68

คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ
Page 2: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

คํานํา เอกสารสรุปผลการประเมินศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๗ จัดทําข้ึนเพ่ือสรุปการดําเนินงานตามท่ีไดรับมอบหมายจากสํานักสงเสริมกิจการการศึกษา สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีกลุมเปาหมาย คือ โรงเรียนชุมชนประชาธิปตย วิทยาคาร อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี และโรงเรียนวัดเขียนเขต อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี

โดยไดดําเนินการติดตามประเมินสถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูฯ ในระหวางวันท่ี ๑๔ – ๑๖ กันยายน ๒๕๕๗ เปนเวลา ๓ วัน ณ โรงเรียนชุมชนประชาธิปตยวิทยาคาร (ในวันท่ี ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗) และโรงเรียนวัดเขียนเขต (ในวันท่ี ๑๖ กันยายน ๒๕๕๗)

บัดนี้ โครงการดังกลาวไดดําเนินการเสร็จเรียบรอยแลว สํานักงานศึกษาธิการภาค ๔ จึงขอสงเอกสารสรุปผลการประเมินฯ ดังกลาว มายังสํานักสงเสริมกิจการการศึกษา สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

สํานักงานศึกษาธิการภาค ๔

Page 3: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

สารบัญ

เรื่อง หนา

คํานํา

สวนท่ี ๑ บทนํา ความเปนมาและความสําคัญ ๑ วัตถุประสงค ๓ กลุมเปาหมายในการประเมินผล ๓ นิยามศัพท ๓ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ๓

สวนท่ี ๒ เอกสารท่ีเกี่ยวของ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ๖ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กับการจัดการเรียนรู ๗ ยุทธศาสตรขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษา ๘ การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา ๑๑ คุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๘ เกณฑการประเมินศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา ๒๑

สวนท่ี ๓ ผลการประเมิน โรงเรียนชุมชนประชาธิปตยวิทยาคาร ๒๖ โรงเรียนวัดเขียนเขต ๔๕เอกสารอางอิง

ภาคผนวก

คําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สป ๒๖๖/๒๕๕๖ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการ ศูนยการเรียนรู ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา คณะกรรมการ ศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รายชื่อสถานศึกษาพอเพียงท่ีผานการคัดกรองขอมูลในเบื้องตนเพ่ือประเมินเปน ศูนยการเรียนรู ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา ประจําป ๒๕๕๗ เกณฑการประเมิน กําหนดการติดตามประเมินสถานศึกษา รายชื่อคณะกรรมการประเมิน

Page 4: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพท่ี หนา

๑ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕

๒ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ๖

๓ เปาหมายของการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา ๑๒

๔ เปาหมายนักเรียนอยูอยางพอเพียง สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ ๑๒

๕ การนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในโรงเรียน ๑๓

Page 5: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

สวนที่ ๑

บทนํา

๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญ

“...ในการพัฒนาประเทศนั้น จําเปนตองทําตามลําดับข้ันตอน เริ่มดวยการสรางพ้ืนฐาน

คือความมีกินมีใชของประชาชนกอนดวยวิธีการท่ีประหยัดระมัดระวัง แตถูกตองตามหลักวิชา เม่ือพ้ืนฐาน

เกิดข้ึนม่ันคงพอควรแลว จึงคอยสรางเสริมความเจริญใหคอยเปนคอยไปตามลําดับดวยความรอบคอบ

ระมัดระวัง และประหยัดนั้น ก็เพ่ือปองกันความผิดพลาดลมเหลว และเพ่ือใหบรรลุผลสําเร็จไดแนนอน

บริบูรณ...” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ไดพัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เพ่ือท่ีจะใหพสกนิกรชาวไทยไดเขาถึงทางสายกลางของชีวิตและเพ่ือคงไวซ่ึงทฤษฏีของการพัฒนาท่ียั่งยืน

ทฤษฎีนี้เปนพ้ืนฐานของการดํารงชีวิตซ่ึงอยูระหวาง สังคมระดับทองถ่ินและตลอดระดับสากล จุดเดนของ

แนวปรัชญานี้คือ แนวทางท่ีสมดุล และกาวสูความเปนสากลได โดยปราศจากการตอตานกระแส

โลกาภิวั ตน และการอยูรวมกันของทุกคนในสังคม โดยใชหลัก ความพอเพียง ความพอประมาณ

ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนท่ีจะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวท่ีดีพอสมควรตอการกระทบใด ๆ

อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในภายนอก ท้ังนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความ

ระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุกข้ันตอน

และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี

และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูท่ีเหมาะสม

ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและพรอมตอการ

รองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ท้ังดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจาก

โลกภายนอกไดเปนอยางดี

ผลจากการใชแนวทางการพัฒนาประเทศไปสูความทันสมัยไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

แกสังคมไทยอยางมากในทุกดาน ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดลอม

อีกท้ังกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซอนจนยากท่ีจะอธิบายในเชิงสาเหตุและผลลัพธ

ได เพราะการเปลี่ยนแปลงท้ังหมดตางเปนปจจัยเชื่อมโยงซ่ึงกันและกัน สําหรับผลของการพัฒนา

ในดานบวกนั้น ไดแกการเพ่ิมข้ึนของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และ

สาธารณูปโภคตาง ๆ ระบบสื่อสารท่ีทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอยางท่ัวถึง

มากข้ึน แตผลดานบวกเหลานี้สวนใหญกระจายไปถึงคนในชนบท หรือผูดอยโอกาสในสังคมนอยแตวา

กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมไดเกิดผลลบติดตามมาดวย

Page 6: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

กระทรวงศึกษาธิการมีความตระหนักในภารกิจท่ีสําคัญดังกลาวและใหความสําคัญกับ

การพัฒนาคน ซ่ึงเปนศูนยกลางของการพัฒนาท่ีเปดโอกาสใหประชาชนทุกภาคสวนมีสวนรวมใน

การวางแผนพัฒนาประเทศ พรอมท้ังยึดพระราชดํารัส “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนแนวทางตอเนื่องตั้งแต

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี ๘ ถึง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี ๑๐

จนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๙) จึงจัดทํายุทธศาสตร

เพ่ือดําเนินโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือใหผูบริหารองคกร ครู ผูบริหาร

สถานศึกษา บุคลากรดานการศึกษา และนักเรียน นักศึกษา มีความรู ความเขาใจในหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนําหลักคิด หลักปฏิบัติมาบูรณาการในการบริหารจัดการการเรียน

การสอน ตลอดจนการประยุกตใชในชีวิตประจําวัน โดยมีหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ รวมกัน

รับผิดชอบเพ่ือใหมีความตอเนื่องและยั่งยืน นําสูวิถีชีวิตของประชาชน สามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ไดตามแนวพระราชดํารัส และนโยบายรัฐบาล รวมท้ังเปนจุดเริ่มตนของการผลักดันใหประเทศชาติ

โดยรวมพัฒนาตอไปอยางเต็มศักยภาพ โดยใชรูปแบบการจัดการศึกษาบนพ้ืนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง

กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายมุงพัฒนาสถานศึกษาทุกแหง ใหสามารถจัด

กระบวนการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพ่ือใหการพัฒนาเปนไป

อยางมีคุณภาพดวยความยั่งยืน จึงตองมีการพัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” ใหเปน “ศูนยการเรียนรูตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา” เพ่ือเปนเครื่องมือสําคัญในการขยายผลการขับเคลื่อน

“สถานศึกษาพอเพียง” โดยกําหนดแนวทางในการพัฒนาและประเมินศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา รายละเอียดตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง แนวทางการ

พัฒนาและประเมินสถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดาน

การศึกษา เม่ือวันท่ี ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ และเพ่ือใหการดําเนินงานพัฒนา “สถานศึกษา

พอเพียง” เปนไปตามแนวทางการพัฒนาท่ีกําหนดทุกประการ จึงแตงตั้งคณะกรรมการประเมินศูนยการ

เรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา จํานวน ๓ คณะ ประกอบดวยคณะกรรมการ

ฝายท่ีปรึกษา คณะกรรมการฝายผูทรงคุณวุฒิและคณะกรรมการฝายผูแทนกระทรวงศึกษาธิการ

สํานักงานศึกษาธิการภาค ๔ เปนหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

มีภารกิจหนาท่ีในการขับเคลื่อน เชื่อมโยงและบูรณาการนโยบายและยุทธศาสตรของ

กระทรวงศึกษาธิการสูการปฏิบัติ รวมท้ังติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบาย

และยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการ และสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหนวยงานในสังกัด

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือใหการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรดังกลาว บรรลุ

วัตถุประสงคทุกประการ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักสงเสริมกิจการการศึกษาได

กําหนดใหมี การประเมินสถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ดานการศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ และไดมอบหมายใหสํานักงานศึกษาธิการภาค ๔

Page 7: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

ดําเนินการติดตามประเมินสถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ดานการศึกษา ในพ้ืนท่ีตรวจราชการท่ี ๑ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดสระบุรี และจัดทํารายงานผลใหศูนยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงศึกษาธิการทราบดวย

๑.๒ วัตถุประสงค

เพ่ือติดตาม ประเมินผล สถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา สถานศึกษาในเขตตรวจราชการท่ี ๑

๑.๓ กลุมเปาหมายในการประเมินผล

สถานศึกษาท่ีขอรับการประเมิน สถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา ในเขตตรวจราชการท่ี ๑ จํานวน ๒ แหง

๑.๔ นิยามศัพท สถานศึกษาพอเพียง หมายถึง สถานศึกษาแบบอยางท่ีมีการจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

๑.๕ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

๑. ไดสถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา ในดาน การจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง ” ในพ้ืนท่ีเขตตรวจราชการท่ี ๑ ไดรับการประเมินผลการดําเนินงานขับเคลื่อนฯ และเผยแพรภาพความสําเร็จสูสาธารณชนในวงกวาง ๒. ผูบริหารทางการศึกษาและหนวยงานทางการศึกษาท่ีเก่ียวของ มีขอมูลสถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา ในพ้ืนท่ีเขตตรวจราชการท่ี ๑ และสามารถนําไปใชเพ่ือการวางแผนบริหารจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป

Page 8: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

สวนที่ ๒

เอกสารการศึกษาที่เกี่ยวของ

รายงานการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษาในเขตตรวจราชการท่ี ๑ ไดมีแนวทางการประเมินและศึกษาเอกสารการศึกษาท่ีเก่ียวของ ดังนี้ ๑. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ๓. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กับการจัดการเรียนรู ๔. ยุทธศาสตรขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษา ๕. การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกณฑการประเมินศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา

๑. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชน ทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัวระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวั ฒน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนท่ีจะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวท่ีดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ท้ังภายนอกและภายในท้ังนี้จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆมาใชในการวางแผน และการดําเนินการทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรร ม ความซ่ือสัตย สุจริต และใหมีความรอบรูท่ีเหมาะสมดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียรมีสติปญญาและความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางท้ังดานวัตถุสังคมสิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกไดเปนอยางดี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู ๕ สวน ประกอบดวย กรอบแนวคิด คุณลักษณะ คํานิยาม เง่ือนไข และแนวทางปฏิบัติ โดยนําเสนอรายละเอียดแตละสวน ดังนี้ ๑.๑ กรอบแนวคิด เปนปรัชญาท่ีชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางท่ี ควรจะเปน โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัย และวิกฤต เพ่ือความม่ันคง และ ความยั่งยืนของการพัฒนา ๑.๒ คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนข้ันตอน

Page 9: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

แผนภาพท่ี ๑ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

๑.๓ คํานิยาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนท้ังหลักคิด และแนวทางปฏิบัติตน โดยยึด ๓ หลักการความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล และการมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัว ความพอเพียงจะตองประกอบดวย ๓ คุณลักษณะ พรอม ๆ กัน ดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืนเชนการผลิตและการบริโภคท่ีอยูในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะตองเปนไปอยางมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปจจัยท่ีเก่ียวของตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและ การเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณ ตาง ๆ ท่ีคาดวาจะเกิดข้ึน ในอนาคตท้ังใกลและไกล

๑.๔ เง่ือนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัย ท้ังความรู และคุณธรรมเปนพ้ืนฐาน กลาวคือ - เง่ือนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเก่ียวกับวิชาการตาง ๆ ท่ีเก่ียวของอยางรอบดาน ความรอบคอบท่ีจะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในข้ันปฏิบัติ - เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม

มีความซ่ือสัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

Page 10: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑.๕ แนวทางปฏิบัติ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช คือ การพัฒนาท่ีสมดุลและยั่งยืน พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน. ๒๕๕๕ : http://pirun.kps.ku.ac.th)

๒. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)

การจัดทําแผนพัฒนาประเทศของไทยนับตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๑ จนถึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๐ มีการพัฒนาการมาอยางตอเนื่อง และในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙) ไดนํา “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญานําทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ ควบคูไปกับกระบวนทัศนการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมท่ีมี “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” และการพัฒนาท่ีสมดุลท้ังคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม โดยมีการเตรียม “ระบบภูมิคุมกัน” ดวยการเสริมสรางความเขมแข็งของทุนท่ีมีอยูในประเทศและการบริหารจัดการความเสี่ยงใหพรอมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายในประเทศเพ่ือมุงสูการพัฒนาท่ียั่งยืน และความอยูเย็นเปนสุขของคนไทยทุกคน

การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕- ๒๕๕๙) ประเทศไทยจะตองเผชิญกับกระแสการเปลี่ยนแปลงท่ีสําคัญท้ังภายนอกและภายในประเทศ ท่ีปรับเปลี่ยนเร็วและซับซอนมากยิ่งข้ึน เปนท้ังโอกาสและความเสี่ยงตอการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะขอผูกพันท่ีจะเปนประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงจําเปนตองนําภูมิคุมกันท่ีมีอยูพรอมท้ังเรงสรางภูมิคุมกันในประเทศใหเขมแข็งข้ึนมาใชในการเตรียมความพรอมใหแกคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม สามารถพัฒนาประเทศใหกาวหนาตอไป เพ่ือประโยชนสุขท่ียั่งยืนของสังคมไทยตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ ภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลงท่ีสําคัญท้ังภายนอกและ

แผนภาพท่ี ๒ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Page 11: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

ภายในประเทศท่ีจะสงผลกระทบตอทิศทางการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต จําเปนตองกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาท่ีเหมาะสม ขณะท่ีการทบทวนผลการพัฒนาประทศในระยะท่ีผานมาสะทอนปญหาเชิงโครงสรางของระบบเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และการบริหารจัดการประเทศท่ีไมเอ้ือตอการพัฒนาท่ียั่งยืนในระยะยาว ท้ังมีความเสี่ยงในหลายมิติท่ีอาจทําใหปญหาตาง ๆ รุนแรงมากข้ึน การพัฒนาประเทศในอนาคตจึงจําเปนตองเตรียมพรอมและสรางภูมิคุมกันของประเทศใหเขมแข็งภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอนาคตไดอยางม่ันคง การกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๑ จึงเปนการสรางภูมิคุมกันในมิติตาง ๆ เพ่ือใหการพัฒนาประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน โดยนําทุนของประเทศท่ีมีศักยภาพมาใหประโยชนอยางบูรณาการและเก้ือกูลกัน พรอมท้ังเสริมสรางใหแข็งแกรงเพ่ือเปนรากฐานการพัฒนาประเทศท่ีสําคัญไดแก การเสริมสรางทุนสังคม (ทุนมนุษย ทุนสังคม ทุนทางวัฒนธรรม) ใหความสําคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ มุงสรางภูมิคุมกันตั้งแตระดับปจเจก ครอบครัว และชุมชน สามารถจัดการความเสี่ยง และปรับตัวเขากับการเปลี่ยนแปลง มีโอกาสเขาถึงทรัพยากรและไดรับประโยชนจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอยางเปนธรรม สําหรับการเสริมสรางทุนเศรษฐกิจ (ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน) มุงพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศใหเขมแข็ง โดยใชภูมิปญญา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และความคิดสรางสรรค ใหความสําคัญกับการปรับโครงสรางการคาและการลงทุนใหสอดคลองกับความตองการของตลาดภายในประเทศและตางประเทศ การผลิตท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และมีการเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคตาง ๆ บนพ้ืนฐานการพ่ึงพาซ่ึงกันและกันในสวนการเสริมสรางทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหความสําคัญกับการสราง ความม่ันคงดานอาหาร การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมท่ีเปนฐานการผลิต ภาคเกษตร มุงสูการเปนเศรษฐกิจและสังคมคารบอนต่ําและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การเตรียม ความพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมท้ังการสรางภูมิคุมกัน ดานการคาจากเง่ือนไขดานสิ่งแวดลอม ควบคูไปกับการเพ่ิมบทบาทไทยในเวทีประชาคมโลก ขณะเดียวกัน จําเปนตองมีการบริหารจัดการประเทศเพ่ือสรางความเปนธรรมในสังคม ใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบราชการและขาราชการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพ่ิมประสิทธิภาพการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พัฒนาระบบและกลไกการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบอยางมีสวนรวม สงเสริมใหประชาชนทุกระดับมีโอกาสเขาถึงกระบวนการยุติธรรมอยางเทาเทียมและสรางความเปนธรรมในการเขาถึงทรัพยากร ควบคูไปกับการปลูกจิตสํานึก คานิยมและประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลแกประชาชนทุกกลุม ๓. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กับการจัดการเรียนรู

มาตรา ๒๓ ไดเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนของครู ไววาตองเนนความสําคัญ ท้ังความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความเหมาะสม ของแตละระดับการศึกษาในเรื่องท่ีเก่ียวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัวและชุมชน ความรูเก่ียวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทยและการประยุกตใชภูมิปญญาไทย ความรูและทักษะในการประกอบอาชีพและดํารงชีวิตอยางมีความสุข

Page 12: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

มาตรา ๒๔ กลาวถึง การจัดกระบวนการเรียนรูวา จัดเนื้อหาและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล ฝกทักษะกระบวนความคิด การจัดการเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใช เพ่ือปองกันและการแกไขปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน และเกิด การใฝรูอยางตอเนื่อง จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานความรูตาง ๆ อยางไดสัดสวนและสมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝงคุณธรรม คานิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค สรางบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเรียนการสอน จัดการเรียนรูใหเกิดข้ึนไดทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความรวมมือกับบิดามารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝายเพ่ือรวมพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ สื่อการเรียนและแหลงเรียนรูตาง ๆ การประเมินผลการเรียนรูควบคูไปกับการทํากิจกรรมและทดสอบ มาตรา ๒๗ ใหสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีหนาท่ีจัดทําสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค กําหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือความเปนไทยและเก่ียวของกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคมภูมิปญญาทองถ่ิน ครูผูสอนจึงตองมีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง รูจักคิดคนวิธีการสอนใหม ๆ อยูเสมอโดยใชวิธีการจัดการเรียนรูใหผูเรียนไดรูจักคิดหาหนทางสรางองคความรูดวยตนเอง โดยมีครูเปนผูชี้แนวทางในการหาความรูจากแหลงตาง ๆ มาใชใหผูเรียนไดเรียนรูจากสิ่งใหม ๆ หรือสอนใหผูเรียนรูวิธีการเรียนรูดวยตนเอง ครูตองไมบอกหรืออธิบายใหมาก แตจะใหผูเรียนศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเองใหเกิดความคิดอยางหลากหลายและคิดอยางสรางสรรค ครูจึงตองคิดและวางแผนการจัดการเรียนการสอนโดยใหความสําคัญกับผูเรียนท้ังเปนรายบุคคลและเปนกลุมเพ่ือใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเองและเปนกลุม และเชื่อวาผูเรียนเรียนรูและปฏิบัติจริงไดดวยตนเอง เพ่ือใหไดความรูและประสบการณท่ีเปนองครวม และใหสอดคลองกับความถนัด ความสนใจและความเหมาะสมกับผูเรียน สามารถใหผูเรียนเรียนรูแบบบูรณาการท้ังในกลุมวิชาและตางกลุมวิชาตาง ๆ โดยใหเรียนรูจากสภาพท่ีเปนจริงและสอดคลองกับการดําเนินชีวิต (ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ๒๕๕๕ : www.moe.go.th)

๔. ยุทธศาสตรขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดนโยบายการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษาในทุกระดับ เพ่ือใหผูบริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน นักศึกษา มีความรูความเขาใจท่ีถูกตอง สามารถนําแนวคิดและหลักปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการบริหารจัดการการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน และการประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ตลอดจนใหสถานศึกษาเปนแหลงเรียนรูในชุมชนเก่ียวกับการดําเนินชีวิตอยางพอเพียงและนําไปสูการพัฒนาท่ียั่งยืน

วัตถุประสงค

เพ่ือใหสถานศึกษานําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในการจัด การเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน และการบริหารจัดการสถานศึกษา เพ่ือใหเกิดผลใน ทางปฏิบัติในทุกระดับไดอยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนใน การดําเนินชีวิตบนพ้ืนฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางตอเนื่อง

วิสัยทัศน

Page 13: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

กระทรวงศึกษาธิการมุงพัฒนาสถานศึกษาในการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สงผลสูการดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของผูเรียน ผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาอยางตอเนื่อง

นโยบายหลัก ๔ ประการ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายใหหนวยงานในสังกัดและในกํากับรวมประสานความรวมมือระหวางกันในการดําเนินการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษาและกําหนดแผนการดําเนินงานหลักไว ๔ ประการ ๑. การสรางความรูความเขาใจ โดยการพัฒนามาตรฐานการเรียนรูและสื่อการเรียนรู ตลอดจนกิจกรรมสงเสริมรูปแบบตาง ๆ การพัฒนาบุคลากรเครือขายการประชาสัมพันธสรางความเขาใจ ๒. การนําสูการปฏิบัติ โดยนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการเรียนการสอนและการบริหารจัดการในสถานศึกษา ๓. การประสานความรวมมือและเชื่อมโยงเครือขาย โดยการจัดทําฐานขอมูลกลางเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา ๔. การติดตามประเมินผล โดยการพัฒนาตัวชี้วัดความพอเพียงของสถานศึกษา การติดตามผลงานในพ้ืนท่ี การรายงานความกาวหนาการดําเนินงาน การประเมินผล นักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ีรับบริการ ตลอดจนเชื่อมโยงผลงานของครู/ผูบริหารท่ีประสบความสําเร็จกับการประเมินวิทยฐานะ

ยุทธศาสตรและแนวทางการขับเคล่ือน

ยุทธศาสตรท่ี ๑ การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการขับเคลื่อน ๑.๑ ศึกษา วิเคราะห วิจัยแนวทางการนําแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษา ๑.๒ จัดทําแนวทางการจัดการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการเรียน การสอนทุกระดับการศึกษา โดยสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงไวในสาระการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เพ่ือใหเกิดการพัฒนาตามลําดับ โดยเริ่มใหเกิดการพัฒนาการเรียนรูระดับบุคคล และครอบครัว รูจักนําไปประยุกตใช นําไปขยายผลในครอบครัวและชุมชนเพ่ือใหเกิดประโยชนตอสังคมและประเทศ ๑.๓ จัดทําแนวทางการจัดระบบบริหารจัดการของสถานศึกษาตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ยุทธศาสตรท่ี ๒ การพัฒนาบุคลากร แนวทางการขับเคลื่อน ๒.๑ อบรมสัมมนาผูบริหารการศึกษาใหเกิดความรู ความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Page 14: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑๐

๒.๒ ฝกอบรมและพัฒนาผูบริหารสถานศึกษา ขาราชการครูและบุคลากรทาง การศึกษาในสถานศึกษากลุมเปาหมาย ใหสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการ สูการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ

ยุทธศาสตรท่ี ๓ การขยายผลและพัฒนาเครือขาย แนวทางการขับเคลื่อน ๓.๑ ใหสถานศึกษาท่ีเปนแบบอยางเขาไปชวยเหลือพัฒนาสถานศึกษาท่ีเขารวมโครงการ ๑ :๑๐ แหง ในการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการจัดการเรียน การสอนและการบริหารจัดการ ๓.๒ ใหมีระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรูและสงเสริม สนับสนุน ประสานการดําเนินงานของเครือขาย ๓.๓ จัดทําระบบขอมูลสารสนเทศและเชื่อมโยงเครือขายกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ ยุทธศาสตรท่ี ๔ การเผยแพรประชาสัมพันธ แนวทางการขับเคลื่อน ๔.๑ เผยแพรการประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการศึกษาโดยจัดทําสื่อรูปแบบตาง ๆ ๔.๒ เผยแพรขอมูลขาวสาร ความกาวหนาของการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตรท่ี ๕ การพัฒนากระบวนการติดตามและประเมินผล แนวทางการขับเคลื่อน ในการติดตามและประเมินผลเพ่ือทราบการดําเนินงานดานการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการและการพัฒนาเครือขาย โดยมีแนวทางในการดําเนินงานดังนี้ ๕.๑ จัดใหมีคณะกรรมการติดตามประเมินผลระดับกระทรวง ระดับภูมิภาคและระดับสถานศึกษา โดยใหคณะกรรมการมีหนาท่ีติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงานในภาพรวมระดับภูมิภาคและสถานศึกษา ๕.๒ กําหนดรูปแบบ แนวทาง เครื่องมือและคูมือในการติดตามและประเมินผล ๕.๓ ดําเนินการติดตามประเมินผลและรายงานผล ตัวชี้วัดความสําเร็จ ๕ ดาน การติดตามประเมินผลไดกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จไว ๕ ดาน คือ ๑. ดานการบริหารจัดการ ๒. ดานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ๓. ดานการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ๔. ดานการพัฒนาบุคลากร ๕. ดานผลลัพธ/ภาพความสําเร็จ

๕. การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา

ความเปนมาของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา

Page 15: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑๑

เยาวชนคืออนาคตของชาติ การพัฒนาคนคือหัวใจของการพัฒนาท่ียั่งยืน และตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ในหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. ๒๕๔๔ และ พ.ศ. ๒๕๕๑ ในสวนของสาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร โดยมาตรฐานเรียนรู ส ๓.๑ เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรท่ีมีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ ดังนั้นจึงจําเปนตองปลูกฝงคานิยม และหลอหลอมพฤติกรรมจนเปนนิสัย ตั้งแตระดับอนุบาล ข้ันพ้ืนฐาน อาชีวะ และระดับอุดมศึกษา เม่ือเกิดปญหาการเรียนการสอนท่ีไมสามารถบรรลุเปาหมายตามหลักสูตรได จําเปนตองมียุทธศาสตร กลไก ข้ันตอน วิธีการขับเคลื่อนอยางเปนระบบ ท้ังการบริหารจัดการ การเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน และพัฒนาบุคลากร (ปรียานุช พิบูลสราวุธ. : ๒๕๕๒)

เนื่องจากเศรษฐกิจพอเพียงเปนเรื่องนามธรรม การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษาในระยะแรก จึงเริ่มจากการคนหาตัวอยางกิจกรรมพัฒนาผูเรียนท่ีเปนรูปธรรมเพ่ือสรางความเขาใจท่ีถูกตองและชัดเจน กิจกรรมพัฒนาผูเรียนท่ีมีคุณลักษณะและการจัดการท่ีสอดคลองกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ ๑. พอประมาณกับศักยภาพของนักเรียน พอประมาณกับภูมิสังคมของโรงเรียนและชุมชนท่ีตั้ง ฝกใหเด็กคิดเปนทําเปนอยางมีเหตุผลและมีภูมิคุมกันในดานตาง ๆ โดยการดําเนินกิจกรรมตองนําไปสูความยั่งยืนของผลการดําเนินงาน ๒. สงเสริมใหนักเรียนใชความรู อยางรอบคอบระมัดระวัง ฝกการทํางานรวมกับผูอ่ืน ดวยความรับผิดชอบ ซ่ือสัตยสุจริต ไมเอารัดเอาเปรียบผูอ่ืน อดทน มีความเพียร มีวินัย มีสัมมาคารวะ รูจักทําประโยชนใหกับสังคม รวมดูแลรักษาสิ่งแวดลอมและสืบสานวัฒนธรรมไทย นอกจากนี้ ยังสงเสริมใหบูรณาการการเรียนรูผานกิจกรรมเหลานี้ เขาใจในการเรียนรูสาระตาง ๆ ทุกสาระเรียนรู

การจัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เปาหมายสําคัญของการจัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง คือ การปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนรูจักการใชชีวิตท่ีพอเพียง เห็นคุณคาของทรัพยากรตาง ๆ ฝกการอยูรวมกับผูอ่ืนอยางเอ้ือเฟอเผื่อแผและแบงปน มีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม และเห็นคุณคาของวัฒนธรรมคานิยมเอกลักษณ/ความเปนไทย

Page 16: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑๒

แผนภาพท่ี ๓ เปาหมายของการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา

การจัดการศึกษาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดําเนินการไดใน ๒ สวน การบริหารสถานศึกษาในดานตาง ๆ การจัดการเรียนรูของผูเรียน ซ่ึงประกอบดวย ๒.๑ การสอนแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงในหลักสูตรและสาระเรียนรูในหองเรียน ๒.๒ การประยุกตหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนนอกหองเรียน

แผนภาพท่ี ๔ เปาหมายนักเรียนอยูอยางพอเพียง สมดุลและพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ

การบรรลุเปาหมายดังกลาวขางตน ครูเปนบุคลากรท่ีสําคัญในการถายทอดความรู และปลูกฝงหลักคิดตาง ๆ ใหแกเด็ก โดยครูตองเขาใจอยางถูกตอง สามารถวิเคราะหความพอเพียงหรือไมพอเพียงของตนเองและครอบครัวไดและทําตัวเปนแบบอยางท่ีดีในการดําเนินชีวิตแบบพอเพียง การขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ก. กรอบแนวทางการดําเนินงานจัดทําสื่อตัวอยางหนวยการเรียนรูท่ีบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการเรียนการสอนทุกระดับการศึกษา ไดแก ทดลองใชสื่อตัวอยาง ปรับปรุงและพัฒนาสื่อตัวอยาง และสงเสริมและพัฒนาบุคลากร สงเสริมสนับสนุนประสานงานการดําเนินงาน

Page 17: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑๓

เครือขายขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงในและนอกสังกัด (ภาครัฐและเอกชน) จัดทําระบบขอมูลสารสนเทศ และเชื่อมโยงเครือขายท้ังในและนอกสังกัด (ภาครัฐและเอกชน)

ข. ขยายผลการดําเนินงาน (องคกรหลัก) ๑. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการเรียนการสอนในสถานศึกษา ๒. การนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการบริหารจัดการสถานศึกษา เชน พัฒนาบุคลากร และสงเสริมการเรียนการสอน เปนตน ค. การเผยแพรและประชาสัมพันธ ๑. ประสานความรวมมือและเชื่อมโยงเครือขายภายในและภายนอก ๒. เผยแพรหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยจัดทําสื่อ สิ่งพิมพในรูปแบบตาง ๆ รวมสื่อเทคโนโลยี จัดทําเวปไซต และการจัดนิทรรศการผลการดําเนินงาน เปนตน

ง. ติดตามและประเมินผล ติดตามและประเมินผล ประกอบดวย พัฒนาตัวชี้วัดความพอเพียง จัดทํารายงานความกาวหนา ติดตามผลงานในพ้ืนท่ี ติดตามบุคลากรทางการศึกษา และติดตามนักเรียน/นักศึกษา และประชาชน เปนตน

แผนภาพท่ี ๕ การนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในโรงเรียน จากแผนภาพท่ี ๕ การนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในโรงเรียน ดังนี้ ๑. การตั้งใจเรียน มีการดําเนินงานและวางแผนในการเรียนใหประสบความสําเร็จตามเปาหมายท่ีวางไว ๒. ชวยกันประหยัดและอนุรักษทรัพยากรในโรงเรียน เชน ๑) การใชน้ําประปาและไฟฟาในโรงเรียนอยางประหยัด รูคุณคา ไมใชอยางฟุมเฟอยโดยไมจําเปน ๒) ชวยกันดูแลรักษาอุปกรณเครื่องใช และใชของสวนรวมอยางทะนุถนอม และไมทําลาย เชน โตะ เกาอ้ี เครื่องเลนตาง ๆ เปนตน

การนําเศรษฐกิจพอเพียง

มาประยุกตใชในโรงเรียน

รูจักใชอุปกรณเครื่องใชอยาง

ประหยัดและไมทําลาย

ใชนํ้าประปาและไฟฟาใน

โรงเรียนอยางประหยัดและรูคา

ดําเนินงานและ

วางแผนในโรงเรียน

ดูแลรักษาหนังสือและสาธารณ

สมบัติของโรงเรียน ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอมภายในโรงเรียน

ใชจายในโรงเรียนอยางประหยัด

และซื้อของท่ีไมฟุมเฟอย

ปลูกพืชผักสวนครัวไวบริโภค

เองภายในโรงเรียน

ตั้งใจเรียน

Page 18: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑๔

๓) ดูแลรักษาสภาพแวดลอมภายในโรงเรียน เชน ท้ิงขยะลงในถังท่ีจัดไวให และไมทําใหเกิดขยะโดยไมจําเปน ชวยกันดูแลรักษาตนไมในโรงเรียน ไมขีดเขียนภาพหรือขอความใด ๆ บนโตะ เกาอ้ี ฝาผนัง อาคารเรียน ประตู หองน้ํา เปนตน ๓. การทําการเกษตรเพ่ือเปนอาหารกลางวันของโรงเรียน เชน ปลูกพืชผักสวนครัว พืชไร ไมผลไวบริโภค การเลี้ยงเปดและไก การเพาะเห็ด การขุดบอเลี้ยงปลา เปนตน ๔. การใชเงินอยางประหยัด ซ้ือของท่ีไมฟุมเฟอย ๕. การประดิษฐคิดคนเทคโนโลยีแบบชาวบานมาชวยอํานวยความสะดวกในดานตาง ๆ เชน ๑) การทําปุยหมักธรรมชาติไวใชปลูกพืชผักในโรงเรียน ๒) การทําเชื้อเพลิงชวยในการหุงตม เชน การเผาถาน เปนตน ๓) การใชสมุนไพรชวยกําจัดศัตรูพืช ๖. การรวมกลุมสหกรณในโรงเรียนเพ่ือใหนักเรียนรูจักการทํางานรวมกัน มีแนวทาง ท่ีจะเพ่ิมพูนรายไดโดยการนําสินคาของสมาชิกมาจําหนายในสหกรณ และซ้ือสินคาไดในราคายุติธรรม

เศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษา ๑. การบริหารสถานศึกษา จัดทําแนวทางการจัดระบบบริหารจัดการของสถานศึกษา ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในการบริหารจัดการในดานตาง ๆ ประกอบดวย ๑.๑ ดานการวางแผน ๑.๒ ดานวิชาการ ๑.๓ ดานงบประมาณ ๑.๔ ดานอาคารสถานท่ี ๑.๕ ดานความสัมพันธกับชุมชน เชน การจัดสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเรียนรู อยูอยางพอเพียง สรางวัฒนธรรมองคกร ใชทรัพยากรอยางพอเพียง ปลูกฝงใหเปนวิถีชีวิต และชุมชนสัมพันธ ๒. การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน จัดทําแนวทางการจัดการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการเรียนการสอน ทุกระดับการศึกษา โดยสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงไวในสาระการเรียนรู และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เพ่ือใหเกิดการพัฒนาตามลําดับโดยเริ่มใหเกิดการเรียนรูระดับบุคคลและครอบครัว รูจักนําไปประยุกตใช นําไปขยายผลในครอบครัวและชุมชนเพ่ือใหเกิดประโยชนตอสังคมและประเทศ ซ่ึงแนวทางในการจัดทําประกอบดวย ๒.๑ การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการเรียนการสอน ๒.๒ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒.๓ สื่อและแหลงเรียนรูเก่ียวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒.๔ ผูเรียนมีความรูและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒.๕ การวัดผลและการประเมินผล เชน การกําหนดมาตรฐานการเรียนรูชั้นป (รายวิชาพ้ืนฐาน) จัดจําหนาย/แผนการเรียนรู จัดกิจกรรมการเรียนรู จัดทําสื่อ/แหลงเรียนรู จัดทําเครื่องมือวัด/ประเมินผล และเกณฑการผานชวงชั้น มาตรฐานการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง

Page 19: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑๕

ครูสามารถสอดแทรก สาระเศรษฐกิจพอเพียงในหลักสูตรและสาระการเรียนรู ในหองเรียน และการประยุกตหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนนอกหองเรียน จึงจําเปนตองมีกระบวนการหลอหลอมใหผูเรียนมีความรูความเขาใจอยางถูกตอง มีความเชื่อม่ัน เห็นประโยชนและสามารถนําหลักการนี้ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มาตรฐานการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงของแตละชั้นป ( ชวงชั้นท่ี ๑-ชวงชั้นท่ี ๔ ) ชวงชั้นท่ี ๑ ( ป.๑-ป.๓) ประถมศึกษาปท่ี ๑ รูจักชวยเหลือตนเอง และใชทรัพยากรท่ีมีคาใหเกิดประโยชนสูงสุดดวยความประหยัด มีคุณธรรม รูจักการอดออม มีน้ําใจ แบงปนสิ่งของท่ีมีใหกับผูอ่ืน ประถมศึกษาปท่ี ๒ มีความรับผิดชอบตอหนาท่ีของตนเองและผูอ่ืน รูจักใชทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา รูจักแบงปนและชวยเหลือผูอ่ืน มีวินัยในการใชจายรูจักการทําสมุดบันทึกรายรับ-รายจาย เพ่ือเปนผลดีตอการใชจายท่ีเหมาะสมกับรายไดและการอดออม ประถมศึกษาปท่ี ๓ รูจักชวยเหลือครอบครัวและชุมชนรูจักการเลือกใชทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา วิเคราะหรายรับ – รายจาย ของตนเองรูจักเสียสละแบงปนทรัพยากรท่ีมีเพ่ือประโยชนตอสวนรวมและปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอยางมีความสุข ชวงชั้นท่ี ๒ ( ป.๔-ป.๖) ประถมศึกษาปท่ี ๔ เขาใจหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงและนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน และรูจักวาง แผนการใชจาย สามารถเขาใจสภาพรายรับ – รายจาย ของตนเองและวางแผนการใชจายตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงและมีเจตคติและคานิยมท่ีดีเก่ียวกับความเปนมนุษย เชน รูจักพ่ึงตนเอง มีความซ่ือสัตยสุจริต รูจักประหยัดและอดออม เพ่ือการดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพและรูจักเห็นคุณคาของภูมิปญญาทองถ่ิน ประถมศึกษาปท่ี ๕ รู เขาใจ ปฏิบัติตนและสามารถพัฒนาตนเองและครอบครัวใหดําเนินชีวิตตามหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเนนในเรื่องเก่ียวกับการเขาใจสภาพรายรับ-รายจายของครอบครัว รูจักวางแผนการใชจาย วิเคราะหการใชทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในชุมชน ใกลตัวใหลุมลึกข้ึนกวา ชั้นประถมศึกษาท่ี ๔ รวมท้ังสภาพการใชภูมิปญญาทองถ่ินในชุมชนไดมีสวนรวมในการอนุรักษ ทรัพยากร สิ่งแวดลอม และภูมิปญญาทองถ่ิน มีเจตคติและคานิยมในการดํารงตน ตามวิถีประชาธิปไตยและความเปนมนุษย เชน มีนิสัยในการเนนผูผลิตท่ีดี มีความพอดีในการบริโภค เห็นคุณคาของ การทํางาน เพ่ือการดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ ประถมศึกษาปท่ี ๖ ประยุกตใชแนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทํากิจกรรมตาง ๆ ในครอบครัวโรงเรียน และชุมชนเขาใจระบบและวิธีการดําเนินงานขององคกรในชุมชน ตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงรูจักใชทรัพยากรและสิ่งแวดลอมตามหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงวิเคราะห

Page 20: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑๖

วางแผนและจัดทําบันทึก รายรับ - รายจายของตนเองและครอบครัวอยางมีประสิทธิภาพรวบรวมองคความรูของภูมิปญญาทองถ่ินมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ชวงชั้นท่ี ๓ ( ม.๑-ม.๓) มัธยมศึกษาปท่ี ๑ รู และเขาใจประวัติความเปนมา ความหมาย หลักแนวคิด และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําหลักการและแนวคิดพอเพียงไปใชในการจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูของตนเอง ครอบครัว และชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถนําไปประยุกตใชกับชีวิตประจําวันได โดยเนนทักษะการแสวงหาความรู โดยการสํารวจ รวบรวม และวิเคราะหขอมูลจากสื่อตางๆ โดยเฉพาะสื่อเทคโนโลยีและสื่อสารสนเทศ ทักษะกระบวนการกลุม ฝกฝนความรับผิดชอบตอหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมาย มัธยมศึกษาปท่ี ๒ สํารวจและวิเคราะหปญหาของชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมบนพ้ืนฐานของหลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รู เขาใจและวิเคราะห สภาพปญหาและ แนวทางแกไขเก่ียวกับการพัฒนาชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม โดยสามารถนําหลักการและแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการ พัฒนาชุมชน รวมท้ังไดมีสวนรวมในการแกปญหา และพัฒนาสังคม ทางดานตางๆ บนพ้ืนฐานของหลักเศรษฐกิจพอเพียงไดอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือการพัฒนากาวหนาไปอยางสมดุล และรูจักเคารพสิทธิของผูอ่ืน เสียสละประโยชนสวนตัวเพ่ือสวนรวม รักทองถ่ินและประเทศชาติ มัธยมศึกษาปท่ี ๓ เขาใจแนวทางพัฒนาชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีสวนรวมในการ แกปญหา หรือพัฒนาชุมชน ดานสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม โดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท้ังนี้เพ่ือใหเห็นแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง ไดฝกฝนทักษะกระบวนการกลุมในการทํางานรวมกับชุมชน มีเจตคติและคานิยมท่ีดีตามกระบวนการประชาธิปไตย และความเปนมนุษย เห็นคุณคาในการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาของทองถ่ิน ชวงชั้นท่ี ๔ ( ม.๔-ม.๖) มัธยมศึกษาปท่ี ๔ สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนและอยูในสังคมไดอยางมีความสุข การจัดทําโครงงานเพ่ือสืบคนความรูไดดวยตนเอง ฝกฝนทักษะกระบวนการกลุมดวยใชแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันประกอบดวย ๓ คุณลักษณะคือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสรางภูมิคุมกันในตัวท่ีดี และ ๒ เง่ือนไขคือ ความรู ความรอบคอบ ระมัดระวัง และคุณธรรม มาเปนรากฐานของการทําโครงงาน ซ่ึงเปนการฝกฝนตนเองในการดําเนินชีวิต เขาใจและวิเคราะหการบริหารจัดการองคกรวิสาหกิจชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ตระหนักในความสําคัญและสามารถนําแนวทางการบริหารจัดการองคกรวิสาหกิจชุมชนตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในการดําเนินชีวิตไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนทักษะการคิดวิเคราะห การแสวงหาความรูจากสื่อและแหลงการเรียนรูในทองถ่ิน มัธยมศึกษาปท่ี ๕ เขาใจและวิเคราะหการพัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยตระหนักในความสําคัญของ การพัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ

Page 21: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑๗

นําแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในการดําเนินชีวิตเพ่ือประโยชนของสังคมและประเทศชาติ มัธยมศึกษาปท่ี ๖ เขาใจและวิเคราะหการพัฒนาประเทศใหกาวหนาไปไดอยางสมดุลภายใตกระแส โลกาภิวัตน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยตระหนักในความสําคัญของการพัฒนาประเทศภายใตกระแสโลกาภิวั ตน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหกาวหนาไปไดอยางสมดุล ท้ังนี้เพ่ือใหมนุษยมีเจตคติและคานิยมท่ีดีในการดําเนินชีวิตภายใตวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยและ มีศักดิ์ศรีความเปนมนุษย มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ ท้ังอนุรักษประเพณีวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมรวมท้ังภูมิปญญาของมนุษยชาติ เพ่ือนําแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในการดําเนินชีวิตอยางสมดุล ระดับการศึกษานอกโรงเรียน เขาใจและสามารถจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากรท่ีมีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ ๓. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน สงเสริมใหมีการบูรณาการการเรียนรูผานกิจกรรม ดังนี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว ประกอบดวย ใหบริการแนะแนว และมีระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ๒. กิจกรรมนักเรียน ประกอบดวย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด กิจกรรมผูบําเพ็ญประโยชน จัดทําโครงงาน และกิจกรรมชมรม ชุมนุมตาง ๆ ๓. กิจกรรมเพ่ือสังคม/จิตสาธารณะ เนนการมีสวนรวม การเห็นคุณคาของการอยูรวมกัน ๔. การพัฒนาบุคลากร กําหนดใหมีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับในหนวยงานและสถานศึกษา เกิดความตระหนักและเห็นคุณคาในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดําริโดยมีองคประกอบ ดังนี้ ๑. การสรางความรู ความเขาใจและมีความตระหนักในเรื่องเก่ียวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. สงเสริมใหมีการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕. ภาพความสําเร็จ ๑. สถานศึกษานําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการบริหารสถานศึกษา จัดการศึกษา และดําเนินกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอชุมชน/สังคม ๒. ผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาท่ีเก่ียวของมีความรู ความเขาใจและปฏิบัติตนเปนแบบอยางตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. นักเรียนมีความรู ทักษะ ปฏิบัติตนและดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “อยูอยางพอเพียง”

Page 22: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑๘

ผูปกครอง ชุมชน ดําเนินชีวิตและมีการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใชในโรงเรียน ๑. การบริหารจัดการ โดยการกําหนดเปนนโยบาย ๑. วิสัยทัศน พันธกิจ ภารกิจ และแผนปฏิบัติการ ๒. งานวิชาการ งบประมาณ บุคคล บริหารท่ัวไป และชุมชนสัมพันธ ๓. นําหลักการทรงงานมาปรับใชในการบริหารสถานศึกษา ๔. เนนการบริหารทรัพยากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง การมีสวนรวม รูจักสามัคคี ไมประมาท ๒. หลักสูตรการเรียนการสอน สอนวิชา “เศรษฐกิจพอเพียง” ตามมาตรฐาน ส ๓.๑ เพ่ือใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจท่ีถูกตอง และสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชได จัดทํารายวิชาเพ่ิมเติม/หลักสูตรทองถ่ินท่ีสอดคลองกับสภาพ และความตองการโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะหเพ่ือกําหนดรายวิชา การเรียนการสอน โดยจัดทําแผนการเรียนรู หรือสื่อการเรียนรูท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสาระการเรียนรูของกลุมสาระตาง ๆ และแหลงเรียนรู ดวยการสรางบรรยากาศท่ีสงเสริมการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ๓. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยลักษณะของกิจกรรม ประกอบดวย การตอยอดหรือพัฒนากิจกรรมท่ีสอดคลองกับภูมิสังคม/บริบท ดําเนินการหลักโดยผูเรียน ดวยความสมัครใจโดยมีครูชวยสนับสนุนใหผูเรียนใชหลักคิด/หลักปฏิบัติท่ีสอดคลองกับหลักวิชาการอยางสมเหตุสมผล มีการวางแผนอยางรอบคอบ คํานึงถึงความเสี่ยงตาง ๆ และสงเสริมการเรียนรูและคุณธรรม ตัวอยางเชน มีวินัยในการใชจาย ประหยัด/การออม พ่ึงตนเองในการผลิตหรือสรางรายได เห็นคาการอยูรวมกันในสังคม ชวยเหลือสังคม/ชุมชน รักษาสมดุลของธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมอนุรักษภูมิปญญาทองถ่ิน สืบสานวัฒนธรรม/ประเพณีไทย สงเสริมการปฏิบัติตามคําสอนทางศาสนา และรวมสรางความสามัคคี เปนตน ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษาควรมุงสงเสริมการเรียนรูและการปลูกฝงเสริมสรางใหผูเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงคในการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ๑. มีความรู ความเขาใจ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและตระหนักในความสําคัญของการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑) มีความรู ความเขาใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจ สถานการณ สังคมและสิ่งแวดลอม ๒) มีความรูความเขาใจในการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเห็นประโยชน และความสําคัญในการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ๒. มีความรูและทักษะพ้ืนฐานในการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑) มีศักยภาพและทางเลือกในการดํารงชีวิตและประกอบอาชีพ เพ่ือใหพ่ึงตนเองไดระดับหนึ่ง

Page 23: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๑๙

๒) อยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางสงบสุข รูรักสามัคคี ไมเบียดเบียน แบงปน เอ้ือเฟอเผื่อแผ ๓) ใช ฟนฟู และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืน สืบสานวัฒนธรรม ศิลปะ ประเพณี ประวัติศาสตร ภูมิปญญา ภูมิใจในความเปนไทย ๓. ปฏิบัติตนและดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑) รูจักประมาณตน รูจักศักยภาพของตน ใชชีวิตบนพ้ืนฐานความเปนจริงอยางเปนเหตุเปนผล ๒) ดําเนินชีวิตโดยใชสติปญญา ความรอบรู ความรอบคอบ ไมประมาท ๓) มีคุณธรรมเปนพ้ืนฐานของจิตใจ รูจักผิดชอบชั่วดี ไมทําความชั่ว สั่งสมความดี มีวินัยและความรับผิดชอบ แนวทางในการพัฒนาผูเรียนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค ๑. การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษามีการพัฒนาหรือบูรณาการเนื้อหาสาระของเศรษฐกิจพอเพียงเขาไปในหลักสูตรตามข้ันตอนดังนี้ ๑.๑ สถานศึกษานําคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาพิจารณาปรับปรุงหรือเพ่ิมเติม วิสัยทัศน เปาหมายและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนในหลักสูตรสถานศึกษา ๑.๒ กลุมสาระการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปรับปรุงหรือเพ่ิมเติมมาตรฐานการเรียนรูในแตละชวงชั้นใหสอดคลองกับวิสัยทัศน เปาหมายและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของหลักสูตรสถานศึกษาท่ีปรับปรุงหรือเพ่ิมเติม ๑.๓ กลุมสาระการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปรับปรุงเพ่ิมเติมหรือจัดทําสาระการเรียนรู หนวยการจัดการเรียนรูและแผนการจัดการเรียนรู ตามลําดับเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหเปนไปตามมาตรฐานการเรียนรูแตละชวงชั้นตามขอ ๑.๒ ๒. การจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนตามเนื้อหาสาระท่ีกําหนดไวในหลักสูตรอยางสอดคลองกับวิถีชีวิตของผูเรียน เนนกระบวนการคิดวิเคราะห เนนการปฏิบัติจริง เพ่ือนําไปสูการปฏิบัติตนท่ีเหมาะสมในวิถีชีวิตประจําวัน ดังนี้ ๒.๑ จัดกิจกรรมการเรียนรู ท่ีเนนการฝกทักษะ กระบวนการคิด วิเคราะหการจัดการ การเผชิญสถานการณ การแกปญหา ฯลฯ ท่ีเริ่มจากชีวิตประจําวันและเชื่อมโยงสูครอบครัว สังคม ประเทศชาติและสังคมโลก ๒.๒ จัดกระบวนการเรียนรูโดยเนนการทดลอง การปฏิบัติจริงท้ังในสถานศึกษาและแหลงเรียนรูภายนอกสถานศึกษา ท้ังในรูปของการจัดทําโครงการ โครงงานและท้ังการศึกษารายบุคคลและเปนกลุม ๒.๓ จัดและประเมินผลการเรียนรูใหครอบคลุมท้ัง ๓ ดาน ไดแก ๑ ) ความรู ( Knowledge ) ๒ ) ทักษะ กระบวนการ ( Process ) ๓ ) คุณลักษณะอันพึงประสงค ( Attribute ) ๓. การจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษา สถานศึกษาจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษาใหเปนแหลงเรียนรู กระบวนการเรียนรู ปลูกฝง หลอหลอมคุณลักษณะอันพึงประสงคและเอ้ือตอกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้

Page 24: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๒๐

๓.๑ จัดอาคารสถานท่ีและสิ่งแวดลอมท่ีเนนความรมรื่น ประโยชนใชสอยเปนแหลงเรียนรูและอนุรักษสืบสานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ศิลปวัฒนธรรม สถาปตยกรรมของทองถ่ินและภูมิปญญาไทย ๓.๒ กําหนดระเบียบ ธรรมเนียมปฏิบัติในสถานศึกษา ท่ีสงเสริมความมีระเบียบวินัย เคารพธรรมเนียมปฏิบัติ กฎ กติกา ของสังคมรวมกัน เชน การเขาคิว การรับประทานอาหาร การแตงกาย การใชทรัพยากรรวมกัน เปนตน ๓.๓ สงเสริมและพัฒนาบรรยากาศ ดานคุณธรรม เชน การทําบุญ การบริจาค การปฏิบัติกิจทางศาสนา การเขารวมกิจกรรมทางศาสนาการยกยองสงเสริมผูกระทําความดี การสงเสริมการแบงปน การชวยเหลือกันและกัน ฯลฯ ๓.๔ สงเสริมการแสวงหาความรู และเผยแพรความรูดานเศรษฐกิจพอเพียง เชน การจัดนิทรรศการ การจัดการแขงขัน การหาความรูโดยใชสื่อเทคโนโลยีและอ่ืน ๆ ๓.๕ สงเสริมการปฏิบัติตนเปนแบบอยางของผูบริหาร ครูและบุคลากรในสถานศึกษา ๓.๖ การจัดโครงการและกิจกรรมสงเสริมการปฏิบัติตนและดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Page 25: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๒๑

๒๑

๗. เกณฑการประเมินศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา องคประกอบ

ระดับคุณภาพ ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓ ระดับ ๔ ระดับ ๕

๑. บุคลากร ๑.๑ ผูบริหาร

มีความรู ความเขาใจใน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(ปศพพ.) อยางถูกตอง

- ตามระดับ ๑ และ - ปฏิบัติตนตาม ปศพพ. และ - นํา ปศพพ. มาใชในการบริหารจัดการสถานศึกษา

- ตามระดับ ๒ และ - สามารถถายทอดประสบการณการนํา ปศพพ.มาใชในสถานศึกษา และ - มุงมั่นในการขับเคลื่อน ปศพพ.ในสถานศึกษา

- ตามระดับ ๓ และ - ขยายผลการขับเคลื่อน ปศพพ.สูภายนอกสถานศึกษา เชน ชุมชน สถานศึกษาอ่ืน ฯลฯ

- ตามระดับ ๔ และ - ชุมชนหรือหนวยงานภายนอกเห็นคุณคา ยอมรับ และใหความรวมมือในการขยายผลการขับเคลื่อน ปศพพ.สูภายนอกสถานศึกษา

๑.๒ ครู - รอยละ ๒๕ ของจํานวนครูในสถานศึกษา มีความรู ความเขาใจ มีสื่อและ/หรือนวัตกรรมการเรียนรูเก่ียวกับ ปศพพ.และอธิบาย ปศพพ.ไดอยางถูกตอง

- ตามระดับ ๑ และ - ปฏิบัติตนตาม ปศพพ. และ - ครูนํา ปศพพ. มาใชในออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีรับผิดชอบจนเห็นผลและ - ครูใชสื่อ และ/หรือนวัตกรรมการเรียนรูเก่ียวกับ ปศพพ.ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูจนเห็นผล

- ตามระดับ ๒ และ - ครูถายทอดประสบการณใหเพ่ือนครูในสถานศึกษา จนมีครูทุกระดับช้ัน และทุกกลุมสาระการเรียนรูจัดกิจกรรมการเรียนรูตาม ปศพพ. จนเห็นผล

- ตามระดับ ๓ และ - มีครูแกนนํานําบทเรียนความสําเร็จในการจัดการเรียนรูตาม ปศพพ. จากการถอดบทเรียนของตนมาจัดทําเปนสื่อขยายผลสูภายนอกสถานศึกษาจนเห็นผล

- ตามระดับ ๔ และ - ครูมากกวาก่ึงหน่ึงจัดกิจกรรมการเรียนรูตาม ปศพพ. อยางตอเน่ือง และ - ครูในสถานศึกษารวมมือในการขยายผลการขับเคลื่อนสูภายนอกสถานศึกษาอยางสม่ําเสมอ - ครูนําสื่อ และ/หรือนวัตกรรมท่ีพัฒนาตามระดับ ๔ มาใชขยายผลสูภายนอกสถานศึกษาจนเห็นผล

๒๔

Page 26: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๒๒

๗. เกณฑการประเมินศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา (ตอ) องคประกอบ

ระดับคุณภาพ ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓ ระดับ ๔ ระดับ ๕

๑. บุคลากร ๑.๓ นักเรียน

มีนักเรียนแกนนําท่ีมีความรู ความเขาใจ และอธิบาย ปศพพ. ไดอยางถูกตอง

- ตามระดับ ๑ และ - นักเรียนแกนนําเกิดการเรียนรู และปฏิบัติตนตาม ปศพพ. จนเห็นผล เห็นคุณคา และเกิดศรัทธา

- ตามระดับ ๒ และ - นักเรียนแกนนํามีสวนรวมในการขับเคลื่อน ปศพพ. ในสถานศึกษา จนมีนักเรียนท่ีมีคุณสมบัติอยูอยางพอเพียงจํานวนเพ่ิมข้ึน

- ตามระดับ ๓ และ - นักเรียนแกนนํามีสวนรวมในการขับเคลื่อน ปศพพ.สูภายนอกสถานศึกษา และ - นักเรียนแกนนําไดนํา ปศพพ. มาพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง

- ตามระดับ ๔ และ - นักเรียนแกนนําเปนหลักในการจัดกิจกรรมขับเคลื่อน ปศพพ. ภายในสถานศึกษา และ/หรือ จัดกิจกรรมขยายผล ปศพพ. สูภายนอกสถานศึกษา

๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา

รับรูการขับเคลื่อน ปศพพ.ของสถานศึกษา

- ตามระดับ ๑ และ - มีความสนใจและมีสวนรวมในการขับเคลื่อน ปศพพ. ของสถานศึกษา

- ตามระดับ ๒ และ - เห็นคุณคา และศรัทธาในการขับเคลื่อน ปศพพ. ของสถานศึกษา

- ตามระดับ ๓ และ - สนับสนุนกิจกรรมการขับเคลื่อน ปศพพ. ของสถานศึกษาจนเห็นผล

- ตามระดับ ๔ และ - สนับสนุนกิจกรรมการขยายผลการขับเคลื่อน ปศพพ. สูภายนอกจนเห็นผล

Page 27: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๒๓

๒๓

๗. เกณฑการประเมินศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา (ตอ) องคประกอบ

ระดับคุณภาพ ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓ ระดับ ๔ ระดับ ๕

๒. การจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาย ๒.๑ อาคาร สถานท่ี และสิ่งแวดลอม

มีผูรับผิดชอบการใช ปรับปรุง ดูแล รักษา อาคารสถานท่ีและจัดการสภาพแวดลอมสําหรับการเรียนรูอยางเหมาะสม

- ตามระดับ ๑ และ - มีแผนงาน/โครงการ งบประมาณ และผูรับผิดชอบในการปรับใชอาคารสถานท่ี สภาพแวดลอมใหเปนไปตาม ปศพพ.

- ตามระดับ ๒ และ - มีศูนยรวมขอมูลการขับเคลื่อน ปศพพ. ของสถานศึกษา และ - มีแผนผังแสดงแหลงเรียนรู/ฐานกิจกรรมการเรียนรู ปศพพ. ในสถานศึกษา และมีสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการเรียนรูตาม ปศพพ. เชน สะอาด รมรื่น ปลอดภัย ฯลฯ

- ตามระดับ ๓ และ - ครู และนักเรียนมีสวนรวมในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม อาคาร สถานท่ี ใหเอ้ือตอการเรียนรูตาม ปศพพ.

- ตามระดับ ๔ และ - ชุมชน หรือหนวยงานอ่ืน ไดใชประโยชน และมีสวนรวมในการสงเสริม สนับสนุนการดูแลรักษา และพัฒนาอาคาร สถานท่ี สภาพแวดลอมของสถานศึกษาอยางสม่ําเสมอ

๒.๒ แหลงเรียนรู/ฐานการเรียนรู และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู เพ่ือเสริมสรางอุปนิสัยอยูอยางพอเพียง

มีแหลงเรียนรู หรือฐานเรียนรู หรือกิจกรรมการเรียนรู เพ่ือเสริมสรางอุปนิสัยอยูอยางพอเพียงภายใน และ/หรือภายนอกสถานศึกษาท่ีสอดคลองกับภูมิสังคมของสถานศึกษาและมีการจัดการอยางพอเพียง

- ตามระดับ ๑ และ - มีสื่อประกอบการเรียนรูประจําแหลง/ฐาน/กิจกรรมการเรียนรู ปศพพ.ท่ีสามารถสื่อความไดถูกตอง

- ตามระดับ ๒ และ - มีวิทยากรรับผิดชอบฐานการเรียนรู ปศพพ. ท่ีสามารถอธิบายความไดอยางถูกตอง ชัดเจน และ - มีแผนการจัดการเรียนรูของแหลง/ฐาน/กิจกรรมการเรียนรู ปศพพ.ไดอยางถูกตองและชัดเจน

- ตามระดับ ๓ และ บุคลากรในสถานศึกษาสามารถเปนวิทยากรอธิบายการใชประโยชนจากแหลง/ฐาน/กิจกรรมการเรียนรู ปศพพ. ในการเสริมสรางอุปนิสัยอยูอยางพอเพียงไดอยางถูกตองและชัดเจน

- ตามระดับ ๔ และ - มีการประเมินผลการใชแหลง/ฐาน/กิจกรรมการเรียนรู ปศพพ. อยางเปนรูปธรรม และ - มีการพัฒนาแหลง/ฐาน/กิจกรรมการเรียนรู ปศพพ. อยางตอเน่ือง

Page 28: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๒๔

๒๔

๗. เกณฑการประเมินศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา (ตอ) องคประกอบ

ระดับคุณภาพ ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓ ระดับ ๔ ระดับ ๕

๓. ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก ๓.๑ ความสัมพันธกับสถานศึกษาอ่ืนในการขยายผลการขับเคลื่อน ปศพพ.

มีเครือขายการเรียนรู ปศพพ. - ตามระดับ ๑ และ - มีประสบการณในการรับสถานศึกษาอ่ืนมาศึกษาดูงาน

- ตามระดับ ๒ และ - สามารถบริหารจัดการเพ่ือรองรับการขอศึกษาดูงานจากสถานศึกษาอ่ืน โดยไมกระทบภารกิจหลักของสถานศึกษา

- ตามระดับ ๓ และ - เปนสถานศึกษาแกนนําของเครือขายขับเคลื่อน ปศพพ.

- ตามระดับ ๔ และ - สามารถเปนพ่ีเลี้ยงในการพัฒนาสถานศึกษาอ่ืนใหเปนสถานศึกษาพอเพียงไดอยางนอย ๑ แหง

๓.๒ ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีสังกัดและ/หรือหนวยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน)

มีความสัมพันธอันดีกับหนวยงานอ่ืน ๆ

- ตามระดับ ๑ และ - ประสานความรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ เพ่ือใหและ/หรือ รับการสนับสนุนเพ่ือการขับเคลื่อน ปศพพ.

- ตามระดับ ๒ และ - สามารถบริหารจัดการความสัมพันธกับหนวยงานตาง ๆ ในการขับเคลื่อน ปศพพ. ไดอยางเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ

- ตามระดับ ๓ และ - ไดรับการยอมรับ และความรวมมือจากหนวยงานตาง ๆ ในการขยายผลการขับเคลื่อน ปศพพ. สูหนวยงานภายนอก

- ตามระดับ ๔ และ - ประสานความรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ จนสามารถพัฒนาสถานศึกษาอ่ืนใหเปนสถานศึกษาพอเพียงไดอยางนอย ๑ แหง

Page 29: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๒๕

สวนท่ี ๓

ผลการประเมิน

การประเมินสถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษาในเขตตรวจราชการท่ี ๑ ไดดําเนินการโดยกลุมพัฒนาคุณภาพการศึกษา สํานักงานศึกษาธิการภาค ๔ ซ่ึงไดรับมอบหมายจากสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดให มีการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ และแตงตั้งใหผูแทนสํานักงานศึกษาธิการภาค ๑ – ๑๓ เปนเลขานุการคณะกรรมการสวนภูมิภาค เพ่ือดําเนินการประสานงานการประเมินผลสถานศึกษาพอเพียงท่ีพรอมเขารับการประเมินเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา ทุกระดับ สํานักงานศึกษาธิการภาค ๔ ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการสวนภูมิภาคไดดําเนินการ ประสานกรรมการฝายผูทรงคุณวุฒิ กรรมการฝายผูแทนกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการฝาย

ผูแทนหนวยงานตนสังกัดสถานศึกษา จํานวน ๕ คน ประกอบดวย

๑. กรรมการฝายผูทรงคุณวุฒิ ไดแก ภราดาประภาส ศรีเจริญ

๒. กรรมการฝายผูแทนกระทรวงศึกษาธิการ ไดแก นายปญญา แกวกียูร

๓. กรรมการฝายผูแทนหนวยงานตนสังกัด ไดแก นางสาวปทมา วิญญกูล

๔. กรรมการฝายผูแทนหนวยงานตนสังกัด ไดแก นายสุเทพ ชนะบวรสกุล

๕. เลขานุการคณะกรรมการสวนภูมิภาค ไดแก นางสาวกัลยา ทารักษ

ดําเนินการประเมินตาม องคประกอบการประเมิน สถานศึกษา พอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา ประกอบดวย ๓ ดาน ไดแก

๑. บุคลากร ไดแก

๑.๑ ผูบริหาร

๑.๒ ครู

๑.๓ นักเรียน

๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา

๒. การจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพ ไดแก

๒.๑ อาคาร สถานท่ีและสิ่งแวดลอม

๒.๒ แหลงเรียนรูฐานการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

และ/หรือกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๓. ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก

๓.๑ ความสัมพันธกับสถานศึกษาอ่ืนในการขยายผลการขับเคลื่อนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๒ ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีสังกัด และ/หรือหนวยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน)

Page 30: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๒๖

สถานศึกษาท่ีผานการคัดกรองขอมูลเพ่ือประเมินเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา จํานวน ๒๓ โรงเรียน ซ่ึงมีสถานศึกษาท่ีตั้งอยูในเขตตรวจราชการท่ี ๑ จํานวน ๒ โรงเรียน ประกอบดวย โรงเรียนชุมชนประชาธิปตยวิทยาคาร จังหวัดปทุมธานี โรงเรียน วัดเขียนเขต จังหวัดปทุมธานี และสํานักงานศึกษาธิการภาค ๔ ไดกําหนดการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา ระหวางวันท่ี ๑๔ – ๑๖ กันยายน ๒๕๕๗ ในการดําเนินงานตามองคประกอบการประเมินเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา สถานศึกษาท่ีตั้งอยูในเขตตรวจราชการท่ี ๑ ท้ัง ๒ แหง ไดปรากฏผลการดําเนินงาน รายละเอียดดังตอไปนี้

๑. โรงเรียนชุมชนประชาธิปตยวิทยาคาร สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ สถานท่ีตั้ง เลขท่ี ๔๗ ซอยพหลโยธิน ๑๒๗ ตําบลประชาธิปตย อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย ๑๒๑๓๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๓๒ ๑๗๘๙ โทรสาร ๐ ๒๕๖๗ ๔๘๒๑ E-mail [email protected] website www.cptw.ac.th ช่ือ – สกุลผูอํานวยการสถานศึกษา นายบัญชา จันทรรักษา โทรศัพท ๐๘ ๑๘๖๘ ๓๙๕๐ ช่ือ – สกุลรองผูอํานวยการสถานศึกษา ๑. นายพิษณุ คนซ่ือ โทรศัพท ๐๘ ๑๒๗๔ ๙๙๑๒ ๒. นายสมพร กฤตศิลป โทรศัพท ๐๘ ๙๘๑๕ ๘๕ ๗๒ ๓. นางวีรวัลย จิตรเพ่ิม โทรศัพท ๐๘ ๔๐๙๑ ๓๗๕๙ ช่ือ – สกุลครูแกนนํา ๑. นางจันทรา ปนแกว โทรศัพท ๐๘ ๙๗๖๖ ๙๗๓๕

เหตุผลท่ีสถานศึกษาขอรับการประเมินเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา โรงเรียนชุมชนประชาธิปตยวิทยาคาร เปนโรงเรียนท่ีมีการบริหารจัดการท่ีมีคุณภาพมีการจัดบรรยากาศสิ่งแวดลอมท่ีนาเรียน มีอาคารเรียนท่ีเหมาะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน อีกท้ังยังมุงเนนใหผูเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความรูความสามารถเต็มศักยภาพมีจิตสํานึกในความเปนไทย รักและภูมิใจในทองถ่ิน เปนอยูพอเพียง มีจิตสาธารณะ มีสุขนิสัย สุขภาพกายและจิตท่ีดี โดยยึดหลักนอมนําเศรษฐกิจพอเพียงเขามาบูรณาการในทุกกลุมสาระ ซ่ึงปรากฏเห็นผลเปนรูปธรรมชัดเจน โดยไดรับงบประมาณสนับสนุนจากสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา รวมท้ังชุมชนท่ีเก่ียวของ นําโดยเทศบาลนครรังสิตมาใหการสนับสนุนจนไดรับผลสําเร็จทําใหเห็นผลเปนเชิงประจักษ โดยผานการประเมินเปน สถานศึกษาพอเพียงแบบอยาง เม่ือป พ.ศ. ๒๕๕๔ และผานการประเมินเปนสถานศึกษาพอเพียงตนแบบ เม่ือป พ.ศ. ๒๕๕๕ นอกจากนี้ยังไดดําเนินการจัดกิจกรรมและปรับปรุงพัฒนาใหมีแหลงเรียนรูภายในสถานศึกษา เชน ศูนยพุทธธรรมนําชีวิตพอเพียง (กิจกรรมลานธรรมสรางปญญา) ศูนยสวยครัวพอเพียง ศูนยการเรียนรูสูอาชีพ ซ่ึงศูนยกิจกรรมเหลานี้สามารถเปนศูนยการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพในสถานศึกษา อีกท้ังยังเปนศูนยการเรียนรูแบบอยางใหกับสถานศึกษาอ่ืนและชุมชนภายนอกไดเขามาศึกษาหาความรู นอกจากนี้โรงเรียนยังไดรับเปนโรงเรียนดีศรีตําบลอีกดวย ดังนั้นโรงเรียนจึงมีความ

Page 31: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๒๗

พรอมท่ีจะขอรับการประเมินเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษาตอไป บริบทของสถานศึกษา / ลักษณะชุมชน / ภูมิสังคม โรงเรียนชุมชนประชาธิปตยวิทยาคาร เปนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาท่ีมีอาคารเรียนสภาพแวดลอมและภูมิทัศนท่ีสวยงาม สะอาด รมรื่น ปลอดภัย โดยมีสภาพของชุมชนอยูในเขตพ้ืนท่ีเทศบาลนครรังสิตพ้ืนท่ีสวนใหญเปนท่ีราบ สภาพครอบครัวของนักเรียนและอาชีพหลักของชุมชนมีอาชีพรับจางท่ัวไป และคาขาย ฐานะทางเศรษฐกิจและรายไดสวนใหญมาจากการคาขายเปนสวนมาก

เอกลักษณของสถานศึกษา คุณธรรมนําชีวิต โรงเรียนไดจัดการศึกษา มุงเนนใหนักเรียนเปนผูมีคุณธรรม จริยธรรม โดยยึดหลักการทําความดีเพ่ือเปนการสรางคุณธรรมจากความคิดท่ีดีในจิตใจและการประพฤติดี ตามหลักคุณธรรม ๘ ประการ คือเปนผูมีศรัทธา เปนผูมีศีล เปนผูมีการศึกษาอบรมดี เปนผูมีการเสียสละใหปน เปนผูมีความเพียร เปนผูมีสติ เปนผูมีสมาธิและเปนผูมีปญญา เพ่ือเปนแนวทางท่ีจะนําพาใหนักเรียนคิดดี ประพฤติดีสามารถนําไป ปรับใชในครอบครัว สังคม ใหเปนสุขและมีสันติสุขได อัตลักษณของโรงเรียน “ยึดหลักคุณธรรม สํานึกความเปนไทย” โรงเรียนไดตระหนักและเห็นความสําคัญเพ่ือสงเสริมใหนักเรียนเปนคนดี เกง มีความสุข มีพัฒนาการเปนผูท่ีมีความสมบูรณท้ังรางกายจิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิตสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข วิสัยทัศนของโรงเรียน โรงเรียนชุมชนประชาธิปตยวิทยาคาร เปนโรงเรียนท่ีมีการบริหารจัดการท่ีมีคุณภาพ จัดบรรยากาศสิ่งแวดลอมนาอยู นาเรียน มุงเนนใหผูเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความรูความสามารถเต็มตามศักยภาพ มีจิตสํานึกในความเปนไทย รักและภูมิใจในทองถ่ินเปนอยูพอเพียง มีจิตสาธารณะ มีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีชุมชนเปนสวนรวม

Page 32: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๒๘

ขอสังเกตโดยรวมของคณะผูประเมิน โรงเรียนชุมชนประชาธิปตยวิทยาคาร ตําบลประชาธิปตย อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี

วันท่ี ๑๕ กันยายน ๒๕๕๗

สรุปขอสังเกตตามตัวช้ีวัด ดานการใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการวางแผน

๑. บุคลากร

๑.๑ ผูบริหาร - กําหนดการวางแผนไว ๘ ข้ันตอน - มีการนํามาใช - ใชหลัก ๔ ร. รวมคิด รวมปฏิบัติ รวมประเมินผล รวมชื่นชมยินดี - มีความรูความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและปฏิบัติตนเปนแบบอยาง มีนโยบายและวิสัยทัศนชัดเจนในการวางแผนขับเคลื่อน

๑.๒ คร ู - มีครูแกนนําจํานวนมาก และพูดคุยเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดดี - ในการจัดทําวางแผนแหลงเรียนรู ใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงวางแผน - มีสวนรวมในการวางแผนกับผูบริหาร/มีความรูความเขาใจ/จัดการเรียนรูไดดี - ใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนในกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

๑.๓ นักเรียน - รู เขาใจ และใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดชัดเจนเกือบทุกคน - ครูถายทอดใหนักเรียน”พุทธธรรมนําชีวิตพอเพียง” เปนหลักคิดท่ีเก่ียวกับ ศีล สมาธิ ปญญา - นักเรียนมีคุณลักษณะอยูอยางพอเพียงและมีกิริยา มารยาทเรียบรอย

๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา - ใหความสนใจและสนับสนุนเปนอยางดี - มีความรู ความเขาใจ วางแผนได - เขาใจและมีสวนรวมในการขับเคลื่อน - มีสวนรวมในการวางแผนขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน ๒. การจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพ

๒.๑ อาคาร สถานท่ี และส่ิงแวดลอม - ดี - โรงเรียนวางแผนไดรอบคอบเกิดประโยชน - ปรับปรุงพ้ืนท่ีใหเกิดประโยชน/จุดเดนคือลานธรรมใตโดมท่ีนั่งสมาธิ - มีผูรับผิดชอบดูแลรักษาอาคารสถานท่ีและจัดสภาพแวดลอม

Page 33: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๒๙

๒.๒ แหลงเรียนรู/ฐานการเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ/หรือ กิจกรรมการเรียนรู หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - มีครบถวนตามเกณฑ - มีแหลงเรียนรูในสถานศึกษา - มีการพัฒนาและปรับอาคารตาง ๆ ใหเปนฐานการเรียนรู - ลานธรรมสรางปญญาท่ีใชสอนคุณธรรมและวิถีชีวิตพอเพียง ๓. ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก

๓.๑ ความสัมพันธกับสถานศึกษาอ่ืนในการขยายผลการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - มีทีมงานท่ีดี - ใหความรูแบงปน ศึกษาดูงาน จัดการอบรมอยางตอเนื่อง - มีเครือขายมาศึกษาดูงาน สามารถวางแผนบริหารจัดการเพ่ือรองรับการดูงานได

๓.๒ ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีสังกัด และ/หรือ หนวยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน) - มีความสัมพันธท่ีดีกับสถานีตํารวจจุฬาภรณ/นายกนครรังสิตในการทํากิจกรรมรวมกัน - สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ ใหเปนตัวแทนจัดนิทรรศการในโอกาสตาง ๆ และมีหนวยงานภายนอกในการสนับสนุนอยางตอเนื่อง

ดานการใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการปฏิบัติ

๑. บุคลากร

๑.๑ ผูบริหาร - ไดมีการนําไปใชเปนรูปธรรม - มีรองรอย เอกสาร หลักฐานวานําไปใชในการปฏิบัติงาน - ยึดม่ันในทางสายกลาง ผานการอบรมอยูบนพ้ืนฐานทางสายกลาง/ไมประมาท - มีความมุงม่ันตั้งใจ เพ่ือตองการใหนักเรียนเปนคนดีและมีวิถีพอเพียงท่ีเลี้ยงตัวเองได

๑.๒ คร ู - เขาใจ เขาถึง และมีสวนรวมจริงจัง - และนําแผนไปสูการปฏิบัติใชไดผล - นําหลักธรรมทางศาสนามาปฏิบัติในชีวิตประจําวัน - ประพฤติปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเปนแบบอยางแกนักเรียนและเปนท่ียอมรับของผูปกครองและชุมชน

๑.๓ นักเรียน - สามารถนําเสนอไดเปนรายบุคคลและทีม - นําหลักคิดมาปฏิบัติอยางตอเนื่องในกิจกรรมตาง ๆ

Page 34: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๓๐

- ประพฤติปฏิบัติตามในการรักษาศีล ๕/สามารถอาราธนาศีล ๕ ไดทุกคน

๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา - ใหการสนับสนุน ดูแลเหมาะสมเปนธรรม - และไดรวมปฏิบัติงานกับโรงเรียน - รวมกิจกรรมเขารับการอบรมกับทางโรงเรียน - ปฏิบัติตนเปนแบบอยางแกบุตรหลานและสนับสนุนโรงเรียนในการสรางเครือขายขยายผล ๒. การจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพ

๒.๑ อาคาร สถานท่ี และส่ิงแวดลอม - ดีมาก - นําไปปฏิบัติและเกิดผล - คํานึงถึงประโยชนสูงสุด ทุกจุดสามารถเปนแหลงการเรียนรู - ใชอาคารสถานท่ีอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด

๒.๒ แหลงเรียนรู/ฐานการเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ/หรือ กิจกรรมการเรียนรู หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ดําเนินการไดอยางเหมาะสม - มีผูรับผิดชอบในการดูแลแหลงการเรียนรูและฐานอยางตอเนื่อง - นักเรียนไดทําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาฝกปฏิบัติ กิจวัตรอันดีงามในลานธรรม ๓. ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก

๓.๑ ความสัมพันธกับสถานศึกษาอ่ืนในการขยายผลการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - มี ๘ โรงเรียนเครือขาย ขอใหสนับสนุนและศึกษาดูงาน - เปนแบบอยางในการขับเคลื่อน - ปฏิบัติจนสามารถเปนสถานศึกษาแกนนําของโรงเรียนเครือขาย

๓.๒ ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีสังกัด และ/หรือ หนวยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน) - ทําใหชุมชน/หนวยงานสนับสนุนรวมมือในการทํากิจกรรมตาง ๆ - สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ ประเมินใหเปนสถานศึกษาพอเพียงตนแบบ ป ๒๕๕๖/สงเสริม สนับสนุนใหจัดนิทรรศการแสดงผลการขับเคลื่อนของโรงเรียน

Page 35: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๓๑

ดานผลท่ีเกิดข้ึน

๑. บุคลากร

๑.๑ ผูบริหาร - รู เขาใจ เขาถึง พัฒนาและนําเสนอไดกระชับเปนรูปธรรม - สามารถบริหารจัดการสถานศึกษาไดเปนอยางดี - ไดรับเชิญเปนวิทยากรใหความรู/เปนแบบอยางท่ีดี - ชุมชน/หนวยงานภายนอก ยอมรับและใหความรวมมือในการขยายผล

๑.๒ คร ู - ครูใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดเปนแบบอยางท่ีดีได - ครูมีกิจกรรม นักเรียนไดรวมกิจกรรมตามความสมัครใจ - มีความรวมมือรวมใจและสามารถเปนวิทยากรได - ชุมชนใหการสนับสนุน/ไดรับรางวัลหนึ่งแสนครูดี

๑.๓ นักเรียน - นําเสนอดี ประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในกิจกรรมอยางเหมาะสม - มีสวนรวมและแสดงกิจกรรมวามีการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช - มีภูมิคุมกัน มีจิตอาสา/ดําเนินชีวิตภายใตคุณธรรม - นักเรียนแกนนําเกิดการเรียนรูและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนเห็นผล เห็นคุณคาและจัดทําเว็บไซตธรรมะของโรงเรียน

๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา - สามารถดําเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดดี - ท้ังโรงเรียนมีการดําเนินการเปนหนึ่งเดียว - มารวมสอนนักเรียน รวมกิจกรรมทางศาสนา รวมกับนักเรียน ครู และกรรมการรวมพัฒนาชุมชนใกลเคียง - สนับสนุนกิจกรรมและขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูชุมชน ๒. การจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพ

๒.๑ อาคาร สถานท่ี และส่ิงแวดลอม - มีความเปนระเบียบ เรียบรอย สวยงามเปนสัดสวน - เปนแหลงศึกษา เรียนรู ปลูกฝงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเกิดข้ึนกับเด็ก - มีแหลงการเรียนรู อาคารสถานท่ีท่ีเหมาะสม สวยงาม รมรื่น - นักเรียนเกิดความรักและเสียสละเวลาในการดูแลรักษาแหลงเรียนรู อาคารสถานท่ีของโรงเรียน

Page 36: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๓๒

๒.๒ แหลงเรียนรู/ฐานการเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ/หรือ กิจกรรมการเรียนรู หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - เปนแหลงเรียนรูท่ีดี ท้ังลานธรรม ลานอเนกประสงค และการจัดการเรียนในหองเรียน - ใชแหลงการเรียนรูไดทุกสวนของโรงเรียน - นักเรียนรักษาศีล ๕ และอาราธนาศีล ๕ ไดทุกระดับชั้น ตั้งแตอนุบาลถึงชั้น ม. ๖ ๓. ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก

๓.๑ ความสัมพันธกับสถานศึกษาอ่ืนในการขยายผลการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ขยายผลหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดดี - พัฒนาหลายโรงเรียนจนไดรับรางวัลสถานศึกษาพอเพียง เชน โรงเรียนศรีแสง - ผานการประเมินเปนสถานศึกษาพอเพียงป ๒๕๕๗ และเปนตนแบบป ๒๕๕๖

๓.๒ ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีสังกัด และ/หรือ หนวยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน) - ไดรับความรวมมือจากตํารวจครู DARE /นายกเทศบาลนครรังสิตและชุมชนไวใจในการจัดกิจกรรม - สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ สงเสริม สนับสนุน นิเทศติดตาม จนโรงเรียนสามารถคัดกรองศูนยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สรุปขอสังเกตแตละตัวช้ีวัด ๑. บุคลากร

๑) ความรูความเขาใจ

๑.๑ ผูบริหาร - ดีมาก - มีความรูความเขาใจระดับสูง - มีแผนปฏิบัติการถายทอดไดเพราะมีความรูความเขาใจดี - มีความรูความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความมุงม่ันตั้งใจขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๑.๒ ครู - ดีมาก - มีความรูชวยกิจกรรมดี - มีครูแกนนําท่ีเขาใจ สามารถถายทอดได - ครูสวนใหญมีความเขาใจและสามารถถายทอดแกนักเรียนได

๑.๓ นักเรียน

Page 37: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๓๓

- ดีมาก - มีสวนรวมในการเรียนรูและรวมกิจกรรม - นักเรียนแกนนําในแตละฐานมีความรูความเขาใจดี - นักเรียนแกนนําระดับมัธยมปลายเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได แตประถม/มัธยมตนเชื่อมโยงไมได

๑.๔ คณะกรรมการ - ดี - ใหความรวมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนา - มีสวนรวมในการพัฒนา - มีความเขาใจและนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนินชีวิต

๒) การปฏิบัติตน

๒.๑ ผูบริหาร - ดีมาก - เปนแบบอยางได - เปนแบบอยางท่ีดีแกคณะครู นักเรียน ผูปกครอง - ปฏิบัติตนเปนแบบอยางและเปนท่ียอมรับของครูผูปกครอง

๒.๒ ครู - ดี - เนนผูท่ีใกลชิด สนิทสนมกับเด็ก - รวมมือกับทีมผูบริหารดี - มีกิริยา มารยาทสุภาพ เรียบรอยและเปนตนแบบได

๒.๓ นักเรียน - ดีมาก - สุภาพ เรียบรอย - พยายามฝกฝนและตั้งใจ ประพฤติปฏิบัติตนดี - นักเรียนมีมารยาทสุภาพเรียบรอย

๒.๔ คณะกรรมการ - ดี - นําไปปฏิบัติชวยสถานศึกษา - เปนบุคคลท่ีมีสวนรวม สนับสนุน - มีความรูความเขาใจและใหการสนับสนุนและเปนตัวอยางแกบุตรหลาน ๓) การนําไปใชในการบริหารจัดการ

๓.๑ ผูบริหาร - ดีมาก

Page 38: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๓๔

- ในวิถีชีวิต/ในการปฏิบัติงาน - ยึดหลักการมีสวนรวมในการวางแผนรวมกัน - มีปรากฏในวิสัยทัศน พันธกิจและเปาประสงค

๓.๒ ครู - ดีมาก - ใชในการกําหนดและชวยกิจกรรม - มีสวนรวมในการคิด ปฏิบัติและประเมินผล - มีตัวอยางแผนการจัดการเรียนรูท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๓.๓ นักเรียน - ดี - รวมกิจกรรมตามท่ีโรงเรียนกําหนด - นักเรียนแกนนําสอนรุนนอง ๆ/เปนแบบอยางดี - มีทักษะงานอาชีพ

๓.๔ คณะกรรมการ - ดีมาก - ใหความรวมมือ - รวมมือและวางแผนรวมกัน - รวมวางแผนบริหารจัดการรวมกับโรงเรียน ๔) การถายทอดประสบการณ/ส่ือนวัตกรรม/ความมุงม่ันในการขับเคล่ือน

๔.๑ ผูบริหาร - ดีมาก - เปนวิทยากร - พัฒนาอบรมอยางตอเนื่อง/จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู - มีความรูความเขาใจและสามารถถายทอดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดอยางชัดเจน

๔.๒ ครู - ดีมาก - เปนวิทยากร จิตอาสา - แลกเปลี่ยนเรียนรูพัฒนาสื่อ/มีเรื่องเลาจากประสบการณ - ยังไมชัดเจนในการถายทอดและเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๔.๓ นักเรียน - ดี - สื่อความไดดี เขาใจ - ถายทอดเรื่องเลาแลกเปลี่ยนประสบการณได

Page 39: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๓๕

- นักเรียนบางฐานไมสามารถอธิบายเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได

๔.๔ คณะกรรมการ - ดี - สื่อสารเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดอยางเขาใจ - สนับสนุนในการขับเคลื่อน - มีความรูความเขาใจและเปนผูเห็นความสําคัญการปลูกฝงใหนักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม ๕) การขยายผลการขับเคล่ือน

๕.๑ ผูบริหาร - ดีมาก - มีเครือขายขยายผล - จัดอบรม/เปนวิทยากร/จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู - มีการขยายผลชัดเจน จํานวน ๕ โรงเรียน

๕.๒ ครู - ดีมาก - จิตอาสา/วิทยากร - เปนวิทยากรแกนนํากับโรงเรียนเครือขาย - ครูเปนวิทยากรหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหแกโรงเรียนเครือขาย

๕.๓ นักเรียน - ดีมาก - เปนตัวอยางการขยายผล - เปนนักเรียนเครือขายในการขับเคลื่อนประจําฐานตาง ๆ ไดดี - นักเรียนสรางเว็บไซตเผยแพรและตอบคําถามทางธรรมะและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๕.๔ คณะกรรมการ - ดีมาก - ใหความเขาใจและรวมมือกับสถานศึกษา - สนับสนุนงบประมาณ/ใหคําแนะนํา/จัดหาอุปกรณตาง ๆ - มีสวนรวมในการกํากับ ติดตาม นิเทศครู และติดตามการปฏิบัติของนักเรียน ๖) การยอมรับและการใหความรวมมือ

๖.๑ ผูบริหาร - ดีมาก - ไดรับการยอมรับในความรูความสามารถ

Page 40: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๓๖

- ชุมชนใกลเคียง ผูปกครองและโรงเรียนเครือขายยอมรับดีมาก - โรงเรียนเครือขาย/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒/ชุมชน/ครู/นักเรียน ใหการยอมรับ

๖.๒ คร ู - ดีมาก - ไดรับการยอมรับในการขยายผล - ทุกสวนยอมรับในความสามารถของวิทยากรเครือขาย - ครูไดรับการยอมรับจากผูปกครองและชุมชน

๖.๓ นักเรียน - ดีมาก - ใหความรวมมือในงานท่ีรับผิดชอบดี - ทุกสวนยอมรับวานักเรียนเขาใจและปฏิบัติได - นักเรียนมีกิริยา มารยาทเรียบรอยเปนท่ีชื่นชมของชุมชนและผูปกครองผูมาศึกษาดูงาน

๖.๔ คณะกรรมการ - ดีมาก - ใหความรวมมือกับฝายบริหารไดดี - รวมมือกับผูบริหารในการพิจารณาจัดฐานการเรียนรู - คณะกรรมการเปนท่ียอมรับของผูอํานวยการ ครูและชุมชนในการสนับสนุนโรงเรียนดีมาก ๗) อ่ืนๆ

๗.๑ ผูบริหาร - มีบุคลิกความเปนผูนําสูง เปนท่ียอมรับของครู บุคลากร กรรมการสถานศึกษา - ผูบริหารมีความตั้งใจ ถายทอดและพัฒนาครู นักเรียน

๗.๒ ครู - ดี

๗.๓ นักเรียน - ดี

๗.๔ คณะกรรมการ - ดีมาก ๘) วิธีการประเมิน

๘.๑ ผูบริหาร - สังเกต สัมภาษณ ดูผลงาน - สังเกต/ฟงการบรรยาย

Page 41: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๓๗

- สังเกตจากสภาพจริง ดูเอกสาร จากวีดีทัศนนําเสนอ และพูดคุย - สังเกต สัมภาษณ เอกสาร

๘.๒ ครู - สังเกต สัมภาษณ ดูผลงานและการนําเสนอ - สัมภาษณ/สังเกต/สอบถาม - สังเกต สัมภาษณ เอกสาร

๘.๓ นักเรียน - สังเกต สัมภาษณ ดูผลงานและการนําเสนอ การตอบคําถาม - สัมภาษณ/สังเกต/สอบถาม - สังเกต สัมภาษณ เอกสาร

๘.๔ คณะกรรมการ - มีความกระตือรือรนและสนับสนุนโรงเรียนเต็มท่ี - สัมภาษณ/สังเกต/สอบถาม - สังเกต สัมภาษณ เอกสาร ๒. ดานการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพ

๒.๑ อาคารสถานท่ี และส่ิงแวดลอม

๑) ผูรับผิดชอบ - ชัดเจน - มีผูรับผิดชอบ - มีฝายอาคารสถานท่ี ดูแล อาคาร สิ่งแวดลอมใหอยูในสภาพสะอาด ปลอดภัย รมรื่น สวยงามตลอดเวลา มีครูและนักเรียนรวมรับผิดชอบ - มีคําสั่งแตงตั้งผูรับผิดชอบ ดูแล อาคารสถานท่ีและฐานการเรียนรู

๒) แผน/นโยบาย - ชัดเจน - มีใหตรวจสอบและถือปฏิบัติ - มีแผน-นโยบาย และแนวปฏิบัติชัดเจน มีมาตรการตัวชี้วัดเปนระบบดี - มีนโยบายแผนพัฒนาคุณภาพ แผนปฏิบัติการประจําปท่ีขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง/กําหนดอยูในวิสัยทัศน

๓) ศูนยขอมูล/แผนผังแสดงแหลงการเรียนรู/ฐานกิจกรรมฯ - ดี มีเอกสารและการนําเสนอเปนรูปธรรม - มีเอกสารใหตรวจสอบ - มีแผนผัง แสดงแหลงการเรียนรูและฐานกิจกรรม - มีผังแสดงแหลงเรียนรู/ฐานกิจกรรมในแผนผังใหกรรมการ/แตไมพบแผนผังใหญ

๔) การมีสวนรวมและนักเรียน

Page 42: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๓๘

- มาก - มีสวนรวมอยางชัดเจน - นักเรียนแบงฐานรับผิดชอบ ในแตละฐาน ชวยกันดูแลหอง/สวน/สถานท่ี ทําใหเปนระเบียบดี - นักเรียนมีสวนรวมในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยสรางเว็บไซตของโรงเรียนใหผูสนใจเขามาแลกเปลี่ยนเรียนรูกัน

๕) การใชประโยชน และการมีสวนรวมของชุมชน - คุมคา เกิดประโยชนมาก ๆ - ใชประโยชนอยางคุมคา และเปดโอกาสใหใชอาคารเปนสถานท่ีจัดกิจกรรมของชุมชนเทศบาลนครรังสิต และตํารวจครู D.A.R.E มาสอน - ชุมชนเขามาใหการสนับสนุน และมีการติดตามการดําเนินงานของโรงเรียนอยางสมํ่าเสมอ

๖) อ่ืนๆ - อาคารสะอาด สวยงาม สวนหยอม เปนระเบียบเรียบรอยดี

๗) วิธ/ีแนวทางการประเมิน - ดีมาก ชมการสาธิต ดูเอกสาร เยี่ยมชมสถานท่ีจริง - สอบถาม/ฟงการบรรยาย - สังเกตจากอาคาร/สถานท่ี/วีดีทัศน/สัมภาษณ - สังเกต/สัมภาษณ/เอกสาร ๒.๒ แหลงเรียนรู/ฐานการเรียนรู ปศพพ. และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู ปศพพ.

๑) ความสอดคลองกับภูมิสังคม - สอดคลองมาก - มีแหลงเรียนรูตามท่ีเสนอในเอกสารและเกิดประโยชน - ถึงแมอยูในสังคมเมือง มีแหลงเรียนรูท่ีปรับวิถีชีวิต โรงเรียนดึงธรรมะมาเก่ียวของ รวมกันฝกกิจกรรมฝกอาชีพเบื้องตน เชน ประดิษฐดอกไม น้ําจากสมุนไพร ปุยชีวภาพ ฯลฯ - ภูมิสังคมอยูในชุมชนท่ีเปนชุมชนเมือง โดยรอบบริเวณโรงเรียนมีสิ่งเสพติด การพนัน และอบายมุขตาง ๆ แตโรงเรียนบริหารจัดการโดยใชลานคุณธรรมในการปลูกฝงธรรมะ และอบรมกิริยามารยาทอันดีงามใหแกนักเรียน

๒) ส่ือประกอบการเรียนรู - มีมาก - มีทุกกิจกรรม - มีหองประกอบ สิ่งตาง ๆ เพียงพอใหนักเรียนไดศึกษาหาความรู มีปายนิเทศใหความรูเหมาะสม - ลานธรรมเจริญปญญา/เว็บไซตธรรมะนักเรียนเปนผูสรางข้ึน

Page 43: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๓๙

๓) วิทยากรรับผิดชอบ - ดี และมากเพียงพอ - มีครูรับผิดชอบ - มีครู และนักเรียนแกนนําในแตละฐานการเรียนรูท่ีเหมาะสม สามารถเลาประสบการณได - มีครูและนักเรียนรับผิดชอบเปนวิทยากรในการอธิบายเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหแกผูมาศึกษาดูงาน

๔) แผนการจัดการเรียนรูของแหลงเรียนรู/ฐาน/กิจกรรมการเรียนรู - ชัดเจน - มีใหตรวจสอบโดยการใช K.M. มาเปนแผนภูมิ องคความรู - มีแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูของฐานการเรียนรู - มีแผนการจัดการเรียนรูท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทุกฐานการเรียนรูและทุกกลุมสาระการเรียนรู

๕) ความสามารถในการอธิบายของวิทยากร - ชัดเจน - มีความชัดเจน แตควรมีการอธิบายใหกวางขวางและเชื่อมโยงในหลายมิติ - มีแปลงสาธิตของยุวเกษตร/นักเรียนทําปุยหมักชีวภาพ ปลูกถ่ัวงอก ผลิตดอกไม สาธิตการนวด ฯลฯ รวมท้ังอธิบายใหผูมาเยี่ยมชมได - นักเรียนชั้น ม.๕-ม. ๖ สามารถในการอธิบายฐานการเรียนรูได แตนักเรียนชั้นประถมยังไมสามารถอธิบายและเปนวิทยากรได

๖) การประเมินและพัฒนาฐาน/กิจกรรม - ทําไดดีเปนรูปธรรม - ยังไมพบ ควรเพ่ิมเติม - มีการพัฒนาฐาน จัดปายความรู มีนักเรียนแกนนํา หมุนเวียนจากรุนสูรุนได - ดูเอกสารหลักฐานสถิติการใชฐาน/บันทึกหลังการสอนของครู

๗) อ่ืนๆ - จัดเปนฐานใหญ ๓ ฐาน ไดแก ฐานพุทธธรรมนําชีวิตพอเพียง/สวนครัวพอเพียง/การเรียนรูสูอาชีพ

๘) วิธ/ีแนวทางการประเมิน - ศึกษาเรียนรูจากของจริง - สัมภาษณ/ฟงการบรรยายสรุป - ศึกษาเอกสาร ชมวีดีทัศน ชมฐานการเรียนรู สังเกตจากการรายงานกิจกรรมของนักเรียน - สังเกต/สัมภาษณ/เอกสาร ๓. ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก

Page 44: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๔๐

๓.๑ ความสัมพันธกับสถานศึกษาท่ัวไปในการขยายผลการขับเคล่ือนหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๑) มีเครือขายการเรียนรู - เพียงพอ และมีผูสนใจมากพอ - มีสถานศึกษาพอเพียงท่ีเปนเครือขายมารวม และแสดงความคิดเห็น ๒ โรงเรียน คือ โรงเรียนทองพูล และโรงเรียนศรีแสง อีก ๔ โรงเรียนผานการประเมิน - มีเครือขาย ๔-๕ โรงเรียน ท่ีไปรวมเรียนรูเพ่ือขอประเมินเปนสถานศึกษาพอเพียง ผูบริหารมาใหขอมูลรวมกับคณะครู - มีโรงเรียนในเครือขาย จํานวน ๕ โรงเรียน ประกอบดวย โรงเรียนแสงสรรค โรงเรียน ทองพูล โรงเรียนวัดเขียนเขต โรงเรียนนวมินทราชูทิศพายัพ

๒) การเปนสถานศึกษาดูงาน - โรงเรียนแหงนี้เปนแหลงศึกษาดูงานกับโรงเรียนเครือขายและโรงเรียนอ่ืน ๆ - เปนโรงเรียนขนาดใหญอยูในชุมชน จึงเปนแหลงเรียนรูของชุมชน/เทศบาลนครรังสิตและสถานศึกษาใกลเคียง - มีโรงเรียนมาดูงาน ประมาณ ๑๗ โรงเรียน แตมาดูเรื่องอ่ืน ๆ ดวย เชน โรงเรียนพระราชทาน โรงเรียนดีศรีตําบล โรงเรียนคุณธรรม

๓) การบริหารจัดการเพ่ือเปนสถานศึกษาดูงาน - มีความพรอมสูง - การมีสวนรวมของผูบริหาร ครู และนักเรียน แกนนําในการจัดสถานท่ี/ตอนรับ/เปนวิทยากรแกนนํา มีการจัดเอกสาร/โครงงาน และสาธิตกิจกรรมตาง ๆ เปนปกติ - ยังไมไดวางแผนรองรับการมาศึกษาดูงาน

๔) การเปนแกนนําของเครือขายขับเคล่ือน - เหมาะสม - มีผลงานการเปนแกนนํา - มีหลักสูตรบูรณาการสาระตาง ๆ ครบ ๘ กลุมสาระ มีการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู - มีครูเครือขายขับเคลื่อน แลกเปลี่ยนเรียนรูทางดาน ICT เปนท่ีปรึกษาใหแกโรงเรียนเครือขาย

๕) ความสามารถในการพัฒนา - ดีมาก - ดี และเปนปจจุบัน - เปนสถานศึกษาในโครงการ โรงเรียนคุณธรรม นําวิชาการโรงเรียนดีศรีตําบล เปดโอกาสใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูปกครอง ชุมชน ผูนําทางศาสนามารวมนิเทศ - ดานคุณธรรมจะมีความเดนชัด แตการใชฐานการเรียนรูและการเชื่อมโยงหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงยังไมชัดเจน มีการสาธิตประจําฐานนอยไป นักเรียนประจําบางฐานยังอธิบายไมไดชัดเจน ตองพัฒนา

Page 45: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๔๑

๖) อ่ืนๆ - ผูบริหารมีความสัมพันธดีกับชุมชน

๗) วิธ/ีแนวทางการประเมิน - สัมภาษณ - สังเกต สัมภาษณ ฟงการบรรยาย - สัมภาษณผูเก่ียวของ/ผูบริหาร/ครู/ชุมชน - สังเกต สอบถาม เอกสาร/การบันทึกในสมุดเยี่ยม ๓.๒ ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีสังกัด และ/หรือหนวยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน)

๑) ความสัมพันธกับหนวยงานตางๆ - ดี - กับสถานศึกษาท่ัวไปในการศึกษาดูงาน - มีเทศบาลนครรังสิต/สถานีตํารวจจุฬาภรณ/โรงเรียนเครือขาย เชน โรงเรียนศรีแสง/ เขตพ้ืนท่ี - มีชุมชน หนวยงานอ่ืนมาสนับสนุน เชน องคการบริหารสวนจังหวัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒

๒) การประสานความรวมมือเพ่ือสนับสนุน - มีกรรมการสถานศึกษาเปนแกนนําใหการสนับสนุน - ไดรับการสนับสนุนจากทองถ่ินตามสมควร - นายกเทศบาลนครรังสิต ใหการสนับสนุน เนื่องจากเปนโรงเรียนดีศรีตําบล/เจาหนาท่ีตํารวจ - ชุมชนเขมแข็งใหการสนับสนุนดีมาก โดยเฉพาะกรรมการสถานศึกษามาดูแลโรงเรียน นิเทศการสอนของครูในหองเรียน

๓) ความสามารถในการบริหารจัดการความสัมพันธ - เยี่ยม จากภาวะผูนําของผูอํานวยการโรงเรียน - ไดรับการยอมรับ - รวมกิจกรรมอยางตอเนื่อง เปดโอกาสใหชุมชนเขามาใชสถานท่ี และสงครู นักเรียนเขารวมกิจกรรมของเทศบาล - มีเว็บไซตของโรงเรียนในการเผยแพรประชาสัมพันธ/ผูบริหารเปนท่ียอมรับของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ และโรงเรียนในเขตพ้ืนท่ีและชุมชน

๔) การยอมรับและความรวมมือจากหนวยงาน/การขยายผล - เปนท่ียอมรับมาก - ไดรับความรวมมืออยางดี

Page 46: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๔๒

- ทุกภาคสวนยอมรับ และรวมมือดี แลกเปลี่ยนเรียนรูดวยกันอยางตอเนื่อง - เปนแหลงศึกษาดูงานของโรงเรียนในเขตพ้ืนท่ีและโรงเรียนอ่ืน ๆ/มีผูปกครองเขามาเรียนรูเรื่องการทําน้ําหมักจุลภาพ

๕) การประสานความรวมมือเพ่ือพัฒนาฯ - ดีมาก - มีการพัฒนาอยางเปนประจักษ - ชุมชนสนับสนุนในการจัดกิจกรรม - มีองคการบริหารสวนจังหวัด/กรรมการสถานศึกษา/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒

๖) อ่ืนๆ - ความสัมพันธโดยสวนรวมกับชุมชนใกลเคียง/สถานศึกษาตาง ๆ ดีมาก

๗) วิธ/ีแนวทางการประเมิน - สัมภาษณ ดูผลงาน - ฟงบรรยาย นําเสนอ/สอบถาม - สัมภาษณผูมีสวนเก่ียวของ ผูบริหาร/ครู - สังเกต/สัมภาษณ/เอกสาร

(ลงชื่อ).................................................................... ผูรายงาน (นางสาวกัลยา ทารักษ) นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ

Page 47: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๔๓

ภาพกิจกรรม

Page 48: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๔๔

ภาพกิจกรรม

Page 49: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๔๕

๒. โรงเรียนวัดเขียนเขต สังกัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ สถานท่ีตั้ง ถนนรังสิต ตําบลบึงยี่โถ อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย ๑๒๑๓๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๓๓ ๑๔๕๔ โทรสาร ๐ ๒๕๓๓ ๑๔๕๔ website www.wkkschool.ac.th ช่ือ – สกุลผูอํานวยการสถานศึกษา นายจเร ทองลักษณศิร ิ โทรศัพท ๐๘ ๑๘๗๔ ๓๖๘๖ ช่ือ – สกุลรองผูอํานวยการสถานศึกษา นางอําไพพรรณ ไฝด ีโทรศัพท ๐๘ ๔๗๓๕ ๘๕๑๗ ช่ือ – สกุลครูแกนนํา ๑. นางอนงค จิตจรูญ โทรศัพท ๐๘ ๙๕๑๘ ๗๙๙๕ ๒. นางสาวนุชจรินทร ยีรัมย โทรศัพท ๐๘ ๗๗๙๐ ๓๑๑๙ ๓. นางสาววรลักษณ สุธาเนตร โทรศัพท ๐๘ ๗๕๒๙ ๘๔๑๓

เหตุผลท่ีสถานศึกษาขอรับการประเมินเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา โรงเรียน วัดเขียนเขต สังกัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ไดขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติภายในสถานศึกษา ท้ังนี้เพ่ือให ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน มีรากฐานความรูความเขาใจสามารถปฏิบัติตนอยูในวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไดอยางนาพึงพอใจและยั่งยืน โดยใชทรัพยากรท่ีมีอยูใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด เพ่ือขยายแนวคิดหลักการและแนวทางปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูครอบครัว ชุมชนและสังคม โรงเรียนวัดเขียนเขตไดสรางศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือพัฒนาสังคมข้ึน มีลักษณะเปน “หองเรียนแหงความพอเพียง” ของนักเรียน ครู ผูปกครอง และบุคคลผูสนใจในชุมชนและสังคม ไดมีโอกาสใชศูนยการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงฯ เพ่ือพัฒนาตนเอง นําหลักการไปประยุกตใชไดจริงในชีวิตประจําวัน เปนพ้ืนฐานในการพัฒนาสังคม ประเทศชาติสืบตอไป บริบทของสถานศึกษา / ลักษณะชุมชน / ภูมิสังคม โรงเรียนวัดเขียนเขตตั้งอยูในพ้ืนท่ีปกครองของเทศบาลเมืองบึงยี่โถ แบงการปกครองออกเปน ๔ หมูบานประชาชนในเขตบริการมี ๒ หมูบาน คือหมูท่ี ๑ และหมูท่ี ๒ รวมจํานวนท้ังสิ้น ๑๓,๒๑๐ ครัวเรือน มีประชากรท้ังสิ้นจํานวน ๓๐,๗๖๖ คน แยกเปนชาติ ๑๔,๑๓๘ คน หญิง ๑๖,๖๒๘ คน วิสัยทัศน โรงเรียนวัดเขียนเขตเปนองคกรแหงการเรียนรูท่ีมีความสุข สรางคนดี มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากลบนวิถีแบบไทย และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือกาวสูประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก พันธกิจ

Page 50: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๔๖

พัฒนาผูเรียนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู เปนคนดี มีความสุข ในบรรยากาศการเรียนรูท่ีหลากหลายบนวิถีชีวิตแบบไทยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีคุณภาพระดับมาตรฐานสากลสงเสริม สนับสนุน พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหเปนบุคคลแหงการเรียนรูสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพไดอยางสมบูรณ

คานิยมขององคกร “องคกรมาตรฐานสรางคุณคา พัฒนาความรู สูผูเรียนดวยความรักและเอ้ืออาทร” “WKKS” ดังนี้ W Worth ความมีคุณคา K Knowledge ความรู K Kindness ความกรุณา S Standard ความมีมาตรฐาน

เปาหมาย ๑. ผูเรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและมาตรฐานสากล เพ่ือพัฒนาสูความเปนเลิศ ๒. ผูเรียนมีวิถีชีวิตแบบไทยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. ผูเรียนในเขตพ้ืนท่ีบริการทุกคนไดรับโอกาสทางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตั้งแตอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอยางมีคุณภาพท่ัวถึงและเสมอภาค ๔. ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เต็มตามศักยภาพ ๕. สมาชิกในองคกรสามารถบริหารจัดการความรูเพ่ือพัฒนาองคความรูและคุณภาพชีวิตท่ีดี ๖. สถานศึกษามีความเขมแข็งตามหลักธรรมาภิบาล และเปนกลไกขับเคลื่อนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสูระดับคุณภาพมาตรฐานสากล

กลยุทธ ๑. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรูเทียบเคียงมาตรฐานสากล ๒. พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล ๓. ปลูกฝงคุณธรรม ความสํานึกในความเปนชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสูมาตรฐานวิชาชีพและมีความเปนสากล ๕. สรางเครือขาย สงเสริมและพัฒนาความรวมมือในการจัดการศึกษาระหวางเครือขายกับสถานศึกษา ๖. บริหารจัดการดวยระบบคุณภาพ ผูบริหาร ครู บุคลากร ชุมชนและองคกร ภายนอก มีสวนรวมในการกําหนดแผนปฏิบัติงาน บรรลุเปาหมายและกลยุทธ ท่ีสอดคลองกับปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน และพันธกิจ มีการสรางระบบการมีสวนรวม ผูเก่ียวของทุกฝายใหความรวมมือเปนอยางดี มีความพึงพอใจไมนอยกวารอยละ ๙๐ มีผลการดําเนินงานการเกิดผลกระทบท่ีดีตอชุมชน

เอกลักษณของสถานศึกษา / อัตลักษณของนักเรียน เอกลักษณของสถานศึกษา : “คุณธรรม นําความรู สูความเปนสากล”

Page 51: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๔๗

อัตลักษณของนักเรียน : คือ “เด็กไทยไหวสวย” มีคํากลอนสะทอนถึงอัตลักษณของนักเรียน ดังนี้ “มารยาทของเด็กไทย จงจําไว ไหวใหสวย เทาชิดกมหัวดวย จะไดชวยใหสวยงาม”

ขอสังเกตโดยรวมของคณะผูประเมิน โรงเรียนวัดเขียนเขต ตําบลบึงย่ีโถ อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี

วันท่ี ๑๖ กันยายน ๒๕๕๗

สรุปขอสังเกตตามตัวช้ีวัด ดานการใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการวางแผน

๑. บุคลากร

๑.๑ ผูบริหาร - นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการวางแผนบริหารจัดการและใหครูนําไปสูการเรียนการสอน - ใชหลักธรรมาภิบาลวางแผนรอบคอบ - กําหนดนโยบายรวมกัน - มีการดําเนินการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใชจริง - ผูบริหารมีวิสัยทัศนในการขับเคลื่อน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และบริหารงานบนพ้ืนฐานของความพอประมาณ

๑.๒ คร ู - สวนใหญรู เขาใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - อบรมครูแกนนํา - มีหลายคนท่ีมีจิตอาสาชวยงานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน - รวมวางแผนทํางานเปนทีม - ครูวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยจัดทําหนวยการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรู

๑.๓ นักเรียน - ในแตละฐานเสนอความคิดเก่ียวกับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได - ใชหลักคิด/ใชเวลาวางใหเกิดประโยชน รวมกันคิด/แกปญหาระหวางการทํางาน - รูจักวางแผนการศึกษาในอนาคต การใชเงิน การออมเงิน และการแบงเวลาในการเรียน เลน/พักผอน

๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา - รู เขาใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - มีสวนรวมในการวางแผน ใหคําปรึกษาตางๆ - รวมวางแผนการทํางานกับโรงเรียน - รองเจาอาวาสวัดเขียนเขต และกรรมการสถานศึกษามีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาโรงเรียน

Page 52: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๔๘

๒. การจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพ

๒.๑ อาคาร สถานท่ี และส่ิงแวดลอม - ใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทาง - ใชอาคารอยางคุมคา - มีการวางแผนการใช - มีผูรับผิดชอบ - ใชหลักการวางแผนในการจัดเตรียม จัดสภาพแวดลอม - อาคาร สถานท่ีสะอาด รมรื่น เอ้ือตอการเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ผูปกครองหาเงินสรางอาคารให

๒.๒ แหลงเรียนรู/ฐานการเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ/หรือ กิจกรรมการเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - มี concept ของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหเด็กทราบในสิ่งตาง ๆ - มีการปรับฐานใหม เพ่ิมเติมตามบริบท เชน ฐานดนตรี/ธนาคารขยะ - มีฐานการเรียนรูและแหลงเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน ๑๐ ฐาน ๓. ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก

๓.๑ ความสัมพันธกับสถานศึกษาอ่ืนในการขยายผลการขับเคล่ือน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - มีโรงเรียนเครือขาย ๘ โรงเรียน ท้ังเอกชนและทองถ่ินใหความรวมมือ - มีโรงเรียนเครือขายท่ีมาศึกษาดูงานหลายโรงเรียน - มีการวางแผนขยายผลการขับเคลื่อนทํางานรวมกันเปนทีม - การมีสวนรวมในการบริหาร เชน ผูปกครอง เทศบาลเมืองบึงยี่โถ

๓.๒ ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีสังกัด และ/หรือ หนวยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน) - วัดมีสวนอยางมากในการพัฒนาดานอาคารสถานท่ีและการบริหารจัดการ - วางแผนรวมมือกับวัดเขียนเขต เทศบาลเมืองยี่โถมีสวนรวมในการขับเคลื่อน - ภาคเอกชน หนวยงานภายนอกรวมวางแผน - วัดเขียนเขต/กรรมการสถานศึกษา /เทศบาลเมืองบึงยี่โถ มีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาโรงเรียน

ดานการใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการปฏิบัติ

๑. บุคลากร

๑.๑ ผูบริหาร

Page 53: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๔๙

- จัดไดอยางเหมาะสม โรงเรียนมีการวางตัวบุคลากร การพัฒนาแหลงเรียนรู - ชวยเหลือสังคม - ดําเนินชีวิตตามอัตภาพ เอ้ืออาทร ประนีประนอม - มีระบบการทํางานท่ีนําไปปฏิบัติชัดเจน - มีการพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความเขาใจโดยไปศึกษาดูงาน โรงเรียนศูนย

๑.๒ คร ู - เปนไปตามท่ีนําเสนอในเอกสารของโรงเรียน ครูนําไปใชมาก - เปนตัวอยางท่ีดีถายทอดไปยังครูในโรงเรียนเครือขาย - เนนหลักคิดในการปฏิบัติตามแผนงาน - เปนแบบอยางในการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหแกนักเรียน/ผูปกครอง

๑.๓ นักเรียน - เขาใจ และกลาในการแสดงออก การนําเสนอ - ถายทอดความรูและนําความรูไปเผยแพรในชุมชน - เปนแบบอยางท่ีดีใหแกรุนนองๆ และเพ่ือนๆ โรงเรียน อ่ืนๆ ท่ีมาศึกษาดูงาน

๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา - สนับสนุนการดําเนินงานทุกรูปแบบ - สงเสริมและมาชวยเปนวิทยากร นําไปใชปฏิบัติในการทํางาน - และมีผลงานในการปฏิบัติ - ผูปกครอง/ชุมชน และหนวยงานภายนอกยอมรับการบริหารงานของโรงเรียน ๒. การจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพ

๒.๑ อาคาร สถานท่ี และส่ิงแวดลอม - วิเคราะหสถานท่ีใชประโยชนคุมคา - ดูแลรวมกัน แบงกันรับผิดชอบ/มีสวนรวม - สภาพแวดลอมถูกบริหารจัดการจนเกิดประโยชน - การใชอาคารสถานท่ีในการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางเหมาะสม

๒.๒ แหลงเรียนรู/ฐานการเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ/หรือ กิจกรรมการเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - จัด ๑๐ ฐาน และการบูรณาการเขากับกลุมสาระการเรียนรู ๘ กลุม - นักเรียน/ครู/ชุมชน มีสวนรวมมากข้ึน - นักเรียน ไดเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู

Page 54: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๕๐

๓. ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก

๓.๑ ความสัมพันธกับสถานศึกษาอ่ืนในการขยายผลการขับเคล่ือน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - วันนี้มา ๔ โรงเรียน สนใจท่ีไดเรียนรูกับ โรงเรียนวัดเขียนเขต - วางแผนรวมกันแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน - บริหารงานโดยใชหลักเหตุผลและความพอประมาณ

๓.๒ ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีสังกัด และ/หรือ หนวยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน) - ทองถ่ิน เทศบาล ชุมชนมารวมดวยอยางมาก - นําความรูมาจัดเวที/ลานกิจกรรมในวันสําคัญตาง ๆ - ผูปกครอง ชุมชนสรางอาคารให ๑ หลัง ราคา ๔๐ ลานบาท - เทศบาลบึงยี่โถยังจัดการเรียนรูธนาคารขยะใหนักเรียน ไดใชเปนแหลงเรียนรู

ดานผลท่ีเกิดข้ึน

๑. บุคลากร

๑.๑ ผูบริหาร - โรงเรียนพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดดี เห็นเปนรูปธรรม - ปฏิบัติตนตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดหลัก ๔ M. ในการบริหาร - สามารถจูงใจใหผูรวมงานปฏิบัติงานไดอยางดี - โรงเรียน เปนท่ียอมรับของชุมชน/สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต ๒ และโรงเรียนมาศึกษาดูงาน

๑.๒ คร ู - จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดตรงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ท้ังท่ี โรงเรียน/บาน - สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามแผนท่ีกําหนดไว - นักเรียนมีคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย มีสัมมาคารวะ กิริยามารยาทสุภาพเรียบรอย

๑.๓ นักเรียน - จะไดมีการพัฒนาการใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มากข้ึน - มีทักษะการทํางาน รักการทํางาน รวมมือกันไดดี - สามารถรวมมือกับครูและอธิบายบอกเลาตลอดจนตอบขอซักถามได - นักเรียนอธิบายเชื่อมโยงฐานการเรียนรูและการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไดอยางถูกตองชัดเจน

Page 55: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๕๑

๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา - ประสานสัมพันธดี โรงเรียนไดพัฒนาอยางเปนระบบ - โรงเรียน มีแหลงการเรียนรูท่ีมีคุณภาพ ไดชวยสงเสริมพัฒนาครู/นักเรียน - สามารถสงเสริม สนับสนุนใหนักเรียนมีกิจกรรมปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - โรงเรียน เปนท่ียอมรับของชุมชนและหนวยงานตนสังกัดและคณะศึกษาดูงาน ๒. การจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพ

๒.๑ อาคาร สถานท่ี และส่ิงแวดลอม - ความเปนระเบียบเรียบรอย สวยงาม - อาคารสะอาด สวยงาม มีผูดูแลประจําอาคารตางๆ ดี - มีความเหมาะสมถูกใชประโยชนใหคุมคา - อาคารสถานท่ีสะอาด ตกแตงสวยงามเหมาะสมกับการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒.๒ แหลงเรียนรู/ฐานการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ/หรือ กิจกรรมการเรียนรู หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - จัดกิจกรรมท้ังโรงเรียน มีแผนผังนําชมและการนําเสนอของนักเรียน - นักเรียนสามารถใชแหลงเรียนรูไดมากข้ึน - แหลงเรียนรูกอใหเกิดการเรียนรูไดจริง สรางเสริมอุปนิสัยพอเพียง - นักเรียนมีคุณลักษณะอยูอยางพอเพียง ๓. ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก

๓.๑ ความสัมพันธกับสถานศึกษาอ่ืนในการขยายผลการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - มีการขยายผลไดอยางเปนรูปธรรม - ไดเปนสถานศึกษาพอเพียง ป ๕๖ หลายโรงเรียน - สามารถขยายผลไปยังสถานศึกษาท่ัวไปไดรับการประเมินเปนสถานศึกษาพอเพียง - มูลนิธิใหการสนับสนุนหองเรียนรูสรางสรรคดานปญญา

๓.๒ ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีสังกัด และ/หรือ หนวยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน) - ชุมชนมีความสามัคคีและรวมพัฒนาโรงเรียนได - มีความสัมพันธท่ีดีระหวางบาน วัด โรงเรียน (ชุมชน) - มีการสนับสนุนการทํางานรวมกัน สรางความสัมพันธท่ีดี เกิดความภาคภูมิใจ - นักเรียนตระหนักและเห็นคุณคาในการอนุรักษสิ่งแวดลอม รวมกันลดสภาวะโลกรอน - นักเรียนมีกิริยามารยาทสุภาพ เรียบรอย งดงาม

Page 56: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๕๒

สรุปขอสังเกตแตละตัวช้ีวัด

๑. บุคลากร

๑) ความรูความเขาใจ

๑.๑ ผูบริหาร - ดีมาก - ศึกษาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดวยตนเอง/อบรม ดูงานจากท่ีตางๆ - มีความเขาใจ - ผูบริหารมีความรูความเขาใจและสามารถขยายผลสูบุคคลอ่ืนๆ ได

๑.๒ ครู - ดีมาก - ไดรับการพัฒนาจนเปนครูแกนนําหลายคน - ครูแกนนํารูและเขาใจ - ครูถอดบทเรียน - จัดการเรียนการสอนบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดอยางถูกตองชัดเจน

๑.๓ นักเรียน - ดี - สามารถนําความรูไปใชในการเรียนประจําวัน/ท่ีบาน - มีความเขาใจตอบคําถามได - นักเรียนสามารถถอดบทเรียนและอธิบายเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการประยุกตใชได

๑.๔ คณะกรรมการ - ดี - มีความรูความเขาใจเบื้องตน สนับสนุน - มีความเขาใจ - มีความรูความเขาใจ/ชวยเหลือ/สนับสนุนใหโรงเรียนจัดการเรียนการสอนท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒) การปฏิบัติตน

๒.๑ ผูบริหาร - ดีมาก - สามารถพ่ึงตนเอง มีจิตสํานึกท่ีดี เก้ือกูล/ประนีประนอม - เปนท่ียอมรับ - ปฏิบัติตนเปนแบบอยางจนเปนท่ียอมรับของครู นักเรียน ชุมชน/ผูปกครอง และตนสังกัด

Page 57: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๕๓

๒.๒ คร ู - ดีมาก - สามารถถายทอดและสอนไดดี - ดํารงตนจนประสบความสําเร็จ - เปนท่ียอมรับของภาคสวนตางๆ - ปฏิบัติตนเปนแบบอยางท่ีดีแกเพ่ือนครู นักเรียนและผูปกครอง

๒.๓ นักเรียน - ดีมาก - ประพฤติตนอยูในระเบียบวินัย รักการทํางาน - นารัก เรียบรอย - นักเรียนมีหลักคิดในการดําเนินชีวิต สามารถแยกแยะเหตุผล และรูผิดชอบชั่วดี

๒.๔ คณะกรรมการ - ดีมาก - ใชความรูดานทําปุยหมัก เพาะเห็ด มาประกอบอาชีพได - เขามามีสวนรวมกับโรงเรียน - การสนับสนุน สงเสริม และเห็นความสําคัญของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการของโรงเรียน ๓) การนําไปใชในการบริหารจัดการ

๓.๑ ผูบริหาร - ดีมาก - ใชหลัก ๔ M. มาบริหาร Man, Material, Money, Management - มีการนําไปใชในการกําหนดวิสัยทัศนและแผนอ่ืนๆ - มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา/แผนปฏิบัติการและปรากฏในวิสัยทัศนของโรงเรียน

๓.๒ ครู - ดีมาก - มีสวนรวมคิดวางแผนกับผูบริหาร - มีการจัดทําแผนการเรียนรู - ครูจัดทําแผนการเรียนรู/หนวยการเรียนรูท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๓.๓ นักเรียน - ดี - มีเจตคติท่ีดีในการประกอบอาชีพสุจริต - มีสวนรวมในโรงเรียน

Page 58: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๕๔

- นักเรียนสามารถวิเคราะหและสังเคราะหหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นําไปใชในชีวิตประจําวันได

๓.๔ คณะกรรมการ - ดีมาก - รวมสนับสนุนกับฝายบริหาร - รวมกิจกรรมกับโรงเรียน - สงเสริม สนับสนุน จัดทําฐานการเรียนรูใหนักเรียนไดเรียนรู/ชุมชน และคณะศึกษาดูงาน ๔) การถายทอดประสบการณ/ส่ือนวัตกรรม/ความมุงม่ันในการขับเคล่ือน

๔.๑ ผูบริหาร - ดีมาก - เปนวิทยากรใหการอบรม สนับสนุนการใชสื่อเทคโนโลยี - สามารถถายทอด มีความมุงม่ันในการขับเคลื่อน - นําเสนอแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการไดอยางถูกตองชัดเจนเปนแบบอยางท่ีดี

๔.๒ ครู - ดีมาก - เปนวิทยากรใหกับครู ใหโรงเรียนเครือขายท่ีมาเรียนรู/ศึกษา - สื่อสารอยางเขาใจ - ครูมีการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดกิจกรรม บรรยากาศการเรียนการสอน

๔.๓ นักเรียน - ดี - มีการเขียนเรื่องเลาจากประสบการณนักเรียนแกนนําเปนวิทยากรประจําฐาน - มีความตั้งใจมาก - นักเรียนสามารถเปนวิทยากรนําเสนอถายทอดใหบุคคลอ่ืนได

๔.๔ คณะกรรมการ - ดีมาก - บางสวนมาเปนวิทยากรใหครูและนักเรียน - มีความมุงม่ัน กระตือรือรน - สามารถนําความรูไปถายทอดใหแกบุคคลในครอบครัวหรือบุตรหลาน ๕) การขยายผลการขับเคล่ือน

๕.๑ ผูบริหาร

Page 59: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๕๕

- ดี - ใหคําแนะนําในการจัดทําแผนกับโรงเรียนเครือขาย - มีเครือขาย - มีภูมิความรูขยายผลได - มีโรงเรียนเครือขายมาศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน

๕.๒ ครู - ดี - จัดตลาดนัดความรู/มีหนวยการเรียนรูบูรณาการ - เปนแหลงศึกษาเรียนรู - และมีเครือขาย - ครูมีเครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ในการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู/หนวยงาน

๕.๓ นักเรียน - ดีมาก - เปนวิทยากรในการจัดนิทรรศการภายใน/ภายนอก - เขาไปรวมกิจกรรมท่ีโรงเรียนกําหนด - นักเรียนเปนวิทยากรขยายผลใหแกบุคคลท่ีมาศึกษาดูงานไดอยางถูกตอง

๕.๔ คณะกรรมการ - ดี - รวมเปนวิทยากรเวลามีคณะศึกษาดูงาน - สามารถรวมกิจกรรมได - คณะกรรมการรวมกับโรงเรียนในการขยายผลใหความรูความเขาใจใหแกผูมาศึกษาดูงาน ๖) การยอมรับและการใหความรวมมือ

๖.๑ ผูบริหาร - ดีมาก - ยึดหลักประโยชนสูง ประหยัดสุดทุกภาคสวนยอมรับ - ไดรับการยอมรับ ไดรับความรวมมือจากหนวยงาน/บุคคล - ชุมชนใหการยอมรับและใหการรวมมือ /เทศบาลบึงยี่โถ/วัดเขียนเขต

๖.๒ ครู - ดีมาก - ออกแบบการเรียนรูบูรณาการ เผยแพรใหคณะครู - ไดรับการยอมรับ - ครูไดรับการยอมรับและสนับสนุนจากชุมชน ผูปกครอง

Page 60: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๕๖

๖.๓ นักเรียน - ดี - ทุกคนยอมรับวานักเรียนมีความรูระดับหนึ่ง - ผูปกครองภูมิใจในบุตรหลานท่ีมีอุปนิสัยอยูอยางพอเพียง

๖.๔ คณะกรรมการ - ดีมาก - ไดรับการยอมรับจากชุมชน/ครูและนักเรียน - ไดรับการยอมรับ - กรรมการสถานศึกษาเห็นความสําคัญและใหการสนับสนุน ๗) อ่ืนๆ

ครู เปนบุคลากรของโรงเรียนไดรับการอบรม ไปศึกษาดูงาน ประชุมอบรม เพ่ือเปนวิทยากรแกนนําใหกับสถานศึกษาตาง ๆ ไดดี

๘) วิธีการประเมิน

๘.๑ ผูบริหาร - สังเกต/สัมภาษณ/ดูผลงาน - สัมภาษณ/พูดคุย/ดูจากเอกสารรายงาน/รองรอยการทํางาน - ฟงการนําเสนอ สอบถามจากการไดขอมูลของบุคคลอ่ืน - สังเกต/สัมภาษณ/เอกสาร

๘.๒ คร ู - สัมภาษณ/ดูผลงาน/ชมการสาธิต - ฟงการนําเสนอ สังเกต การสอบถาม - สังเกต/สัมภาษณ/เอกสาร

๘.๓ นักเรียน - สังเกต/สัมภาษณ/เยี่ยมชมนิทรรศการ/ชมการสาธิต - การนําเสนอ การสาธิต การตอบคําถาม - สังเกต/สัมภาษณ/เอกสาร

๘.๔ คณะกรรมการ - สัมภาษณ - สอบถาม/แสดงความคิดเห็น - สังเกต/สัมภาษณ/เอกสาร ๒. ดานการจัดการสภาพแวดลอมทางกายภาพ

๒.๑ อาคารสถานท่ี และส่ิงแวดลอม

Page 61: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๕๗

๑) ผูรับผิดชอบ - มีผูรับผิดชอบอาคารสถานท่ี/แหลงเรียนรูตางๆ เชน ฐานสหกรณ ดนตรีไทย การปลูกผัก - มีครูผูรับผิดชอบแบงเปน zone รับผิดชอบควรทําดานดูแลนักเรียน รวมกันกับนักเรียน - มีการแตงตั้งผูรับผิดชอบ/นักเรียนในการดูแลอาคารสถานท่ีและสิ่งแวดลอมในบริเวณโรงเรียน

๒) แผน/นโยบาย - มีการวางแผนรวมกันในฝายอาคารสถานท่ี มีนโยบายชัดเจน มีการประชุม แตงตั้งมอบหมายงานชัดเจน - โรงเรียนมีการกําหนดแผน/นโยบายเพ่ือใหอาคารสถานท่ีท่ีมีอยูอยางจํากัดเกิดประโยชนสูงสุด - มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและนโยบายของโรงเรียนอยางชัดเจน ปรากฏในวิสัยทัศนของโรงเรียนมีผูรับผิดชอบโครงการ

๓) ศูนยขอมูล/แผนผังแสดงแหลงการเรียนรู/ฐานกิจกรรมฯ - มีศูนยรวมขอมูล แผนผังอาคาร และแหลงการเรียนรูในแตละฐานกิจกรรม มีคณะครูนักเรียนรวมจัดกิจกรรม - มีแผนผังและเอกสารแผนพับ - มีฐานการเรียนรูอยู เชน ฐานในการใชจัดการเรียนรูท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีแผนผังแสดงในแผนพับ แตไมมีแผนผังใหญติดภายในบริเวณโรงเรียน

๔) การมีสวนรวมและนักเรียน - คณะครู นักเรียน มีสวนรวมในการรักษาสิ่งแวดลอมและอาคารสถานท่ีของโรงเรียน โดยมีการแบงเขตรับผิดชอบ - นักเรียนเขารวมกิจกรรมตามท่ีโรงเรียนไดวางแผนงานไว ทําใหเกิดกิจกรรมรวมกันระหวางโรงเรียนและชุมชน - นักเรียนมีสวนรวมในการดูแลรักษาอาคารสถานท่ี และสิ่งแวดลอมในโรงเรียน/ฐานการเรียนรูและหองเรียน

๕) การใชประโยชน และการมีสวนรวมของชุมชน - ชุมชนเขามาใชโรงเรียนประชุม มีการจัดกิจกรรมรวมกับทางวัด โดยเฉพาะชุมชนหลังวัด เทศบาลเมืองบึงยี่โถ มีการจัดกิจกรรมตางๆ ใหกับชุมชน โดยมีนักเรียนแกนนํา เชน ผลิตน้ํายาลางจาน พิมเสนน้ํา ทําหมวก - คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เขามารวมบริการจัดการใหรานคาชุมชน บริเวณเขตบริการของโรงเรียน เปดโอกาสใหนักเรียนเขามาเรียนรูและฝกประสบการณ - ชุมชนมาศึกษาดูงาน และมีสวนรวมในการจัดทํางานการเรียนรู เชน ฐานธนาคารขยะ เทศบาลบึงยี่โถไดออกงบประมาณในการจัดทํา/ธนาคารออมสินมามีสวนรวมในการอบรม

๖) อ่ืนๆ

Page 62: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๕๘

-

๗) วิธ/ีแนวทางการประเมิน - สังเกต สัมภาษณ ดูจากการรายงาน ภาพถาย และวีดีทัศนประกอบ/เรื่องเลาของนักเรียน ครู - ฟงการบรรยาย/ตรวจสอบสถานท่ีจริง/สอบถามนักเรียนและผูนําชุมชน รานประกอบการ - สังเกต/สัมภาษณ/เอกสาร ๒.๒ แหลงเรียนรู/ฐานการเรียนรู หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ/หรือกิจกรรมการเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๑) ความสอดคลองกับภูมิสังคม - อยูในเขตวัดเขียนเขต เนนกิจกรรมสงเสริมดานธรรมะ และเนนการฝกอาชีพเบื้องตน - โรงเรียนบริหารจัดการตามสภาพของภูมิสังคม เพ่ือใหนักเรียนไดศึกษาเรียนรู - สอดคลองกับบริบททางสังคม มีวัดเขียนเขตใหการสนับสนุน สงเสริมและอบรมนักเรียนใหมีคุณธรรมจริยธรรม

๒) ส่ือประกอบการเรียนรู - มีการสาธิต ขอมูลและการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ มีผังใหเห็นชัดเจน - การศึกษา เรียนรูมีสื่อวัสดุ อุปกรณ ใหนักเรียนไดศึกษา - มีการประยุกตใชสื่ออุปกรณในการจัดการเรียนการสอนท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางคุมคาและเกิดประโยชน

๓) วิทยากรรับผิดชอบ - ในแตละฐานกิจกรรม มีการจัดครูและนักเรียนแกนนํารับผิดชอบ เชน ดนตรีไทย คหกรรม สหกรณครบวงจร หองสมุด มีการอธิบายความรูใหกับผูมาดูกิจกรรม - ในแตละแหลงเรียนรูมีครู-เด็กนักเรียนแกนนําใหขอมูลท่ีชัดเจนพอเขาใจได - นักเรียนชั้นมัธยมปลายสามารถเปนวิทยากรในการถายทอดความรูใหแกผูมาศึกษาดูงานไดอยางชัดเจน แตนักเรียนระดับประถมยังไมสามารถเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดมากนัก

๔) แผนการจัดการเรียนรูของแหลงเรียนรู/ฐาน/กิจกรรมการเรียนรู - มีแผนการจัดกิจกรรมท่ีสอดคลองกับฐานการเรียนรู - มีแหลงเรียนรู - มีแผนการจัดการเรียนรู/หนวยการเรียนรูท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงครบทุกฐาน เรียนรูครบทุกระดับชั้น

๕) ความสามารถในการอธิบายของวิทยากร - วิทยากรประจําฐานมีท้ังคณะครูและนักเรียนแกนนํา สามารถอธิบายกิจกรรมวาทําไม ถึงทํา ทําไปทําไม ทําแลวไดอะไร เกิดประโยชนอยางไรได

Page 63: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๕๙

- ในระดับปานกลาง - นักเรียนสามารถอธิบายเชื่อมโยงได แตควรนํานักเรียนประถมมาฝกทักษะการเปนวิทยากรใหความรูความเขาใจ การเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหครบทุกระดับชั้น

๖) การประเมินและพัฒนาฐาน/กิจกรรม - มีการประเมิน และประชุมในแตละฐาน มีการปรับฐานการเรียนรู - ในเรื่องนี้ยังมีนอย ควรพัฒนา - การประเมินฐานการเรียนรูมีเฉพาะกับครูและนักเรียน ยังไมเห็นการประเมินฐานการเรียนจากผูมาศึกษาดูงาน

๗) อ่ืนๆ - ผูบริหาร ครู และนักเรียน มีความพยายามดีมากในการท่ีจะพัฒนาสถานศึกษา ใหเปนศูนย

๘) วิธ/ีแนวทางการประเมิน - สังเกต สัมภาษณ ดูจากรองรอยการใชฐาน - ฟงบรรยาย/ตรวจสอบจากแหลงเรียนรู/และสอบถามผูเก่ียวของ - สังเกต สัมภาษณ เอกสาร ๓. ความสัมพันธกับหนวยงานภายนอก

๓.๑ ความสัมพันธกับสถานศึกษาท่ัวไปในการขยายผลการขับเคล่ือน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๑) มีเครือขายการเรียนรู - มีเครือขายการเรียนรู เชน โรงเรียนวัดแสงสรรค โรงเรียนวัดมูลจินดาราม โรงเรียนวัดนาบุญ โรงเรียนวัดสระบัว ซ่ึงมีหลายโรงเรียนมาเรียนรู - มีสถานศึกษาเครือขาย ๒ ศึกษา ๑. เครือขายรวมกันทํางาน ๒. เครือขายขยายผล - มีโรงเรียนเครือขายการเรียนรู เชน โรงเรียนชุมชนประชาธิปตยวิทยาคาร โรงเรียนวัดแสงสรรค โรงเรียนทองพูล

๒) การเปนสถานศึกษาดูงาน - โรงเรียนใกลเคียงและสถานศึกษาเครือขายมาดูงาน มารวมจัดนิทรรศการตาง ๆ อยางตอเนื่อง และมาจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู - เนื่องจากมีความโดดเดนและมีความพรอม โรงเรียนมีสถานศึกษาอ่ืนเขามาศึกษาดูงานตลอด มีหลักฐานเอกสารยืนยัน - การเปนสถานท่ีศึกษาดูงาน ฐานการเรียนรูเกษตรผสมผสานยังไมชัดเจน ควรมีปาย ใหความรูพืชท่ีปลูกแตละชนิดและสรรพคุณของพืช ประโยชนของพืช และการดูแลรักษา

๓) การบริหารจัดการเพ่ือเปนสถานศึกษาดูงาน

โดยมีโรงเรียนตางๆ นํามาใหขอมูลประกอบ

Page 64: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๖๐

- มีการวางแผนการจัดงาน มีหองประชุมแสดงผลงานของนักเรียน มีหลักสูตร และรองรอยการจัดกิจกรรมตางๆ ตลอดจน ผลงานของนักเรียน - โรงเรียนจัดสถานท่ีใหพรอมการศึกษาดูงาน - ยังไมมีการวางแผนเพ่ือรองรับการดูงานของสถานศึกษาออกเปนรูปธรรม

๔) การเปนแกนนําของเครือขายขับเคล่ือน - ผูบริหาร ครู และนักเรียนแกนนํา สามารถเปนวิทยากรขับเคลื่อน แลกเปลี่ยนเรียนรู โดยเฉพาะในงานเปดลานวิชาการ - สถานศึกษาท่ัวไปใหการยอมรับ และไดเปนผูนําในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - สามารถเปนแกนนําเครือขายขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดและมีความพรอมในการขับเคลื่อน มีบุคลากรจํานวนมาก มีนักเรียนจํานวนมาก

๕) ความสามารถในการพัฒนา - เปนแหลงศึกษาดูงานท่ีเขมแข็ง ไดรับการยอมรับจากโรงเรียนเครือขาย ชุมชน - สามารถใหคําแนะนําและสามารถจัดกิจกรรมในสถานศึกษาพัฒนาดีข้ึน - สามารถพัฒนาใหเปนศูนยการเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจากผูบริหาร ครู นักเรียน และชุมชนมีความเขมแข็ง

๖) อ่ืนๆ - มีแผนการสอบบูรณาการ แตละระดับชั้น

๗) วิธ/ีแนวทางการประเมิน - สัมภาษณผูบริหารเครือขาย - ตรวจสอบ/สัมภาษณ/สอบถามนักเรียน - สัมภาษณ/สังเกต/เอกสาร

๓.๒ ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีสังกัด และ/หรือหนวยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน) ๑) ความสัมพันธกับหนวยงานตางๆ - จากการทุมเททํางาน โรงเรียนไดรับความเชื่อถือ มีความสัมพันธท่ีดีกับหนวยงาน และองคกรภายนอก - สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๒ ใหการยอมรับสนับสนุน - เทศบาลบึงยี่โถใหการยอมรับสนับสนุน - วัดเขียนเขตใหการยอมรับสนับสนุน - โรงเรียนเครือขายใหการยอมรับสนับสนุน

๒) การประสานความรวมมือเพ่ือสนับสนุน - มีการสงวิทยากรมาอบรมนักเรียน

เขามามีสวนรวมในการจัด

- โรงพยาบาลธัญบุร ี

- มูลนิธิมหาราช

- สถานีตํารวจ

- พระภิกษุวัดเขียน

Page 65: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๖๑

- ฝกอาชีพชุมชนในบริเวณโรงเรียน ไดรับความรวมมือดี มีการประสานงานกันดี - แลกเปลี่ยนเรียนรู - มีหนวยงานภายนอกใหความรวมมือ สนับสนุนการจัดกิจกรรมของโรงเรียนอยางตอเนื่อง - ผูบริหารมีมนุษยสัมพันธดี ประสานความรวมมือ เพ่ือพัฒนาการโรงเรียนไดเปนอยางดี

๓) การบริหารจัดการเพ่ือเปนสถานศึกษาดูงาน - ผูบริหาร ครู และนักเรียน มีความสามารถเปนวิทยากร ใหความรู ผูมาศึกษาดูงานได มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู สรุปประเมินผล เพ่ือพัฒนาฐานการเรียนรู - ในความเปนมิตร ชวยเหลือเก้ือกูล จนสถานศึกษา องคกรอ่ืนเห็นประโยชน - มีการบริหารจัดการความสัมพันธกับหนวยงานภายนอกและเครือขายตนสังกัด โดยมีบุคลากรท่ีมีความสามารถ มีปฏิสัมพันธท่ีดีในการใหบริการและใหความชวยเหลือสนับสนุน

๔) การเปนแกนนําของเครือขายขับเคล่ือน - ทุกภาคสวนยอมรับในความสามารถท่ีเปนโรงเรียนแกนนําและสนับสนุนได - สถานศึกษา หนวยงาน และองคกรอ่ืน ชื่นชม ยอมรับวาโรงเรียนท่ีมีการพัฒนาโดยมีการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - มีโรงเรียนมาศึกษาดูงานและโรงเรียนเครือขายใหการยอมรับรวมมือกันและกัน

๕) ความสามารถในการพัฒนา - มีการพัฒนาเพ่ือเปนศูนยฝกอาชีพเบื้องตน ทานเจาอาวาส/รองเจาอาวาสวัดเขียนเขต สนับสนุนอยางตอเนื่อง - มีอยางตอเนื่อง - การประสานความรวมมือเพ่ือพัฒนาฯ นับวา โรงเรียนมีศักยภาพในดาน มนุษยสัมพันธดีมาก ชุมชนใหการสนับสนุนไววางใจ

๖) อ่ืนๆ - เปนสถานท่ีสามารถรองรับผูมาดูงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดดี มีความพรอมท้ังสถานท่ี บุคลากร ครู/นักเรียน

๗) วิธ/ีแนวทางการประเมิน - ศึกษาขอมูล ดูจากสภาพจริง สัมภาษณ - ฟงการบรรยาย สอบถามผูเก่ียวของ ตรวจดูเอกสารหลักฐาน - สังเกต/สัมภาษณ/เอกสาร/รองรอย

(ลงชื่อ).................................................................... ผูรายงาน (นางสาวกัลยา ทารักษ) นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ

Page 66: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๖๒

ภาพกิจกรรม

Page 67: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๖๓

ภาพกิจกรรม

Page 68: คํานํา€¦ · ข สารบัญ เรื่อง หน า คํานํา ส วนที่ ๑ บทนํา ความเป นมาและความ

๖๔

เอกสารอางอิง

จังหวัดสุรินทร. (๒๕๕๕). สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๑

(พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙). [Online]. AvailableHTTP:http://www.surin.go.th/doc/๑๑๘๑

HfyQ๔๐fplan๑๑.pdf [๒๕๕๕, กรกฎาคม ๓๐].

ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ดร. (๒๕๕๕). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กับการจัดการ

เรียนรู.[Online]. AvailableHTTP:http://www.moe.go.th/sufficiency/newsite/files/

Soemsakkayaphapkhur_๒๑๐๙๒๕๕๒/prb.pdf [๒๕๕๕, สิงหาคม ๑].

ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ดร. (๒๕๕๒). Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษา. โครงการวิจัย

เศรษฐกิจ พอเพียง.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน.(๒๕๕๕). เศรษฐกิจพอเพียง. [Online]. AvailableHTTP: http://pirun.kps.ku.ac.th) /~b๕๐๒๖๑๒๖/Untitled-๓.html [๒๕๕๕, สิงหาคม ๑].

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. (๒๕๕๕). การประยุกตใช

ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของภาคการศึกษา . กรุงเทพ : ผูแตง.

ศูนยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๕). เกณฑประเมินศูนยการเรียนรู

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษาและสถานศึกษาพอเพียง

(เกณฑกาวหนา). [Online]. AvailableHTTP:http:// www. Sufficiencyschool.net/

images/stories/suf/next.pdf [๒๕๕๕, กรกฎาคม ๒๕].

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (๒๕๕๓). ทิศทางแผนพัฒนาฯ

ฉบับท่ี ๑๑ (ฉบับชุมชน) “แผนฯ ๑๑ ..สูสังคมแหงความสุขอยางมีภูมิคุมกัน”.

นนทบุรี : ผูแตง.

สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย. (๒๕๕๒). ตามรอยพอ ชีวิตพอเพียง...สูการพัฒนาท่ียั่งยืน.

โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย. กรุงเทพ : ผูแตง.