6
39 บทที3 วิธีดําเนินการวิจัย วิธีการศึกษา การศึกษาวิจัยครั้งนีดําเนินการศึกษา 2 แบบ คือ 1. การวิจัยเอกสาร (documentary research) เปนการศึกษารวบรวมขอมูลจากเอกสาร ตาง ทั้งที่เปนทฤษฎี แนวคิด และผลงานที่เกี่ยวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการ ปฏิบัติงาน 2. เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (survey research) โดยใชแบบสอบถาม (questionnaire) ที่สรางขึ้น จากการทบทวนเอกสาร ตําราวิชาการ และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ซึ่งแบบสอบถาม ที่สรางขึ้น จะสามารถครอบคลุมประเด็นที่จะศึกษาตามวัตถุประสงค ดานประสิทธิผลในการ ปฏิบัติงานของขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ไดแก ขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร ทั้งหมด 6 หนวยงาน ไดแก สํานักกฎหมาย กองคลัง สํานักมาตรฐานพิธีการและราคาศุลกากร สํานักแผนและ การตางประเทศ สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสํานักบริหารและพัฒนาบุคคล จํานวนทั้งสิ้น 458 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาวิจัยครั้งนีไดแก ขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรม ศุลกากร จากหนวยงาน 3 สํานัก ไดแก ขาราชการสํานักแผนและการตางประเทศ จํานวน 49 คน ขาราชการสํานักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จํานวน 89 คน ขาราชการสํานัก บริหารและพัฒนาบุคคล กรมศุลกากร จํานวน 74 คน รวมจํานวนทั้งสิ้น 212 คน

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัยdigital_collect.lib.buu.ac.th/.../47933264/chapter3.pdf · 2018. 9. 19. · บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัยdigital_collect.lib.buu.ac.th/.../47933264/chapter3.pdf · 2018. 9. 19. · บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

39

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

วิธีการศึกษา

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ดําเนนิการศึกษา 2 แบบ คือ

1. การวิจยัเอกสาร (documentary research) เปนการศึกษารวบรวมขอมูลจากเอกสารตาง ๆ ทั้งที่เปนทฤษฎี แนวคิด และผลงานที่เกี่ยวกับปจจัยทีม่ีอิทธพิลตอประสิทธผิลในการปฏิบัติงาน

2. เปนการวิจยัเชิงสาํรวจ (survey research) โดยใชแบบสอบถาม (questionnaire) ที่สรางขึน้ จากการทบทวนเอกสาร ตาํราวิชาการ และงานวิจยัที่เกี่ยวของ ซึ่งแบบสอบถาม ที่สรางขึน้ จะสามารถครอบคลุมประเด็นที่จะศึกษาตามวัตถุประสงค ดานประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร ไดแก ขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร ทัง้หมด 6 หนวยงาน ไดแก สํานักกฎหมาย กองคลัง สํานกัมาตรฐานพิธีการและราคาศุลกากร สํานักแผนและ การตางประเทศ สาํนกัเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสาํนักบริหารและพัฒนาบุคคล จํานวนทั้งสิน้ 458 คน

กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาวิจยัครั้งนี ้ ไดแก ขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร จากหนวยงาน 3 สาํนัก ไดแก ขาราชการสํานกัแผนและการตางประเทศ จํานวน 49 คน ขาราชการสํานักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จาํนวน 89 คน ขาราชการสํานักบริหารและพฒันาบุคคล กรมศุลกากร จํานวน 74 คน รวมจํานวนทั้งสิน้ 212 คน

Page 2: บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัยdigital_collect.lib.buu.ac.th/.../47933264/chapter3.pdf · 2018. 9. 19. · บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

40

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัย

ในการศึกษาวจิัยครั้งนี้เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามเกีย่วกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร แบงออกเปน 5 ตอน ดังนี ้

1. ตอนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเปนแบบสํารวจรายการ (check list) เปนคําถามเกี่ยวกบัขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกดังนี ้

1.1 อายุ ไดแก

1.1.1 ต่ํากวา 35 ป

1.1.2 ตั้งแต 35 ป ข้ึนไป

1.2 วุฒิการศกึษา ไดแก

1.2.1 ต่ํากวาปริญญาตรี

1.2.2 ตั้งแตปริญญาตรีข้ึนไป

1.3 ระยะเวลาการรับราชการ ไดแก

1.3.1 ต่ํากวา 10 ป

1.3.2 ตั้งแต 10 ป ข้ึนไป

1.4 ระดับตําแหนงงาน ไดแก

1.4.1 ระดับปฏิบัติการ

1.4.2 ระดับผูบริหาร

2. ตอนที่ 2 – 5 เปนแบบสอบถามแบบปลายปด (close end) เกีย่วกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร เปนแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา (rating scale) ตามแบบของไลเคิรท (Likert) ซึ่งมีคําถามเกี่ยวกับ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการ ทั้ง 4 ลักษณะ มีจํานวน 40 ขอ จําแนกไดดังนี้

2.1 ลักษณะการปฏิบัติงาน จํานวน 10 ขอ

2.2 ความพงึพอใจในงาน จํานวน 10 ขอ

Page 3: บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัยdigital_collect.lib.buu.ac.th/.../47933264/chapter3.pdf · 2018. 9. 19. · บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

41

2.3 ขวัญและกําลังใจ จํานวน 10 ขอ

2.4 ความสามัคคีในการปฏิบัติงาน จาํนวน 10 ขอ

และมีการกาํหนดเกณฑการใหคะแนน ดงันี ้

คะแนน 5 หมายถงึ เห็นดวยอยางยิง่

คะแนน 4 หมายถงึ เห็นดวย

คะแนน 3 หมายถงึ ไมแนใจ

คะแนน 2 หมายถงึ เห็นดวย

คะแนน 1 หมายถงึ ไมเหน็ดวยอยางยิ่ง

กรณีแบบสอบถามที่เปนคําถามเชงิลบ ไดกําหนดเกณฑการใหคะแนนดงันี ้

คะแนน 1 หมายถงึ เห็นดวยอยางยิง่

คะแนน 2 หมายถงึ เห็นดวย

คะแนน 3 หมายถงึ ไมแนใจ

คะแนน 4 หมายถงึ เห็นดวย

คะแนน 5 หมายถงึ ไมเหน็ดวยอยางยิ่ง

สําหรับวธิีการแปลความหมายของคาเฉลีย่ใชวิธีการดังนี ้

คาพิสัย = คะแนนสงูสุด - คะแนนต่าํสดุ จํานวนชัน้

= 5 - 1 5 = 4 5 = 0.8 จากการพิจารณาขางตน จงึกําหนดเปนเกณฑในการประเมินคาระดบัประสิทธิผล

ในการปฏิบัติงานของขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร

คะแนนเฉลีย่ระหวาง 4.21 - 5.00 หมายถงึ ขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร มีประสิทธิผลในการปฏิบัติงานอยูในระดับสูง

Page 4: บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัยdigital_collect.lib.buu.ac.th/.../47933264/chapter3.pdf · 2018. 9. 19. · บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

42

คะแนนเฉลีย่ระหวาง 3.41 - 4.20 หมายถงึ ขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร มีประสิทธิผลในการปฏิบัติงานอยูในระดับคอนขางสงู

คะแนนเฉลีย่ระหวาง 2.61 - 3.40 หมายถงึ ขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร มีประสิทธิผลในการปฏิบัติงานอยูในระดับปานกลาง

คะแนนเฉลีย่ระหวาง 1.81 - 2.60 หมายถงึ ขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร มีประสิทธิผลในการปฏิบัติงานอยูในระดับคอนขางต่ํา

คะแนนเฉลีย่ระหวาง 1.00 - 1.80 หมายถงึ ขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร มีประสิทธิผลในการปฏิบัติงานอยูในระดับต่ํา

ขั้นตอนการตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องมือในการวิจัย

ในการศึกษาวจิัยครั้งนี ้ ผูวิจยัไดสรางเครื่องมือข้ึนเองจากการที่ไดศึกษาเอกสารและงานวิจยัที่เกี่ยวของ โดยดําเนินการสรางแบบสอบถาม และหาประสทิธิภาพของแบบสอบถาม ตามขั้นตอนดงัตอไปนี ้

1. ศึกษาเอกสาร ตํารา และงานวจิัยทีเ่กีย่วของกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

2. ศึกษารูปแบบและวิธีการสรางแบบสอบถาม (questionnaire) รวมทั้งหลักการสราง และวิเคราะหเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

3. รางแบบสอบถาม โดยคํานึงถงึวัตถุประสงคของการวิจัยใหครอบคลุมเนื้อหา ที่ตองการ

4. นาํแบบสอบถามที่สรางเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาปญหาพิเศษ เพื่อตรวจสอบ คุณภาพของเครื่องมือที่ทาํ คือ การตรวจสอบความตรง (validity) และความเที่ยง (reliability)

5. นําแบบสอบถามที่ปรับปรุงแลวไปใหผูทรงคุณวุฒ ิ จาํนวน 3 ทาน ซึ่งไดแก นางขนิษฐา โพธิ์ยอด ตําแหนงนกัวิชาการภาษี 8 ว นางยุวรัตน นิลจนัทร เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป 7 และ ดร.จิรศักดิ์ คงเกยีรติขจร นักวิจยัอิสระตรวจสอบความตรง (content validity) ปรับปรุงแกไขแบบสอบถามตามขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒทิั้ง 3 ทานแลว นําไปใหคณะกรรมการ ที่ปรึกษาปญหาพิเศษตรวจและแกไขเพิ่มเติมอีกครั้ง

Page 5: บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัยdigital_collect.lib.buu.ac.th/.../47933264/chapter3.pdf · 2018. 9. 19. · บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

43

6. นําแบบสอบถามที่ปรับปรุงแกไขแลวไปทดลองใช (try-out) กับขาราชการสํานักกฎหมาย กรมศุลกากร ในการวิจัยครัง้นี ้จํานวน 30 คน เพื่อวิเคราะหหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม

7. นําแบบสอบถามที่ผานการทดลองใชแลว มาตรวจสอบวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่น (reliability) ตามสูตรการหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (cronbach’s alpha coefficient) และไดคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเทากับ 0.89

8. นําแบบสอบถามที่ผานการหาคาความเชือ่มั่นและปรับปรุงแกไขแลวเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาปญหาพิเศษ เพือ่ขอความเหน็ชอบนําไปเก็บขอมลูกบักลุมตัวอยางในการวิจยัครั้งนี้ตอไป

การเก็บรวบรวมขอมลู

ในการเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษาวจิัยครั้งนี ้ ผูวิจยัดําเนนิการตามขั้นตอน ซึง่ม ีรายละเอียดดงัตอไปนี ้

1. ผูวิจัยทาํการเก็บรวบรวมขอมูล โดยการนําแบบสอบถามไปเก็บขอมลูกับกลุมตัวอยางในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร จาํนวน 212 คน

2. เมื่อไดรับแบบสอบถามกลับคืนมาแลว ผูวิจัยไดตรวจสอบความสมบูรณถูกตองของการตอบแบบสอบถาม

3. นําผลที่ไดจากแบบสอบถามไปวิเคราะหขอมูล

ระยะเวลาการเก็บขอมูล

เร่ิมจากวันที่ 1 กันยายน 2548 ถึงวนัที ่31 ตุลาคม 2548 รวมเปนระยะเวลา 2 เดือน

วิธีประมวลผลและวิเคราะหขอมูล

เมื่อผูวิจัยไดจดัทําขอมูลแลว จึงดําเนนิการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาคาสถิติตาง ๆ ดังนี ้

1. ประมวลผลขอมูล โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปเพื่อการวจิยัทางสงัคมศาสตร

2. การวิเคราะหขอมูล

2.1 อธิบายลกัษณะทัว่ไปของตัวแปรอิสระ โดยใชสถิตเิชิงพรรณาใชคาความถี่ (frequency) และคารอยละ (percentage)

Page 6: บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัยdigital_collect.lib.buu.ac.th/.../47933264/chapter3.pdf · 2018. 9. 19. · บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

44

2.2 ศึกษาระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร ในดานตาง ๆ ไดแก ลักษณะการปฏิบัติงาน ความพึงพอใจในงาน ขวัญและกําลงัใจ ความสามัคคีในการปฏิบัติงาน นาํขอมลูจากแบบสอบถามตอนที ่2-5 มาวเิคราะหโดยวิธหีาคาเฉลีย่ (mean) และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)

2.3 เปรียบเทยีบประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการในหนวยงานดานวิชาการ กรมศุลกากร ตามตัวแปรที่ใชศึกษาโดยใชการทดสอบคาท ี(t-test)