24
ผูเรียบเรียง ผศ.บุญศิริ นิยมทัศน ศษ.บ., ศศ.ม. ผูตรวจ ๑. ดร.ศิริเพ็ญ อัตไพบูลย ศษ.บ., พบ.ม., ปร.ด. ๒. ดร.ชนัย วรรณะลี ศษ.บ., กศ.ม., กศ.ด. ๓. นายไพฑูรย เขมแข็ง ศษ.บ., ศศ.ม. บรรณาธิการ ๑. นายพงศธร รวมสุข ค.บ., ศษ.ม. ๒. นางสาวมนัสนันท โพธิ์ศรี ศศ.บ., ค.ม. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัดพิมพจำหนายโดย บริษัท สำนักพิมพประสานมิตร (ปสม.) จำกัด ๕๔ ซอยพัฒนาการ ๔๔ ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ ๑๐๒๕๐ โทร. ๐-๒๓๒๑-๓๔๓๔ (๑๐ คูสาย), ๐-๒๓๒๑-๐๓๗๕-๖ โทรสาร ๐-๒๓๒๑-๙๐๓๘

บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

ผูเรียบเรียง

ผศ.บุญศิริ นิยมทัศน ศษ.บ., ศศ.ม.

ผูตรวจ

๑. ดร.ศิริเพ็ญ อัตไพบูลย ศษ.บ., พบ.ม., ปร.ด.

๒. ดร.ชนัย วรรณะลี ศษ.บ., กศ.ม., กศ.ด.

๓. นายไพฑูรย เขมแข็ง ศษ.บ., ศศ.ม.

บรรณาธิการ

๑. นายพงศธร รวมสุข ค.บ., ศษ.ม.

๒. นางสาวมนัสนันท โพธิ์ศรี ศศ.บ., ค.ม.

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

จัดพิมพจำหนายโดยบริษัท สำนักพิมพประสานมิตร (ปสม.) จำกัด๕๔ ซอยพัฒนาการ ๔๔ ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ ๑๐๒๕๐โทร. ๐-๒๓๒๑-๓๔๓๔ (๑๐ คูสาย), ๐-๒๓๒๑-๐๓๗๕-๖ โทรสาร ๐-๒๓๒๑-๙๐๓๘

AW_na0.indd 1 12/28/11 9:45:09 AM

Page 2: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

พิมพครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๕

ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๔๖๙-๐๕๓-๑

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ

ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ

บุญศิริ นิยมทัศน.

นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖.-- กรุงเทพฯ : ประสานมิตร.

๒๕๕๕.

๑๒๘ หนา.

๑. นาฏศิลป -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา).

I. ชื่อเรื่อง

๗๐๗

พิมพที่บริษัท กรทอง การพิมพ จำกัด๙/๓ หมู ๒ ถ.บางน้ำเปรี้ยว-องครักษ ต.หมอนทอง อ.บางน้ำเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา ๒๔๑๕๐โทร. ๐-๓๘๕๘-๑๗๑๕-๗ โทรสาร ๐-๓๘๕๘-๑๗๑๙

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

AW_na0.indd 2 12/28/11 9:45:11 AM

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช

๒๕๕๑ ซึ่งประกอบดวย ๓ สาระ คือ ทัศนศิลป ดนตรีและนาฏศิลป ในการจัดทำกิจกรรม

การเรียนรูที่มุงเนนการสงเสริมใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค มีจินตนาการ มีความชื่นชม

ความงาม สุนทรียภาพ ความมีคุณคา ซึ่งมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย กิจกรรมทางศิลปะชวย

พัฒนาผูเรียนทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคมและสติปญญา ตลอดจนนำไปสูการพัฒนา

สิ่งแวดลอม สงเสริมใหผูเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเปนพื้นฐานในการศึกษาตอหรือ

ประกอบอาชีพได

หนังสือเรียนกลุมสาระการเรียนรู นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ นี้ จัดทำโดย

การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูตัวชี้วัดชั้นปและสาระการเรียนรูแกนกลาง นอกจากนั้นเพื่อ

ความเหมาะสมกบัสภาพจรงิ จงึไดพจิารณาสภาวการณทางการศกึษาของไทยในปจจบุนัประกอบดวย

แลวกำหนดเปนรูปแบบหนังสือจัดสงใหผูเชี่ยวชาญดานหลักสูตรพิจารณาใหความเห็นและ

ปรับปรุงใหเหมาะสม จากนั้นจึงเรียบเรียงเนื้อหาตามสาระที่ปรับปรุงแลว

สำนักพิมพประสานมิตรและผูเรียบเรียงหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเรียนกลุมสาระ

การเรยีนรู นาฏศลิป ชัน้มธัยมศกึษาปที ่๖ จะสามารถพฒันาใหผูเรยีนแสดงออกทางนาฏศลิป

อยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคา ถายทอดความรูสึกอยางอิสระ ชื่นชมและ

ประยุกตใชในชีวิตประจำวัน เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลปกับประวัติศาสตร วัฒนธรรม

ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

คณะผูจัดทำ

คำนำ

AW_na0.indd 3 12/28/11 9:45:14 AM

Page 3: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

หนา

หนวยการเรียนรูที่ ๑ ประวัติบุคคลสำคัญในการนาฏศิลปและการละคร .....................๑

เรื่องที่ ๑ ประวัติบุคคลสำคัญในการแสดงนาฏศิลปไทย .................................. ๒

เรื่องที่ ๒ ประวัติบุคคลสำคัญในการแสดงละครไทย ......................................๔๓

เรื่องที่ ๓ ประวัติบุคคลสำคัญในการแสดงโขน .............................................. ๕๗

เรื่องที่ ๔ ประวัติบุคคลสำคัญในการแสดงพื้นเมือง ........................................๖๗

หนวยการเรียนรูที่ ๒ การวิจารณงานแสดงนาฏศิลปและการละคร ..........................๗๙

เรื่องที่ ๑ หลักการสรางสรรคและการวิจารณ ................................................๘๐

เรื่องที่ ๒ หลักการชมการแสดงนาฏศิลปและการละคร .............................. ๑๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๓ การอนุรักษนาฏศิลปในทองถิ่นไทย .......................................๑๐๗

เรื่องที่ ๑ แนวทางการอนุรักษนาฏศิลปไทย ............................................... ๑๐๘

เรื่องที่ ๒ ภูมิปญญาทองถิ่นกับการรักษาฟนฟูนาฏศิลปไทย ...................... ๑๑๖

แบบประเมินตนเองตามคุณภาพผูเรียน ................................................................... ๑๒๒

บรรณานุกรม ............................................................................................................๑๒๔

สารบัญ

AW_na0.indd 4 12/28/11 9:45:17 AM

1นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ 1นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

อภิปรายบทบาทของบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป

และการละครของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ (ศ ๓.๒ ม.๖/๒)

เรื่องที่ ๑ ประวัติบุคคลสำคัญในการแสดง

นาฏศิลปไทย

เรื่องที่ ๒ ประวัติบุคคลสำคัญในการแสดง

ละครไทย

เรื่องที่ ๓ ประวัติบุคคลสำคัญในการแสดงโขน

เรื่องที่ ๔ ประวัติบุคคลสำคัญในการแสดง

พื้นเมือง(คุณลักษณะอันพึงประสงค ขอที่ ๒, ๓, ๔, ๖, ๗, ๘)

AW_na1.indd 1 12/27/11 10:23:39 AM

Page 4: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

2 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ประวัติบุคคลสำคัญในการแสดงนาฏศิลปไทย๑

กิจกรรมรวมคิดรวมวางแผนการเรียนรู

ใหนักเรียนลองตั้งคำถามกับตนเองวา ในการเรียนรูเร� องนี้

นักเรียนตองการไดความรูเกี่ยวกับอะไรบาง ใหมากคำถามที่สุด

แลวจดบันทึกไว

ในการแสดงนาฏศิลปไทยนั้นนอกจากการที่เราจะไดเรียนรูในเรื่องของระบำ รำ ฟอน แลว

ยังมีอีกเรื่องหนึ่งซึ่งมีสวนสำคัญนั่นก็คือ ประวัติบุคคลสำคัญในการแสดงนาฏศิลปไทย เพราะบุคคล

เหลานี้นับวาเปนบุคคลที่มีสวนสำคัญในการวางรากฐานของการแสดงนาฏศิลปตั้งแตอดีตมาจน

ถึงปจจุบัน

บุคคลสำคัญในการแสดงนาฏศิลป

การแสดงนาฏศิลปไทยนั้น มีบรมครูหลายทานที่มีความสำคัญตอวงการนาฏศิลป ซึ่งทาน

ทั้งหลายเหลานี้ลวนเปนผูที่คิดคนและประดิษฐทารำในชุดการแสดงตางๆ ไวอยางมากมาย

ดังจะยกตัวอยางตอไปนี้

๑. สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมหลวงพิทักษมนตรี ทรงพระนามเดิมวา “จุย”

ทรงเปนตนราชสกุล “มนตรีกุล” พระองคเปนพระโอรสลำดับที่ ๕ ในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ

เจาฟากรมพระศรีสุดารักษกับเจาขรัว ทรงประสูติในสมัยธนบุรี เมื่อปพ.ศ. ๒๓๑๓ สมเด็จพระเจา

บรมวงศเธอ เจาฟากรมหลวงพิทักษมนตรี ทรงเปนพระเจาหลานเธอในพระบาทสมเด็จพระ

พุทธยอดฟาจุฬาโลก ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย พระองคไดทรงแสดง

พระปรีชาสามารถในดานงานชางและนาฏศิลป ในดานนาฏศิลปพระองคทรงคิดประดิษฐทารำ

โดยใชแบบแผนกระบวนทารำที่งดงามที่เรียกวา “Choreographer” ซึ่งเปนแบบอยางของละครไทย

บรมครูทางนาฏศิลปมีสวนชวย

ในการพัฒนานาฏศิลปจากอดีตมา

จนถึงปจจุบันไดอยางไร?

AW_na1.indd 2 12/27/11 10:23:41 AM

3นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทีร่ำสบืเนือ่งกนัมาตลอดกรงุรตันโกสนิทร ทัง้ยงัไดทรงประพนัธดนตรปีระกอบการแสดงระบำดาวดงึส

ชื่อวา “เพลงตับดาวดึงส” ในสมัยรัชกาลที่ ๒ พระองคไดประดิษฐทารำโดยเลียนแบบทาการ

ทุบอกของมุสลิม นิกายเจ า เซ็น มาผสมผสานกับลีลาท ารำของไทย ตอมาสมเด็จ

พระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศทรงพระนิพนธบทรองขึ้นใหม บทรอง

จะพรรณนาถึงความงามของสวรรคชั้นดาวดึงส ซึ่งจะมีดนตรีประกอบนั่นคือเพลงเหาะ เพลงตะเขิ่ง

เพลงเจาเซ็น เพลงเร็ว ใชสำหรับเปนเพลงประกอบระบำสำหรับการแสดงละครดึกดำบรรพ

ของเจาพระยาเทเวศรวงศวิวัฒน (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) พระองคทรงเปนนักกวีและไดคิดคน

“เกรินบันไดนาค” ที่ใชในงานพระราชพิธีพระบรมศพ เมื่อปพ.ศ. ๒๓๖๕ มีพระชันษา ๕๓ ป

๒. หมอมตวน ภัทรนาวิก

หมอมตวน ภัทรนาวิก หรือ นางศุภลักษณ ภัทรนาวิก เปนบุตรของนายกลั่นและนางลำไย

ภัทรนาวิก เกิดเมื่อปพ.ศ. ๒๔๒๖ และไดเขาฝกหัดละครเปนตัวนางกับมารดาพระยาวิชิตชลธาร

(ม.ล.เวศ กุญชร ) เมื่ออายุครบ ๑๖ ป ก็ไดเปนหมอมของเจาพระยาเทเวศรวงศวิวัฒน เมื่อครั้งที่

สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศและเจาพระยาเทเวศรวงศวิวัฒน

ไดสรางละครดึกดำบรรพขึ้น หมอมตวนก็รวมทรงแสดงเปนนางยุบล (นางคอม) ในเรื่องอิเหนา

ตอนตัดดอกไมฉายกริช นอกจากนี้หมอมตวนยังเคยแสดงเปนนางสีดา หมอมตวนเขารับราชการ

ในกรมศิลปากร แผนกกรมปพาทยและโขนหลวง นอกจากนี้หมอมตวนไดคิดคนระบำหลาย

ชุดรวมกับครูมัลลี คงประภัศร และครูลมุล ยมะคุปต คือ ชุดรำวงมาตรฐาน ๑๐ เพลง ไดแก

เพลงงามแสงเดือน

เนื้อรอง จมื่นมานิตยนเรศ

ทำนอง มนตรี ตราโมท

(ทาสอดสรอยมาลา)

งามแสงเดือนมาเยือนสองหลา งามใบหนาเมื่ออยูวงรำ

เราเลนเพื่อสนุก เปลื้องทุกขวายระกำ

ขอใหเลนฟอนรำ เพื่อสามัคคีเอย

ทาสอดสรอยมาลา

AW_na1.indd 3 12/27/11 10:23:43 AM

Page 5: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

4 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

เพลงชาวไทย

เนื้อรอง จมื่นมานิตยนเรศ

ทำนอง มนตรี ตราโมท

(ทาชักแปงผัดหนา)

ชาวไทยเจาเอย ขออยาละเลยในการทำหนาที่

การที่เราไดเลนสนุก เปลื้องทุกขสบายอยางนี้

เพราะชาติเราไดเสรี มีเอกราชสมบูรณ

เราจึงควรชวยชูชาติ ใหเกงกาจเจิดจำรูญ

เพื่อความสุขเพิ่มพูน ของชาวไทยเราเอย

ความหมายของเพลง ยามที่แสงจันทรสองลงมายังโลก ทำใหโลกนี้ดูสวยงาม ผูคนที่มาเลนรำวงยามที่แสงจันทรสองก็มีความงดงามดวย การรำวงนี้เพื่อใหมีความสนุกสนาน มีความสามัคคีกันและละทิ้งความทุกขใหหมดสิ้นไปอธิบายทารำชาย - หญิง มือขวาตั้งวงบน มือซายจีบหงายระดับชายพก เอียงศีรษะซาย ผูชายยืนดานหลัง ผูหญิงเยื้องไปทางซายเล็กนอย เริ่มกาวเทาซาย เปนจังหวะที่ ๑ และเดินย่ำเทา สลับกันตามจังหวะเสียงฉิ่ง

ความหมายของเพลง

หนาที่ที่ชาวไทยพึงมีตอประเทศชาตินั้น เปนสิ่งที่ทุกคนควรกระทำ อยาไดละเลยไปเสีย

ในการที่เราไดมาเลนรำวงกันอยางสนุกสนาน ปราศจากทุกขโศกทั้งปวงนี้ ก็เพราะวาประเทศไทย

เรามีเอกราช ประชาชนมีเสรีในการคิดจะทำสิ่งใดๆ ดังนั้นเราจึงควรชวยกันเชิดชูชาติไทยใหเจริญ

รุงเรืองตอไป เพื่อความสุขยิ่งๆ ขึ้นไปของประเทศไทยเรา

อธิบายทารำ

ชาย - หญิง มือขวาจีบปรกขาง หักขอมือจีบเขาหาศีรษะระดับวงบน มือซายตั้งวงหนาระดับปาก

เอียงศีรษะขวา กาวเทาซายเปนจังหวะที่ ๑ แลวเดินย่ำเทาตามจังหวะฉับ ผูชาย

อยูดานหลังผูหญิง ในขณะที่เดินย่ำเทาคอยๆ เลื่อนมือจีบหงายระดับวงหนาแลว

ปลอยมือจีบหงายออก พลิกขอมือเปลี่ยนเปนตั้งวงหนา มือซายเปลี่ยนเปน

จีบคว่ำ เลื่อนมือจีบขึ้นทางดานซาย เปนจีบปรกขางระดับวงบน เอียงศีรษะซาย

ทั้ง ๒ มือจะเปลี่ยนพรอมๆ กัน

ทาชักแปงผัดหนา

AW_na1.indd 4 12/27/11 10:23:44 AM

5นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

เพลงรำมาซิมารำ

เนื้อรอง จมื่นมานิตยนเรศ

ทำนอง มนตรี ตราโมท

(ทารำสาย)

รำมาซิมารำ เริงระบำกันใหสนุกยามงานเราทำจริงจริง ไมละไมทิ้งจะเกิดเข็ญขุกถึงยามวางเราจึงรำเลน ตามเชิงเชนเพื่อใหสรางทุกขตามเยี่ยงอยางตามยุค เลนสนุกอยางวัฒนธรรมเลนอะไรใหมีระเบียบ ใหงามใหเรียบจึงจะคมขำมาซิมาเจาซิมาฟอนรำ มาเลนระบำของไทยเราเอย

ความหมายของเพลง

เชิญชวนพวกเรามาเลนรำวงกันใหสนุกสนานเถิดในยามวางเชนนี้ จะไดคลายทุกข ถึงเวลา

งานเราก็จะตั้งใจทำงานกันจริงๆ ยามวางเราก็พักผอน เราก็ชวนกันรำและรอง เพื่อใหเกิดความ

สนุกสนานอยางมีระเบียบแบบแผน ตามวัฒนธรรมไทยของเราแลวจะดูงดงามยิ่ง

อธิบายทารำ

ชาย - หญิง มือซายหงายทองแขนเหยียดตึงระดับไหล ปลายนิ้วตกลงดานลาง มือขวาตั้งวงแขน

เหยียดตึงระดับเอวทั้ง ๒ ขาง เอียงศีรษะขวา ย่ำเทาซายในจังหวะที่ ๑ และ

ถัดเทาขวา สลับกันไปตามเสียงจังหวะฉับ ขณะเดียวกันก็เปลี่ยนแขนซาย

เปนตั้งวง แขนขวาก็เปลี่ยนเปนหงายทองแขนขึ้น ปลายนิ้วตกลงลาง สลับกัน

ไปตามจังหวะ ใหสังเกตวาถากาวเทาซาย แขนขางขวาจะหงายทองแขนขึ้น และ

ถากาวเทาขวา แขนขางซายก็จะหงายทองแขนขึ้นเสมอ

ทารำสาย

เพลงคืนเดือนหงาย

เนื้อรอง จมื่นมานิตยนเรศ

ทำนอง มนตรี ตราโมท

(ทาสอดสรอยมาลาแปลง)

ยามกลางคืนเดือนหงาย เย็นพระพายโบกพลิ้วปลิวมา

เย็นอะไรก็ไมเย็นจิต เทาเย็นผูกมิตรไมเบื่อระอา

เย็นรมธงไทยโบกไปทั่วหลา เย็นยิ่งน้ำฟามาประพรมเอย

ทาสอดสรอยมาลาแปลง

AW_na1.indd 5 12/27/11 10:23:46 AM

Page 6: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

6 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ความหมายของเพลง

เวลากลางคืนเปนคืนหงาย มีลมพัดมาเย็นสบายใจ แตก็ยังไมสบายใจเทากับการที่ได

ผูกมิตรกับผูอื่นและที่รมเย็นไปทั่วทุกแหง ยิ่งกวาน้ำฝนที่โปรยลงมา ก็คือการที่ประเทศไทยเปน

ประเทศที่เปนเอกราช มีธงชาติไทยเปนเอกลักษณ ทำใหรมเย็นไปทั่ว

อธิบายทารำ

ชาย - หญิง มือขวาตั้งวงบน มือซายจีบหงายระดับชายพกเอียงศีรษะซาย (ทางมือจีบ)

สวนเทาเริ่มตนในทาเตรียม วางเทาซายอยูหนา เทาขวาอยูหลังเปดสนเทา

จังหวะที่ ๑ ใหวางเทาขวาลงหลัง จังหวะที่ ๒ กาวเทาซาย จังหวะที่ ๓ กาวเทาขวา

จังหวะที่ ๔ วางเทาซายเปดสนเทา ในขณะที่กาวเทาไปตามจังหวะมือซายจะคอยๆ

เปลี่ยนเปนตั้งวง มือขวาเปลี่ยนเปนจีบหงายระดับชายพก เอียงศีรษะขวา

เพลงดอกไมของชาติ

เนื้อรอง ทานผูหญิงละเอียด พิบูลสงคราม

ทำนอง มนตรี ตราโมท

(ทารำยั่ว)

ขวัญใจดอกไมของชาติ งามวิลาศนวยนาดรายรำ (รอง ๒ เที่ยว)

เอวองคออนงาม ตามแบบนาฏศิลป

ชี้ชาติไทยเนาถิ่น เจริญวัฒนธรรม (สรอย)

งานทุกสิ่งสามารถ สรางชาติชวยชาย

ดำเนินตามนโยบาย สูทนเหนื่อยยากตรากตรำ (สรอย)ทารำยั่ว

ความหมายของเพลง ความงามของหญิงไทย ในการรายรำ ชางออนชอย มีศิลปะ ตามทองถิ่นที่อยูทำใหถิ่นฐานนั้นเปนที่รูจักของคนทั่วไปจนอาจถึงทั่วโลกอธิบายทารำชาย - หญิง หันหนาเขาหากัน มือซายตั้งวงลาง มือขวาจีบสงหลังแขนตึง เทาซายวางสนเทา เหลื่อมเทาขวา เอียงศีรษะซาย จังหวะแรกทั้งชายและหญิงจะเริ่มกาวขางดวย เทาซาย จังหวะที่ ๒ กาวเทาขวา ตรงคำรองวาขวัญใจในจังหวะฉับ จังหวะที่ ๓ กาวเทา ซาย จังหวะที่ ๔ ถัดเทาขวา แลววางสนเทาขวาในขณะที่กาวไปตามจังหวะนั้น จะคอยๆ เปลี่ยนเปนมือขวาตั้งวงลาง มือซายจีบสงหลังแขนตึง เอียงศีรษะขวา คือ จะเอียงศีรษะขางเดียวกับมือที่ตั้งวงลาง

AW_na1.indd 6 12/27/11 10:23:47 AM

7นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

เพลงดวงจันทรวันเพ็ญ

เนื้อรอง ทานผูหญิงละเอียด พิบูลสงคราม ทำนอง มนตรี ตราโมท

(ทาแขกเตาเขารัง ทาผาลาเพียงไหล)

ดวงจันทรวันเพ็ญ ลอยเดนอยูในนภาทรงกลดสดสี รัศมีทอแสงงามตาแสงจันทรอราม ฉายงามสองฟาไมงามเทาหนา นวลนองยองใยงามเอยแสนงาม งามจริงยอดหญิงชาติไทยงามวงพักตรยิ่งดวงจันทรา จริตกิริยานุมนวลละไมวาจากังวาน ออนหวานจับใจรูปทรงสมสวน ยั่วยวนหทัยสมเปนดอกไม ขวัญใจชาติเอย

ความหมายของเพลง พระจันทรเต็มดวงที่ลอยอยูบนทองฟานั้นชางดูสวยงาม เพราะเปนพระจันทรทรงกลดคือ มีแสงเลื่อมกระจายออกรอบดวงจันทรทั้งดวง แตถึงจะงามอยางไรก็ยังไมเทาความงามของวงหนาหญิงสาว ที่ดูผุดผองมีน้ำมีนวล อีกทั้งรูปรางก็ดูสมสวน กิริยาวาจาก็ออนหวานไพเราะ สมแลวกับที่เปรียบวาหญิงไทยนี่คือดอกไมของชาติไทยเราอธิบายทารำทาแขกเตาเขารังชาย - หญิง มือทั้ง ๒ ขางจีบหงาย มือขวาจีบสูงอยูระดับวงบน มือซายจีบอยูใตศอกขวา กาวเทาขวา แตะเทาซาย เอียงศีรษะซาย แลวเปลี่ยนเปนมือซายจีบสูง มือขวาจีบ อยูใตศอกซาย กาวเทาซาย แตะเทาขวา เอียงศีรษะขวา

ทาแขกเตาเขารัง ทาผาลาเพียงไหล

AW_na1.indd 7 12/27/11 10:23:49 AM

Page 7: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

8 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาผาลาเพียงไหลชาย - หญิง มือขวาจีบระดับวงกลาง มือซายตั้งวงกลาง แลวเปลี่ยนเปนมือขวามวนจีบออก ตั้งวงสูง มือซายพลิกหงายมือ หักขอมือใหปลายนิ้วตกลงดานลางอยูระดับเอว เอียงศีรษะขวาตลอด ลักษณะของจังหวะเทานั้นจะกาวเทาหมุนรอบตัวเอง ๔ จังหวะ โดยเริ่มดวยกาวเทาขวา-เทาซาย-เทาขวา และแตะเทาซายในจังหวะ ๔ ซึ่งจะ หมุนกลับมาอยูที่เดิม

เพลงหญิงไทยใจงาม

เนื้อรอง ทานผูหญิงละเอียด พิบูลสงคราม

ทำนอง เอื้อ สุนทรสนาน

(ทาพรหมสี่หนา ทายูงฟอนหาง)

เดือนพราวดาวแวววาวระยับ แสงดาวประดับสองใหเดือนงามเดน

ดวงหนาโสภาเพียงเดือนเพ็ญ คุณความดีที่เห็นเสริมใหเดนเลิศงาม

ขวัญใจหญิงไทยสงศรีชาติ รูปงามพิลาศใจกลากาจเรืองนาม

เกียรติยศกองปรากฏทั่วคาม หญิงไทยใจงามยิ่งเดือนดาวพราวแพรว

ทาพรหมสี่หนา ทายูงฟอนหาง

ความหมายของเพลง

ดวงจันทรที่สองแสงอยูบนทองฟา มีความงดงามมาก และยิ่งไดแสงอันระยิบระยับของ

ดวงดาวดวยแลว ยิ่งทำใหดวงจันทรนั้นงามเดนยิ่งขึ้น เปรียบเหมือนกับวงหนาของหญิงสาวที่มี

ความงดงามอยูแลว ถามีคุณความดีดวย ก็จะทำใหหญิงนั้นงามเปนเลิศ ผูหญิงไทยนี้เปนขวัญใจ

ของชาติ เปนที่เชิดหนาชูตาของชาติ รูปรางก็งดงาม จิตใจก็กลาหาญ ดังที่มีชื่อเสียงปรากฏอยู

ทั่วไป

AW_na1.indd 8 12/27/11 10:23:50 AM

9นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

อธิบายทารำ

ทาพรหมสี่หนา

ชาย - หญิง มือทั้ง ๒ ขางจีบคว่ำระดับวงบน แลวสอดมือปลอยจีบขึ้น หงายมือ แลวหักขอมือลง

ปลายมือหันออกดานขาง ยกมือสูงระดับวงบน (วงบัวบาน) กาวหนาเทาซาย

เทาขวาวางหลัง เปดสนเทา เอียงศีรษะซาย เมื่อจะเปลี่ยนไปเปนทายูงฟอนหางนั้น

เทาขวาวางหลัง จังหวะที่ ๑ แลวกาวเทาซายไปหนา จังหวะที่ ๒กาวเทาขวาไป

ดานหนาจังหวะที่ ๓ และกระทุงเทาซายวางหลัง เปดสนเทา จังหวะที่ ๔

ทายูงฟอนหาง

หญิง-ชาย มือทั้ง ๒ ขางที่ตั้งวงบนหงายมือ (วงบัวบาน) คอยๆ แทงปลายมือลงมา สงแขน

ไปดานหลังแขนตึง กาวเทาขวามาดานหนา เทาซายวางหลัง เปดสนเทา เอียงศีรษะขวา

เมื่อจะเปลี่ยนไปเปนทาพรหมสี่หนา ก็วางเทาซายลงหลัง จังหวะที่ ๑ แลวกาวหนา

เทาขวา เทาซายในจังหวะที่ ๒ และ ๓ และกระทุงเทาขวา วางหลัง เปดสนเทาใน

จังหวะที่ ๔ ศีรษะเอียงซาย

เพลงดวงจันทรขวัญฟา

เนื้อรอง ทานผูหญิงละเอียด พิบูลสงคราม

ทำนอง มนตรี ตราโมท

(ทาชางประสานงา ทาจันทรทรงกลดแปลง)

ดวงจันทรขวัญฟา ชื่นชีวาขวัญพี่

จันทรประจำราตรี แตขวัญพี่ประจำใจ

ที่เทิดทูนคือชาติ เอกราชอธิปไตย

ถนอมแนบสนิทใน คือขวัญใจพี่เอย

ทาชางประสานงา ทาจันทรทรงกลดแปลง

AW_na1.indd 9 12/27/11 10:23:52 AM

Page 8: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

10 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ความหมายของเพลง ในเวลาค่ำคืนทองฟามีดวงจันทรประจำอยู ในใจของชายก็มีหญิงอันเปนที่รักประจำอยูเชนกัน สิ่งที่เทิดทูนยกยองไวก็คือชาติไทยที่เปนเอกราช มีอิสระแกตนไมขึ้นกับใครและสิ่งที่แนบสนิทอยูในใจของชายก็คือหญิงอันเปนสุดที่รัก

อธิบายทารำทาชางประสานงาชาย - หญิง มือทั้ง ๒ ขางจีบคว่ำระดับอก แลวเปลี่ยนเปนหงายมือจีบ แขนตึงไปดานหนา ระดับไหลหญิง กาวหนาเทาซาย เทาขวาวางหลัง เปดสนเทา เอียงศีรษะซาย เมื่อจะเปลี่ยนเปน ทาจันทรทรงกลดแปลง เทาขวาวางหลัง จังหวะที่ ๑ แลวกาวหนาเทาซาย-เทาขวา ในจังหวะที่ ๒, ๓ จังหวะที่ ๔ กระทุงเทาซาย วางหลัง เปดสนเทาชาย เทาซายกาวหนา เทาขวาจรดเทาไวใกลเทาซาย เมื่อจะเปลี่ยนเปนทาจันทรทรงกลด แปลงกาวขางเทาขวา จังหวะที่ ๑ แลวกาวเทาซาย-เทาขวาตามจังหวะที่ ๒, ๓ จังหวะที่ ๔ จรดเทาซายไวใกลเทาขวา

ทาจันทรทรงกลดแปลงหญิง-ชาย มอืทัง้ ๒ ขางทีจ่บีหงายแขนตงึ คอยๆ เปลีย่นเปนกางแขนออก มวนจบีควำ่ลง แลวคลายจีบออกตั้งวงระดับหนา งอแขน เอียงศีรษะขวา วงชายจะกวางกวาหญิงหญิง กาวหนาเทาขวา เทาซายวางหลัง เปดสนเทา เมื่อจะเปลี่ยนเปนทาชางประสานงา เทาซายวางหลัง จังหวะที่ ๑ แลวกาวหนาเทาขวา-เทาซาย ในจังหวะที่ ๒, ๓ จังหวะที่ ๔ กระทุงเทาขวา วางหลัง เปดสนเทาชาย เทาซายซึ่งจรดอยูใกลเทาขวา เมื่อจะเปลี่ยนเปนทาชางประสานงา ใหกาวขางเทาซาย จังหวะที่ ๑ แลวกาวเทาขวา-เทาซายตามในจังหวะ ๒-๓ จังหวะที่ ๔ จรดเทาขวา ไวใกลเทาซาย

เพลงยอดชายใจหาญ

เนื้อรอง ทานผูหญิงละเอียด พิบูลสงคราม

ทำนอง เอื้อ สุนทรสนาน

(ทารำ หญิง-ทาชะนีรายไม ชาย-ทาจอเพลิงกาฬ)

โอยอดชายใจหาญ ขอสมานไมตรี

นองขอรวมชีวี กอบกรณียกิจชาติ

แมสุดยากลำเค็ญ ไมขอเวนเดินตาม

นองจักสูพยายาม ทำเต็มความสามารถทาจอเพลิงกาฬ ทาชะนีรายไม

AW_na1.indd 10 12/27/11 10:23:54 AM

11นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ความหมายของเพลง ขอผูกมิตรไมตรีกับผูชายกลาหาญ และจะขอมีสวนในการทำประโยชนทำหนาที่ของชาวไทยแมจะลำบากยากแคน ก็จะขอชวยเหลือจนเต็มความสามารถอธิบายทารำ- หญิง มือขวาตั้งวงสูง มือซายหงายมือขึ้น แขนตึง ย่ำเทาซายถัดเทาขวาเดินตามจังหวะ หันหนาเขาหาวง ขณะที่เคลื่อนตัวก็จะสายแขนซายแขนเดียวตามจังหวะเอียงศีรษะซาย - ชาย มอืขวาตัง้วงสงูมอืซาย จบีหงาย แขนตงึ ยำ่เทาซาย-ขวา ตามจงัหวะหนัหนาออกนอกวง เอียงศีรษะขวา

ทาขัดจางนาง ทาจันทรทรงกลด ทาลอแกว ทาขอแกว

เพลงบูชานักรบ

เนื้อรอง ทานผูหญิงละเอียด พิบูลสงคราม ทำนอง มนตรี ตราโมท

(ทารำ ๑ หญิง - ทาขัดจางนาง ชาย - ทาจันทรทรงกลด)

(ทารำ ๒ หญิง - ทาลอแกว ชาย - ทาขอแกว)

นองรักรักบูชาพี่ ที่มั่นคงที่มั่นคงกลาหาญเปนนักสูเชี่ยวชาญ สมศักดิ์ชาตินักรบนองรักรักบูชาพี่ ที่มานะที่มานะอดทนหนักแสนหนักพี่ผจญ เกียรติพี่ขจรจบนองรักรักบูชาพี่ ที่ขยันที่ขยันกิจการบากบั่นสรางหลักฐาน ทำทุกดานทำทุกดานครันครบนองรักรักบูชาพี่ ที่รักชาติที่รักชาติยิ่งชีวิตเลือดเนื้อพี่พลีอุทิศ ชาติยงอยูยงอยูคูพิภพ

AW_na1.indd 11 12/27/11 10:23:55 AM

Page 9: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

12 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ความหมายของเพลง

นองรักและบูชาพี่ เพราะมีความกลาหาญ เปนนักสูที่เกงกลามีความสามารถสมกับเปนชายชาติ

นักรบที่มีความมานะอดทน แมวาจะยากเย็นแสนเข็ญ พี่ก็ตอสูจนชื่อเสียงเลื่องลือไปทั่ว นอกจากนี้

ยังขยันขันแข็งในงานทุกอยาง อุตสาหสรางหลักฐานใหมั่นคงและพี่ยังมีความรักในชาติบานเมือง

ยิ่งกวาชีวิต ยอมสละไดแมชีวิตและเลือดเนื้อเพื่อใหชาติไทยคงอยูคูโลกตอไป

อธิบายทารำ

(เที่ยวที่ ๑) หญิง ทาขัดจางนาง มือทั้ง ๒ ขางจีบหงายไขวกันระดับอก กาวเทาขวาอยูหนา

กระทุงเทาซาย เปดสนเทาวางหลัง เอียงศีรษะขวา

ชาย ทาจันทรทรงกลด มือทั้ง ๒ ขางจีบหงายระดับวงกลาง กาวเทาขวา แตะเทาซาย

เอียงศีรษะขวา

(เที่ยวที่ ๒) หญิง ทาลอแกว มอืซายตัง้วงสงู มอืขวาทำมอืลอแกว หงายแขนตงึระดบัไหลกาวเทาขวา

อยูหนา เทาซายกระทุงวางหลัง เปดสนเทา เอียงศีรษะขวา

ชาย ทาขอแกว มือซายตั้งวงสูง มือขวาแบหงายแขนตึง ฝามือรองรับใตมือลอแกว

ของฝายหญิง กาวเทาซายอยูหนา เทาขวากระทุงวางหลัง เปดสนเทา

เอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 12 12/27/11 10:23:58 AM

13นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๓. ครูมัลลี คงประภัศร ( ครูหมัน ) เดิมมีชื่อวา ปุย ชางแกว เกิดเมื่อปพ.ศ. ๒๔๒๖

ครูหมันไดเขาฝกหัดการละครกับหมอมแมเปา ครูหมันมีความจำดีเปนเลิศฝกหัดละครไดอยาง

รวดเรว็และไดเคยเลนละคร โดยแสดงเปนสมนันอย ในเรือ่งดาหลงั ครหูมนัไดคดิคนประดษิฐทารำ

ขึ้นมาใหมอีกหลายชุด เชน

- ประดิษฐทาเชื่อมในการรำแมบทเล็กรวมกับครูลมุล ยมะคุปต

- ประดิษฐทารำระบำชุดตางๆ รวมกับครูลมุล ยมะคุปต และหมอมตวน ภัทรนาวิก

- ประดิษฐทารำวงมาตรฐานรวมกับหมอมตวน ภัทรนาวิก

- ประดิษฐทารำระบำเริงอรุณรวมกับครูลมุล ยมะคุปต

- ประดิษฐทารำไหวครูชาตรี ภายหลังเปลี่ยนเปนรำซัดชาตรี

- ประดิษฐทารำพราหมณโตประกอบละครเรื่องสุวรรณหงส

- ประดิษฐทารำบทเจาเงาะประกอบละครเรื่องเงาะปา

- ประดิษฐทารำบทพระอาทิตยวงศประกอบละครเรื่องมโนราห

- ประดิษฐทารำบททาวรถสิทธิ์และนางมารประกอบละครเรื่องรถเสน

- ประดิษฐทารำบททาวสามลและหกเขยประกอบละครเรื่องสังขทอง

ครูมัลลี คงประภัศร ( ครูหมัน ) ไดถึงแกกรรมดวยโรคชรา เมื่อปพ.ศ. ๒๕๑๔

๔. คุณหญิงแผว สนิทวงศเสนี

ทานผูหญิงแผว สนิทวงศเสนี เดิมมีชื่อวา แผว สุทธิสมบูรณ

เกิดเมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๖ เปนบุตรของนายเฮงและ

นางสุทธิ สุทธิสมบูรณ เมื่ออายุได ๘ ป ไดเขาไปอยูในวังสวนกุหลาบ

ทานผูหญิงแผวไดเขาถวายตัวในสมเด็จพระบรมวงศเธอเจาฟาอัษฎางค

เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา และไดรับการฝกหัดนาฏศิลปกับครู

อาจารยผูทรงคุณวุฒิในราชสำนัก เชน เจาจอมมารดาวาดและเจาจอม

มารดาเขียน ในรัชกาลที่ ๔ เจาจอมมารดาทับทิม ในรัชกาลที่ ๕

หมอมแยมในสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ หมอมอึ่งในสมเด็จ

พระบัณฑูรฯ ทานผูหญิงแผวไดเขาไปชวยงานในกรมศิลปากร โดยชวย

ปรับปรุงฟนฟูและวางรากฐานดานการละคร ทานผูหญิงแผวเปนผูรอบรูในศิลปวิทยาการดานนาฏศิลป

การประพันธบทรองสำหรับแสดงทั้งโขนและละคร ซึ่งภาระหนาที่ของทานผูหญิงแผวมีมากมายไดแก

๑. เปนผูเชี่ยวชาญในศิลปวิทยาการเกี่ยวกับนาฏศิลปไทย เชน ทารำของผูแสดงทั้งตัวพระ

ตัวนาง ยักษและลิง รวมทั้งตัวประกอบตลอดจนสิงสาราสัตวที่จัดเปนชุดระบำ เชน ระบำชาง

(ระบำกุญชรเกษม) ระบำมา (ระบำอัศวลีลา) ระบำควาย (ระบำบันเทิงกาสร) ระบำเงือก ระบำนก

เปนตน

AW_na1.indd 13 12/27/11 10:23:59 AM

Page 10: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

14 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๑. ประเภทระบำ

๒. เปนผูคัดเลือกเรื่องและชุดการแสดง อำนวยการจัดทำบทละครสำหรับแสดง

เปนผูอำนวยการฝกซอมการแสดงนาฏศิลปไทยของกรมศิลปากร

๓. เปนผูคัดเลือกผูแสดงโขน ใหมีความเหมาะสมกับบทบาทของตัวละครในเรื่องตางๆ

ซึ่งเปนหลักสำคัญอยางหนึ่ง ซึ่งผูคัดเลือกตองมีความรูในเรื่องโขนเรื่องนั้นๆ เปนอยางดี

๔. เปนผูกำหนดผูแสดงศิลปนที่จะชวยฝกสอน และกำกับการแสดงนาฏศิลปชุดตางๆ

ซึ่งกรมศิลปากรไดรับอนุมัติจากรัฐบาลใหจัดไปแสดงยังตางประเทศ

๕. เปนผูฝกสอน ฝกซอมการแสดงโขน ละคร ฟอนรำ ทุกครั้งที่กองการสังคีต

กรมศิลปากร จัดแสดงเผยแพรแกประชาชน ณ โรงละครแหงชาติ สังคีตศาลา สถานีโทรทัศน

สถานที่ราชการ ตางประเทศและตางจังหวัด

๖. เปนวิทยากรบรรยายอบรมเกี่ยวกับเรื่องนาฏศิลปและวรรณกรรมการแสดง

๗. เปนที่ปรึกษาในการสรางนาฏกรรมประเภทตางๆ ซึ่งหนวยราชการ สถาบัน

การศึกษา องคกรและสมาคม ตลอดจนเอกชนทั่วไปจัดขึ้นในกรณีพิเศษ

คุณหญิงแผว ไดรับการยกยองใหเปนศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง ( นาฏศิลป )

ประจำปพ.ศ. ๒๕๒๘ และเปนผูที่คิดประดิษฐทารำไวอยางมากมาย ดังนี้

๑.๑ ทาระบำสัตว เชน ระบำมฤคระเริง (ระบำกวาง) ระบำบันเทิงกาสร

(ระบำควาย) ระบำอัศวลีลา (ระบำมา) ระบำกุญชรเกษม (ระบำชาง) ระบำเริงอรุณ

(ระบำผีเสื้อ) ระบำนาค ระบำเงือก ระบำมยุราภิรมย (ระบำนกยูง) ระบำนกเขา ระบำหงสเหิน

ระบำปลา ระบำครุฑ เปนตน

ระบำบันเทิงกาสร ระบำอัศวลีลา

AW_na1.indd 14 12/27/11 10:24:01 AM

15นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๒. ประเภททารำ

๑.๒ ทาระบำอื่นๆ เชน ระบำทวน ระบำวีรชัยทหารพระสุธน ระบำกินรีรอน ระบำไกรลาสสำเริง ในละครเรื่องมโนราห ระบำนางไม ในละครเรื่องขุนชางขุนแผน ตอนพระไวยแตกทัพ ระบำเทพบันเทิง ในละครเรื่องอิเหนา ตอนลมหอบ ระบำแขก ในละครเรื่องอาบูหะซัน ระบำนพรัตน ในละครนอกเรื่องสุวรรณหงส ตอนชมถ้ำ ระบำนางใน ระบำเงาะ และระบำนางกอย ในละครเรื่องเงาะปา ระบำดอกบัว ในละครนอกเรื่องรถเสน ระบำโบราณคดีชุดระบำสุโขทัย ระบำจีน-ไทยไมตรี ระบำเลนเทียนประกอบบายศรีเชิญพระขวัญ ระบำวิชนี เปนตน

๑. ทารำของอิเหนา ตอนจากถ้ำและตอนตัดดอกไมฉายกริช ในการแสดงละครในเรื่องอิเหนา ๒. ทารำของนางมโนราห ตอนมโนราหบูชายัญ ในละครเรื่องพระสุธน-มโนราห ๓. รำพมา-ไทยอธิษฐาน ประดิษฐทารำรวมกับครูลมุล ยมะคุปต แสดงครั้งแรกเนื่องในโอกาสที่คณะทูตวัฒนธรรมไทยไปเจริญสัมพันธไมตรีกับสหภาพพมา เมื่อปพ.ศ. ๒๔๙๘

ระบำไกรลาสสำเริง

ระบำมฤคระเริง ระบำมยุราภิรมย

ระบำดอกบัว ระบำเทพบันเทิง

AW_na1.indd 15 12/27/11 10:24:03 AM

Page 11: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

16 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๔. รำลาว-ไทยปณิธาน ประดิษฐทารำรวมกับครูลมุล ยมะคุปต แสดงครั้งแรกเนื่องใน

โอกาสที่คณะทูตวัฒนธรรมไทยไปเจริญสัมพันธไมตรีกับราชอาณาจักรลาว ในปพ.ศ. ๒๕๐๐

๕. รำสีนวลออกเพลงอาหนู

๖. รำโคมบัว

๗. รำซัดชาตรี

๘. รำเถิดเทิง

๙. รำกระทบไม

๑๐. รำฉุยฉายฮเนา

๓. ประเภทฟอน

๑. ฟอนมาลัย ในละครพันทาง เรื่องพญาผานอง ๒. ฟอนดวงเดือน ๓. ฟอนรัก ๔. ฟอนจันทราพาฝน นอกจากผลงานทางดานนาฏศิลปไทยซึ่งเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายแลว ทานผูหญิงแผวยังเรียบเรียงและจัดทำบทโขนบทละครไวอีกหลายเรื่องหลายชุด หลายตอน เชน ๑. บทละครในเรื่องอิเหนา ตอนเขาเฝาทาวดาหาตอนลมหอบ ตอนอุณากรรณชนไก ตอนบุษบาชมศาล ตอนตัดดอกไมฉายกริช ตอนประสันตาตอนก ตอนศึกกะหมังกุหนิงตอนประสันตาเชิดหนังและตอนยาหรันลักนางเกนหลง ฟอนมาลัย

มโนราหบูชายัญ รำเถิดเทิง รำกระทบไม

AW_na1.indd 16 12/27/11 10:24:08 AM

17นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๒. บทละครนอกเรื่องสังขทอง ตอนเลือกคู-หาปลา ตอนนางมณฑาลงกระทอม ตอนตีคลีตอนพระสังขเลียบเมือง ๓. บทละครนอกเรื่องไกรทอง ตอนที่ ๑ ตะเภาแกว ตะเภาทองและบริวารไปเลนน้ำตอนที่ ๒ ไกรทองตามนางวิมาลากลับถ้ำ ๔. บทละครเรื่องขุนชางขุนแผน ตอนพลายเพชร พลายบัวออกศึก ๕. บทละครเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ ตอนพระอภัยมณีพบนางสุวรรณมาลี และตอนพระอภัยมณีพบนางละเวง ๖. บทละครนอกเรื่องไชยเชษฐ ตอนนางสุวิญชาถูกขับไล ๗. บทละครนอกเรื่องรถเสน (รวมแตงกับผูอื่น) ๘. บทละครเรื่องมโนราห (รวมแตงกับผูอื่น) ๙. บทละครเรื่องเงาะปา ๑๐. บทละครเรื่องสังขศิลปชัย ตอนทาวเสนากุฎเขาเมือง

๑๑. บทละครนอกเรื่องคาวี ตอนนางในกลองศึกถึงเผาพระขรรค

๑๒. บทละครนอกเรื่องสุวรรณหงส ตอนพราหมณเล็กพราหมณโต

๑๓. บทโขนเรื่องรามเกียรติ์ ชุดปราบกากนาสูร ชุดนางลอย ชุดปราบบรรลัยกัลป

๕. นางเฉลย ศุขะวณิช

นางเฉลย เกิดเมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๔๗

เปนผูเชี่ยวชาญดานการสอนและออกแบบทารำนาฏศิลปไทย นับวาเปน

ศิลปนที่มีความรูความสามารถในกระบวนทารำทุกประเภทคนหนึ่ง

ของวิทยาลัยนาฏศิลป สังกัดกรมศิลปากร นางเฉลยไดสรางสรรคและ

ประดิษฐทารำประกอบการแสดงนาฏศิลปไวอยางมากมาย นางเฉลย

ไดรับการยกยองใหเปนศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป)

ประจำปพ.ศ. ๒๕๓๐ นางเฉลย เคยไดรับบทเปนตัวละครใน ละครที่

สำคัญหลายเรื่อง เชน ละครใน เรื่องอิเหนา รับบทเปนประไหมสุหรี

มะเดหวี เรื่องอุณรุท รับบทเปน ศุภลักษณ เรื่องรามเกียรติ์ รับบทเปน

ชมพูพาน และหัวหนารากษส ละครนอก เรื่องสังขทอง รับบทเปน มณฑา จันทา เรื่องคาวี รับบทเปน

คันธมาลี เฒาทัศประสาท เปนตน นอกจากนี้นางเฉลยยังมีโอกาสในการแสดงละครอีกหลาย

ประเภทตางๆ เชน ละครนอก ละครในและละครดึกดำบรรพ โดยไดรับบทเปนตัวเอก นางเฉลย

เปนผูที่คิดและประดิษฐทารำและระบำใหมๆ รวมกับนางลมุล ยมะคุปต ขึ้นหลายชุด เชน ระบำกินรี

รำประกอบเพลงหนาพาทยกินนร (ในละครดึกดำบรรพ เรื่อง จันทกินรี) ระบำโบราณคดี ๔ ชุด

คือ ระบำทวารวดี ระบำศรีวิชัย ระบำลพบุรีและเชียงแสน

AW_na1.indd 17 12/27/11 10:24:10 AM

Page 12: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

18 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

รูปแบบและวิธีการแสดง

เครื่องดนตรีที่ใชประกอบการเเสดง

เครื่องแตงกาย

ระบำโบราณคดี ชุด ทวารวดี

เปนระบำโบราณคดีที่ประดิษฐขึ้นจากการศึกษาคนควาหลักฐานทางโบราณคดีสมยัทวารวด ีทารำ เครือ่งดนตรแีละเครือ่งเเตงกาย ซึง่ไดแนวคดิมาจากภาพปนจำหลกัทีข่ดุคนพบทารำบางทาไดความคิดมาจากภาพสลักเเละภาพปูนปน การแสดงนั้นจะไมมีเนื้อรอง โดยจะรำตามจังหวะดนตรี

ระบำทวารวดี เปนระบำประกอบดวยผูแสดง ๖ คน ทารำประดิษฐขึ้นโดยเลียนแบบจากภาพปนและภาพแกะสลัก เพื่อใหเกิดการเคลื่อนไหว ความสวยงามของการรำอยูที่กระบวนทาที่มีลักษณะเฉพาะ ตามยุคสมัยที่มีความสวยงามในลักษณะเฉพาะของการใชมือ เทาและศีรษะ รวมทั้งการแปรแถวในการรำดวยลักษณะตางๆ การรำแบงเปนขั้นตอนตางๆ ไดดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ รำออกมาตามทำนองเพลง ขั้นตอนที่ ๒ ทำทารำตามทำนองเพลงชาและเร็ว จนจบกระบวนทา ขั้นตอนที่ ๓ ทำทาจบดวยการนั่งกลางเวที ขั้นตอนที่ ๔ รำเขาเวทีตามทำนองเพลง

๑. จะเข ๒. พิณ ๕ สาย ๓. ระนาด ๔. ตะโพนมอญ ๕. ฉิ่ง ๖. ฉาบ ๗. ขลุย ๘. กรับ

๑. เสื้อรัดอก ๒. ผานุงจีบหนานาง ตกแตงดวยผาตาดสีทอง เปนลายขวาง ๓. สไบเฉียง ปลอยชายดานหนาและดานหลัง ๔. เครื่องประดับ ประกอบดวยเข็มขัด ตางหู จี้นาง ตนแขนและกำไลขอมือ กำไลขอเทาติดลูกกระพรวน ๕. ศีรษะเกลาผมมวยสูง สวมเกี้ยว ๖. กะบังหนา

AW_na1.indd 18 12/27/11 10:24:11 AM

19นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

นาฏยศัพทที่ใชประกอบการรำ

ตั้งวง ลักษณะการตั้งวงของระบำทวารวดี จะยกลำแขน

เปนวงโคง กันขอศอกขึ้น มือเเบเหยียดนิ้วตึง หักขอมือและ

ปดปลายมือมาดานหนา วงสูงระดับหางตา วงกลางเปน

วงหนาสูงระดับอก กันศอกตั้งเปนมุมฉาก ระดับเดียวกับไหล

จีบ แตกตางจากรำไทยมาตรฐาน คือ นำนิ้วชี้มาจรด

กับขอสุดทายของนิ้วหัวแมมือเปนวงกลม กรีดนิ้วที่เหลือ

ทั้ง ๓ ออกไป

เคลื่อนเทาหรือขยับเทา การเคลื่อนเทาจะเปนลีลา

คลายการรำมอญ คือ ยอเขาผสมกับชิด เทาเคลื่อนเขา

ไปทั้ง ๒ ขางพรอมกัน โดยใหเผยอปลายเทาและสนเทา

สลับกันตามจังหวะยืดยุบ

ลักคอ คือ กิริยาการกดไหลขางใดขางหนึ่ง แตศีรษะเอียงตรงกันขามกับไหล

กระทายไหล คือ การเบี่ยงไหลขางใดขางหนึ่งไปดานหลังแลวกลับคืนมาที่เดิม

การแตงกายชุดระบำทวารวดี

อธิบายทารำ

ทาที่ ๑

รวมเทา มือขวาตั้งวงหงายฝามือมาดาน

หนา มือซายจีบเขาหามือขวา

AW_na1.indd 19 12/27/11 10:24:13 AM

Page 13: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

20 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๒

รวมเทา มือซายตั้งวงหงายฝามือมา

ดานหนา มือขวาจีบคว่ำเขาหามือซาย

ทาที่ ๓

นั่งพับเพียบ มือขวาใชนิ้วหัวแมมือจรด

ปลายนิ้วชี้วางแนบระหวางอกดานขางลำตัว

กันศอกออกมือซายตั้งวง วางแนบที่ขา เอียง

ศีรษะซาย

ทาที่ ๔

(แถวขวา) นั่งพับเพียบ มือทั้ง ๒ ขาง

ตั้งวง มือขวาตั้งวงบน ยื่นออกไปทางดานขางของ

ลำตัว มือซายตั้งวงหนาความสูงระดับอก เอียง

ศีรษะขวา

(แถวซาย) นั่งพับเพียบ มือทั้ง ๒ ขาง

ตั้งวง มือซายตั้งวงบน ยื่นออกไปทางดานขางของ

ลำตัว มือขวาตั้งวงหนาความสูงระดับอก เอียง

ศีรษะซาย

AW_na1.indd 20 12/27/11 10:24:15 AM

21นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๖

(แถวขวา) เหลื่ยมเทาซาย ยอตัวลงมือ

ทั้ง ๒ ขาง ตั้งวง มือซายยื่นออกมาทางดานหนา

มือขวายื่นออกไปทางดานขาง เอียงศีรษะขวา

(แถวซาย) เหลื่ยมเทาขวา ยอตัวลงมือ

ทั้ง ๒ ขาง ตั้งวง มือขวายื่นออกมาทางดานหนา

มือซายยื่นออกไปทางดานขาง เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๗

(แถวขวา) จรดเทาซาย ยอตัวลง มือซาย

คว่ำวางมือสูงเหนือไหล มือขวาแบมือหงาย

ปลายนิ้วทั้ง ๔ จรดที่หัวเขา เอียงศีรษะซาย

(แถวซาย) จรดเทาขวา ยอตัวลง มือขวา

คว่ำวางมือสูงเหนือไหล มือซายแบมือหงาย

ปลายนิ้วทั้ง ๔ จรดที่หัวเขา เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๕

(แถวขวา) ยอตัวนั่งลงมือทั้ง ๒ ขาง

ตั้งวง มือขวายื่นออกมาทางดานหนา มือซายยื่น

ออกมาวางดานขาง เอียงศีรษะซาย

(แถวซาย) ยอตัวนั่งลงมือทั้ง ๒ ขาง

ตั้งวง มือซายยื่นออกมาทางดานหนา มือขวายื่น

ออกมาวางดานขาง เอียงศีรษะขวา

AW_na1.indd 21 12/27/11 10:24:17 AM

Page 14: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

22 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๘

(แถวขวา) จรดเทาขวา ยอตัวลง มือขวา

จีบคว่ำวางมือสูงเหนือไหล มือซายแบมือ

หงายปลายนิ้วทั้ง ๔ จรดที่หัวเขา เอียงศีรษะซาย

(แถวซาย) จรดเทาซาย ยอตวัลง มอืซาย

จีบคว่ำวางมือสูงเหนือไหล มือขวาแบมือ

หงายปลายนิ้วทั้ง ๔ จรดที่หัวเขา เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๙

(แถวขวา) เหลื่อมเทาซาย ยอตัวลง

มือขวาตั้งวงบน มือซายจีบวางแนบที่ขาซาย

เอียงศีรษะขวา

(แถวซาย) เหลื่อมเทาขวา ยอตัวลง

มือซายตั้งวงบน มือขวาจีบคว่ำวางแนบที่ขาขวา

เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๑๐

(แถวขวา) เหลื่อมเทาขวา ยอตัวลง

มือซายตั้งวงบน มือขวาจีบวางแนบที่ขาขวา

เอียงศีรษะซาย

(แถวซาย) เหลื่อมเทาซาย ยอตัวลง

มือขวาตั้งวงบน มือซายจีบคว่ำวางแนบที่

ขาซาย เอียงศีรษะขวา

AW_na1.indd 22 12/27/11 10:24:18 AM

23นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๑๑

(แถวขวา) เหลื่อมเทาซาย มือซายหงาย

ความสูงระดับแงศีรษะ มือขวาจีบคว่ำเขาหา

ลำตัวระดับอก เอียงศีรษะขวา

(แถวซาย) เหลื่อมเทาขวา มือขวาหงาย

ความสูงระดับแงศีรษะ มือซายจีบคว่ำเขาหา

ลำตัวระดับอก เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๑๒

(แถวขวา) รวมเทา มือซายคว่ำมือวาง

แนบที่ขาขวา มือขวาจีบหงายความสูงระดับไหล

เอียงศีรษะขวา

(แถวซาย) รวมเทา มือขวาคว่ำมือวาง

แนบที่ขาซาย มือซายจีบหงายความสูงระดับไหล

เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๑๓

(แถวขวา) รวมเทา มือซายคว่ำมือวาง

แนบที่ขาขวา มือขวาจีบหงายความสูงระดับไหล

เอียงศีรษะขวา

(แถวซาย) รวมเทา มือขวาคว่ำมือวาง

แนบที่ขาซาย มือซายจีบหงายความสูงระดับไหล

เอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 23 12/27/11 10:24:20 AM

Page 15: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

24 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๑๔

(แถวขวา) จรดเทาซายมือขวาคว่ำมือ

วางแนบที่ขาซาย มือซายจีบ ความสูงระดับไหล

เอียงศีรษะซาย

(แถวซาย) จรดเทาขวามือซายคว่ำมือ

วางแนบที่ขาขวา มือขวาจีบ ความสูงระดับไหล

เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๑๕

(แถวขวา) จรดเทาซายมือขวาคว่ำมือ

วางแนบที่ขาซาย มือซายจีบ ความสูงระดับไหล

เอียงศีรษะขวา

(แถวซาย) จรดเทาขวามือซายคว่ำมือ

วางแนบที่ขาขวา มือขวาจีบ ความสูงระดับไหล

เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๑๖

(แถวขวา) ยอตัวนั่งลง มือทั้ง ๒ ขาง

แบมือหงาย มือขวายื่นออกมาทางดานหนา

มือซายยื่นออกไปทางดานขาง ความสูงระดับ

ศีรษะ เอียงศีรษะขวา

(แถวซาย) ยอตัวนั่งลง มือทั้ง ๒ ขาง

แบมือหงาย มือซายยื่นออกมาทางดานหนา

มือขวายื่นออกไปทางดานขาง ความสูงระดับ

ศีรษะ เอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 24 12/27/11 10:24:22 AM

25นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๑๗

(แถวขวา) จรดเทาซาย มือทั้ง ๒ ขาง

แบมือหงาย มือซายยื่นออกมาทางดานหนา

มอืขวายืน่ออกไปทางดานขาง ความสงูระดบัศรีษะ

เอียงศีรษะซาย

(แถวซาย) จรดเทาขวา มือทั้ง ๒ ขาง

แบมือหงาย มือขวายื่นออกมาทางดานหนา

มอืซายยืน่ออกไปทางดานขาง ความสงูระดบัศรีษะ

เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๑๘

(แถวขวา) จรดเทาซาย มือขวาแบมือ

หงายยื่นออกมาดานซายระดับชายพก มือซาย

จีบคว่ำยื่นออกไปทางดานขาง เอียงศีรษะซาย

(แถวซาย) จรดเทาขวา มือซายแบมือ

หงายยื่นออกมาดานขวาระดับชายพก มือขวา

จีบคว่ำยื่นออกไปทางดานขาง เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๑๙

(แถวขวา) รวมเทา มือซายแบมือหงาย

ความสูงระดับแงศีรษะ มือขวาตั้งวงกลาง ปลาย

นิ้วทั้ง ๔ จรดที่ขอศอกของมือซาย เอียงศีรษะขวา

(แถวซาย) รวมเทา มือขวาแบมือหงาย

ความสูงระดับแงศีรษะ มือซายตั้งวงกลาง ปลาย

นิ้วทั้ง ๔ จรดที่ขอศอกของมือขวา เอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 25 12/27/11 10:24:24 AM

Page 16: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

26 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๒๐

(แถวขวา) รวมเทา มือซายแบมือหงาย

ความสงูระดบัแงศรีษะ มอืขวาจีบควำ่ จรดบรเิวณ

ขอศอกของมือซาย เอียงศีรษะขวา

(แถวซาย) รวมเทา มือขวาแบมือหงาย

ความสงูระดบัแงศรีษะ มอืซายจบีควำ่ จรดบรเิวณ

ขอศอกของมือขวา เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๒๑

จรดเทาขวา มือทั้ง ๒ ขางจีบคว่ำ มือซาย

ยื่นแขนออกไปทางดานขาง แขนตึง มือขวาอยู

ระดับชายพก เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๒๒

จรดเทาซาย มือทั้ง ๒ ขางจีบคว่ำ มือขวา

ยื่นแขนออกไปทางดานขาง แขนตึง มือซายอยู

ระดับชายพก เอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 26 12/27/11 10:24:26 AM

27นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๒๓

ยอตัวนั่งลง มือทั้ง ๒ ขางจีบคว่ำ มือซาย

วางมือแนบลำตัวระดับอก มือขวายื่นออกไป

ทางดานขาง แขนตึง เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๒๔

กาวหนาเทาขวา เปดสนเทาซาย มือทั้ง

๒ ขางจีบคว่ำ มือซายวางมือแนบลำตัวระดับอก

มือขวายื่นออกไปทางดานขาง แขนตึง เอียง

ศีรษะขวา

ทาที่ ๒๕

จรดเทาขวา มือทั้ง ๒ ขางจีบคว่ำ มือขวา

วางมือแนบลำตัวระดับอก มือซายยื่นออกไป

ทางดานขาง แขนตึง เอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 27 12/27/11 10:24:27 AM

Page 17: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

28 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๒๖

นั่งพับเพียบ หันปลายเทาไปทางซาย

วางมือทั้ง ๒ ขาง แนบกับพื้นทางดานขวาขาง

ลำตัว เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๒๘

ยกหนาเทาขวา ยอตัวลง มือทั้ง ๒ ขาง

ตั้งวง มือขวาเหยียดแขนตึง มือซายปลายนิ้วทั้ง

๔ จรดที่ขอศอกของมือขวา เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๒๗

ยอตัวนั่งลง มือทั้ง ๒ ขางตั้งวง มือขวา

เหยียดแขนตึง มือซายปลายนิ้วทั้ง ๔ จรดที่

ขอศอกของมือขวา เอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 28 12/27/11 10:24:29 AM

29นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

รูปแบบและวิธีการแสดง

ระบำศรีวิชัย เปนระบำโบราณคดีที่มีลีลาทารำจากศิลปกรรมและภาพจำหลักที่สถูปบุโรพุทโธ

ในเกาะชวา ทานผูเชี่ยวชาญไดประดิษฐรอยเรียงทาเชื่อมตอจากทาแตละทาใหสอดคลองกับจังหวะ

และทำนองเพลง ลีลาทารำจะเลียนแบบศิลปกรรมหรือภาพจำหลักในสมัยศรีวิชัย ซึ่งอยูระหวาง

ปพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘ มีอาณาเขตตั้งแตตอนใตของไทยเรื่อยลงไปถึงดินแดนประเทศมาเลเซีย

และอินโดนีเซียบางสวน ดังนั้นลีลาทารำจึงมีลักษณะแบบชวา เคลื่อนไหวรวดเร็วและมีการ

ยักไหลและยักคอ

เครื่องดนตรีที่ใชประกอบการแสดง

เครื่องดนตรีที่ใชบรรเลง แตเดิมผูคิดประดิษฐกำหนดใหมีกระจับป ฆอง ๓ ใบ ซอสามสาย

ขลุย ตะโพน กลองแขก ฉิ่งและฉาบ ใชวงปพาทยเครื่องหาบรรเลงทำนองเพลงที่แตงไวแตเดิม ใหออก

สำเนียงชวาใหเดนชัด โอกาสที่แสดง เชน ใชแสดงในงานมงคล งานอวมงคล เปนตน

ระบำโบราณคดี ชุด ศรีวิชัย

ระบำศรีวิชัยเปนชุดที่ ๒ ในระบำโบราณคดี ๕ ชุด นายมนตรี ตราโมท ผูเชี่ยวชาญดนตรีไทย

เปนผูแตงทำนองเพลงจากสำเนียงชวา โดยมีนางลมุล ยมะคุปต และนางเฉลย ศุขะวณิช

ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลปไทยเปนผูประดิษฐทารำจากหลักฐานศิลปกรรมและภาพจำหลักที่

สถูปบุโรพุทโธในเกาะชวา ในสมัยศรีวิชัย ซึ่งอยูระหวางปพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘ ดังนั้น

ทารำและดนตรีตลอดจนเครื่องแตงกายในระบำชุดนี้ จึงมีลีลาสำเนียงและแบบอยางที่เปนชวา

AW_na1.indd 29 12/27/11 10:24:31 AM

Page 18: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

30 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

นาฏยศัพทที่ใชประกอบทารำ

ลักษณะทารำบางทาเปนแบบชวา และ

บาหลี เชน การตั้งวง กันศอกออกเปนวงโคง

การใชคอ ยักคอเหมือนนาฏศิลปชวาและบาหลี

การทำมือ คลายกับนาฏศิลปชวาและบาหลี

การตั้งทานิ่ง ทาบิดสะโพกคลายทารำของบาหลี

ทาที่ ๑

กาวหนาเทาขวา เปดสนเทาซาย มือทั้ง

๒ ขาง ตั้งวงลางความสูงระดับชายพก เอียง

ศีรษะขวา

เครื่องแตงกาย

ระบำศรีวิชัยแตงกายแบบชวา ใช ๒ สี

คือ สีเขียวและสีแดง ทั้งเสื้อในนาง ผานุง ผาหอย

คลองไหลและผาพันเอว จะใสสลับเขียวแดง

(ดังภาพ) หนังฉลุลายสีทองที่ตนแขนและขอมือ

สรอยคอและตุมหูสีทอง สวมกะบังหนาและ

เกี้ยวครอบมวยต่ำ คาดเข็มขัดสายสรอยหอย

หนาทับจีบหนา

การแตงกาย ชุดระบำศรีวิชัย

AW_na1.indd 30 12/27/11 10:24:32 AM

31นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๒

กาวหนาเทาขวา เปดสนเทาซาย มือขวา

ตั้งวงกลางระดับชายพก มือซายจีบสงหลัง

แขนตึง เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๓

(แถวขวา) กาวหนาเทาซาย กระดกหลงั

เทาขวา มือซายแบมือหงายความสูงระดับศีรษะ

มือขวาตั้งวงกลางยื่นแขนออกไปทางดานขาง

แขนตึง เอียงศีรษะขวา

(แถวซาย) กาวหนาเทาขวา กระดกหลงั

เทาซาย มือขวาแบมือหงายความสูงระดับศีรษะ

มือซายตั้งวงกลางยื่นแขนออกไปทางดานขาง

แขนตึง เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๔

(แถวขวา) กาวหนาเทาขวา กระดกหลงั

เทาซาย มือซายตั้งวงลางความสูงระดับชายพก

มือขวาแบมือหงายความสูงระดับศีรษะ

(แถวซาย) กาวหนาเทาซาย กระดกหลงั

เทาขวา มือขวาตั้งวงลางความสูงระดับชายพก

มือซายแบมือหงายความสูงระดับศีรษะ

ทาที่ ๕

จรดเทาขวา มือขวาตั้งวงบน มือซาย

วางมือแนบลำตัวระดับชายพก เอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 31 12/27/11 10:24:34 AM

Page 19: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

32 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๖

ยอตัวนั่งลงตั้งวง มือซายวางมือแนบ

ระหวางเอว มือขวาตั้งวงบน เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๘

ยกหนาเทาขวา มือทั้ง ๒ ขางจีบลอแกว

มือซายยื่นแขนออกไปทางดานขางของลำตัว

แขนตึง มือขวาวางแนบลำตัวความสูงระดับอก

เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๙ (แถวขวา) จรดเทาซาย มือทั้ง ๒ ขางจีบลอแกว มือซายความสูงระดับชายพก มือขวายื่นแขนออกไปทางดานขางของลำตัว แขนตึงเอียงศีรษะขวา (แถวซาย) จรดเทาขวา มือทั้ง ๒ ขางจีบลอแกว มือขวาความสูงระดับชายพก มือซายยื่นแขนออกไปทางดานขางของลำตัว แขนตึงเอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๗ (แถวขวา) จรดเทาซาย มือทั้ง ๒ ขางจีบลอแกว มือซายความสูงระดับชายพก มือขวายื่นแขนออกไปทางดานขางของลำตัว แขนตึงเอียงศีรษะขวา (แถวซาย) จรดเทาขวา มือทั้ง ๒ ขางจีบลอแกว มือขวาความสูงระดับชายพก มือซายยื่นแขนออกไปทางดานขางของลำตัว แขนตึงเอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 32 12/27/11 10:24:36 AM

33นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๑๐

กาวไขวเทาซาย มือขวาคว่ำมือลง มือซาย

แบมือหงาย มือทั้ง ๒ ขาง วางประสานกัน

กันศอกออกไปทางดานขาง เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๑๒

จรดเทาขวา มือทั้ง ๒ ขางจีบลอแกว

มือขวาหงายมือขึ้น ความสูงระดับศีรษะ มือซาย

ยื่นแขนออกมาทางดานหนาความสูงระดับอก

ทาที่ ๑๑

จรดเทาขวา มือทั้ง ๒ ขางจีบลอแกว

มือขวาหงายมือขึ้น ความสูงระดับศีรษะ มือซาย

ยื่นแขนออกมาทางดานหนาความสูงระดับอก

เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๑๓

กาวหนาเทาขวา กระดกเทาซาย มือทั้ง

๒ ขางตั้งวงบนยื่นออกไปทางดานขางของลำตัว

เอียงศีรษะขวา

AW_na1.indd 33 12/27/11 10:24:38 AM

Page 20: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

34 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ทาที่ ๑๔

กาวหนาเทาขวา กระดกหลังเทาซาย

มือขวาจีบคว่ำความสูงระดับศีรษะ มือซายจีบ

สงหลัง แขนตึง เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๑๖

จรดเทาขวา มือทั้ง ๒ ขางจีบลอแกว

มือขวาอยูระดับชายพก มือซายยื่นออกไปทาง

ดานขางของลำตัว แขนตึง เอียงศีรษะซาย

ทาที่ ๑๕

จรดเทา มือขวาจีบคว่ำ ความสูงระดับ

ศีรษะ มือซายจีบสงหลัง แขนตึง เอียงศีรษะขวา

ทาที่ ๑๗

กาวหนาเทาซาย เปดสนเทาขวา มือทั้ง

๒ ขางพนมมืออยูระหวางอก เอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 34 12/27/11 10:24:40 AM

35นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๖. นางสาวจำเรียง พุธประดับ

นางสาวจำเรียง เปนชาวจังหวัดเพชรบุรี เปนบุตรของ

นายเปยมกับนางเจิม พุธประดับ นางสาวจำเรียงเขารับ

ราชการในกรมปพาทยหลวง กระทรวงวังและเขารับคัดเลือก

ใหฝกละครหลวง เปนตัวนางในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปก-

เกลาเจาอยูหัว โดยเปนศิษยในความปกครองของเจาจอม

มารดาสายและเจาจอมละมายในพระบาทสมเด็จพระจุล

จอมเกลาเจาอยูหัว ตอมาจึงไดมอบตัวเปนลูกศิษยของหมอม

ครู ตวน (นางศุภลักษณ ภัทรนาวิก), คุณหญิงเทศ นัฏภานุรักษ

คุณครูมัลลี คงประภัศร, คุณครูลมุล ยมะคุปต, คุณครูผัน โมลากุล, ทานผูหญิงแผว สนิทวงศเสนี

และคุณครูเฉลย ศุขะวณิช ตอมานางสาวจำเรียงไดเขารับราชการในกรมศิลปากร เนื่องจากมีการ

โอนโขนละครหลวงจากกรมพิณพาทยหลวง กระทรวงวังมาสังกัดกรมศิลปากร โดยประจำอยูที่

โรงเรียนศิลปากร แผนกนาฏดุริยางค โดยไดรับมอบหมายใหเปนครูสอนวิชานาฏศิลปและการ

ละคร และเปนทั้งศิลปนผูแสดง ซึ่งในการแสดงนาฏศิลปชุดตางๆ นางสาวจำเรียง จะไดรับ

คัดเลือกใหเปนตัวนางอยูคูหนาเสมอ เพราะเหตุวาเปนผูที่จดจำทารำไดแมนยำ เชน ระบำดาวดึงส

ระบำพรหมาสตร ระบำยองหงิด ระบำสี่บท ระบำบุษบาชมศาล เปนตน นอกจากนี้นางสาวจำเรียง

ยังแสดงเปนนางเอกและตัวเอกฝายนาง ในการแสดงโขนละครหลายเรื่อง เชน แสดงเปนนาง

นารายณในการแสดงโขนชุดนารายณปราบนนทก แสดงเปนพราหมณเกศสุริยง ในการแสดง

ละครนอกเรื่องสุวรรณหงส ตอนพราหมณเล็กพราหมณโต แสดงเปนนางจันทรในการแสดงละคร

เรื่องพระรวง แสดงเปนนางรจนาในการแสดงละครนอกเร่ืองสังขทอง ตอนเลือกคู แสดงเปน

นางเบญกายแปลง (นางสีดา) ในการแสดงโขนชุดนางลอย และแสดงเปนนางพญาคำปน

ในการแสดงละครเรื่องพญาผานอง เปนตน นางสาวจำเรียงเปนผูที่คิดริเริ่มสรางสรรคงาน

นาฏศิลปไทยโดยการประดิษฐทารำการแสดงเบ็ดเตล็ดตางๆ ประดิษฐทารำตามบทในการแสดง

ละครและโขนชุดตางๆ และประดิษฐทารำชุดระบำประทีปสุโขทัย เปนตน นางสาวจำเรียง พุธประดับ

ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป-ละคร) ประจำปพ.ศ. ๒๕๓๑

ทาที่ ๑๘

กาวหนาเทาซาย เปดสนเทาขวา มือ

ทั้ง ๒ ขางพนมมือยกชูขึ้นสูงระดับศีรษะ

เอียงศีรษะซาย

AW_na1.indd 35 12/27/11 10:24:41 AM

Page 21: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

36 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๗. นางลมุล ยมะคุปต

นางลมุล เปนบุตรของรอยโทนายแพทยจีนกับนางคำมอย อัญธัญภาติ เกิดเมื่อวันที่ ๒

มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๔๘ ที่จังหวัดนาน บิดาของนางลมุลไดพาไปกราบถวายตัวเปนละคร ณ วังสวน

กุหลาบในสมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟาอัษฎางคเดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา ครูผูฝกสอน

ของนางลมุล คือ หมอมครูแยมตัวพระ (อิเหนา, ยาหรัน) หมอมครูอึ่งตัวพระยักษ

(พระวิษณุกรรม, พระมาตุลี, อินทรชิต, รามสูร) หมอมครูนุมตัวนาง (ศุภลักษณ) ทาววรจันทรฯ

(เจาจอมมารดาวาดในรัชกาลที่ ๔) เจาจอมมารดาเขียน เจาจอมมารดาทับทิม เจาจอมมารดาสาย

เจาจอมละมาย พระยานัฏกานุรักษ (ทองดี สุวรรณภารต) คุณหญิงนัฏกานุรักษ (เทศ

สุวรรณภารต) และทานครูหงิม วิชาการดานนาฏศิลปที่ไดรับถายทอดมาจากทานครูวังสวนกุหลาบ

คือ เพลงชาเพลงเร็ว เพลงเชิด เสมอ พญาเดิน เหาะ โคมเวียน เสมอลาว เสมอแขก เสมอมอญ

เสมอพมา เสมอจีน เสมอฝรั่ง รำมะนา ฉายกริช ฉายพระขรรค ฉายกระบองยาว ฉายดาบ

รำตาว รำกริชคูสะระหมา รำกริชเดี่ยวสะระหมา รำกริชมายูสะระหมาแขก รำดาบคู รำกระบี่

รำทวน รำหอกซัด รำงาว ไมจีน ๑๔ ไม ไมบูจีน กราวใน กราวนางยักษ รำเชิดฉิ่งตัดดอกไม

ฉายกริช รำเชิดฉิ่งจับมา รำเชิดฉิ่งแผลงศร รำฝรั่งคู ลงสรงปพาทย ลงสรงสุหราย ลงสรงโทน

โทนมา ฉุยฉายกิ่งไมเงินทอง ตระนิมิต ตระบองกัน ชำนาญ รำปฐมหางนกยูง โลม-ตระนอน

สาธุการ กลมกิ่งไมเงินทอง เสมอมาร เสมอเถร บาทสกุณี เชิดฉาน รุกรน เสมอขามสมุทร

กลมพระขรรค เพลงชา-เพลงเร็วนารายณ เชิดฉิ่งศรทะนง พราหมณเขา พราหมณออก

ตระนารายณ ตระนารายณบรรทมสินธุ ตระบรรทมไพร ตระสันนิบาต กลมเงาะ เปนตน

นางลมุลไดแสดงละครหลายเรื่อง โดยรับบทเปนตัวละครเอก เชน ละครใน เรื่องอิเหนา

แสดงเปนอิเหนา, สียะตรา, สังคามาระตา, วิหยาสะกำ เรื่องอุณรุท แสดงเปนอุณรุท

เรื่องรามเกียรติ์ แสดงเปนพระราม, พระมงกุฎ, อินทรชิต เรื่องนารายณสิบปาง แสดงเปนพระ

นารายณ พระคเณศ ละครนอก เรื่องสังขทอง

แสดงเปนเขยเล็ก, พระวิศณุกรรม, พระมาตุลี

พระสังข เจาเงาะ เรื่องเงาะปา แสดงเปนซมพลา-

ฮเนา เรื่องพระอภัยมณี แสดงเปนพระอภัยมณี

ศรีสุวรรณ สุดสาคร อุศเรน เจามหุต ละครพันทาง

เรื่องพระลอแสดงเปนพระลอ เรื่องราชาธิราช

แสดงเปนสมิงพระราม, สมิงนครอินทร เรื่อง

ขนุชางขนุแผน แสดงเปนพระพนัวษา พระไวย,

พลายบัว เปนตน ผลงานทางดานนาฏศิลปที่

นางลมุลไดคิดประดิษฐทารำไวหลายชุด เชน รำวงมาตรฐาน

AW_na1.indd 36 12/27/11 10:24:43 AM

37นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๑. รำ เชน รำแมบทใหญ รำซัดชาตรี รำวงมาตรฐาน รำวรเชษฐ รำฉุยฉายกิ่งไมเงินทอง

รำถวายพระพร รำเถิดเทิง ระบำเชิญพระขวัญ เปนตน

๒. ระบำ ไดแก ระบำกินนรรำ ระบำเทพบันเทิง ระบำกฤดาภินิหาร ระบำพมา-มอญ

ระบำกลอง ระบำฉิ่ง ระบำพมา-ไทยอธิษฐาน ระบำลาว-ไทยปณิธาน ระบำนกยูง ระบำมา

ระบำสวัสดิรักษา ระบำทวารวดี ระบำศรีวิชัย ระบำลพบุรี ระบำเชียงแสน ระบำเริงอรุณ ระบำฉิ่ง

ระบำกรับ ระบำกลอง ระบำบายศรี ระบำชุมนุมเผาไทย ระบำใตรมธงไทย ระบำนกสามหมู

ระบำในน้ำมีปลาในนามีขาว ระบำเสียงระฆัง

ฉุยฉายกิ่งไมเงินทองระบำเชิญพระขวัญ

รำวงมาตรฐานรำซัดชาตรี

AW_na1.indd 37 12/27/11 10:24:45 AM

Page 22: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

38 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๓. ฟอน เชน ฟอนเงี้ยว ฟอนเล็บ ฟอนเทียน ฟอนแพน ฟอนมานมุยเชียงตา ฟอนแคน

เปนตน

ฟอนเล็บ ฟอนเทียน

ระบำบายศรี

ระบำฉิ่ง

ระบำกรับ

ระบำกฤดาภินิหาร

๔. เซิ้ง ไดแก เซิ้งสัมพันธ เซิ้งสราญ

AW_na1.indd 38 12/27/11 10:24:47 AM

39นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

ระบำโบราณคดีของกรมศิลปากร ประกอบไปดวยระบำทวารวดี ระบำศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน

และสุโขทัย

๑. ระบำทวารวดี เปนระบำชุดที่ ๑ ในระบำโบราณคดี ซึ่งมีทั้งหมด

ดวยกันรวม ๕ ชุด นายธนิต อยูโพธิ์ ไดสรางสรรคขึ้น โดยทำการสอบสวน

คนควาจากหลักฐานรูปปนและภาพจำหลักที่ขุดคนพบ ณ โบราณสถานสมัยทวารวดี

เชน ที่คูบัว อูทอง นครปฐม โคกไมแดง จันเสน เ ปนตน หลังจากนั้นจึงให

นายมนตรี ตราโมทผูเชี่ยวชาญดานดุริยางคไทยไดสรางสรรคทำนองเพลงและมอบหมายให

นายสนิท ดิษฐพันธ เปนผูออกแบบเครื่องแตงกาย นางลมุล ยมะคุปตและนางเฉลย

ศุขะวณิช ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป เปนผูประดิษฐทารำตามทำนองเพลง

ตามหลักฐานที่พบวาชาวทวารวดีเปนมอญหรือเผาชนที่พูดจาภาษามอญ ดนตรีและลีลาทารำในระบำชุดนี้จึงมี

สำเนียงและทารำเปนแบบมอญ เครื่องดนตรีที่ใชประกอบการแสดงระบำชุดนี้ ประกอบดวยพิณ ๕ สาย จะเข

ขลุย ระนาดตัด ตะโพนมอญ ฉิ่ง ฉาบและกรับคู

๒. ระบำศรีวิชัย อยูในระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๓–๑๘ มีการนำทารำทาง

ของนาฏศิลปชวามาผสมผสานเขากัน จากหลักฐานทางโบราณคดีลงความเห็นวา

สมัยศรีวิชัย มีอาณาเขตตั้งแตตอนใตของประเทศไทยลงไปจรดดินแดนมาเลเซีย

และอินโดนีเซีย การสรางสรรคระบำชุดนี้อาศัยหลักฐานจากศิลปกรรมภาพจำหลักที่

พระสถูปบุโรพุทโธในเกาะชวา ซึ่งเชื่อวาอยูในสมัยราชวงศไศเลนทร รวมกับศิลปะวัตถุ

สมัยศรีวิชัยและศิลปกรรมสวนทำนองเพลงก็แตงใหคลายไปทางสำเนียงชวา

เครื่องดนตรีที่ใชประกอบดวยกระจับป ๓ ตัว ซอสามสาย ขลุยเพียงออ ตะโพน

กลองแขก ฉิ่ง ฉาบเล็กและกรับ

๓. ระบำลพบุรี อยูระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๙ เปนระบำโบราณคดี

ที่เกิดขึ้นโดยเลียนแบบลักษณะทาทางของเทวรูป ภาพเขียน ภาพแกะสลัก รูปปน

รูปหลอโลหะและภาพศิลาจำหลัก ทับหลังประตู ตามโบราณสถานที่ขุดพบในสมัยลพบุรี

ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากชนเผาเขมร สังเกตไดจากมงกุฎที่ผูแสดงใชสวมศีรษะ เครื่อง

ดนตรีที่ใชประกอบการแสดงระบำลพบุรี คือ ซอสามสาย พิณน้ำเตา ปใน กระจับป

และโทน

AW_na1.indd 39 12/27/11 10:24:49 AM

Page 23: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

40 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

นาฏยศัพทที่ใชประกอบทารำ

จีบมือ จีบมือแบบลพบุรี ไดรูปแบบมาจากลักษณะนิ้วของพระพุทธรูปในสมัยลพบุรี มีลักษณะดังนี้ คือ

ปลายนิ้วหัวแมมือจรดเหนือขอแรกของปลายนิ้วชี้ นิ้วที่เหลือเหยียดตึง

ถองสะเอว แขนขวางอศอก ใหขอศอกจรดเอว หักขอมือ ตั้งวง กดไหลขวา ศีรษะเอียงขวา มือซายตั้งวง

สูงระดับแงศีรษะ เปนการถองสะเอวขวา ถาจะถองสะเอวขางซายก็ปฏิบัติเชนเดียวกัน

เดี่ยวเทา เดี่ยวเทาขวา ยืนดวยเทาซาย ยกฝาเทาขวาขึ้นแนบกึ่งกลางดานขางขาพับซาย ถาจะเดี่ยวเทาซาย

ก็ทำเชนเดียวกัน

ตั้งวง ลักษณะการตั้งวงจะตั้งวงพิเศษ คือ ยกแขนตั้งวงสูง ใหปลายนิ้วจรดกลางศีรษะ

โขยกเทา แบงเปนโขยกเคลื่อนตัวกับโขยกเทาอยูกับที่ เปนอาการแบบกาวเทา วางจมูกเทาเคลื่อนตัว

เชน กาวเทาขวาไปขางหนา ชักเทาซายตามไปวางดวยจมูกเทาใกลๆ และวางจมูกเทานั้นแบงน้ำหนักมาดวย

เพื่อยันใหเทาขวากระเถิบนิดหนึ่ง แลวยกเทาที่โขยก (เทาที่ยันดวยจมูกเทา) กาวไปขางหนา วางเต็มเทา

ใหเทาขวากระเถิบอยูกอน แลวเปนฝายยันดวยจมูกเทาบาง เทาที่ยันดวยจมูกเทานี้ เรียกวา “เทาโขยก”

โหยงหรือกระหยง หมายถึง ลักษณะการจรดปลายเทาไมใหฝาเทาถูกพื้น ซึ่งทารำชนิดนี้มีทั้งทายืนและ

ทานั่ง เชน โหยงสนเทาซาย ใชเทาขวายืนเต็มเทา ยอเขา ยกสนเทาซายแตะกับขอเทาขวา เปนตน

๔. ระบำเชียงแสน เปนระบำที่สรางขึ้นตามแบบศิลปะและโบราณสถานสมัย

เชียงแสนและไดแพรหลายไปทั่วดินแดนภาคเหนือของไทย ซึ่งในสมัยโบราณเรียกวา

“อาณาจักรลานนา” และตอเมื่อนครเชียงใหมเปนเมืองหลวงของอาณาจักร ศิลปะ

แบบเชียงแสนไดแพรหลายลงมาตามลุมแมน้ำโขง เขาไปในสาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาวที่เรียกวา “ลานชาง” หรือ “กรุงศรีสัตนาคนหุต” แลวแพรหลาย

เขามาในประเทศไทยทางจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนดวย โดยเหตุนี้ระบำ

เชียงแสนจึงมีลีลาและสำเนียงพื้นเมืองเปนไทยชาวเหนือและสำเนียงพื้นเมืองของ

ชาวไทยทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

นาฏยศัพทที่ใชประกอบทารำ

ออนตัว เปนกิริยาการใชศีรษะและไหล คือ การเอียงศีรษะ แลวกดไหล

กระทายไหล คือ กิริยาที่ดึงไหลขางใดขางหนึ่งมาขางหนาเล็กนอย พรอมกับเบี่ยงไหลอีกขางหนึ่งไป

ขางหลัง

โยนตัว เปนลักษณะการกาวเทาไปขางใดขางหนึ่ง พรอมกับถายน้ำหนักตัวไปตามเทาที่กาว และเอียงศีรษะ

ตรงกันขามกับเทาที่กาว เมื่อโยนตัวไปแลวจะคืนตัวกลับ

AW_na1.indd 40 12/27/11 10:24:50 AM

41นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๕. ระบำสุโขทัย เปนระบำที่ไดสรางขึ้นตามความรูสึกจากถอยคำไทยในศิลา

จารึก ประกอบดวยลีลาทาเยื้องยางอยางนุมนวล ออนชอยของรูปภาพปูนปนในสมัย

สุโขทัย ไดแก พระพุทธรูปปางสำริดและรูปภาพปูนปนปางลีลา รูปพระพุทธองคเสด็จ

ลงจากดาวดึงสและทาทีของพระพรหมและพระอินทรที่ตามเสด็จ การแสดงระบำสุโขทัย

จะรำตามจังหวะดนตรีไมมีเนื้อรอง

๑. ศึกษาเพิ่มเติมภายในแหลงเรียนรูภายในโรงเรียนและนอกโรงเรียนเกี่ยวกับประวัติบุคคลสำคัญใน

วงการนาฏศิลปไทยที่นักเรียนสนใจ ๑ คน ตามหัวขอดังตอไปนี้

๑) ชื่อ

๒) ประวัติสวนตัว

๓) ผลงานทางนาฏศิลปที่เปนที่รูจัก

๔) เกียรติคุณที่ไดรับ

จัดทำเปนรายงานแลวนำเสนอผลงานหนาชั้นเรียนเปนรายบุคคล

๒. ทำโครงงานเกี่ยวกับประวัติบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลปไทย

(สมรรถนะสำคัญ ขอที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕)

นาฏยศัพทที่ใชประกอบทารำ

๑. จีบหังสัสยะหัสต โดยการนำนิ้วหัวแมมือจรดขอสุดทายของนิ้วชี้ หักขอนิ้วชี้ลงมา นิ้วที่เหลือ

กรีดดึงออกไป

๒. ทาปางลีลา เปนทาออก โดยมือซายจีบแบบหังสัสยะหัสต มือขวาแบสงไปหลังหงายทองแขนขึ้น

เอียงศีรษะดานซาย กาวเทาขวามาขางหนา เทาซายเปดสนเทา

๓. ทาดอกบัว คิดจากการเคารพบูชากราบไหว มือทำเปนรูปดอกบัวอยูระหวางอกเปนดอกบัวตูม ชูมือ

ขึ้นแลวคอยๆ บานปลายนิ้วออกเปนบัวบาน

๔. ทาพระนารายณ แทนองคพระนารายณ พระอิศวร ทาจีบแบบหังสัสยะหัสตตั้งวงกลางขางลำตัว

กระดกเทาซาย

๕. ทายูงฟอนหาง คิดจากทานาฏศิลป แบมือ แขนทั้ง ๒ ตึงสงหลัง หงายทองแขนขึ้น

๖. ทาบัวชูฝก คิดจากการขอพร อีกมือหนึ่งไวขางสะโพก มือจีบคว่ำแลวสอดมือขึ้นเปนทาสอดสูงเหนือ

ศีรษะ

๗. ทาชะนีรายไม คิดจากมนุษยโลกตองการดำรงชีวิต หมุนเวียนเปลี่ยนไป โดยหมุนเปนวงกลมแทน

การเวียน วาย ตาย เกิด มือขางหนึ่งตั้งวงสูง มืออีกขางหนึ่งหงายทองแขน ลำแขนตึง แบมือและชี้ปลายนิ้วลง

มองมือสูง

AW_na1.indd 41 12/27/11 10:24:52 AM

Page 24: บริษัท สำนักพิมพ ประสานมิตร (ปสม.) จำกัดacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002170_example.pdf · 2 นาฏศิลป

42 นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

๑. ตอบคำถามพัฒนาการคิด

๑) นักเรียนคิดวาประวัติบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลปไทยมีประโยชนตอการเรียนวิชานาฏศิลปอยางไร

จงอธิบาย

๒) หากไมมีการบันทึกประวัติบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลปไทยไวเปนหลักฐานใหนักเรียนไดศึกษา

แลวจะเกิดผลเสียอยางไร จงอธิบาย

๓) จากการที่นักเรียนไดศึกษาเกี่ยวกับประวัติบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลปไทยนักเรียนชื่นชมและ

ชื่นชอบผลงานของศิลปนทานใด เพราะเหตุใด จงอธิบาย

๒. เขียนสรุปความสำคัญของบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลปไทยที่ไดสรางสรรคผลงานทางนาฏศิลป

สืบทอดตอมายังเยาวชนรุนหลังตามความเขาใจของนักเรียนลงในใบงาน พรอมตกแตงใหสวยงาม

(สมรรถนะสำคัญ ขอที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕)

AW_na1.indd 42 12/27/11 10:24:53 AM