4
สรุปข่าวผลงานข่าวในรอบสัปดาห์ของโรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ (DSJ) http://www.deepsouthwatch.org/dsj p 1 ฉบับที่ 11 วันที่ 30 กันยายน 2556 สื่อท้องถิ่นถาม ทีมร่วมโต๊ะตอบ เรียนรู้จาก 20 ข้อ‘การพูดคุยสันติภาพ’ วันที่ 24 กันยายน 2556 โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (Deep South Watch) เปิดเวที 20 คำาถามเพื่อกระบวนการสันติภาพเดินหน้า ให้สื่อท้องถิ่นถาม ทีมร่วมโต๊ะพูด คุยสันติภาพตอบ โดยมีผู้ตอบคำาถามมี 4 คน ได้แก่ ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้อำานวยการ Deep South Watch ดาโต๊ะอาซิส เบ็ญหาวัน ประธานที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ว่าที่ ร.ต.เลิศเกียรติ วงศ์โพธิพันธ์ รองเลขาธิการ ศอ.บต. และพ.อ.สมเดช โยธา นายทหารปฏิบัติการข่าว กองอำานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค 4 สน.) อ่านคำาตอบ ทำาไมลดความ ต้องการจากเอกราชสู่ปกครองพิเศษ เอกภาพระหว่างทหารกับรัฐบาลเพื่อไทย 5ข้อBRNกับสิทธิความเป็นเจ้าของ ความชอบธรรมของคู่เจรจา ใคร เป็นต่อ – ใครเป็นรอง ความหมายของพื้นที่กลางที่ปลอดภัย จนถึงเรื่องสื่อกับเสรีภาพในการแสดงออก 70 ปีกว่ารัฐจะยอมรับมลายู วงเสวนาแนะเร่งสร้างสื่อเพื่อสันติภาพใตวงเสวนาสื่อภาษามลายู ครั้งที่3ว่าด้วย “ภาษามลายู ‘ระหว่างทาง’ กระบวนการสันติภาพ” เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2556 ชี้เป็นภาษา สากลแต่คนชายแดนใต้ใช้น้อยลง ชี้สารพัดปัญหาทำาอัตลักษณ์ทางภาษาด้อยคุณภาพ เผยความพยายามในการรื้อฟื้นภาษามลายูเกิดขึ้นมาเมื่อ ประมาณ 70 ปีมาแล้ว คือในสมัยหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ ที่มีข้อเรียกร้องต่อรัฐบาล 7 ข้อที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่ง มี 2 ข้อที่เกี่ยวข้องกับภาษามลายู คือ ข้อเรียกร้องที่ให้มีการเรียนการสอนภาษามลายูทุกระดับการศึกษาและข้อเรียกร้องที่ให้ภาษามลายูเป็นภาษา ราชการควบคู่กับภาษาไทย ด้าน พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง กล่าวถึงว่าจะแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่อย่างไร ตนขอยกคำาพูดของหม่อมราชวงศ์คึก ฤทธิ์ ปราโมทย์ อดีตนายกรัฐมนตรีที่พูดว่า “คิดอย่างไรก็คิดไม่ออก เพราะเราไปหลอกเขาเป็นคนไทย ความจริงเขาเป็นชาวมลายู ปัญหาอยู่ที่เรา ไปหลอกเขามาตลอด” “วันนี้เราต้องส่งเสริมให้เขาเป็นเขา รักษาเอกลักษณ์ความเป็นมลายู เพียงแต่ต้องให้ความเท่าเทียนกับคนไทยพุทธที่อยู่ใน พื้นที่” http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4790 http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4782

ฉบับที่ 11 วันที่ 30 กันยายน 2556 · 2018-02-02 · ราชการควบคู่กับภาษาไทยด้านพ.ต.อ.ทวี

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ฉบับที่ 11 วันที่ 30 กันยายน 2556 · 2018-02-02 · ราชการควบคู่กับภาษาไทยด้านพ.ต.อ.ทวี

สรุปข่าวผลงานข่าวในรอบสัปดาห์ของโรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ (DSJ)

http://www.deepsouthwatch.org/dsj

p1

ฉบับที่ 11 วันที่ 30 กันยายน 2556

สื่อท้องถิ่นถาม ทีมร่วมโต๊ะตอบ เรียนรู้จาก 20 ข้อ‘การพูดคุยสันติภาพ’

วันที่ 24 กันยายน 2556 โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (Deep

South Watch) เปิดเวที 20 คำาถามเพื่อกระบวนการสันติภาพเดินหน้า ให้สื่อท้องถิ่นถาม ทีมร่วมโต๊ะพูด

คุยสันติภาพตอบโดยมีผู้ตอบคำาถามมี4คนได้แก่ผศ.ดร.ศรีสมภพจิตร์ภิรมย์ศรีผู้อำานวยการDeepSouthWatchดาโต๊ะอาซิส เบ็ญหาวัน

ประธานที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ว่าที่ร.ต.เลิศเกียรติวงศ์โพธิพันธ์รองเลขาธิการศอ.บต.และพ.อ.สมเดชโยธา

นายทหารปฏิบัติการข่าวกองอำานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรภาค4ส่วนหน้า(กอ.รมน.ภาค4สน.)อ่านคำาตอบทำาไมลดความ

ต้องการจากเอกราชสู่ปกครองพิเศษเอกภาพระหว่างทหารกับรัฐบาลเพื่อไทย5ข้อBRNกับสิทธิความเป็นเจ้าของความชอบธรรมของคู่เจรจาใคร

เป็นต่อ–ใครเป็นรองความหมายของพื้นที่กลางที่ปลอดภัยจนถึงเรื่องสื่อกับเสรีภาพในการแสดงออก

70 ปีกว่ารัฐจะยอมรับมลายู วงเสวนาแนะเร่งสร้างสื่อเพื่อสันติภาพใต้

วงเสวนาสื่อภาษามลายูครั้งที่3ว่าด้วย“ภาษามลายู‘ระหว่างทาง’กระบวนการสันติภาพ”เมื่อวันที่24กันยายน2556ชี้เป็นภาษา

สากลแต่คนชายแดนใต้ใช้น้อยลง ชี้สารพัดปัญหาทำาอัตลักษณ์ทางภาษาด้อยคุณภาพ เผยความพยายามในการรื้อฟื้นภาษามลายูเกิดขึ้นมาเมื่อ

ประมาณ70ปีมาแล้วคือในสมัยหะยีสุหลงอับดุลกอเดร์ที่มีข้อเรียกร้องต่อรัฐบาล7ข้อที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่ง

มี2ข้อที่เกี่ยวข้องกับภาษามลายูคือข้อเรียกร้องที่ให้มีการเรียนการสอนภาษามลายูทุกระดับการศึกษาและข้อเรียกร้องที่ให้ภาษามลายูเป็นภาษา

ราชการควบคู่กับภาษาไทย ด้าน พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง กล่าวถึงว่าจะแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่อย่างไร ตนขอยกคำาพูดของหม่อมราชวงศ์คึก

ฤทธิ์ปราโมทย์อดีตนายกรัฐมนตรีที่พูดว่า“คิดอย่างไรก็คิดไม่ออก เพราะเราไปหลอกเขาเป็นคนไทยความจริงเขาเป็นชาวมลายูปัญหาอยู่ที่เรา

ไปหลอกเขามาตลอด”“วันนี้เราต้องส่งเสริมให้เขาเป็นเขารักษาเอกลักษณ์ความเป็นมลายูเพียงแต่ต้องให้ความเท่าเทียนกับคนไทยพุทธที่อยู่ใน

พื้นที่”

http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4790

http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4782

Page 2: ฉบับที่ 11 วันที่ 30 กันยายน 2556 · 2018-02-02 · ราชการควบคู่กับภาษาไทยด้านพ.ต.อ.ทวี

p2

http://www.deepsouthwatch.org/blog

บล็อกรีวิว (แนะนำาข้อเขียนของเครือข่าย)

สุขเกษม จารงค์ ผอ.สถานีวิทยุ “ซัวรากีตา” วิทยุภาษามลายู 24 ชม.

โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้สัมภาษณ์ อ.สุขเกษมจารงค์ ผอ.

สถานีวิทยุซัวรากีตาศอ.บต.คลื่น88.75MHzวิทยุแห่งแรกใช้ภาษา

มลายู 24 ชม. ที่กล่าวถึงบทบาทในฐานะเป็นสื่อมวลชนในพื้นที่ที่มี

ความขัดแย้งที่จะต้องวางตัวให้เป็นกลาง โดยไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง

เพื่อที่จะให้ประชาชนในพื้นที่มีความเชื่อมั่นและสบายใจที่จะโทรศัพท์

เข้ามาร่วมพูดคุยและแสดงความคิดเห็นในรายการ เพื่อบอกเล่าความ

เดือดร้อนต่างๆ ของเขา หรือเพื่อที่จะแสดงความห่วงใยซึ่งกันและกัน

ระหว่างแฟนรายการด้วยกัน

ปัตตานีเตรียมที่รอ ‘ปืนใหญ่’ซ่อมเสร็จ 3 ธันวาฯ

นางศิรวีวาเล๊าะท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดปัตตานีเปิดเผยว่า

ปัตตานีได้งบซ่อมปืนใหญ่จำาลองแล้ว เตรียมนำากลับเตรียมวางจุดเดิม

หน้ามัสยิดกรือเซะวันที่3ธันวาคมพร้อมให้ชาวบ้านช่วยดูแลเปิดศูนย์

การเรียนรู้อารยธรรมปัตตานีเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ส่วนการป้องกัน

ไม่ให้เกิดเหตุซ้ำารอยนั้น ทางสำานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด

ปัตตานีได้หารือกับผู้นำาชุมชนและชาวบ้านในพื้นที่ว่า จะให้ชาวบ้าน

บริหารจัดการทั้งหมดทั้งการจัดเวรยามและการเฝ้าระวัง

อะฮ์หมัดฟัตฮีย์ อัลฟาฎอนีย์ กับข้อกังวลต่อการสูญหายของภาษามลายูในดินแดนปาตานี

บล็อกAwanBook

http://www.deepsouthwatch.org/node/4783

บทบันทึกระหว่างการสนทนากับ “อะฮ์หมัดฟัตฮีย์ อัลฟาฏอนีย์” นักประวัติศาสตร์ปาตานีคนสำาคัญที่บ้านพัก

ในประเทศมาเลเซีย อับดุลเลาะห์ วันอะห์หมัด ได้เก็บรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีตที่บอกเล่าผ่านการเดินทางของ

ภาษามลายู ทั้งตำาราสอนศาสนา (อิสลามและคริสต์) ไปจนถึงบทกวีที่สลักอยู่บนปืนใหญ่แห่งเมืองซังโกรา (สงขลา) ภาษา

มลายูถูกลดบทบาทลงไปในยุคที่อยู่ใต้การปกครองของสยาม สิ่งที่นักประวัติศาสต์คนดังกล่าวเน้นย้ำาคือความจำาเป็นในการ

รักษาตัวอักษรยาวีวิธีการหนึ่งที่ผู้เขียนเน้นย้ำาคือการที่คนปาตานีต้องมีวารสารเป็นภาษายาวีแต่ประสบการณ์ของนักเขียน

อาวุโสเตือนไว้ว่าวารสารเช่นนี้ต้องได้รับการสนับสนุนเป็นการเฉพาะถึงจะอยู่รอดหากคาดหวังความอยู่รอดด้วยระบบธุรกิจ

เห็นจะยาก

สื่อชายขอบกับการเปิดพื้นที่เพื่อสร้างสันติภาพ

บล็อกFTMedia

http://www.deepsouthwatch.org/node/4779

กลุ่มเอฟทีมีเดียเก็บประเด็นจากวงเสวนาในหัวข้อ “สื่อชายขอบในศูนย์กลางสันติภาพ” ที่จัดขึ้นที่ร้านหนังสือบู

คูปัตตานีเมื่อวันที่ 29สิงหาคมที่ผ่านมาซึ่งระดมคนทำางานสื่อสารในพื้นที่ชายแดนใต้ทั้งนักจัดรายการวิทยุ ผู้สื่อข่าวสำานัก

ข่าวออนไลน์ นักกิจกรรมองค์กรสตรีที่ทำารายการวิทยุ พวกเขาเป็นสื่อขนาดเล็กที่อยู่ในระยะประชิดกับความขัดแย้งและ

มักถูกจับตามองจากคู่ขัดแย้งด้วยสายตาระแวดระวังว่าจะทำางานเอื้อประโยชน์ให้กับฝ่ายตรงกัน ประเด็นที่หลายคนเน้นย้ำา

จึงเป็นเรื่องของวิธีการนำาเสนอข่าวสรที่จะทำาให้ได้รับความน่าเชื่อถือเพียงพอ อีกทั้งยังทำาหน้าที่เป็นเวทีให้กับทุกฝ่ายได้นำา

เสนอประเด็นของตัวเองโดยเฉพาะในสถานการณ์ที่กำาลังมีการขับเคลื่อนกระบวนการสันติภาพสื่อของพวกเขาก็ต้องเผชิญ

กับความท้าทายหลายประการด้วยเช่นกัน

http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4780http://www.deepsouthwatch.org/dsj/4788

Page 3: ฉบับที่ 11 วันที่ 30 กันยายน 2556 · 2018-02-02 · ราชการควบคู่กับภาษาไทยด้านพ.ต.อ.ทวี

p3

http://www.isranews.org/south-news.html

สรุปข่าวประจำาสัปดาห์ ศูนย์ข่าวภาคใต้ สำานักข่าวอิศรา

รายงาน: คนรุ่นใหม่-คนพื้นที่ รณรงค์สื่อสารสร้างสรรค์อย่างไร

เว็บไซต์ประชาไท ร่วมกับเครือข่ายพลเมืองเน็ต Protection

InternationalและFrontlineDefenderร่วมจัดเวทีสาธารณะ“การ

ปกป้องนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน และความปลอดภัยออนไลน์” โดย

มีนักสิทธิมนุษยชนในไทยเข้าร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และการ

เสวนาหัวข้อ“นักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนรุ่นใหม่:การรณรงค์อย่างสร้าง

สรรค์”ร่วมแลกเปลี่ยนโดยปองจิตสรรพคุณหัวหน้าฝ่ายละครชุมชน

มูลนิธิสื่อชาวบ้าน(มะขามป้อม)เดชาคำาเป้าเมืองตัวแทนเยาวชนจาก

กลุ่มอนุรักษ์อุดรธนบูรณ์สมบูรณ์CreativeMoveสุภาพหริมเทพาธิป

นิตยสารไบโอสโคปปราบเลาหะโรจนพันธ์นักรณรงค์รุ่นใหม่

ดร.มะรอนิง สาแลมิง ครั้งแรกของ ‘ผู้รู้อิสลามในตำาแหน่งสูงเพื่อดับไฟใต้’

สัมภาษณ์รองเลขาธิการ ศอ.บต. ครั้งแรกของผู้รู้อิสลามใน

ตำาแหน่งระดับสูงเพื่องานดับไฟใต้ พร้อมคำาอธิบายเนื้องานทางศาสนา

เพื่อปูทางไปสู่การแก้ปัญหาความขัดแย้งและความรุนแรง กับความ

หมายของสันติภาพและการยับยั้งความอยุติธรรม ความน่าสนใจอยู่ที่

ว่า ดร.มะรอนิงคือผู้รู้ศาสนาอิสลาม เป็นนักวิชาการศาสนาที่สามารถ

เข้ามารับตำาแหน่งข้าราชการระดับสูงในพื้นที่ อย่างที่ไม่เคยปรากฏมา

ก่อนเพราะก่อนถูกโยกมารับตำาแหน่งเคยเป็นอาจารย์ประจำาสาขาวิชา

กฎหมายอิสลามที่วิทยาลัยอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาเขตปัตตานี(ม.อ.ปัตตานี)เป็นตำาแหน่งทางวิชาการ

http://www.prachatai.com

สรุปข่าวประจำาสัปดาห์ สำานักข่าวประชาไท

“ผู้การสมเกียรติ” โบกมือลาชายแดนใต้ นราฯปรับใหญ่ทั้ง “ผู้ว่าฯ-ตำารวจ”

ฮือฮา น.อ.สมเกียรติ ผบ.ฉก.นาวิกโยธิน เตรียมโบกมือลา

ชายแดนใต้หลังมีข่าวขยับเป็นผอ.กองยุทธการหน่วยบัญชาการนาวิก

โยธินที่สัตหีบเผยเคยสร้างผลงานวิสามัญฯ16ศพกลุ่มมะรอโซเจ้าตัว

ยังปิดปากเงียบ ขณะที่ชาวบ้านเตรียมรวมตัวคัดค้านที่ค่ายจุฬาภรณ์

นราธิวาสปรับใหญ่เปลี่ยนทั้งผู้ว่าฯ-ผู้การตำารวจ

ถอดบทเรียนเจรจา“อาเจะห์-ไทย”นักวิชาการหนุนชายแดนใต้“ปกครองพิเศษ”

บนเวทีราชดำาเนินสนทนา เรื่อง “ประสบการณ์กระบวนการ

สันติภาพ: บทเรียนจากต่างประเทศสู่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้” นัก

วิชาการจากหลายสำานักเห็นตรงกันว่าควรผลักดันกระบวนการพูดคุย

ระหว่างรัฐบาลไทยกับบีอาร์เอ็นกลุ่มนายฮัสซัน ตอยิบ ต่อไป แม้จะ

ยังมีจุดอ่อนอีกหลายประการ ขณะเดียวกันก็ชี้ว่าข้อเรียกร้องเรื่องเขต

ปกครองพิเศษอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญไทย และรัฐบาลควรตอบข้อเรียก

ร้องทั้งหมดอย่างสร้างสรรค์

ปะทะเดือด”อีโอดีนราฯ”เจ็บ3 ตร.บาเจาะรุดช่วย-รถคว่ำาพลีชีพ5

ใต้เดือด คนร้ายลอบบึ้มทหาร รปภ.ครู ที่รือเสาะ นราธิวาส

ล่อชุดอีโอดีเข้าตรวจจุดเกิดเหตุ ก่อนดักถล่มทั้งระเบิดนับสิบลูก พร้อม

ใช้อาวุธสงครามยิงซ้ำา เจ้าหน้าที่กัดฟันสู้ปะทะเดือด45นาที เสียงปืน

เสียงระเบิดดังระงมป่า สุดท้ายเจ็บสาหัส 3 นาย ต้องส่งเฮลิคอปเตอร์

เข้าไปรับ ด้านตำารวจ สภ.บาเจาะ รุดช่วย แต่รถเสียหลักพลิกคว่ำาตก

ถนนสลดกำาลังพลพลีชีพ5นายเจ็บอีก6นาย

นักสิทธิ-ส่ือชายแดนใต้โวยถูกค้นบ้าน ทหารแจงยึดหลักการ-ไม่สร้างเง่ือนไข

ภาคประชาสังคมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้นำาเสนอข้อมูล

ผ่านเฟซบุ๊ค อ้างว่าถูกเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงเข้าค้นเคหะสถานหลาย

กรณีในห้วงเดือนก.ย.2556ท่ามกลางสถานการณ์ในพื้นที่ที่ยังตึงเครียด

และเต็มไปด้วยความหวาดระแวงแม้จะเป็นช่วงเวลาของการเตรียมการ

พูดคุยสันติภาพรอบใหม่ระหว่างรัฐบาลไทยกับบีอาร์เอ็นกลุ่ม นายฮัส

ซันตอยิบก็ตาม

ผบ.ทบ.ลั่นไม่เอา”ปกครองพิเศษ” ทีมที่ปรึกษารัฐเตือนเสียมากกว่าได้

ผบ.ทบ.ค้านตั้งเขตปกครองพิเศษชายแดนใต้ ชี้ไม่มีงบเลี้ยง

ตัวเอง ขู่กำานัน-ผู้ใหญ่บ้านเงินเดือนหาย ยืนยันคนพื้นที่ไม่ต้องการ แต่

มีคนภายนอกคิดให้ จี้กลุ่มก่อความไม่สงบวางอาวุธแล้วจะคุยกันราบ

รื่นด้านทีมงานที่รัฐบาลให้วิเคราะห์เอกสารบีอาร์เอ็นฟันธงไทยยอมรับ

5ข้อ“เสียมากกว่าได้”หวั่นยกระดับกลุ่มป่วนใต้เทียบเท่ารัฐเตือนข้อ

4มีผลทางกฎหมายมากกว่าเขตปกครองพิเศษใต้ป่วนบึ้มยะหาตำารวจ-

ชาวบ้านเจ็บระนาว

http://www.prachatai.com/journal/2013/09/48996http://www.prachatai.com/journal/2013/09/48976

Page 4: ฉบับที่ 11 วันที่ 30 กันยายน 2556 · 2018-02-02 · ราชการควบคู่กับภาษาไทยด้านพ.ต.อ.ทวี

p4

กำาหนดการ กิจกรรมความเคลื่อนไหวในรอบสัปดาห์

ท่านสามารถติดตามข่าวสารที่เกี่ยวกับกระบวนการสันติภาพได้ทาง Facebook ที่Patani Peace Process Monitoring news https://www.facebook.com/PatTaniPeaceProcessMonitoring

South reports https://www.facebook.com/southreport?fref=ts

12-13 ตุลาคม 25563 - 4 ตุลาคม 2556

20 กันยายน 2556

หนังสือพิมพ์บูมีตานีหนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติของนักศึกษานิเทศศาสตร์คณะวิทยาการสื่อสารมอ.ปัตตานี เรื่องจากปกฉบับที่2เรื่อง

‘ส่องปม’งานก่อสร้างล่าช้าสถานการณ์?-ใคร?ทำาให้เป็น‘มหากาพย์’ ข่าวสั้นประกอบด้วย STEPดันนศ.ลงพื้นที่พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน

อ.วสส.เจ๋งรับทุนพัฒนาฯสกอ.ต่อปริญญาเอกกรณีพิเศษ กองอาคารลั่น‘เซ่เวน’เปิดแน่รอรื้อโรงรถสร้างสนอ.หลังใหม่ ‘ทีเคปารค์ตานี’

ชูอัตลักษณ์พื้นถิ่นคล้าย‘หัวเรือกอเละ’ ลิฟท์วสส.ขยายกำาหนดเวลาก่อสร้าง45วันคณบดีชี้กลัวรบกวนน.ศ. เปิดแน่ประตูมอ.ฝั่งสวนสม

เด็จฯถ้านศ.เพิ่มถึง‘หมื่น’ วสส.นำาร่องคณะสีเขียวหวังอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม บทสัมภาษณ์เคล็ดลับบริหารชีวิตเด็กมหา’ลัยนศ.รางวัลครบ

ดีครุศาสตร์-ศึกษาศาสตร์ฯ “เรามี 24 ชม.เท่ากัน ต่างกันที่การบริหารเวลา บทวิจารณ์ รายอลายาว บทความพิเศษ-เรื่องสั้น สิ่งที่หายไป,

“ชาวนา”อาชีพที่กำาลังถูกลืม, “แหลมนก”แหล่งพักพิงแรงงานข้ามชาติ ข่าวในความเคลื่อนไหว4นักวิชาการ2ทวีป ถอดบทเรียน:กรณี

ศึกษาคลี่คลายความขัดแย้งในอุษาคเนย์ สารคดีเที่ยวกันไหม…ไปดูลิงที่ยะหริ่ง,บูมีบิวตี้www.facebook.com/bumitani.psupattani

หลักสูตรอบรมระยะสั้นเกี่ยวกับสันติภาพและการจัดการ

ความขัดแย้งที่ออกแบบสำาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ คือ “ผู้นำาและ

ตัวแทนองค์กรพัฒนาเอกชนชุมชนกลุ่ม และเครือข่ายที่ทำางานภาย

ใต้บริบทความขัดแย้ง”

สถานที่:หาดแก้วรีสอร์ทอำาเภอสิงหนครจังหวัดสงขลา

ติดต่อสอบถามนางสาวอภิชญาโออินทรapichaya.oin@

gmail.comโทร.0858872707สมัครเข้าร่วมนางสาวแก้วตาสังข

ชาต[email protected]โทร.0835139022

กำาหนดการ กิจกรรมความเคลื่อนไหวในรอบสัปดาห์

การสัมมนาวิชาการนานาชาติ

ความเมตตา:สะพานเชื่อมระหว่างศาสนาพุทธและศาสนาอิสลาม

InternationalConferenceon‘Compassion:TheBridge

BetweenBuddhismandIslam’

เวลา8.30-16.30น.

มหาวิทยาลัยมหิดลศาลายานครปฐม

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมhttp://www.deepsouthwatch.org/