125
ศิลปะของอุดม แตพานิช โดย นางสาวพิมพร สุขสวัสดิศิลปนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป (ทฤษฎีศิลป) ภาควิชาทฤษฎีศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556 หอ

ศิลปะของอุดม แต้พานิช = Art of Udom Taepanich · Udom Taepanich, an artists and entertainment actor who love creative arts but no one has studied

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • ศิลปะของอุดม แตพานชิ

    โดย

    นางสาวพิมพร สุขสวสัด์ิ

    ศิลปนพินธนีเ้ปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสตูรปริญญาศลิปบัณฑิต

    สาขาวชิาทศันศิลป (ทฤษฎีศลิป) ภาควิชาทฤษฎีศลิป

    คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศลิปากร ปการศึกษา 2556

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ศิลปะของอุดม แตพานิช

    โดย

    นางสาวพิมพร สุขสวสัด์ิ

    ศิลปนพินธฉบับน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศลิปบัณฑิต

    สาขาวชิาทศันศิลป (ทฤษฎีศลิป) ภาควิชาทฤษฎีศลิป

    คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศลิปากร ปการศึกษา 2556

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ART OF UDOM TAEPANICH

    By Miss Pimporn Suksawas

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

    Bachelor of Fine Arts (B.F.A.), Program in Visual Arts Department of Art Theory

    The Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts Silpakorn University Academic Year 2013

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหศิลปนิพนธ

    เร่ือง “ศิลปะของอุดม แตพานิช” เสนอโดย นางสาวพิมพร สุขสวัสด์ิ เปนสวนหนึ่งของการศึกษา

    ตามหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป กลุมวิชาเอกทฤษฎีศิลป

    .............................................................

    (อาจารยอํามฤทธิ์ ชูสุวรรณ)

    คณบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ

    ..................../..................../....................

    ผูควบคุมศิลปนิพนธ

    1. อาจารยปวีณา เอ้ือนอมจิตตกุล

    คณะกรรมการตรวจศิลปนิพนธ.............................................................ประธานกรรมการ

    (รองศาสตราจารยสุธี คุณาวิชยานนท)

    ..................../..................../....................

    .............................................................กรรมการ

    (อาจารยปวีณา เอ้ือนอมจิตตกุล)

    ..................../..................../....................

    ..............................................................กรรมการและเลขานุการ

    (อาจารยลลินธร เพ็ญเจริญ )

    ..................../..................../....................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • หัวขอศิลปนิพนธ ศิลปะของอุดม แตพานิช

    ชื่อนักศึกษา นางสาวพิมพร สุขสวัสด์ิ

    สาขาวิชา ทัศนศิลป

    ภาควิชา ทฤษฎีศิลป

    ปการศึกษา 2556

    บทคัดยอ

    อุดม แตพานิช ศิลปนและนักแสดงในวงการบันเทิง ผูมีใจรักในการสรางสรรค

    ศิลปกรรมอยางตอเนื่อง แตทวายังไมมีผูใดทําการศึกษาวิจัยผลงานศิลปกรรมของอุดมอยาง

    จริงจัง ศิลปนิพนธเลมนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวความคิด และแรงบันดาลใจ ตลอดจน

    พัฒนาการทางดานรูปแบบในงานศิลปกรรมของอุดม แตพานิช ผูวิจัยไดทําการคัดเลือกผลงานที่

    แสดงถึงแนวความคิด แรงบันดาลใจ และรูปแบบที่เดนชัดต้ังแต ปพ.ศ. 2541–2556 โดยเก็บ

    รวบรวมขอมูลจากเอกสารและการสัมภาษณเชิงลึก ซึ่งผลการวิจัยพบวา ที่มาของแนวความคิดใน

    การสรางสรรคผลงานศิลปกรรมนั้นมีการแสดงเร่ืองราวที่เกี่ยวของกับอารมณความรูสึกสวนตัว

    โดยไดรับแรงบันดาลใจมาจากสิ่งที่เกิดข้ึนในชีวิตประจําวัน ซึ่งกระทบตอความรูสึกภายในทําให

    เกิดความตองการถายทอดออกมาผานการแสดงออกแบบศิลปะเด็ก นอกจากนี้พัฒนาการ

    ทางดานรูปแบบในผลงานศิลปกรรมของอุดม แตพานิช สามารถแบงได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบ

    นามธรรม และรูปแบบกึ่งนามธรรม โดยผลงานที่มีรูปแบบนามธรรมมีการถายทอดผานกลวิธีทาง

    จิตรกรรม ประติมากรรม และส่ือผสม สวนผลงานที่มีรูปแบบกึ่งนามธรรมมีการถายทอดผานกลวิธี

    ทางจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ ส่ือผสม และศิลปะการจัดวาง จากการศึกษาพบวาผลงาน

    รูปแบบกึ่งนามธรรมนั้นมีจํานวนที่มากกวารูปแบบนามธรรม

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • Thesis Title Art of Udom TaePanich

    Name Miss Pimporn Suksawas

    Concentration Visual Arts

    Department Art Theory

    Academic Year 2013

    Abstract

    Udom Taepanich, an artists and entertainment actor who love creative arts

    but no one has studied the art of the Udom seriously. This thesis aims to study the

    concept and inspiration as well as the development of art of Udom Taepanich. The

    researcher chooses the work that represents ideas, inspiration and vivid form since

    2541-2556 by collecting data from documents and in-depth interviews. The result from

    this research found the origin of concept to creative art is present about the personal

    emotion. It was inspired by something that happens in everyday life which effect to the

    feelings inside and make to convey through the design of children's art. In addition, the

    development of form in performance art of Udom Taepanich can be divided into 2 types:

    abstract and semi-abstract. Abstract work was conveyed through the techniques of

    painting, sculpture and mixed media. While semi- abstract was conveyed through

    painting, sculpture, printmaking, mixed media and art placement. From the study we

    can found semi-abstract form have volume more than abstract forms.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • กิตติกรรมประกาศ

    ศิลปนิพนธเลมนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดีดวยความชวยเหลือเปนอยางดียิ่งจาก อาจารยผู

    ควบคุมศิลปนิพนธ อาจารยปวีณา เอ้ือนอมจิตตกุล ซึ่งอาจารยไดใหความชวยเหลือในการชี้แนะ

    แนวทางรวมถึงการแนะนําและเสนอขอคิดเห็น อันมีประโยชนตอการทําการวิจัยศิลปนิพนธเลมนี้

    ใหมีความสมบูรณ ตลอดจนดูแลเอาใจใสและติดตามการทําศิลปนิพนธของผูวิจัยมาโดยตลอด

    ขอขอบพระคุณ คุณอุดม แตพานิช ที่ใหความรวมมือในการใหขอมูล ใหขอคิดรวมถึง

    การแนะนําแนวทาง และเสนอขอคิดเห็นอันจะเกิดเปนประโยชนตอการวิจัยในคร้ังนี้ ตลอดจนให

    ความรวมมือในการนําผลงานเขารวมแสดงในนิทรรศการทําใหนิทรรศการมีความนาสนใจและทํา

    ใหการวิจัยสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี รวมถึงพี่ออยที่ใจดีใหความชวยเหลือในการใหขอมูลและชวย

    ติดตอนัดวันเวลาใหไดพบกับศิลปน

    ขอกราบขอบพระคุณอาจารยภาควิชาทฤษฎีศิลปทุกทานที่ชวยอบรมส่ังสอนและให

    วิชาความรูแกผูวิจัย อันจะกอเกิดประโยชนใหผูวิจัยไดตอไปในภายภาคหนา รวมถึงเปนกําลังใจ

    และคอยช้ีแนะแนวทางและตักเตือนมาโดยตลอด

    ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ใหการสนับสนุนในดานการเงินและคาใชจายอันมี

    ความเกี่ยวของกับการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ จนกระทั่งสําเร็จการศึกษาไปไดดวยดี

    และสุดทายนี้ขอขอบคุณเพื่อนๆ พี่ๆและนองๆ ที่รักของขาพเจาที่มีสวนรวมในการชวย

    ใหการวิจัยนี้สําเร็จลุลวงไปไดโดยไมมีขอบกพรอง

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • คํานํา

    อุดม แตพานิช ศิลปนผูมีความชํานาญและมีชื่อเสียงในดานการแสดง แตปฏิเสธการ

    ไดมาซ่ึงชื่อเสียงจากการเปนศิลปนผูสรางสรรคศิลปะ ผลงานทั้งหมดลวนเกิดจากความตองการ

    แสดงออกซึ่งอารมณ ความคิด และความรูสึกภายใน โดยบมเพาะจากประสบการณที่ยาวนาน

    กวา15ป แสดงใหเห็นถึงความมุงมั่นและแนวแนในการสรางสรรคผลงานศิลปกรรม

    อุดมเปนบุคคลหน่ึงที่สนใจและทํางานศิลปะโดยใชการแสดงออกแบบเด็กอยาง

    ตอเนื่องและสรางสรรคผลงานบนพื้นฐานของความรักในงานศิลปะ โดยเร่ิมจากการคนควาทดลอง

    เทคนิควิธีการที่แปลกใหมดวยตนเองผานการถายทอดเร่ืองราวบางส่ิงบางอยางในใจที่ไมสามารถ

    ระบายออกมาเปนคําพูดหรือคําบอกเลาภาพจินตนาการในความคิดของตนเองใหผูอ่ืนฟงได จน

    เกิดเปนการเรียนรูที่สงผลใหผลงานของอุดมมีคุณคาทางดานความงามของรูปแบบ การใชเสน สี

    และรูปทรงที่เกิดข้ึนจากการผสมผสานกับบุคลิกและนิสัยในการแสดงออกอยางมีเอกลักษณ

    รวมถึงมีการวิเคราะหรูปแบบผลงานศิลปกรรมของอุดมจากที่มาของแนวความคิดและแรงบันดาล

    ใจในการสรางสรรคจนพัฒนามาเปนรูปแบบที่มีความสมบูรณมากข้ึน

    จากความรักในการสรางสรรคผลงานศิลปกรรมสงผลใหผลงานของอุดม แตพานิช

    ควรคาแกการศึกษาเพื่อใหไดทราบและรับรูถึงวัตถุประสงคในการสรางสรรคศิลปกรรมของอุดม

    และเพื่อเปนแนวทางใหผูที่มีความสนใจในการสรางสรรคผลงานศิลปะที่มีรูปแบบการแสดง

    ออกแบบเด็กตอไป โดยผูวิจัยไดสัมภาษณเชิงลึกและเก็บหลักฐานขอมูลจากตัวศิลปนโดยตรง

    เพื่อมุงเนนและทราบถึงความเปนไปอยางแทจริงในการสรางสรรคผลงานศิลปกรรมของอุดม

    แตพานิช

    ผลจากศิลปนิพนธเลมนี้ อาจเปนแนวทางนําไปสูการศึกษาในรูปแบบตางๆ ที่ชวย

    สงเสริมและพัฒนาเชิงวิชาการทางดานศิลปะท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติใหแกผูอ่ืนที่มีความ

    สนใจ ตลอดจนการนําเสนอวิธีคิดวิเคราะหผลงานในดานความงามและสุนทรียภาพทางหลักของ

    ทัศนศิลป รวมถึงรสนิยมอันเปนเอกลักษณเฉพาะตัวที่สะทอนออกมาผานภาพลักษณและบุคลิก

    ของอุดม แตพานิช

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญ หนา

    บทคัดยอไทย ............................................................................................................... ง

    บทคัดยออังกฤษ .......................................................................................................... จ

    กิตติกรรมประกาศ ........................................................................................................ ฉ

    คํานํา .......................................................................................................................... ช

    สารบัญภาพ ................................................................................................................ ฎ

    บทที่

    1 บทนํา ........................................................................................................... 1

    ความสําคัญและความเปนมาของการศึกษา ............................................. 1

    วัตถุประสงคของการทําศิลปนิพนธ .......................................................... 3

    ขอบเขตของการทําศิลปนิพนธ................................................................. 3

    วิธีการศึกษา .......................................................................................... 3

    แหลงขอมูล............................................................................................ 3

    อุปกรณที่ใชในการทําศิลปนิพนธ ............................................................. 4

    ระยะเวลาที่ใชในการทําศิลปะนิพนธ ........................................................ 4

    คาใชจายในการทําศิลปนิพนธ (โดยประมาณ) .......................................... 4

    2 ทฤษฎีที่เกี่ยวของ ........................................................................................... 5

    ความคิดสรางสรรค................................................................................. 5

    ที่มาของการสรางสรรค ........................................................................... 6

    แนวความคิด (Concept) ................................................................. 7

    แรงบันดาลใจ (Inspiration) ............................................................. 8

    รูปแบบในงานศิลปกรรม ......................................................................... 10

    ทฤษฎีองคประกอบศิลป ......................................................................... 15

    หลักขององคประกอบศิลป ...................................................................... 21

    3 ประวัติชีวิตและการสรางสรรคผลงานของอุดม แตพานิช ................................... 25

    ประวัติชีวิตของอุดม แตพานิช ................................................................. 25

    ประวัติชีวิตสวนตัว ครอบครัว และการศึกษา ..................................... 26

    ประวัติการทํางาน ประสบการณในการทํางานศิลปะ และการแสดงงาน 35

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทที ่ หนา

    ที่มาของแนวความคิด แรงบันดาลใจ และอิทธิพลในการสรางสรรค

    ผลงานศิลปะของอุดม แตพานิช ....................................................... 39

    ที่มาของแนวความคิดและแรงบันดาลใจ................................................... 40

    อิทธิพลและข้ันตอนการสรางสรรคผลงานศิลปะ ........................................ 42

    4 วิเคราะหผลงานศิลปกรรมของอุดม แตพานิช ................................................... 46

    ศิลปะรูปแบบนามธรรม........................................................................... 47

    ศิลปะรูปแบบนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2541 .............................. 48

    ศิลปะรูปแบบนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2542 .............................. 50

    ศิลปะรูปแบบนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2543 .............................. 52

    ศิลปะรูปแบบนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2547 .............................. 54

    ศิลปะรูปแบบนามธรรม เทคนิคประติมากรรมป พ.ศ. 2544........................ 56

    ศิลปะรูปแบบนามธรรม เทคนิคส่ือผสมป พ.ศ. 2545 ................................. 59

    ศิลปะรูปแบบนามธรรม เทคนิคส่ือผสมป พ.ศ. 2549 ................................. 61

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม ....................................................................... 63

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมปพ.ศ.2540............................. 64

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2541........................... 66

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2546........................... 67

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2547........................... 68

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2548........................... 71

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2549........................... 73

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2550........................... 75

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคจิตรกรรมป พ.ศ. 2556........................... 77

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคประติมากรรมป พ.ศ. 2542 .................... 79

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคประติมากรรมป พ.ศ. 2544 .................... 81

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคประติมากรรมป พ.ศ. 2552 .................... 82

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคประติมากรรมป พ.ศ. 2556 .................... 84

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคส่ือผสมป พ.ศ. 2546 ............................. 87

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคส่ือผสมป พ.ศ. 2549 ............................. 88

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทที่ หนา

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคส่ือผสมป พ.ศ. 2551 ............................. 90

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคภาพพิมพป พ.ศ. 2549 .......................... 93

    ศิลปะรูปแบบกึ่งนามธรรม เทคนิคการจัดวางป พ.ศ. 2550......................... 96

    5 บทสรุป ........................................................................................................ 99

    บรรณานุกรม ............................................................................................................... 109

    ประวัติการศึกษา .......................................................................................................... 110

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญภาพ

    ภาพที่ หนา

    1 อุดม แตพานิช ในวัยเด็ก................................................................................. 27

    2 อุดม แตพานิช ขณะเรียนชั้นประถม (ยืนคนที่ 4 นับจากซาย)............................. 29

    3 อุดม แตพานิชกับเพื่อน ขณะเรียนที่อาชีวะชลบุรี (คนขวา) ................................ 30

    4 ภาพอุดม แตพานิชกับมารดา ขณะบวชพระ ..................................................... 37

    5 ชอง มิเฌล บาสเควต (Jean Michael Basquait).............................................. 43

    6 ผลงานของชอง มิเฌล บาสเควต (Jean Michael Basquait) ............................. 43

    7 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (untitled) พ.ศ.2541 เทคนิค สีอคริลิคบนผาใบ,

    อบในไมโครเวฟ ขนาด 30x30 ซม. ........................................................... 49

    8 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2541 เทคนิค สีอคริลิคบนผาใบ,

    อบในไมโครเวฟ ขนาด 30x30 ซม. ........................................................... 49

    9 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2542 เทคนิค สีอคริลิคบนผาใบ,

    อบในไมโครเวฟ ขนาด 30x30 ซม. ........................................................... 51

    10 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2542 เทคนิค สีอคริลิคบนผาใบ,

    อบในไมโครเวฟ ขนาด 30x30 ซม. ........................................................... 51

    11 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2543 เทคนิค สีอคริลิคบนผาใบ,

    อบในไมโครเวฟ ขนาด 30x30 ซม. ........................................................... 53

    12 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2543 เทคนิค สีอคริลิคบนผาใบ,

    อบในไมโครเวฟ ขนาด 30x30 ซม. ........................................................... 53

    13 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2547 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันบนไม

    ขนาด 160 x 180 ซม. ............................................................................. 55

    14 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2547 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันบนไม

    ขนาด 160 x 180 ซม. ............................................................................. 55

    15 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2544 เทคนิค เชื่อมเหล็ก

    ขนาด 15 x 60 x 30 ซม. ......................................................................... 57

    16 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2544 เทคนิค แกะไมและเช่ือมเหล็ก

    ขนาด 9 x 20 x 59 ซม. ........................................................................... 58

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ภาพที่ หนา

    17 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2545 เทคนิค ส่ือผสม, ตัดแปะ

    ขนาด 160 x 180 ซม. ............................................................................. 60

    18 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2545 เทคนิค ส่ือผสม, ตัดแปะ

    ขนาด 90 x 90 ซม. ................................................................................. 60

    19 อุดม แตพานิช Sea Saw Seen พ.ศ.2549 เทคนิค ส่ือผสม ขนาด 108 x 150 ซม. 62

    20 อุดม แตพานิช Sea Saw Seen พ.ศ.2549 เทคนิค ส่ือผสม ขนาด 107x 145 ซม. 62

    21 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2540 เทคนิค สีอคริลิคบนผาใบ

    ขนาด 21 x 25 ซม. ................................................................................. 65

    22 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2540 เทคนิค สีอคริลิคบนผาใบ

    ขนาด 20 x 26 ซม. ................................................................................. 65

    23 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2541 เทคนิค สีอคริลิคบนผาใบ

    ขนาด 11 x 17.5 ซม. .............................................................................. 66

    24 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2546 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันบนไม

    ขนาด 120 x 120 ซม. ............................................................................. 68

    25 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2547 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันแบบแทง,

    ดินสอบนกระดาษ ขนาด 35 x 46.5 ซม.................................................... 70

    26 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2547 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันแบบแทง,

    ดินสอบนกระดาษ ขนาด 35 x 46.5 ซม.................................................... 70

    27 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2548 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันบนไม

    ขนาด 160 x 180 ซม. ............................................................................. 72

    28 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2548 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันบนไม

    ขนาด 160 x 180 ซม. ............................................................................. 72

    29 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2549 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันบนแผนไม

    ไมทราบขนาด ....................................................................................... 74

    30 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2549 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันบนแผนไม

    ไมทราบขนาด ........................................................................................ 74

    31 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2551 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันบนแผนไม

    ไมทราบขนาด ........................................................................................ 76

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ภาพที่ หนา

    32 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2551 เทคนิค สีอคริลิคน้ํามันบนแผนไม

    ไมทราบขนาด ........................................................................................ 76

    33 อุดม แตพานิช sleep well พ.ศ.2556 เทคนิค แกะไมทาทับดวยสีอคริลิค

    ไมทราบขนาด ........................................................................................ 78

    34 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2556 เทคนิค แกะไมทาทับดวยสีอคริลิค

    และเรซิ่น ไมทราบขนาด.......................................................................... 78

    35 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2542 เทคนิค สลักไม

    ขนาด 14 x 20 x 16 ซม. ......................................................................... 80

    36 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2542 เทคนิค สลักไม

    ขนาด 8 x 33 x 18 ซม. ........................................................................... 80

    37 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2544 เทคนิค เชื่อมเหล็ก

    ขนาด 24 x 93 x 60 ซม. ......................................................................... 81

    38 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2544 เทคนิค เชื่อมเหล็ก

    ขนาด 24 x 93 x 60 ซม. ......................................................................... 82

    39 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2552 เทคนิค เคลือบเซรามิค

    ไมทราบขนาด ........................................................................................ 83

    40 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2552 เทคนิค เคลือบเซรามิค

    ไมทราบขนาด ........................................................................................ 84

    41 อุดม แตพานิช สวัสดี ( sawasdee ) พ.ศ.2556 เทคนิค หลอบรอนซ

    ขนาด 37 x 56 x 48 ซม. ......................................................................... 85

    42 อุดม แตพานิช where is my home พ.ศ.2556 เทคนิค หลอทองเหลือง

    ขนาด 48 x 60 x 100 ซม. ....................................................................... 86

    43 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2546 เทคนิค ส่ือผสม

    ขนาด 6.5 x 87 x 16 ซม. ...................................................................... 88

    44 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2546 เทคนิค ส่ือผสม

    ขนาด 6.5 x 87 x 16 ซม. ........................................................................ 88

    45 อุดม แตพานิช dead bear พ.ศ.2549 เทคนิค อคริลิคน้ํามัน บนไฟเบอรกลาส

    ขนาด 21 x 40 x 60 ซม. ....................................................................... 89

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ภาพที่ หนา

    46 อุดม แตพานิช dead bear พ.ศ.2549 เทคนิค อคริลิคน้ํามัน บนไฟเบอรกลาส

    ขนาด 21 x 40 x 60 ซม. ....................................................................... 90

    47 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2551 เทคนิค ส่ือผสม

    ไมทราบขนาด ........................................................................................ 92

    48 อุดม แตพานิช ฟูลมูนปารต้ี ( full moon party ) พ.ศ.2551 เทคนิคส่ือผสม

    ไมทราบขนาด ........................................................................................ 92

    49 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2549 เทคนิค ภาพพิมพรองลึก

    ขนาด 33 x 41 ซม. ................................................................................. 95

    50 อุดม แตพานิช ไมมีชื่อภาพ (Untitled) พ.ศ.2549 เทคนิค ภาพพิมพรองลึก

    ขนาด 33 x 41 ซม. ................................................................................. 95

    51 อุดม แตพานิช my space พ.ศ.2550 เทคนิค ศิลปะการจัดวาง ไมทราบขนาด ... 97

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 1

    บทนํา

    บทที่ 1

    ความสําคัญและความเปนมาของการศึกษา อุดม แตพานิช เปนนักแสดงในวงการบันเทิงที่มีชื่อเสียง และเปนศิลปนที่มีความชื่น

    ชอบในการทํางานศิลปะแตไมตองการเปนศิลปนซึ่งเปนหนึ่งในคนกลุมนอยที่ไมตองการเปนศิลปน

    ที่มีชื่อเสียงโดงดัง เพียงแตตองการสรางสรรคงานศิลปะเพื่อตองการแสดงออกถึงความเปนตนเอง

    และตองการระบายความในใจผานผลงานศิลปะ ดวยเทคนิคตาง ๆ

    อุดม แตพานิช สรางสรรคผลงานรูปแบบนามธรรมเปนสวนมาก ในชวงเร่ิมแรกที่เขา

    ทํางานศิลปะ ซึ่งมีผลมาจากสภาพแวดลอม และความรวดเร็วในการทํางานซึ่งเปนนิสัยสวนตัว

    การแสดงออกของเขานําเสนอความจริง ที่กระทบตอความรูสึกที่อยูภายในใจของตนผานผลงาน

    ศิลปกรรม ผลงานแตละช้ินจึงบงบอกถึงความเปนตัวของตัวเองเปนอยางมาก ทั้งรูปแบบและ

    แนวความคิด ที่เขาไดถายทอดสิ่งที่แสดงถึงความรูสึกตอส่ิงตาง ๆ รอบตัวลงไปบนผลงาน และ

    แสดงใหเห็นถึงการทดลองเทคนิคที่มีความแปลกใหม จากการทดลองดวยตัวเอง และรูปทรงที่ใช

    วาดในภาพที่เปนรูปทรงที่มีความเปนลักษณะเฉพาะตัว ทําใหเห็นถึงการคนหาส่ิงที่เขาตองการ

    แสดงออก หรือตองการเพียงระบายความในใจบางอยางที่ไมอาจจะพูดออกมาเปนคําพูดหรือ

    ตัวเขียนได ซึ่งเปนลักษณะรูปทรงที่แสดงออกแบบไรขอบเขตของจินตนาการ

    อุดมทํางานศิลปะโดยการหาขอมูลในการทํางานอยางตอเนื่องและจริงจัง โดยการขอ

    เขาไปสอนเปนครูศิลปะเด็ก ที่โรงเรียนแหงหนึ่ง เขาไปจดจํารูปรางลักษณะที่มีการแสดงออกแบบ

    ไรเดียงสา อันเนื่องมาจากความชื่นชอบในการแสดงออกแบบไรเดียงสาของเด็ก เพื่อนํารูปแบบนั้น

    มาพัฒนาลงในผลงานของตนเอง จนเกิดเปนชิ้นงานการทดลองแบบที่เขาช่ืนชอบและตองการ

    แสดงออก ซึ่งในการแสดงออกในผลงานของอุดมมีเนื้อหาหลักที่เปนใจความสําคัญอยู 2 ประการ

    ดังนี้

    1. มีการแสดงออกแบบเด็กอยางตรงไปตรงมา ทางดานของรูปทรงและสี โดยไมมี

    ขอบเขตของการแสดงออก ไมคํานึงถึงความถูกตองตามหลักของการจัดองคประกอบศิลปแตอยาง

    ใด เขาจึงสรางสรรคงานไดอยางเต็มที่ ผลงานของเขาจึงเต็มไปดวยความคิดที่เปนการแสดงออก

    อยางฉับพลัน มีการทับซอนของรูปทรง และบอกเลาเนื้อหาสาระและเร่ืองราวตาง ๆ ลงในภาพ

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 2

    อยางชัดเจน ตรงไปตรงมา ซึ่งเกิดจากการไดรับแรงบันดาลใจที่สะสมในความรูสึก เมื่อคิดอะไร

    หรือเห็นอะไรก็ถายทอดสิ่งที่เกิดข้ึนลงไปอยางนั้น แมวาส่ิงที่ถายทอดจะเปนรูปทรงที่แสดงถึง

    ความไมเหมือนจริงแตก็สัมผัสและรับรูไดดวยความรูสึกสวนตัวดังเชนการแสดงออกแบบเด็กที่ไม

    ผานกระบวนการที่ซับซอนทางความคิดและความรูสึก

    2. มีความเปนตัวของตัวเองที่เห็นไดอยางชัดเจน ซึ่งจะเห็นไดจากการแสดงออกผาน

    รูปทรงตาง ๆ ที่เปนรูปแบบเฉพาะที่เกิดจากการแทนคารูปทรงนั้นเปนตัวเองในผลงานของเขา

    หลาย ๆ ชิ้น ที่แสดงใหเห็นวาเนื้อหาในภาพเกิดจากเรื่องราวที่เขาไดปะทะและประสบพบเจอกับ

    ตัวเอง ทําใหเกิดผลกระทบตอเร่ืองราวของความรูสึกจึงตองการที่จะแสดงออกและแทนคารูปทรง

    ตาง ๆ ที่แสดงถึงความเปนตัวเอง ไมวาจะเปนเร่ืองอวัยวะในสวนตาง ๆ ของรางกาย หรือตัวอักษร

    ที่แฝงอยูภายในภาพที่บงบอกถึงความเปนตัวเองดวยลักษณะของคําพูด เนื้อหาสาระที่เปน

    เร่ืองราวที่เกิดข้ึนจากตนเอง ทั้งภายในและภายนอกที่ไดรับผลกระทบทางความรูสึก และตองการ

    ใหเผยแพรไปในทางที่จะทําใหผูที่ชมมีความสุขรวมไปกับการที่ไดเห็นผลงานของเขา ที่สรางมา

    เพื่อตอบสนองความรูสึกที่ดีตอตนเองเม่ือไดระบายส่ิงที่อยูภายในใจตาง ๆ ผานผลงานทางศิลปะ

    แตไมไดตองการที่จะแสดงออกที่จะสงผลที่เกิดความสะเทือนใจตอผูที่รับชมแตอยางใด

    อุดมรักษาตัวตนในการแสดงออกผานทางผลงานไดอยางมีความตอเนื่องและเปนข้ัน

    เปนตอนทางการพัฒนาทางดานฝมือ ตลอดระยะเวลาที่เขาสนใจและเร่ิมการทํางานศิลปะอยาง

    จริงจัง ทําใหรูปทรงที่เกิดข้ึนบนผลงานไดถูกถายทอดผานความเปนตัวเองของตัวเองอยางสูง เมื่อ

    เปรียบเทียบกับศิลปนไทยคนอ่ืน ๆ ที่ใชรูปทรงการแสดงออกเชนเดียวกันกับอุดม แตไมไดมีการ

    พัฒนาทางดานการทํางานอยางตอเนื่องและจริงจัง จึงถือไดวาอุดมเปนคนเดียวที่ทํางานศิลปะ

    โดยใชรูปทรงการแสดงออกแบบเด็กอยางตอเนื่องและสรางสรรคงานบนพ้ืนฐานของความรัก

    ความชอบทางดานศิลปะ และเกิดจากพื้นฐานความรูที่ไดรํ่าเรียนศิลปะมากอน รวมถึงเกดิจากการ

    เรียนรูและทดลองดวยตนเอง ทําใหเขาสรางสรรคผลงานออกมาไดอยางมีความตอเนื่อง และไม

    เปล่ียนแปลงรูปทรงการแสดงออกที่เกิดจากความเปนตนเอง แมวาจะเปล่ียนเทคนิคหรือวิธีของ

    การสรางสรรค ซึ่งทําใหเห็นถึงความต้ังใจในการทํางานศิลปะอยางแทจริง

    ในการศึกษาคร้ังนี้จึงไดรวบรวมผลงานศิลปกรรมของ อุดม แตพานิช ตลอดระยะเวลา

    ในการทํางานศิลปะ นับต้ังแตผลงานชิ้นแรก ๆ ในชวงที่อุดมเร่ิมทํางานศิลปะต้ังแตปพ.ศ.2541-

    2556 เพื่อแสดงใหเห็นถึงพัฒนาการในการสรางสรรคผลงานศิลปะ รวมถึงลักษณะในการ

    สรางสรรค ซึ่งเผยใหเห็นถึงข้ันตอนการศึกษา คนควา และการแสวงหาขอมูลและรูปแบบ รวมถึง

    เทคนิคใหมในการสรางสรรคผลงานศิลปะอันเปนเอกลักษณเฉพาะตนที่เกิดข้ึนอยางตอเนื่องและ

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 3

    จริงจัง เปนระยะเวลาประมาณ 15 ป ซึ่งไดแสดงใหเห็นถึงความสามารถและความเช่ียวชาญ

    รวมถึงพัฒนาการทางดานรูปทรง ลักษณะของมุมมองและการจัดองคประกอบที่ดีข้ึน ตาม

    ระยะเวลาที่เกิดการสะสมของประสบการณของการทํางานศิลปกรรม รวมถึงการทํางานศิลปะดวย

    ความรักและมีอิสระในการสรางสรรค ผลงานศิลปกรรมของอุดมจึงควรคาแกการศึกษาไวสําหรับ

    เปนแนวทางในการศึกษาเร่ืองราวของการมีพัฒนาการที่ดีข้ึนอยางเปนลําดับและชวยสงเสริม

    แนวคิดเร่ืองราวของรูปแบบผลงานที่มีการแสดงออกแบบเด็กในผลงานศิลปะของศิลปนคนอ่ืน

    ตอไป

    วัตถุประสงคของการทําศิลปนิพนธ 1. ศึกษาวิเคราะหถึงแนวความคิดและแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานศิลปกรรม

    ของอุดม แตพานิช

    2. ศึกษาวิเคราะหพัฒนาการทางดานรูปแบบในงานศิลปกรรมของอุดม แตพานิช

    ขอบเขตของการทําศิลปนิพนธ 1. ศึกษาผลงานของอุดม แตพานิช ต้ังแตปพ.ศ.2541 – 2556

    2. ศึกษาเฉพาะผลงานที่บงช้ีถึงแนวความคิดและแรงบันดาลใจที่เดนชัด

    3. ศึกษาเฉพาะผลงานที่บงช้ีถึงรูปแบบที่เดนชัด

    วิธีการศึกษา 1. คนควาจากหนังสือและเอกสารที่เกี่ยวของกับอุดม แตพานิช

    2. คนควาจากหนังสือและเอกสารที่เกี่ยวของกับศิลปะของเด็กเชิงจิตวิทยา

    3. สัมภาษณขอมูลจาก อุดม แตพานิช

    4. แบงกลุมผลงานของอุดม แตพานิช

    แหลงขอมูล 1. หนังสือรวบรวมผลงานของอุดม แตพานิช ไดแก หนังสือ DOMCUMENTARY

    2. ตัวศิลปนอุดม แตพานิช

    3. ผลงานศิลปกรรมของอุดม แตพานิช

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 4

    อุปกรณที่ใชในการทําศิลปนิพนธ 1. เคร่ืองอัดเสียง

    2. คอมพิวเตอร

    3. กลองถายรูป

    ระยะเวลาที่ใชในการทําศิลปนิพนธ ภาคการศึกษาปลาย 2556

    คาใชจายในการทําศิลปนิพนธ (โดยประมาณ) 30,000 บาท (สามหม่ืนบาทถวน)

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 5

    บทที่ 2

    ทฤษฎทีี่เกีย่วของ

    งานวิจัยเลมนี้จะมีการนําเอาทฤษฏีที่เกี่ยวของกับการเกิดแรงบันดาลใจ และความคิด

    สรางสรรค ซึ่งมีแนวความคิดและแรงบันดาลใจเปนสวนประกอบสําคัญในงานศิลปะ นอกจากนั้น

    จะมีทฤษฏีรูปแบบ และทฤษฏีองคประกอบศิลปเพื่อใชในการวิเคราะหรวมอยูดวย โดยความคิด

    สรางสรรคนั้นมีความเกี่ยวพันกันกับแนวความคิดและแรงบันดาลใจ ซึ่งในสวนของทฤษฎีที่มีความ

    เกี่ยวของกับการวิเคราะหผลงานศิลปกรรมนั้น จําเปนตองใชหลักทฤษฎีไวสําหรับอางอิง ในการ

    วิเคราะหผลงานทางศิลปะ เพื่อนํามาเปนหลักและแนวทางในการวิเคราะหความเปนมาในการ

    สรางงานศิลปะของศิลปน และนําไปสูความซาบซึ้งในคุณคาทางความงามดานตาง ๆ โดยจะใช

    หลักของทฤษฎีที่มีความเกี่ยวของในดานของการแสดงออก ความคิดสรางสรรค รูปแบบ และ

    พัฒนาการที่มีความเกี่ยวของภายในผลงาน ซึ่งจะนํามาใชเปนหลักประเมินคุณคาทางดานความ

    งามในผลงานศิลปะ โดยผูวิจัยจะกลาวถึงทฤษฎีที่มีความเกี่ยวของในการวิเคราะหผลงานศิลปะที่

    เปนไปตามหลักเกณฑซึ่งจะมีทฤษฎีที่มีความเกี่ยวของ ดังนี้

    1. ความคิดสรางสรรค

    2. รูปแบบในงานศิลปกรรม

    3. ทฤษฏีองคประกอบศิลป

    ความคิดสรางสรรค ความคิดสรางสรรคในเร่ืองที่มีความเกี่ยวของกับศิลปะนั้น โดยสวนมากนั้นมีความ

    เกี่ยวเนื่องกันกับตัวผูสรางผลงานและภาพผลงานที่เกิดข้ึน เปนเร่ืองของการคิดหรือการกระทําสิ่ง

    ใดสิ่งหนึ่งข้ึนมาอันเกิดจากความสามารถ เปนการเร่ิมการกระทําเพื่อกอใหเกิดเปนผลสําเร็จ โดย

    เปนความสําเร็จที่มีคุณคา อาจจะมีคุณคาทางดานความสวยงามหรือคุณคาทางดานการ

    แสดงออกของความรูสึก ซึ่งสําหรับงานศิลปะนั้นความคิดสรางสรรคมีความสําคัญตอการสราง

    งานศิลปะ เพราะเปนการแสดงออกของกระบวนการทางความคิดที่เกิดข้ึนของศิลปน โดยผาน

    ความงามที่แสดงออกมาจากความรูสึกและการนําเสนอความคิดที่เกิดข้ึน ซึ่งเร่ืองของความคิด

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 6

    สรางสรรคนั้นไดมีการกลาวข้ึนโดย บริตเตน (Lambert W. Brittian) เขาไดกลาวถึงความคิด

    สรางสรรคไววา

    ความคิดสรางสรรคจะพบไดจากคนเราไมใชคนพบไดดวยกลองจุลทรรศนหรือ

    เคร่ืองไมเคร่ืองมือวิเคราะหใด ๆ แตเราจะพบไดจากพฤติกรรมของคน ในการประดิษฐ

    การวางแผน การจัดรวม การสราง ซึ่งพฤติกรรมเหลาน้ีแสดงถึงความคิดสรางสรรค ท้ังส้ิน

    0

    1

    จึงจะเห็นไดวาความคิดสรางสรรคนั้นมีความสัมพันธกับศิลปนและมีความเกี่ยวของ

    กับการสรางสรรคผลงานเปนอยางมาก เนื่องดวยความคิดสรางสรรคนั้นเกิดจากศิลปนโดยตรง

    โดยไมสามารถคนพบไดดวยเคร่ืองมือทางวิทยาศาสตรใด ๆ ไดดวยการพิจารณาถึงการแสดงออก

    ทางพฤติกรรมของศิลปน

    ที่มาของการสรางสรรค

    การสรางสรรคงานศิลปะของศิลปนนั้นเกิดจากอารมณความรูสึก ความประทับใจ การ

    พบเจอกับเร่ืองราวที่เกิดผลกระทบตอตนเอง เร่ืองราวที่เกิดความสะเทือนใจจากภายใน ส่ิงรอบตัว

    หรือแมกระทั่งเร่ืองราวความรูสึกจากการบอกเลาของผูอ่ืน ซึ่งศิลปนเลือกที่จะนํามาบอกเลา หรือ

    ระบายความรูสึกผานผลงานศิลปะ โดยที่ไมแบงแยกเร่ืองราวของชนช้ัน หรือเร่ืองราวของอายุ การ

    ส่ังสมประสบการณหรือเร่ืองราวตาง ๆ ที่ผานมานั้นลวนบอกเลาไดวาศิลปนนั้นไดประสบพบเจอ

    กับเร่ืองราวในชีวิตอยางไร หรือศิลปนนั้นตองการบอกเลาอารมณความรูสึกของตนเองในชวงขณะ

    ใดขณะหนึ่งหรือไม เกิดจากการรับรูภายในของศิลปนผูนั้นที่ถายทอดออกมาผานผลงานของ

    ตนเอง โดยที่เราสามารถรับรูไดผานจากการดูงานศิลปะของศิลปนผูนั้น โดยที่สวนมากเร่ืองของ

    อารมณความรูสึกสวนตัวจะเปนปจจัยหลักที่กอใหเกิดแรงบันดาลใจ ซึ่งเปนข้ันเร่ิมตนในการที่จะ

    ตอยอดไปยังเร่ืองราวของจินตนาการและการแสดงออก ใหปรากฏเปนชิ้นงานที่เกิดจากการ

    สรางสรรค ดังที่วิรุณ ตั้งเจริญ ไดใหความหมายเกี่ยวกับการสรางสรรคไววา

                                                                

    1 Lambert W. Brittian, Children’s Art (Ithaca, NY : New York State College of

    Home Economics at Cornell University, 1961).

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 7

    การสรางสรรค คือ การแสดงออกท่ีอิสระและมีลักษณะเฉพาะตัวรวมท้ังสมรรถภาพ

    ในการแกปญหา ในการดํารงชีวิตดวย ถาเปนการสรางสรรคผลงานก็ยอมเปนลักษณะท่ี

    แสดงใหเห็นถึงการปรับปรุงเปล่ียนแปลง หรือการสรางส่ิงใหมซึ่งมีแนวโนมไปในทางท่ี

    ดีกวา 1 2

    จากขอความขางตนสรุปไดวาการสรางสรรคนั้นเปนการแสดงออกทางความคิด

    ในการกระทําส่ิงใหม ซึ่งสัมพันธไปกับกระบวนการทางความคิดทั้งในเร่ืองของการคิดคน คนควา

    ตลอดจนการแกไขปญหาดวยสติปญญา ซึ่งสอดคลองกับแมคคินนอน (Donald W. Mackinnon)

    ที่กลาวถึงความคิดสรางสรรคไววา

    การสรางสรรคเฉพาะบุคคล เปนการแสดงลักษณะเฉพาะตัว ซึ ่งเปนผลจาก

    สติปญญาอันสูงสง เปดเผยถึงประสบการณประสาทสัมผัสดานสุนทรียภาพ อิสรภาพ

    ในการคิดและปฏิบัติ พลังในการสรางและการแกปญหาที่ยุ งยากไดอยางเชื ่อมั ่นใน

    ตนเอง 2 3

    จึงจะเห็นไดวากระบวนการสรางสรรคนั้นสัมพันธกับกระบวนการสรางศิลปะของ

    ศิลปน ในการสรางงานศิลปะข้ึนมา หนึ่งช้ินจะมีความเก่ียวพันธกับเร่ืองของแนวความคิดและแรง

    บันดาลใจ ที่เกิดจากการแสดงลักษณะเฉพาะ อันเปนผลมาจากความรูสึกภายใน ซึ่งสามารถ

    กลาวถึงแนวความคิดและแรงบันดาลใจไดดังตอไปนี้

    แนวความคิด (Concept)

    เนื่องจากการสรางสรรคงานศิลปะน้ันตองใชอารมณความรูสึกเปนเร่ืองของปจจัย

    เบ้ืองตนในการสรางงานศิลปะ ที่จะกอใหเกิดเปนเร่ืองราวของแนวความคิดที่เกิดข้ึนตอผลงาน

    และผานการถายทอดในเร่ืองราวของกระบวนการทางศิลปะ โดยที่เร่ืองราวของแนวความคิดนั้นมี

    ความสําคัญเปนอยางยิ่งที่จะกอใหเกิดการตกตะกอนลงบนช้ินงานแตละชิ้นโดยเปนผลสรุปทาง

                                                                

    2 วิรุณ ต้ังเจริญ, ศลิปศกึษา, พิมพคร้ังที ่2 (กรุงเทพฯ: โอ.เอส พร้ินต้ิงเฮาส, 2539), 16.

    3 Donald W. Mackinnon, “The nature and nurture of creative talent. Amer

    Psychol, 17 (1962), 75.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 8

    ความคิดของศิลปนผูนั้น โดยที่สามารถกล่ันกรองความรูสึกลงบนชิ้นงานไดตามผลสรุปของ

    แนวความคิด ซึ่งเนื้อหาที่กลาวมาขางตนนั้นไดมีความเกี่ยวเนื่องกับที่ อารี สุทธิพันธุ ไดกลาวถึง

    เร่ืองของแนวความคิดไวในหนังสือ ทัศนศิลปและความงามไววา

    ในหลักการทัศนศิลป หรือศิลปะที่มองเห็นนั้นการสรางความคิดรวบยอด มีความ

    จําเปนและสําคัญยิ่ง เพราะจะชวยใหผูเรียนรูจักลักษณะเฉพาะของทัศนศิลปแตละ

    แขนง และลักษณะประกอบที่จําเปนซึ่งจะเปนการเสริมสรางการรูจักวิเคราะหผลงาน

    อันจะกอใหเกิดการวิจัย และวิจารณงานศิลปะ ซึ่งเทากับเปนการเสนอผลของปฏิกิริยา

    โตกลับ (reac-tion) จากการกระทําน้ัน ๆ (action) ดวย 3 4

    จึงจะเห็นวาแนวความคิดนั้นเปนปจจัยเบ้ืองตนที่มีความสําคัญที่เปนตนเหตุของการ

    กอใหเกิดการสรางสรรคผลงานศิลปะที่สงผลไปถึงการแสดงออกภายในผลงานโดยผานการ

    ถายทอดตามความรูสึกจากการตกตะกอนทางความคิดของศิลปน

    แรงบันดาลใจ (Inspiration)

    อารมณความรูสึก หรือความประทับใจเบ้ืองตนนั้นไมเพียงแตเปนปจจัยสําคัญใหผล

    กับเร่ืองของแนวความคิดเทานั้นแตยังสงผลไปถึงเร่ืองของแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน

    ศิลปะของศิลปนดวย เพราะการสรางสรรคงานศิลปะนั้นไมไดข้ึนอยูกับแนวความคิดเพียงอยาง

    เดียวเทานั้นที่จะสามารถสรางงานศิลปะข้ึนได แตยังเกิดจากแรงบันดาลใจที่ยังเปนสวนที่สําคัญ

    ที่สุดในการสรางสรรคงานศิลปะ ซึ่งเปนผลที่เกิดจากจินตนาการและเรื่องของจิตสํานึกรวมใหเกิด

    เปนพลังของแรงบันดาลใจ ผานการสรางสรรคผลงานศิลปะ โดยที่ศิลปนนั้นไดตีความตามแต

    ความตองการของแตละคน ซึ่งอาจจะผานการแสดงออกทางเทคนิคคนละแบบแลวแตความถนัด

    และความสามารถสวนตัว โดยที่แรงบันดาลใจนั้นจะอยูในตัวของศิลปนตลอดเวลามรการ

    สรางสรรคผลงานศิลปะ ซึ่งจะไดถูกถายทอดไปยังผลงานศิลปกรรม วินัย ผูนําพล ไดกลาวถึงเร่ือง

    ของแรงบันดาลใจไวในหนังสือ มนุษยกับการสรางสรรคงานวิจิตรศิลปไววา

                                                                

    4 วิรุณ ต้ังเจริญ, ทศันศิลปและความงาม (กรุงเทพฯ: ตนออ, 2532), 40.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 9

    พลังบันดาลใจ หมายถึง การที่มนุษยบังเกิดความคิดเห็น หรือความรูสึกที่ไดรับมา

    จากส่ิงใดส่ิงหน่ึง ท้ังท่ีเปนภาวะนามธรรมและรูปธรรม หรือการท่ีส่ิงน้ัน ๆ ไดกอกระตุนให

    มนุษยเกิดพลังแหงการสรางสรรคเปนผลงานศิลปกรรมขึ้น พลังบันดาลใจเปนพลัง

    สรางสรรคงานวิจิตรศิลปขั้นแรก ท่ีจะนําไปสูพลังความรูสึกอื่น ๆ ท่ีตามมาพลังบันดาลใจ

    ที่เกิดขึ้นกับตัวศิลปนจัดไดวาเปนพลังที่มีลักษณะในการสะสมจนถึงจุดอิ่มตัว จึงนําไปสู

    การสรางสรรคศิลปกรรมข้ึน 4 5

    แรงบันดาลใจนั้นโดยทั่วไปสามารถจําแนกประเภทออกไดอยางหลากหลายตาม

    เร่ืองราวของความรูสึก ความสะเทือนใจ ที่กอเกิดเปนเร่ืองราวของจินตนาการ ที่ทําใหเกิดเปนรูป

    เปนรางในผลงานศิลปะ ซึ่งโดยทั่วไปจะสามารถจําแนกไดเปน 2 ขอ ดังนี้

    1. แรงบันดาลใจที่เกิดจากสภาวะแวดลอมทางธรรมชาติทั่วไป

    ต้ังแตสรรพส่ิงที่มีขนาดเล็กมากจนตองอาศัยกลองจุลทรรศนในการมอง ไปจนถึง

    ชีวิตของมนุษย สัตว พันธุไม และทัศนียภาพอันงดงาม ที่ปรากฏอยูบนพื้นโลก จนถึงความงามของ

    จักรวาล ซึ่งเปนความงามอันเวิ้งวาง อยางประสานกลมกลืนมีเอกภาพ แรงบันดาลใจลักษณะนี้

    ยอมเกิด มี เปนและดับเปล่ียนอยางตอเนื่องอยางหาที่สุดมิได และเปนแรงบันดาลใจที่เปนแมบท

    ของสรรพส่ิงทั้งมวลที่มนุษยเพียรพยายามสรางสรรคข้ึน

    2. แรงบันดาลใจจากสภาวะทางสังคม ที่มนุษยเปนผูสรางสมข้ึนมา

    เปนลักษณะของแรงบันดาลใจที่ไดทวีบทบาทความสําคัญยิ่งข้ึนในสมัยปจจุบัน

    เนื่องจากพฤติกรรมของสังคมยุคใหม มีการดัดแปลงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติอยางกวางขวาง

    และกําลังขยายความซับซอนยิ่ง ๆ ข้ึนทุกขณะ โดยเฉพาะต้ังแตสังคมโลกมนุษยกาวเขาสูสมัยแหง

    การปฏิวัติทางอุตสาหกรรม จนเขาสูยุคเทคโนโลยีชั้นสูง หรือยุคแหงขอมูลสัมผัส (Social

    Information) และแรงบันดาลใจจากสภาวะทางสังคมที่มนุษยสรางสมข้ึน5 6

                                                                

    5 วนิัย ผูนําพล, “มนษุยกับการสรางสรรคงานวิจิตรศิลป,” เอกสารประกอบ

    รายวชิา 080 101 Man and Creativity (กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร,

    2532), 11.

    6 เร่ืองเดียวกนั, 12.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 10

    จะพบวาแรงบันดาลใจนั้นเกิดข้ึนจากอารมณความรูสึกและความประทับใจเบ้ืองตนที่

    มีผลตอการสรางสรรคผลงานศิลปกรรม ซึ่งการสรางสรรคผลงานศิลปกรรมนั้นจะตองมีการ

    รวบรวมทั้งเร่ืองของแรงความคิดและแรงบันดาลใจที่เกิดจากการจินตนาการและจิตสํานึกโดยรวม

    ที่เกิดข้ึนโดยการแสดงออกผานความสามารถทางกระบวนการสรางสรรคไปแลวแตความถนัดของ

    ศิลปนแตละคน ซึ่งแรงบันดาลใจสวนมากนั้นจะสามารถเกิดไดจากแรงบันดาลใจที่เกิดจาก

    ธรรมชาติโดยรวมซ่ึงหมายถึง คน สัตว และส่ิงของ ที่ศิลปนไดพบเห็นและไดรับเปนแรงบันดาลใจ

    รวมถึงแรงบันดาลใจที่เกิดจากการที่มนุษยเปนผูที่สรางข้ึนมาเอง เปนแรงบันดาลใจที่เกิดข้ึนจาก

    การพฤติกรรมของมนุษยและสังคมที่เกิดข้ึนทั้งที่เกิดจากวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีและความ

    เปล่ียนแปลงของธรรมชาติ

    รูปแบบในงานศิลปกรรม รูปแบบในงานศิลปกรรมนั้นข้ึนอยูกับประสบการณและเร่ืองของสภาพแวดลอมเปน

    ปจจัยสําคัญ ทั้งเร่ืองของการเรียนรู เร่ืองราวของครอบครัว รวมถึงเร่ืองราวของสังคมและบริเวณที่

    อยูอาศัย โดยการแสดงออกทางดานรูปแบบจะมีการเรียนรูและพัฒนาการทางดานการแสดงออก

    ทางรูปลักษณตาง ๆ ซึ่งจะเกิดจากรูปทรงอยางงายซ่ึงมีเพียงกรอบรอบนอก เชน การเขียนรูปทรง

    วงกลมลงในส่ีเหล่ียม ซึ่งการออกแบบนั้นก็จะพัฒนาไปตามลับดับของความคิดและอายุที่เติบโต

    ข้ึน ตอมาเมื่อเกิดการพัฒนาศิลปนอาจจะนํารูปทรงหลาย ๆ รูปมารวมกันในภาพไดดีข้ึน การเขียน

    เสนจะตรงข้ึน หรือการนํารูปที่เคยวาดแลวนํามาวาดใหมในภาพใหเกิดรูปแบบใหม ซึ่งจะเกิด

    ความซับซอนและนาสนใจข้ึนตามลําดับ ซึ่งรูปแบบที่แสดงออกในทางทัศนศิลปนั้นมีความหมายที่

    เปนเหตุเปนผลและเกี่ยวเน่ืองกับรูปแบบที่เกิดข้ึน ซึ่งตรงกับเนื้อหาที่กลาวถึงความหมายของ

    รูปแบบทางทัศนศิลปที่ วิรุณ ต้ังเจริญ กลาวไวในหนังสือ มนุษยกับความงามวา

    รูปแบบทางทัศนศิลปก็คือ การนําสวนประกอบศิลปะ (elements of art) เชน เสน สี

    รูปทรง นํ้าหนัก บริเวณวาง มวลสาร ปริมาตร มาจัดรวมเขาดวยกันเปนองคประกอบศิลป

    (art composition) ตามหลักการศิลปะ (principles of art) และกอใหเกิดความงามใน

    ลักษณะตาง ๆ กัน การเลือกใชเสน สี รูปทรง นํ้าหนัก ฯลฯ และลักษณะการจัด

    องคประกอบศิลปท่ีเรียบงาย ซับซอน แออัดยัดเยียด วาง ฯลฯ ก็สะทอนใหเห็นถึงอารมณ

    ความรูสึกนึกคิดและบุคลิกภาพเฉพาะตัวของเด็กแตละคนดวย 6 7

                                                                

    7 วิรุณ ต้ังเจริญ, มนุษยกับความงาม (กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พร้ินต้ิงเฮาส, 2537), 23.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 11

    โดยรูปแบบนั้นมีความเปนเหตุเปนผลทางความงามของศิลปะ ซึ่งมีเร่ืองของอารมณ

    ความรูสึก แรงบันดาลใจ และเร่ืองของแนวความคิดมามีสวนรวมอยูในผลงาน แตจะแสดงออก

    แตกตางกันออกไปตามเทคนิคและวิธีการแสดงออกที่มากมาย โดยมีรูปแบบที่หลากหลาย ซึ่ง

    หนังสือพจนานุกรมศัพทศิลปะ ไดกลาวถึงความหมายของคําวารูปแบบไววา

    Form หรือรูปแบบคือ ลักษณะแบบอยางท่ีศิลปนแสดงเร่ืองราวหรือเน้ือหาในการ

    สรางผลงาน รูปแบบในผลงานศิลปะเปนผลจากการที่ศิลปนจัดวาง ออกแบบ และจัด

    องคประกอบ รวมท้ังการใชวัสดุในการสรางสรรคงาน 7 8

    ดังนั้นรูปแบบในง