วิชา ฟส 341 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นิวเคลียรเบื้องตน อ.ดร. กิตติคุณ พระกระจาง ปรับปรุงลาสุด 12/07/2018 .ดร. กตตคุณ พระกระจาง สาขาวชาฟสกสประยุกต คณะวทยาศาสตร มหาวทยาลัยแมโจ

วิชาฟส 341 วิทยาศาสตร และ ... · 2018. 7. 12. · 20 40 20 40 60 80 60 80 100 120 130 0 10 50 70 90 10 30 50 70 90 110 30 Neutron number, N Atomic

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • วิชา ฟส 341 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนิวเคลียรเบื้องตน

    อ.ดร. กิตติคุณ พระกระจาง

    ปรับปรุงลาสุด 12/07/2018

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • หัวขอการสอน I

    บทที่ 1 สมบัติของนิวเคลียสบทนำองคประกอบของนิวเคลียสแรงภายในนิวเคลียสมวลของนิวเคลียสขนาดของนิวเคลียสพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส

    บทที่ 2 การสลายตัวของกัมมันตรังสีผลลัพธการเรียนรูกัมมันตภาพรังสีเสถียรภาพของนิวเคลียส

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • หัวขอการสอน IIการสลายตัวครึ่งชีวิตกระบวนการสลายตัว

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • หัวขอการสอน บทที่ 2 การสลายตัวของกัมมันตรังสี

    บทที่ 2 การสลายตัวของกัมมันตรังสีผลลัพธการเรียนรูกัมมันตภาพรังสีเสถียรภาพของนิวเคลียสการสลายตัวครึ่งชีวิตกระบวนการสลายตัว

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • หัวขอการสอน

    บทที่ 2 การสลายตัวของกัมมันตรังสีผลลัพธการเรียนรูกัมมันตภาพรังสีเสถียรภาพของนิวเคลียสการสลายตัวครึ่งชีวิตกระบวนการสลายตัว

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • ผลลัพธการเรียนรู (Learning Outcome)

    ผูเรียนสามารถ...I นิยามศัพททางเทคนิคเกี่ยวกับการสลายตัวของกัมมันตรังสีไดI อธิบายความเชื่อมโยงความสัมพันธระหวงศัพททางเทคนิคของ

    นิวเคลียสไดI สามารถระบุและเปรียบเทียบเสถียรภาพของนิวเคลียสแตละชนิดไดI สามารถคำนวณหาคาที่เกี่ยวของกับคาการสลายตัวกับครึ่งชีวิตไดI สามารถอธิบายกระบวนการสลายตัวของรังสีชนิดตาง ๆ ไดI คนควาหาความรูเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรูภายนอกหองเรียนไดI ถายทอดและอธิบายสิ่งที่ไดเรียนรูมาใหกับผูอื่นได

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • หัวขอการสอน

    บทที่ 2 การสลายตัวของกัมมันตรังสีผลลัพธการเรียนรูกัมมันตภาพรังสีเสถียรภาพของนิวเคลียสการสลายตัวครึ่งชีวิตกระบวนการสลายตัว

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • ผูคนพบกัมมันตภาพรังสี

    Henri Becquerel

    เฮนรี่ เบคเคอเรล นักฟสิกสชาวฝรั่งเศสเปนผูคนพบกัมมันตภาพรังสีโดยบังเอิญ โดยพบวามีรังสีที่มองไมเห็นสามารถทำใหฟลมถายรูปเกิดรอยไดโดยไมโดนแสง

    การแผรังสีของธาตุกัมมันตรังสีเหลานี้เกิดขึ้นในไอโซโทปของธาตุที่มีจำนวนนิวตรอนมากกวาจำนวนโปรตอนมาก ทำใหนิวเคลียสของธาตุไมเสถียรจึงตองมีการเปลี่ยนแปลงไปเปนธาตุที่มีความเสถียรมากขึ้น

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • กัมมันตภาพรังสี

    กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity) คือ ปรากฎการณการเลื่อมสลายดวยตนเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไมเสถียร เปนผลใหเกิดอนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา ซึ่งเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีชวงคลื่นสั้นมากและมีพลังงานสูง

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • หัวขอการสอน

    บทที่ 2 การสลายตัวของกัมมันตรังสีผลลัพธการเรียนรูกัมมันตภาพรังสีเสถียรภาพของนิวเคลียสการสลายตัวครึ่งชีวิตกระบวนการสลายตัว

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • เสถียรภาพของนิวเคลียส

    20

    40

    20 40 60 80

    60

    80

    100

    120

    130

    0 70 905010

    10

    30

    50

    70

    90

    110

    30

    Neu

    tro

    n n

    um

    ber,

    N

    Atomic number, Z

    N = Z

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • แผนภาพนิวตรอน-โปรตอน (Neutron-Proton diagram)

    Z=20

    Z=28 Z=28

    Z=50 Z=50

    Z=82 Z=82

    N=

    20

    N=

    28

    N=

    28

    N=

    50

    N=

    50

    N=

    82

    N=

    82

    N=

    126

    N=

    126

    Z=20

    N

    Z

    β

    nucleon emission

    spontaneous fission

    α

    last neutron unbound

    half−life> 10

    protonunbound

    last

    8 yr

    decay

    decayA=100

    A=200

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • เสถียรภาพของนิวเคลียส

    235 U

    208 Pb

    138Ba

    16O

    56Fe62Ni 88Sr

    4He

    28Si

    7.0

    9.0

    8.0

    0 50 100 150 200 250

    A

    B/A

    (M

    eV

    )

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • เสถียรภาพของนิวเคลียส

    2 H

    3He

    4 He 8Be

    12C16O

    20Ne

    3 H

    28Si24Mg

    0A

    28242084 1612

    8

    6

    4

    2

    B/A

    (M

    eV

    )

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • หัวขอการสอน

    บทที่ 2 การสลายตัวของกัมมันตรังสีผลลัพธการเรียนรูกัมมันตภาพรังสีเสถียรภาพของนิวเคลียสการสลายตัวครึ่งชีวิตกระบวนการสลายตัว

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การสลายตัว

    100

    50

    25

    136

    pe

    rce

    nta

    ge

    of

    pa

    ren

    t is

    oto

    pe

    re

    ma

    inin

    g

    0 1 2 3 4

    nuclide (red) nuclide (grey)

    number of half-lifes

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การสลายตัว

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การสลายตัวการสลายตัว (Radioactive decay) เปนกระบวนการแบบสุมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ไมสามารถคาดการณไดวาเมื่อไรที่อะตอมหนึ่ง ๆ จะสลายตัวหากให N คือ จำนวนนิวเคลียสของอะตอมธาตุกัมมันตรังสี ณ เวลาหนึ่ง อัตราการเปลี่ยนแปลงจำนวนนิวเคลียส จะมีคาเทากับ

    dNdt = −λN

    โดย λ คือ คาคงที่การสลายตัว (decay constant) และจากสมการอัตราการเปลี่ยนแปลงนิวเคลียส จะไดวา

    dNN = −λdt

    ทำการอินทิเกรต จะได

    N = N0e−λt

    โดย N0 คือ จำนวนนิวเคลียสที่ยังไมสลายตัว ณ เวลา t = 0

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การสลายตัว

    N(t)

    N0

    N0

    N0

    12

    14

    t

    N N0e– t

    T1/2 2T1/2

    อัตราการสลายตัว (decay rate) คือ จำนวนครั้งการสลายตัวตอวินาที สามารถเขียนไดเปน

    R = |dNdt | = λN

    โดย R มักจะถูกใชแทนดวย กัมมันตภาพ (activity,A) และสามารถเขียนไดเปน

    A = λN

    คำถามชวนคิดหนวยของคาคงที่การสลายตัวและกัมมันตภาพ คืออะไร ?

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • หนวยของกัมมันตภาพ

    หนวยที่นิยมใชกันของคากัมมันตภาพ มี 2 หนวย ไดแก1. แบคเคอเรล (Bq)2. คูรี (Ci)

    โดย 1 Ci = 3.7× 1010 Bq

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • หัวขอการสอน

    บทที่ 2 การสลายตัวของกัมมันตรังสีผลลัพธการเรียนรูกัมมันตภาพรังสีเสถียรภาพของนิวเคลียสการสลายตัวครึ่งชีวิตกระบวนการสลายตัว

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • ครึ่งชีวิต

    ครึ่งชีวิต (half-life, T1/2) คือ ชวงเวลาระหวางที่มีการสลายตัวไปของนิวเคลียสไดครึ่งหนึ่งจากของนิวเคลียสเดิมในการหาสมการครึ่งชีวิต เราสามารถแทนคาจำนวนนิวเคลียสที่ลดลงไปครึ่งจากเริ่มตน (N = N0

    2) และเวลา t = T1/2 ลงในสมการ

    N = N0e−λt จะไดวา

    T1/2 = ln 2λ

    คำถามชวนคิดสมการครึ่งชีวิตสามารถหาไดอยางไร

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • ตัวอยางที่ 2.1

    คารบอน-14 เปนสารกัมมันตรังสี มีคาครึ่งชีวิต 5,730 ป ถาสารตัวอยางชนิดหนึ่งมีปริมาณคารบอน-14 จำนวน 1,000 นิวเคลียส เมื่อเวลาผานไป 25,000 ป จะเหลือปริมาณนิวเคลียสของคารบอน-14จำนวนเทาใด

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • ตัวอยางที่ 2.2

    ไอโอดีน-131 มีคาครึ่งชีวิต 8.04 วัน มีคากัมตภาพเริ่มตน 5.0 มิลลิคูรีหลังจากเวลาผานไป คากัมตภาพลดลงเหลือ 2.1 มิลลิคูรี จงหาชวงเวลาที่ผานไป

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • หัวขอการสอน

    บทที่ 2 การสลายตัวของกัมมันตรังสีผลลัพธการเรียนรูกัมมันตภาพรังสีเสถียรภาพของนิวเคลียสการสลายตัวครึ่งชีวิตกระบวนการสลายตัว

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • รังสีจากกระบวนการสลายตัว

    การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี มีโอกาสแผรัสีออกมาเปนอนุภาคหรือ/และคลื่นแมเหล็กไฟฟาตาง ๆ ดังนี้I แอลฟาI บีตาI แกมมาI นิวตรอน

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • แรงพื้นฐานในธรรมชาติ

    แรง ทฤษฎี สื่อกลาง ความแรงสัมพัทธ พิสัย (เมตร)

    โนมถวง GR glavitons 1 ∞

    แมเหล็กไฟฟา QED photons 1036 ∞

    นิวเคลียรอยางออน EWT W & Z bosons 1025 10−18

    นิวเคลียรอยางแข็ง QCD gluons 1038 10−15

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • ≈2.2 MeV/c ≈1.28 GeV/c ≈173.1 GeV/c

    ≈4.7 MeV/c ≈96 MeV/c

    ≈105.66 MeV/c

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การสลายตัวใหรังสีแอลฟา (Alpha decay)

    เกิดขึ้นเมื่อนิวเคลียสมีทั้งโปรตอนและนิวตรอนมากเกินไปทำใหเกิดการสลายตัวใหฮีเลียมอะตอมหรือรังสีแอลฟา กรณีนี้จะเกิดในสารที่มีมวลอะตอมสูง ดังนั้นอะตอมจะมีเลขอะตอมลดลง 2 และมวลอะตอมลดลง 4 ดังสมการ

    AZX →

    A−4Z−2Y +

    4

    2He

    ตัวอยางการสลายตัวใหอนุภาคแอลฟา ไดแก238

    92U → 234

    90Th + 4

    2He

    226

    88Ra → 222

    86Rn + 4

    2He

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การสลายตัวใหรังสีแอลฟา

    I เปนกระบวนการที่นิวเคลียสพอสลายตัวเปนนิวเคลียสลูกI โดยใหอนุภาคอัลฟาซึ่งเปนนิวเคลียสของฮีเลียมที่มีพลังงานสูง

    (≈ 5 MeV)I การสลายตัวอัลฟาในธรรมชาติเกิดกับการสลายตัวของธาตุที่

    หนักกวาดีบุก (50Sn)

    I เปนผลจากแรงผลักคูลอมบ (Coulomb repusion)คำถามชวนคิด เพราะเหตุใด การสลายตัวอัลฟาในธรรมชาติจึงเกิดกับการสลายตัวของธาตุที่หนักกวาดีบุก

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • สมบัติของรังสีแอลฟา

    I รังสีแอลฟา คือ นิวเคลียสของธาตุฮีเลียมI มีมวล 4uI มีประจุ +2I การทะลุทะลวงต่ำI มีความสามารถในการแตกตัวเปนประจุสูง

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การสลายตัวใหรังสีบีตา (Beta decay)

    เกิดขึ้นเมื่อนิวเคลียสมีนิวตรอนมากหรือนอยเกินไปทำใหเกิดการสลายตัวใหรังสีบีตาหรือโพซิตรอน ดังสมการ

    AZX →

    AZ+1Y +

    0

    −1e + ν̄eAZX →

    AZ−1Y +

    0

    1e + νe

    ตัวอยางการสลายตัวใหอนุภาคบีตาและโพซิตรอน ไดแก14

    6C → 14

    7N + 0−1e + ν̄e

    12

    7N → 12

    6C + 0

    1e + νe

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การสลายตัวใหรังสีบีตา

    จากปฏิกิริยาการสลายตัวใหอนุภาคบีตาAZX →

    AZ+1Y +

    0

    −1e + ν̄e

    อนุภาคนิวตรอนในนิวเคลียสจะสลายตัวไปเปนโปรตอน1

    0n → 1

    1p + 0−1e + ν̄e

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • แผนภาพไฟนแมนของการสลายตัวใหรังสีบีตา (Feynman diagram of electronemission)

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การสลายตัวใหโพซิตรอน

    จากปฏิกิริยาการสลายตัวใหโพซิตรอนAZX →

    AZ−1Y +

    0

    +1e + νe

    อนุภาคโปรตอนในนิวเคลียสจะสลายตัวไปเปนนิวตรอน1

    1p → 1

    0n + 0

    1e + νe

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • แผนภาพไฟนแมนของการสลายตัวใหโพซิตรอน (Feynman diagram of positronemission)

    t

    e

    W

    du d

    uu d

    p

    nνe

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • สมบัติของรังสีบีตา

    I รังสีบีตา คือ อิเล็กตรอนI มีมวล 0.001uI มีประจุ -1I การทะลุทะลวงปานกลางI มีความสามารถในการแตกตัวเปนประจุปานกลาง

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การสลายตัวใหรังสีแกมมา

    เกิดขึ้นเมื่อนิวเคลียสอยูในสถานะที่ไมเสถียรทำใหเกิดการสลายตัวใหรังสีแกมมา ดังสมการ

    AZX∗ →

    AZY +

    0

    ตัวอยางการสลายตัวของ Co-6060

    27Co → 60

    28Ni∗ + 0−1e + ν̄e +

    0

    60

    28Ni∗ → 60

    28Ni + 0

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • Electron-Positron AnnihilationTime

    Space

    γ γ

    e- e+

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • สมบัติของรังสีแกมมา

    I รังสีแกมมา คือ โฟตอน หรือ คลื่นแมเหล็กไฟฟาI ไมมีมวลI ไมมีประจุI การทะลุทะลวงสูงI มีความสามารถในการแตกตัวเปนประจุต่ำ

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • สีงรังอขงวละทุละทรากจานําอ

    ามมกแสีงัร

    าตีบสีงัร

    าฟลอแสีงัร

    แผน่กระดาษแผน่อะลูมิเนียมหนา 6 มม.

    แผน่ตะกั!วหรือแผน่คอนกรีตหนา

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • สรุปสมบัติของรังสี

    สมบัติบางประการของรังสีรังสี สัญลักษณ มวล ประจุ การทะลุทะลวง การแตกตัว

    แอลฟา α 4u +2 ต่ำ สูง

    บีตา e− 0.001u -1 ปานกลาง ปานกลาง

    แกมมา γ 0 0 สูง ต่ำ

    นิวตรอน n 1u 0 สูงมาก ต่ำมาก

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

  • การบานครั้งที่ 2

    อ.ดร. กติตคิุณ พระกระจ่าง

    สาขาวชิาฟิสกิส์ประยุกต์

    คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลัยแม่โจ้

    บทที่ 2 การสลายตัวของกัมมันตรังสีผลลัพธ์การเรียนรู้กัมมันตภาพรังสีเสถียรภาพของนิวเคลียสการสลายตัวครึ่งชีวิตกระบวนการสลายตัว