21
โครงการวิจัย ปัจจัยที่ทำให้เกิดกำรรั่วไหลของ กระแสไฟฟ้ำในเครื่องอัลตร้ำซำวด์ ที่มีอำยุใช้งำนตั้งแต่ ๓ ปีขึ้นไป สำนักงำนสนับสนุนบริกำรสุขภำพเขต 8

โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

โครงการวิจัย

ปัจจัยที่ท ำให้เกิดกำรรั่วไหลของกระแสไฟฟ้ำในเครื่องอลัตร้ำซำวด์ ที่มีอำยุใช้งำนตั้งแต่ ๓ ปีขึ้นไป

ส ำนักงำนสนับสนุนบริกำรสุขภำพเขต 8

Page 2: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

1

ปัจจัยทีท่ ำให้เกิดกำรรั่วไหลของกระแสไฟฟ้ำในเครื่องอัลตร้ำซำวด์ที่มี

อำยุใช้งำนตั้งแต่ ๓ ปีขึ้นไป

An affect factor to the leakage current in the ultrasound

that useful life is since , 3 year go up

คงจักร์ บุญทัน , ธวัฒน์ เหล็กกล้า ,อภิรักษ์ ทักษิณบุตร

ประดิษฐ์ ทองดา ยุทธชัย ดงทอง และ วิรัญชนา คุ้มเดช

Page 3: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

2

บทคัดย่อ/Abstract

เครื่องอัลตร้าซาวด์ เป็นเครื่องมือตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ที่มีราคาค่อนข้างสูง ส่วนใหญ่อายุการใช้งานสูง ดังนั้นสภาพเครื่องและวัสดุที่เป็นฉนวนอาจจะมีการเสื่อมสภาพใช้งาน ประกอบกับการใช้งานที่ไม่ค านึงถึงระบบกราวนด์ของเครื่อง ท าให้ค่าแรงดันไฟฟ้ารั่วอาจจะมีค่าสูงขึ้นตาม จนอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถท าอันตรายแก่ผู้ป่วยที่มารับบริการทางการแพทย์ได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงได้ท าการศึกษาการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้าในเครื่องอัลตร้าซาวด์ โดยการส ารวจ ข้อมูลพื้นฐาน ยี่ห้อ ประเทศผู้ผลิต ขนาด อายุการใช้งาน ความถี่ในการใช้งาน ลักษณะการเก็บรักษา ชุดรักษาระดับแรงดันส ารองไฟฟ้า มาตรฐานระบบกราวด์ สายปลั๊กเสียบที่ใช้มีการต่อลงดิน การบ ารุงรักษา การสอบเทียบ ระดับแรงดันไฟฟ้ารั่วไหลเฉลี่ย (โวลต์) และขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดิน (ไมโครแอมป์) ผลจากการส ารวจพบว่าส่วนใหญ่เป็นเครื่องที่ผลิตมาจากประเทศญี่ปุ่น ขนาดที่มีการใช้งานมากที่สุดอยู่ระหว่าง 0-300 VA อายุการใช้งานและความถี่ในการใช้งาน (ครั้งต่อสัปดาห์) ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ระหว่าง 0-5 ปี และความถี่ระหว่าง 0-15 ครั้งต่อสัปดาห์ เครื่องส่วนใหญ่มีการเก็บรักษาที่ระเบียบเรียบร้อยมิดชิดพร้อมใช้งาน มีชุดรักษาระดับแรงดันและส ารองไฟฟ้า ส่วนใหญ่เครื่องมีการบ ารุงรักษา ระดับแรงดันไฟฟ้ารั่วไหลเฉลี่ยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 99.11 โวลต์ และขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดินเฉลี่ย 172.05 ไมโครแอมป์

Page 4: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

3 ส าหรับการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว พบว่าปัจจัย

เรื่องสายปลั๊กเสียบที่ใช้มีการต่อลงดิน มาตรฐานระบบกราวด์ ความถี่ในการใช้งาน ประเทศผู้ผลิต ขนาด ย่ีห้อ ที่แตกต่างกันส่งผลต่อปริมาณการรั่วไหลที่แตกต่างกันที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % และจากการการวิเคราะห์ค่าเฉพาะในเครื่องที่มีรุ่นเดียวกันพบความแตกต่างระหว่างเครื่องที่มีการบ ารุงรักษาเป็นประจ ากับเครื่องที่ขาดการบ ารุงรักษา พบว่าระดับแรงดันไฟฟ้ารั่วไหล(V)เฉลี่ย และ ขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดิน (uA) เฉลี่ย มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในเครื่องที่ขาดการบ ารุงรักษา

ค ำส ำคัญ (Keywords) ของโครงกำรวิจัย กระแสไฟฟ้ารั่วไหล(leakage current) เครื่องอัลตร้าซาวด์ (ultrasound)

Page 5: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

4 หลักกำรและเหตุผล

เครื่องอัลตร้าซาวน์ เป็นเครื่องมือวินิจฉัยทางการแพทย์ที่มีความจ าเป็นส าหรับแพทย์เนื่องจากมีความแม่นย าในการตรวจวิเคราะห์ สามารถวินิจฉัยโรคหรืออาการประกอบอื่นได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ท าให้มีการใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ถึงแม้ปัจจุบันจะมี ราคาค่อนข้ างสู ง ส าหรับ โรงพยาบาลประจ าอ า เภอ(โรงพยาบาลชุมชน) จ าเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 เครื่อง ในส่วนของโรงพยาบาลทั่วไป (ประจ าจังหวัด) หรือโรงพยาบาลศูนย์ฯ นั้นมีเป็นจ านวนมาก โดยส่วนใหญ่เครื่องมือวินิจฉัยทางการแพทย์ที่มีโครงโลหะนั้นมักจะมีค่าแรงดันไฟฟ้ารั่วประจ าเครื่อง

การศึกษาการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้าในเครื่องอัลตร้าซาวด์ เป็นการศึกษา มาตรฐานระบบกราวด์ที่ เหมาะสมส าหรับโรงพยาบาล อันตรายของกระแสไฟฟ้ารั่วไหลที่มีต่อมนุษย์ โดยการส ารวจ สอบถามข้อมูล ประชากร (เครื่องอัลตร้าซาวด์) และกลุ่มตัวอย่าง (โรงพยาบาลที่มีใช้งานในโรงพยาบาล) ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานประกอบเครื่องอัลตร้าซาวด์ เก็บข้อมูล สถานที่ อายุการใช้งาน ความถี่ ในการใช้ งาน ด า เนินการเก็บข้อมูลประกอบโครงการวิจัยทางด้านเทคนิควิศวกรรม ได้แก่ ตรวจวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าที่รั่วไหล และข้อมูลอื่นๆประกอบการวิจัย ซึ่งค่ามากน้อยขึ้นอยู่กับมาตรฐานเครื่องมือ การบ ารุงรักษา การใช้งาน รวมทั้งอายุการใช้งาน ฉนวนในใช้หรือประกอบโครงประจ าเครื่อง เป็นต้น ดังนั้นหากไม่มีการตรวจสอบวางแผน จัดท าระบบกราวนด์ที่เหมาะสมกับการใช้งาน แล้วนั้นความเสี่ยงที่อาจจะเกิดอันตราย

Page 6: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

5 กับทั้งแพทย์ผู้ตรวจวินิจฉัย พยาบาลผู้ช่วยรวมทั้งผู้รับการรักษามี

มากเนื่องจากปัจจุบันโดยมากยังไม่มีการเชื่อมต่อระบบกราวนด์ของเครื่องมือดังกล่าวขณะใช้ อีกทั้งผู้ใช้งานยังไม่ให้ความส าคัญกับระบบกราวนด์ของเครื่องหรืออาจจะยังไม่มีอุบัติการณ์ที่เกิดเรื่องการรั่วไหลของเครื่องมือแพทย์แล้วเป็นอันตรายการผู้มารับการรักษาโดยตรง หรืออาจจะมีอุบัติการณ์เกิดขึ้นแต่ระดับของการรั่วไหลดังกล่าวยังมีปริมาณน้อยไม่เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต เป็นต้น

งานวิจัยนี้ จะด าเนินการศึกษาข้อมูลประกอบงานวิจัย ได้แก่ มาตรฐานระบบกราวด์ที่เหมาะสมส าหรับโรงพยาบาล อันตรายของกระแสไฟฟ้ารั่วไหลที่มีต่อมนุษย์ พื้นฐานเบื้องต้น เครื่องอัลตร้าซาวด์ ส ารวจ สอบถามข้อมูล ประชากร(เครื่องอัลตร้าซาวด์)และกลุ่มตัวอย่าง(โรงพยาบาลที่มีใช้งานในโรงพยาบาล) ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานประกอบเครื่องอัลตร้าซาวด์ เก็บข้อมูล สถานที่ อายุการใช้งาน ความถี่ ในการใช้ งานด า เนินการ เก็บข้อมูลประ กอบโครงการวิจัยทางด้านเทคนิควิศวกรรม ได้แก่ ตรวจวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าที่รั่วไหล และข้อมูลอื่นๆประกอบการวิจัย

Page 7: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

6 วัตถุประสงค์ของโครงกำรวิจัย

1. เพื่อค้นหาสาเหตุของการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้าในเครื่องอัลตร้าซาวด ์ที่มีอายุใช้งานต้ังแต่ ๓ ปีขึ้นไป

2. เพื่อประเมินปริมาณการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้าในเครื่องอัลตร้าซาวด์ ที่มีอายุใช้งานตั้งแต่ ๓ ปีขึ้นไป ที่มีความเกี่ยวพันธ์กับปัจจัยแวดล้อม

ขอบเขตของโครงกำรวิจัย

สถานที่ท าการวิจัย (place) เป็นโรงพยาบาลภาครัฐ ทีม่ีและใช้เครื่องอัลตร้าซาวด์ ที่มีอายุใช้งานต้ังแต ่๓ ปีขึ้นไป จ านวน 200 เครื่อง โดยเก็บข้อมูลพื้นฐานประกอบเครื่องอัลตร้าซาวด ์เช่น ยี่ห้อ ชนิด ขนาด รุ่น วัน/เดือน/ปีผลิต ผลิตภัณฑ์ของประเทศ มาตรฐานก ากับ และข้อมูลประกอบอ่ืนๆที่จ าเป็น เป็นต้น รวมทัง้เก็บข้อมูล สถานที่จัดเก็บ สถานทีใ่ช้งาน ใช้งานแบบ(ติดตั้งกับที่หรือใช้งานแบบเคลื่อนที่) อายุการใช้งาน ความถี่ในการใช้งานเครื่องอัลตร้าซาวด ์ (....ครั้ง/วัน ....ครั้ง/สัปดาห์) รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ ารุงรักษา มาตรฐานระบบกราวนด์ขณะใช้งาน ผู้ใช้งาน รายละเอียดการCalibration ตรวจวัดปริมาณแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้ารั่วในเครื่องอัลตร้าซาวด ์

Page 8: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

7

กรอบแนวควำมคิดของโครงกำรวิจัย

1. ศึกษาข้อมูลพืน้ฐานเครื่องอัลตร้าซาวด ์ ยี่ห้อ /ชนิด /ขนาด /รุ่น วัน/เดือน/ปีผลิต ,ผลิตภัณฑ์ของประเทศ มาตรฐานก ากับ ข้อมูลประกอบอื่นๆที่จ าเป็น เป็นต้น

2. ศึกษาข้อมูลประกอบที่เกี่ยวข้องกับเครื่องอัลตร้าซาวด ์ สถานที่จัดเก็บ /สถานทีใ่ช้งาน รูปแบบกรใช้งาน(ติดตั้งกับที่หรือใช้งานแบบเคลื่อนที่) อายุการใช้งาน ความถี่ในการใช้งานเครื่องอัลตร้าซาวด ์(....ครั้ง/วัน ....ครั้ง/

สัปดาห์) รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ ารุงรักษา มาตรฐานระบบกราวนด์

ขณะใช้งาน ผู้ใช้งาน รายละเอียดการCalibration 3. ตรวจวัดปริมาณแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้ารั่วในเครื่องอัลตร้าซาวด ์

ปัจจัยที่มีผลต่อการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้าในเครื่องอัลตร้าซาวด์

ออกแบบ เสนอแนะปรับปรุงพัฒนาระบบกราวนด์ของโรงพยาบาล

Page 9: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

8

วิธีกำรด ำเนนิกำรวิจัย

1. ศึกษา ข้อมูลประกอบงานวิจัย ได้แก่ มาตรฐานระบบกราวด์ที่เหมาะสมส าหรับโรงพยาบาล อันตรายของกระแสไฟฟ้ารั่วไหลที่มีต่อมนุษย ์พื้นฐานเบ้ืองต้น เครื่องอัลตร้าซาวด ์

2. ส ารวจ สอบถามข้อมูล ประชากร(เครื่องอัลตร้าซาวด์)และกลุ่มตัวอย่าง(โรงพยาบาลที่มีใช้งานในโรงพยาบาล) ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานประกอบเครื่องอัลตร้าซาวด์ เก็บข้อมูล สถานที่ อายุการใช้งาน ความถี่ในการใช้งาน

3. ด าเนินการเก็บข้อมูลประกอบโครงการวิจัยทางด้านเทคนิควิศวกรรม ได้แก่ ตรวจวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าที่รั่วไหล และข้อมูลอื่นๆประกอบการวิจัย ดังนี ้ การวัดแรงดันไฟฟ้า (Volt) โดยใชเ้ครื่องวัดแรงดันไฟฟ้า

(Voltmeter) พร้อมทั้งต่อวงจรตามรูป

Page 10: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

9 การวัดกระแสไฟฟ้า (Amps) โดยใชเ้ครื่องวัดกระแสไฟฟ้า

(Amp meter) พร้อมทั้งต่อวงจรตามรูป

4. รวบรวมข้อมูล สรุปผล โครงการวิจัย 5. น าเสนอผลงาน เอกสารทางวิชาการ และบทความทางวิชาการ

ที่เกี่ยวข้อง

Page 11: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

10

ผลกำรวิจัยและวิเครำะห์ข้อมูล

จากการส ารวจข้อมูลเบื้องต้น แสดงการแจกแจงความถี่ของจ านวนเครื่องอัลตร้าซาวด์ที่ตรวจพบโดยจ าแนกตามลักษณะต่างๆ ดังนี ้

จ าแนกตามจังหวัด

จ าแนกตามยี่ห้อ

Page 12: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

11

จ ำแนกตำมประเทศผู้ผลิต

จ าแนกตามขนาดการใช้งาน (VA)

Page 13: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

12

จ าแนกตามอายุการใช้งาน (ปี)

จ าแนกตามความถี่ในการใช้งาน (ครั้ง/สัปดาห์)

Page 14: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

13

จ าแนกลักษณะการเก็บรักษา

จ าแนกตามชุดรักษาระดับแรงดันส ารองไฟฟ้า (UPS)

Page 15: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

14

จ าแนกตามมาตรฐานระบบกราวด์ที่เหมาะสมส าหรับโรงพยาบาล

จ านวนเครื่องอัลตร้าซาวด์จ าแนกตาม สายปลั๊กเสียบที่ใช้กับเครื่องอัลตราซาวด์มีการต่อลงดิน (3 ขา)

Page 16: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

15

จ าแนกตามการบ ารุงรักษา

จ านวนเครื่องอัลตร้าซาวด์จ าแนกตามการสอบเทียบ

Page 17: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

16

จ าแนกตามระดับแรงดันไฟฟ้ารั่วไหลเฉลี่ย (โวลต์)

จ าแนกตามขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดิน (ไมโครแอมป์)

Page 18: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

17

ข้อมูลจากการส ารวจเบื้องต้นสรุปได้ว่า ยี่ห้อของอัลตร้า-ซาวด์มีการกระจายตัวอยู่ที่ยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง ยกตัวอย่าง 3 ยี่ห้อที่มีความถี่มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50.7 20.4 และ 9.2 ตามล าดับ ส่วนใหญ่เป็นเครื่องที่ผลิตมาจากประเทศญี่ปุ่น คิดเป็นร้อยละ 59.2 ของจ านวนทั้งหมด รองลงมาคือ ประเทศจีนและเกาหลี คิดเป็นร้อยละ 15.8 และ 7.2 ตามล าดับ ขนาดที่มีการใช้งานมากที่สุดอยู่ระหว่าง 0-300 VA คิดเป็นร้อยละ 47.4 อายุการใช้งานและความถี่ในการใช้งาน (ครั้งต่อสัปดาห์) ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ระหว่าง 0-5 ปี และความถี่ระหว่าง 0-15 ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 55 และ 40.8 ตามล าดับ เครื่องส่วนใหญ่มีการเก็บรักษาที่ระเบียบเรียบร้อยมิดชิดพร้อมใช้งาน มีชุดรักษาระดับแรงดันและส ารองไฟฟ้าในปริมาณค่อนข้างสูงคิดเป็นร้อยละ 87.1 และ 70.4 ตามล าดับ ส าหรับมาตรฐานระบบกราวด์มีความเหมาะสม และมีสายปลั๊กที่มีการต่อลงดินพบว่ามีค่าแตกต่างกันไม่มากนัก คิดเป็นร้อยละ 52.6 และ 58.6 ตามล าดับ ส่วนใหญ่เครื่องมีการบ ารุงรักษา ระดับแรงดันไฟฟ้ารั่วไหลเฉลี่ยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 99.11 โวลต์ และขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดินเฉลี่ย 172.05 ไมโครแอมป์

การทดสอบค่าเฉลี่ยจากข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างหลายกลุ่มโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variances) แบบจ าแนกทางเดียว (One-Way ANOVA) เพื่อใช้ในการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยส าหรับ ซึ่งศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ประเภท คือ ตัวแปรตาม (dependent variable) และตัวแปรอิสระ (independent variable) จากข้อมูลการส ารวจ ตัวแปรที่อยู่ในตัวอย่างนี้ประกอบด้วย

Page 19: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

18

- ตัวแปรอิสระ ประกอบด้วย ยี่ห้อ ประเทศผู้ผลิต ขนาด อายุการใช้งาน ความถี่ในการใช้งาน ลักษณะการเก็บรักษา ชุดรักษาระดับแรงดันส ารองไฟฟ้า มาตรฐานระบบกราวด์ สายปลั๊กเสียบที่ใช้มีการต่อลงดิน การบ ารุงรักษา และการสอบเทียบ

- ตัวแปรตาม ประกอบด้วย ระดับแรงดันไฟฟ้ารั่วไหลเฉลี่ย (โวลต์) และขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดิน (ไมโครแอมป์)

ส าหรับการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว พบว่าปัจจัยเรื่องสายปลั๊กเสียบที่ใช้มีการต่อลงดิน (Sig. = 0.044) มาตรฐานระบบกราวด์ (Sig. = 0.027) ความถี่ในการใช้งาน (Sig. = 0.008) ประเทศผู้ผลิต (Sig. = 0.002) ขนาด (Sig. = 0.021) ย่ีห้อ (Sig. = 0.004) ที่แตกต่างกันส่งผลต่อปริมาณการรั่วไหลที่แตกต่างกันที่ระดับความเช่ือมั่น 95 % หรือ ระดับนัยส าคัญ ( = 0.05)

นอกจากนั้นยั งพบว่ า ยี่ ห้ อที่ แตกต่ าง ท า ให้ ระดับแรงดันไฟฟ้ารั่วไหล (V) เฉลี่ยต่างกันสูงสุดอยู่ที่ 16.487 โวลต์ ขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดินต่างกันสูงสุดที่ 81.8077 ไมโครแอมป์ ผลจากขนาดการใช้งาน (VA) ที่ต่างกัน ท าให้แรงดันไฟฟ้ารั่วไหล (V) เฉลี่ยของขนาดที่มีการแตกต่างมากที่สุดอยู่ที่ 25.67 โวลต์ ขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดินแตกต่างมากที่สุดที่ 104.49 ไมโครแอมป์ และขนาดระหว่าง 601-900 VA มีปริมาณกระแสและแรงดันรั่วไหลมากที่สุด

Page 20: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

19

นอกจากนี้หากพิจารณาเฉพาะในเครื่องที่ที่มียี่ห้อและรุ่นเดียวกัน พบว่า ขนาดของเครื่องอัลตร้าซาวด์ที่มีขนาดยิ่งสูง ระดับแรงดันไฟฟ้ารั่วไหล (V) เฉลี่ย และขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดิน (uA) เฉลี่ย มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และในเครื่องมีการใช้งานมากยิ่งขึ้นโอกาสที่มีการรั่วไหลของกระแสก็มีมากขึ้นโดยเฉพาะเครื่องที่มีอายุการใช้งานมากกว่า 60 ครั้ง/สัปดาห์ มี ขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดินเฉลี่ยอยู่ที่ 137 ไมโครแอมป์ และจากค่าเฉลี่ยของมาตรฐานระบบกราวด์ พบว่าเครื่องที่มีระบบกราวด์ที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสที่ขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดินเฉลี่ยอยู่ที่ 153.04 ไมโครแอมป์ และ 102.55 โวลต์ เพิ่มขึ้นจากระบบกราวด์ที่มีความเหมาะสมอยู่ที่ 14.28 และ 8.04 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ สายปลั๊กเสียบที่ใช้มีการต่อลงดินที่ไม่เหมาะสมจะส่งผลให้ระดับแรงดันไฟฟ้ารั่วไหล (V) เฉลี่ย และขนาดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลเทียบกับดิน (uA) เฉลี่ย เพิ่มขึ้นคิดเป็น 4.78 และ 14.99 เปอร์เซ็นต์ตามล าดับ

Page 21: โครงการวิจัย ปัจจัยที่ท ำให้ ...do8.hss.moph.go.th/do8/images/research/s1.pdf · 2015-11-19 · รายละเอียดการตรวจซ่อม/บ

20

สรุปผลข้อเสนอแนะ

การตรวจสอบการรั่ ว ไ หลของกระแส ไฟฟ้ า และแรงดันไฟฟ้า เป็นส่วนหนึ่งของการตรวจสอบงานด้านวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้ไฟฟ้าที่มีกระแสไฟรั่วมีสาเหตุมาจาก เครื่องที่มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน ท าให้ตัวเครื่องมือและอุปกรณ์เริ่มเสื่อมสภาพ รวมทั้งกระบวนการบ ารุงรักษา จากการวิเคราะห์พบว่าเครื่องที่มีการบ ารุงรักษาเป็นประจ าจะมีระดับการรั่วไหลที่น้อยกว่าเครื่องที่ขาดการบ ารุงรักษา ประกอบกับโรงพยาบาลบางส่วนยังไม่ได้ติดตั้ งระบบกราวด์ ระบบสายดินในโรงพยาบาลหลายแห่งที่ ไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งอาจท าให้เกิดอันตรายถึงชีวิตกับเจ้าหน้าที่ที่ใช้งาน รวมถึงผู้ป่วยและผู้ที่มาใช้บริการที่โรงพยาบาล จึงควรมีการส ารวจระบบสายดินให้ครอบคลุมสถานพยาบาลทั่วประเทศ พร้อมทั้งด าเนินการแก้ไขปรับปรุงระบบสายดินแก่โรงพยาบาลที่มีการติดตั้งอย่างไม่ถูกต้องให้เป็นไปตามมาตรฐานอย่างเร่งด่วน