให้คนไทยตื่นตัว ไม่ใช่ตระหนก

แต่จะได้เป็นการเตรียมความพร้อม เพราะคน

ไทยหนีไม่พ้นการเป็นประชาคมอาเซียน เช่น

โรงงานสิ่งทอตามจังหวัดชายแดนอาจต้องย้าย

ข้ามไปตงั้ โรงงานในฝั่งประเทศเพอื่ นบ้าน ถ้า

หากแรงงานต่างด้าวย้ายกลับประเทศ ซึ่งสิ่ง

เหล่านี้จะส่งผลต่อคนไทยเป็นลูกโซ่ตามมา

มากน้อยแล้วแต่กรณี

นอกเหนือจากการสะท้อนมุมมองทาง

เศรษฐกิจและการเมืองแล้ว อยากให้สื่อมวลชน

ไทยนำเสนอประเด็นทางสังคม เช่น การศึกษา

สาธารณสุข แรงงาน ที่สำคัญเรื่องการ

เตรยี มคนเข้าส่กู ารเป็นประชาคมอาเซยี นซงึ่

เป็นหัวใจหลัก โดยเฉพาะเรื่องภาษา เนื่องจาก

ประเทศไทยอาจมีจุดอ่อนในเรื่องการใช้ภาษา

อังกฤษเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านใน

อาเซยี น หากสอื่ มวลชนช่วยกระต้นุ จะทำ ให้

ภาครัฐและสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ต้องเพิ่ม

ศักยภาพในส่วนนี้ เชื่อว่าถ้าคนไทยมีทักษะ

ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น 25 เปอร์เซ็นต์ จะช่วยให้

ความสามารถในการแข่งขันกับชาติอื่น ๆ

เพิ่มขึ้นถึง 50 เปอร์เซ็นต์

ในระยะยาว อยากให้ภาครัฐกำหนดให้

เป็น “วาระแห่งชาติ” โดยวางยุทธศาสตร์การ

เป็นศูนย์กลางด้านข้อมูลข่าวสารของอาเซียน

หรือ Hub Informat ion of ASEAN มาเป็น

จุดขายหรือสร้างแบรนด์ “ไทยแลนด์” ให้ทั่ว

โลกได้รบั รู้โดยเฉพาะการสร้างสถานีโทรทศั น์

ไปแข่งขันกับนานาชาติ เน้นข่าวสารการลงทุน

ในภูมิภาคเอเชียและประชาคมอาเซียนเป็น

สำคัญ เนื่องจากทุกวันนี้ตลาดเอเชียถือเป็น

ตลาดที่ทั่วโลกให้ความสนใจมากที่สุด นอกจาก

ข่าวสารทางเศรษฐกิจแล้วก็ควรเพิ่มสาระ

ทิศทางการเมืองของแต่ละประเทศ ตลอดจน

สภาพสังคมและวัฒนธรรมต่าง ๆ เชื่อมั่นว่า

สื่อมวลชนไทยมีศักยภาพที่สามารถสื่อสารกับ

โลกได้ หากนำเสนอได้อย่างมีคุณภาพ เชื่อถือได้

และมีมาตรฐาน ก็จะกลายเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วย

สร้างความเชื่อมั่นต่อประเทศไทยอีกทางหนึ่ง

ส่วนบทบาทการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน

ไทยในสถานการณ์ความขัดแย้งหรือข้อพิพาท

ระหว่างประเทศนั้น เลขาธิการอาเซียน เห็นว่า

สื่อไม่ควรกระพือความขัดแย้ง โดยเฉพาะการใส่

ความเป็นชาตินิยมจนมากเกินไป เพราะกระแส

ชาตนิ ยิ มทแี่ ต่ละกล่มุ แต่ละประเทศนำ มาใช้นนั้

สดุ ท้ายหาทางลงยากและยงั นำ ไปส่ปู ัญหา

อื่นๆ ตามมา ซึ่งย่อมกระทบกับผลประโยชน์

ทางใดทางหนึ่งอย่างแน่นอน เมื่อสื่อมวลชนจะ

ช่วยสร้างทัศนคติของคนในชาติก็ควรนำเสนอ

อย่างตรงไปตรงมา ถูกต้อง ครบถ้วน เช่น ถ้า

เป็นข่าวควรนำเสนอเฉพาะข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น

โดยเฉพาะพาดหัวหน้าหนึ่งอย่าหวือหวา คำนึง

ถึงจรรยาบรรณวิชาชีพ ส่วนบทบรรณาธิการ

หรือบทความต่างๆ ควรเป็นการวิพากษ์วิจารณ์

อย่างสร้างสรรค์ กระต้นุ เตอื น แนะนำ ด้วย

เหตุผลและข้อมูลที่แม่นยำ

“สื่อมวลชนต้องเสนอข่าวบนพื้นฐานของ

ความรับผิดชอบ ต้องมีจุดยืนแน่วแน่ และนำ

เสนอเนื้อหาสาระอย่างมีคุณภาพ ไม่ใช่นำพา

ประเทศไปส่คู วามขดั แย้ง ฝรงั่ มสี ำ นวนว่า two

demo cracies do n’t go to wa r

หรือประเทศประชาธิปไตย 2 ประเทศจะ

ไม่มีทางรบกัน เพราะประชาชนของทั้งสอง

ประเทศไม่อยากให้รบกัน และพวกเขาเหล่านั้น

ย่อมต้องมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบนพื้นฐาน

ข้อมูลที่สื่อมวลชนนำเสนอ” ดร.สุรินทร์

ทิ้งท้ายด้วยการตั้งความหวังเชิงคำถามกับ

สื่อมวลชนไทย

‘สื่อมวลชนต้องเสนอ

ข่าวบนพื้นฐานของ

ความรับผิดชอบ

ต้องมีจุดยืนแน่วแน่

และนำเสนอเนื้อหา

สาระอย่างมีคุณภาพ

ไม่ใช่นำพาประเทศ

ไปสู่ความขัดแย้ง ‘

“บทสัมภาษณ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของ

เอกสารวิชาการหัวข้อ “บทบาทสื่อมวลชน

ไทยกับการเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558

ศกึ ษากรณสี อื่ เครอื เนชนั่ กร๊ปุ ” จดั ทำโดย

นายพรษิ ฐ์ เอยี่ มพงษ์ไพบลู ย์ ผ้ชู ่วยหวั หน้า

ข่าวหน้า 1 หนงั สอื พมิ พ์เดลนิ วิ ส์ ผ้เูข้า

ร่วมการอบรมหลกั สตู รผ้บู รหิ ารการสอื่ สาร

มวลชนระดบั กลาง (บสก.) ร่นุ ที่ 3”

สุรินทร์ พิศสุวรรณ

10 • ราชดำเนิน • มิถุนายน 2555

ทีมงานราชดำเนิน มีโอกาสได้รับ

การฝึกอบรมเทคนิคการสัมภาษณ์จาก

นักข่าวมากประสบการณ์อย่าง

“ลารี จาแกน” (Larry Jagan) อดีตนักข่าว

บบี ซี ีทถี่ อื เป็นนกั ข่าวผ้เูชยี่ วชาญด้านสงั คม

การเมอื ง และวฒั นธรรมในประเทศกล่มุ

อาเซียนมากที่สุดคนหนึ่ง

ลารี เคยเป็นนักข่าวหลายสำนัก

อาทิ บีบีซี เอเชียไทมส์ อัลจาซีราทีวี

บางกอกโพสต์ เดอะเดลี่สตาร์ วิทยุฮ่องกง

ฯลฯ จากประสบการณ์การทำงานที่มีมากว่า

40 ปี และรายงานข่าวเกี่ยวกับสถานการณ์ใน

เอเชีย โดยเฉพาะพม่า กัมพูชา เวียดนาม ไทย

ฯลฯ อย่างต่อเนื่อง จึงทำให้เขาเข้าใจภูมิภาค

นี้มากคนหนึ่ง

ลารี ลาออกจากบีบีซีเพื่อเป็นนักข่าว

อิสระและเป็นที่ปรึกษาให้กับสำนักข่าวในไทย

หลายสำ นกั โดยช่วง 10 ปีทผี่ ่านมาเขาม่งุ มนั่

ถ่ายทอดเทคนิคการเป็นนักข่าวที่ดีให้กับบีบี

ซี และอีกหลายหน่วยงาน ทั้งในไทย และใน

ประเทศแถบภูมิภาคเอเชีย

จุดประสงค์สำคัญที่เขายังตั้งมั่นคืออยาก

เหน็ นกั ข่าวร่นุ ใหม่มจี รรยาวชิ าชพี เพอื่ รายงาน

ข่าวสารส่สู งั คมอย่างถกู ต้อง บทสมั ภาษณ์นจี้ งึ

เป็นการบอกเล่าประสบการณ์ตรงของนักข่าว

ผ้มู ากประสบการณ์คนนี้

● เหตุผลอะไรที่ทำให้เข้ามาเป็นนักข่าว

การได้ทำสิ่งดีๆ โดยเฉพาะการได้ช่วย

เหลือคนอื่น ผมเข้ามาเป็นนักข่าวเกือบ 4

ทศวรรษมาแล้ว (เริ่มปี ค.ศ.1991) ตอนนั้น

ช่องทางการรบั ร้ขู ้อมลู ค่อนข้างซบั ซ้อน ยงิ่ มี

สถานการณ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้ที่หลายประเทศมีการรวมกันของคน

หลายเชื้อชาติจนทำให้เกิดความขัดแย้งใน

อินโดจีน ข้อมูลข่าวสารจึงเป็นสิ่งสำคัญมาก

• สมั ภาษณ์พเิศษ

หทัยรัตน์ พหลทัพ

เทคนิคสัมภาษณ์สไตล์

Larry Jagan

‘ผมถามแทนประชาชน’

มิถุนายน 2555 • ราชดำเนิน • 11

และก็สำคัญกับผมมาก โดยเฉพาะการได้ให้

ข้อมูลทแี่ ตกต่างกบั คนทมี่ ชี วี ติ อยู่เพราะคน

เหล่านนั้ เขาไม่ร้วู ่า รอบๆ ตวั เกดิ อะไรขนึ้ และ

ข้อมูลเหล่านั้นก็ทำให้พวกเขาสามารถตัดสินใจ

ในการใช้ชวี ติ อยู่

● เลอื กมารายงานข่าวในกล่มุ ประเทศ

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะพม่า

กัมพูชา มีแรงบันดาลใจจากอะไร

ผมเกิดที่ออสเตรเลีย แต่ไปโตที่อังกฤษ

แล้วกลับมาเรียนมหาวิทยาลัยที่ออสเตรเลีย

หลงั จากเรยี นจบ ผมร้สู กึ ว่า คนออสเตรเลยี

ไม่เข้าใจคนเอเชียเลย เพราะออสเตรเลียเป็น

ประเทศในเครือจักรภพของอังกฤษ จึงไม่มี

ความเข้าใจคนเอเชีย อาจจะเป็นเรื่องความ

ห่างไกลกันจึงเกิดความเข้าใจผิดและมีแนวคิด

ที่ผิดๆ เกี่ยวกับเอเชีย

ช่วงผมเรียนจบเป็นจังหวะเดียวกับที่เกิด

สงครามเวยี ดนาม ซงึ่ เตม็ ไปด้วยผ้ลู ภี้ ยั ทยี่ ้าย

ไปอย่อู อสเตรเลยี ผมจงึ อยากร้วู ่า ทำ ไมพวก

เขาจงึ อพยพไปอย่ทู นี่ นั่ และอยากร้วู ่า เกดิ

อะไรขนึ้ กบั ประเทศนี้ ทำ ไมจงึ มผี ้ลู ภี้ ยั มากมาย

ขนาดนี้

ครั้งหนึ่งผมมาประเทศในแถบเอเชีย

ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ผมกพ็ บว่า ร้สู กึ สบายจงั

พวกเขาสอนให้มีชีวิตด้วยวิถีพุทธ ทำให้ผม

อยากร้จู กั ภมู ภิ าคนมี้ ากขนึ้ ผมจงึ ตดั สนิ ว่า

อยากจะเห็นภูมิภาคนี้พัฒนาขึ้นและถือเป็น

เรื่องดีมากที่ได้เห็นปรากฏการณ์ต่างๆ

ในเอเชีย ไม่เฉพาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้เท่านั้น ผมหมายถึงทั้งภูมิภาคเอเชีย

ด้วย

ประเด็นหลักผมที่สนใจมาก คือ ประเทศ

จีน เพราะเป็นประเทศที่มีการหลอมรวมกัน

ของแผ่นดินใหญ่ ตอนแรกที่ผมเดินทางไป

จีน จีน กำลังจะกลายเป็น Super Powe r หรือ

ประเทศมหาอำนาจ ซึ่งถือว่า จีน ไปเร็วกว่าที่

ผมคาดการณ์มาก นอกจากนี้ ผมยังเดินทางไป

อินโดนีเซีย พม่า ไทย ฯลฯ ซึ่งเป็นประเทศใหม่

ทอี่ ย่รู ะหว่างการเปลยี่ นแปลง ผ้คู นต้องการ

เสรีภาพ และผมก็อยากบันทึกกระบวนการ

และการเปลี่ยนผ่านนั้น

● ร้สู กึ อย่างไร เมอื่ งานเขยี นหรอื บท

สมั ภาษณ์ต่างๆ เมอื่ ส่งไปถงึ ผ้อู ่าน ผ้ฟู ัง

ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ภูมิใจไหม

ผมได้รับสิ่งตอบแทนมากกว่างานที่ผม

ทำ ผมได้รับสิ่งตอบแทนจากการให้ความถูก

ต้อง แม่นยำ การให้ข้อมูลข่าวสาร การเขียน

สก๊ปู การได้บอกผ้คู น การคดิ ค้นหาในสงิ่ ทพี่ วก

เขาไม่รู้โดยเฉพาะอย่างยงิ่ เรอื่ งราวทเี่กดิ ขนึ้

ในพม่า ผมร้สู กึ ภมู ใิจ เป็นความภมู ใิจมากกว่า

เมื่อสาธารณะฟังผม หรือบางคนเคารพผม แต่

ไม่ใช่ความต้องการหลัก สิ่งที่ผมต้องการ คือ

ผมได้เสิร์ฟข้อมูลให้กับประชาชน ผมต้องการ

ให้เขารับฟังและได้ข้อมูลจากผม นี่จึงเป็น

เหตผุ ลทยี่ งั คงทำ งานอยู่

● ข่าวสารที่คุณนำเสนอสามารถเปลี่ยน

ความคิดของคนได้หรือไม่ โดยเฉพาะต่อคน

ออสเตรเลีย

สื่อมวลชนไม่มีหน้าที่เปลี่ยนแปลงความ

คดิ เหน็ ของผ้คู น เพราะเราไม่สามารถเปลยี่ น

ให้คนเสื้อเหลืองกลายเป็นเสื้อแดง หรือเสื้อ

แดงกลายเป็นเสื้อเหลืองได้ แต่เป็นการสร้าง

ความเข้าใจ ซึ่งการสร้างความเข้าใจของคน

ไทยค่อนข้างแปลก อาจจะเป็นเพราะความซับ

ซ้อนในอดีต ถือเป็นด้านมืดของสังคมไทย เช่น

การค้ากามในเมืองพัทยา หรือแม้กระทั่งซอย

คาวบอย ถอื เป็นเรอื่ งทเี่ดก็ ไม่ควรให้รบั รู้

แต่นี่เป็นภาพลักษณ์ที่ชาวตะวันออกส่วนใหญ่

เคยรบั รู้

● เป็นสื่อมวลชนมากว่า 4 ทศวรรษ การ

สมั ภาษณ์ครงั้ ไหนทรี่ ้สู กึ ว่า เป็นผลงานทดี่ ที สี่ ดุ

(นิ่งคิด) ผมเดาว่า ผลงานที่ดีที่สุด

คอื การสมั ภาษณ์ อองซาน ซจู ีผ้นู ำ พรรค

สันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย หรือเอ็น

แอลดี ของพม่า เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.2003

เป็นเวลา 4 ชวั่ โมงทยี่ ่างก้งุ ซงึ่ การสมั ภาษณ์

ทางโทรศัพท์ ผมค่อนข้างเคารพเธอมาเป็น

เวลานาน และเธอก็เคยฟังผมผ่านการรายงาน

ข่าวทางวทิ ยขุ องบบี ซี ีระหว่างทอี่ ยู่ในบ้านพกั

ของเธอเป็นประจำ

เธอเป็นคนหนึ่งที่ผมเชื่อว่า มีความสำคัญ

สำหรับภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ ไม่เฉพาะใน

ประเทศพม่าเท่านั้น

ผมไม่อาจพูดว่า งานครั้งนั้นเป็นงาน

ชิ้นสุดยอดของผมหรือไม่ แต่ตอนนั้นการ

สัมภาษณ์เป็นไปอย่างยากลำบาก อาจเป็น

เพราะเธอพูดไม่ค่อยเก่ง ดังนั้น เราต้องทำการ

บ้านหนักเพื่อถามให้ได้คำตอบ แต่เมื่อย้อน

กลับไปดูว่า งานชิ้นไหนเป็นงานที่ที่สุดของการ

สัมภาษณ์ ทั้งการสัมภาษณ์แบบต่อตัวต่อและ

การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ก็คือ งานชิ้นนี้แหละ

● เกิดอะไรขึ้นหลังจากนำเสนอบทสนทนา

นั้น มีผลตอบรับอย่างไรบ้าง

ถือเป็นปฏิกิริยาโต้ตอบครั้งใหญ่ทีเดียว

เพราะเป็นการให้สัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการ

ครั้งแรกของนางซูจี ที่ให้สัมภาษณ์นักข่าวชาว

ตะวนั ตก สงิ่ สำ คญั ครงั้ นนั้ คอื ผ้คู นได้ฟังว่า

เธอพูดอะไร ถ้อยคำของเธอมีนัยยะสำคัญมาก

ทั้งต่อสาธารณะ และต่อระบอบการปกครอง

โดยเฉพาะถ้อยคำที่บอกว่า “ฉันพร้อมแล้ว

สำหรับการพูด” “ฉันไม่อาจทนเห็นการล้มตาย

ของผ้คู นทอี่ อกมาต่อต้านการปกครองของกอง

ทัพได้อีกต่อไป”

ถ้อยคำ ทเี่ธอส่งออกมาครงั้ นนั้ ผ้คู นค่อน

ข้างให้การตอบรับ ทว่าก็ถือเป็นเรื่องโชคร้าย

เพราะเหล่าทหารกลับกระทำการตรงกันข้าม

ในเดอื นเดยี วกนั นนั้ พวกเขากจ็ ู่โจมเธออย่าง

รุนแรง ส่วนหนึ่งต้องการฆ่าเธอ จากนั้นก็กัก

บริเวณ และขังเธอไว้ในบ้านพักเป็นเวลากว่า

7 ปี

● ประเทศพม่าหลังจากมีการเลือกตั้งแล้ว

จะเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในระยะ

เวลาอันสั้นนี้หรือไม่

ผมเคยเป็นคนมองโลกในแง่ดีนะ ผมเคย

คิดว่า พม่าจะสามารถเป็นประเทศที่ปกครอง

ด้วยระบอบประชาธิปไตยได้ พม่าจะสามารถ

เป็นผ้นู ำ ในกล่มุ ประเทศอาเซยี นได้อกี ครงั้ แต่

สงิ่ ทเี่กดิ ขนึ้ ในขณะนกี้ ็ไม่ร้วู ่า พม่าต้องใช้เวลา

อีกนานแค่ไหนกับสิ่งเหล่านี้ ตอนที่พม่า มี

การเลือกตั้ง ผมมองในแง่ดีว่า พม่ากำลังจะ

เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ แต่การเลือกตั้งครั้งนั้นก็

‘สื่อมวลชนไม่มี

หน้าที่เปลี่ยนแปลง

ความคิดเห็นของ

ผู้คน เพราะเราไม่

สามารถเปลี่ยนให้

คนเสื้อเหลืองกลาย

เป็นเสื้อแดง หรือ

เสื้อแดงกลายเป็น

เสื้อเหลืองได้

แต่เป็นการสร้าง

ความเข้าใจ ‘

12 • ราชดำเนิน • มิถุนายน 2555

เลวร้ายมาก มีการคอร์รัปชั่นกันอย่างโจ๋งครึ่ม

อีกทั้งมีความล่าช้า

ผมค่อนข้างช็อค เพราะคิดว่าพม่ากำลัง

จะย้อนหลังไปเมื่อ 20 ปีที่แล้ว ที่ประเทศ

พม่าตกอยู่ในการปกครองของทหารเผดจ็ การ

และตั้งแต่ เต็ง เส่ง มาเป็นประธานาธิบดีใน

เดือนมีนาคม ของปีที่แล้ว เราก็ได้เห็นความ

มหศั จรรย์ แม้มนั จะไม่ใช่ประชาธปิ ไตยทมี่ าสู่

ประชาชนชาวพม่าอย่างแท้จริงก็ตาม

ผ้คู น โดยเฉพาะชาวตะวนั ตกอาจจะพดู

เร็วไปว่า คนพม่าได้รับประชาธิปไตยแล้ว แต่

ความจรงิ พวกเขายงั อยู่ในกงล้อการเปลยี่ น

ผ่านต่างหาก แตกต่างจากการเปลี่ยนผ่าน

ในประเทศกัมพูชา ไทย หรือแม้กระทั่งใน

บังกลาเทศ เพราะประเทศเหล่านี้มีความเป็น

มาค่อนข้างยาวนาน

มีคนบราซิล คนหนึ่งเล่าให้ผมฟังว่า ตอน

ที่เขาไปพม่า เขาก็พบว่า การเปลี่ยนผ่านใน

พม่า ค่อนข้างลำบาก โดยยกตัวอย่างการ

เปลี่ยนผ่านในประเทศบราซิล ที่ต้องใช้เวลา

กว่า 10 ปีถึงจะผ่านไปได้ อย่างไรก็ตาม ผมก็

ยังคิดในแง่ดีว่า การเปลี่ยนผ่านในพม่าไม่น่าจะ

ใช้เวลาเกิน 10 ปี น่าจะใช้เวลาสั้นกว่านั้น อาจ

จะเป็น 5 ปีด้วยซ้ำไป

● ฐานะนกั ข่าวทเี่คยสมั ภาษณ์ผ้คู นมามาก

มีเคล็ดลับอะไรที่ทำให้บทสัมภาษณ์ เป็นบท

สัมภาษณ์ที่ดี

ผมคิดว่า เคล็ดลับที่ไม่ถือว่า เป็นเคล็ด

ลับเสียทีเดียว คือ การทำให้บทสัมภาษณ์นั้นๆ

เป็นการถามเพอื่ ผ้ฟู ัง ผ้อู ่าน หรอื ประชาชน

ที่เราต้องการถามแทนเขา บางครั้งก็มีความ

ยากในการสัมภาษณ์ อย่างตอนที่ผมสัมภาษณ์

อองซาน ซูจี ก็ยาก เพราะเป็นประเด็นเรื่องที่

สำคัญ

การถามแทนผ้รู บั สาร เหมอื นพวกเขา

อยากร้คู ำ ตอบนนั้ ๆ กจ็ ะทำ ให้บทสมั ภาษณ์นนั้

เป็นบทสัมภาษณ์ที่ดีได้ แต่มีบ่อยครั้งที่การตั้ง

คำถามจะต้องมีชั้นเชิง หรือแม้กระทั่งการตั้ง

คำถามที่ทำให้แหล่งข่าวเกิดความประหลาดใจ

ว่า ทำไมกล้าถามคำถามนี้ และนั่นก็เป็นเคล็ด

ลบั ทผี่ มยงั คงใช้อย่จู นถงึ ขณะนี้

● มีคำแนะนำสำหรับการสัมภาษณ์นักการ

เมืองหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะใน

สถานการณ์ที่มีความขัดแย้งรุนแรงหรือไม่

นกั ข่าวไม่ว่าจะอยู่ในประเทศไหน โดย

เฉพาะในประเทศไทยจำเป็นต้องมีค�