15
เนื้อหา 2.1 ขอมูลและสารสนเท 2.2 กระบวนการจัดการ 2.3 ขอมูลในคอมพิวเต 2.4 การจัดการขอมูลดว 2.5 ระบบฐานขอมูล ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายความหมา 2. เปรียบเทียบขอแต 3. บอกวิธีการทําขอม 4. อธิบายการแทนข 5. อธิบายโครงสราง ฐานขอมูลได 6. จําแนกประเภทขอ 7. อธิบายลักษณะขอ 8. อธิบายโครงสรางข 9. บอกขอดีและขอเ 10. อธิบายลักษณะกา 11. บอกความเปนมาแ บทที2 ขอมูลและสารสนเทศ ทศ รขอมูลและสารสนเทศ ตอร วยคอมพิวเตอร ายของขอมูล และคุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีได ตกตางระหวางขอมูลและสารสนเทศได มูลใหเปนสารสนเทศได ขอมูลในคอมพิวเตอรได งแฟมขอมูลและฐานขอมูล พรอมทั้งขอแตกตางระหวาง องแฟมขอมูล และสามารถบอกขอดี ขอเสียของแฟมขอม องฐานขอมูล และลักษณะของขอมูลในฐานขอมูลได ของขอมูลในระบบฐานขอมูลได เสียของฐานขอมูลได ารจัดการสารสนเทศที่ดีได และวิวัฒนาการของคอมพิวเตอรในแตละยุคจนถึงปจจุบ www.hsc.w งโครงสรางแฟมขอมูล และ มูลได บันได ที่มาของภาพ wvu.edu/wvcohorts/database.html

บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

ขอมูลและ

เนื้อหา2.1 ขอมูลและสารสนเทศ2.2 กระบวนการจัดการขอมูลและสารสนเทศ2.3 ขอมูลในคอมพิวเตอร2.4 การจัดการขอมูลดวยคอมพิวเตอร2.5 ระบบฐานขอมูล

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง1. อธิบายความหมายของขอมูล และคุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีได2. เปรียบเทียบขอแตกตางระหวางขอมูลและสารสนเทศได3. บอกวิธีการทําขอมูลใหเปนสารสนเทศได4. อธิบายการแทนขอมูลในคอมพิวเตอรได5. อธิบายโครงสรางแฟมขอมูลและฐานขอมูล

ฐานขอมูลได6. จําแนกประเภทของแฟมขอมูล และสามารถบอกขอดี ขอเสียของแฟมขอมูลได7. อธิบายลักษณะของฐานขอมูล และลักษณะของขอมูลในฐานขอมูลได8. อธิบายโครงสรางของขอมูลในระบบฐ9. บอกขอดีและขอเสียของฐานขอมูลได10. อธิบายลักษณะการจัดการสารสนเทศที่ดีได11. บอกความเปนมาและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอรในแตละยุคจนถึงปจจุบันได

บทที่ 2ขอมูลและสารสนเทศ

ขอมูลและสารสนเทศกระบวนการจัดการขอมูลและสารสนเทศขอมูลในคอมพิวเตอรการจัดการขอมูลดวยคอมพิวเตอร

อธิบายความหมายของขอมูล และคุณสมบัติของสารสนเทศที่ดีไดเปรียบเทียบขอแตกตางระหวางขอมูลและสารสนเทศไดบอกวิธีการทําขอมูลใหเปนสารสนเทศไดอธิบายการแทนขอมูลในคอมพิวเตอรไดอธิบายโครงสรางแฟมขอมูลและฐานขอมูล พรอมทั้งขอแตกตางระหวางโครงสรางแฟมขอมูล

จําแนกประเภทของแฟมขอมูล และสามารถบอกขอดี ขอเสียของแฟมขอมูลไดอธิบายลักษณะของฐานขอมูล และลักษณะของขอมูลในฐานขอมูลไดอธิบายโครงสรางของขอมูลในระบบฐานขอมูลไดบอกขอดีและขอเสียของฐานขอมูลไดอธิบายลักษณะการจัดการสารสนเทศที่ดีไดบอกความเปนมาและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอรในแตละยุคจนถึงปจจุบันได

www.hsc.wvu.edu/wvcohorts/database.html

พรอมทั้งขอแตกตางระหวางโครงสรางแฟมขอมูล และ

จําแนกประเภทของแฟมขอมูล และสามารถบอกขอดี ขอเสียของแฟมขอมูลได

บอกความเปนมาและวิวัฒนาการของคอมพิวเตอรในแตละยุคจนถึงปจจุบันได

ที่มาของภาพwww.hsc.wvu.edu/wvcohorts/database.html

Page 2: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 2 -

2.1 ขอมูลและสารสนเทศปจจุบันการแขงขันทางธุรกิจตองอาศัยขอมูลเปนหลัก ดังนั้นจึงมีการนําเอาเทคโนโลยีมาชวยจัดการขอมูลดัง

จะเห็นไดจากการแขงขันการใหบริการของธนาคารพาณิชย การใชขอมูลในการตัดสินใจประกอบการตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย ขอมูลเปนหัวใจของการดําเนินงานเปนแหลงความรูที่ใชประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือองคกร จึงดําเนินการ อยางจริงจังใหไดมาซึ่งขอมูล และปกปองดูแลขอมูลของตนเปนอยางดี เพราะขอมูลเปนสิ่งมีคามีราคา

2.1.1 ขอมูลขอมูล คือ ขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่เกี่ยวของกับสิ่งตางๆ เชน คน สัตว สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ

โดยอยูในรูปแบบที่เหมาะสมตอการสื่อสาร การแปลความหมายและการประมวลผล ขอมูลอาจเปนตัวเลข อักขระ หรือสัญลักษณใด ๆ เชน เลข 1.5 อาจจะถูกกําหนดใหเปนจํานวนหนวยการเรียนของวิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 8.30 แทนเวลาเขาเรียน สัญลักษณ แทนการเลี้ยวขวา เปนตน กรรมวิธีการรวบรวมขอมูลเปนจุดเริ่มตนของการดําเนินงาน การรวบรวมขอมูลที่ดีจะไดขอมูลรวดเร็ว ถูกตองแมนยํา ครบถวน ดังนั้นผูดําเนินการตองใหความสําคัญที่จุดนี้ โดยเฉพาะความรวดเร็ว ความรวดเร็วของการเก็บขอมูลจึงผูกพันกับเทคโนโลยีซึ่งมีหลายวิธี เชน การใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกส การเชื่อมตอกับระบบปลายทางเพื่อรับขอมูล การใชโทรสาร การใชระบบอานขอมูลอัตโนมัติ เชน เครื่องกราดตรวจ (scanner) เครื่องอานขอมูลที่เปนรหัสแทง (bar code reader)

2.1.2 คุณสมบัติของขอมูลการจัดเก็บขอมูลจําเปนตองมีความพยายามและตั้งใจดําเนินการ หรือกลาวไดวาการไดมาซึ่งขอมูล

ที่จะนํามาใชประโยชน องคกรจําเปนตองลงทุนทั้งในดานตัวขอมูล เครื่องจักร และอุปกรณ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมารองรับระบบ เพื่อใหใชงานอยางมีประสิทธิภาพ การจัดการระบบขอมูลจึงตองคํานึงถึงปญหาเหลานี้ และพยายามมองปญหาแบบที่เปนจริง สามารถดําเนินการใหมีประสิทธิผลคุมคากับการลงทุน ดังนั้นการดําเนินงานเพื่อใหไดมาซึ่งสารสนเทศที่ดี ขอมูลจะตองมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้

1) ความถูกตอง หากมีการเก็บรวบรวมขอมูลแลว ขอมูลเหลานั้นเชื่อถือไมไดจะทําใหเกิดผลเสียอยางมาก ผูใชจะไมกลาอางอิงหรือนําเอาไปใชประโยชน ซึ่งเปนเหตุใหการตัดสินใจของผูบริหารขาดความแมนยํา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได โครงสรางขอมูลที่ออกแบบตองคํานึงถึงกรรมวิธีการดําเนินงานเพื่อใหไดความถูกตองแมนยํามากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศสวนใหญมาจากขอมูลที่ไมมีความถูกตองซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงตองคํานึงถึงในเรื่องนี้

2) ความรวดเร็วและเปนปจจุบัน การไดมาของขอมูลจําเปนตองใหทันตอความตองการของผูใช มีการตอบสนองตอผูใชไดเร็ว ตีความหมายสารสนเทศไดทันตอเหตุการณหรือความตองการ มีการออกแบบระบบการเรียกคน และรายงานตามความตองการของผูใช

3) ความสมบูรณ ความสมบูรณของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมขอมูลและวิธีการทางปฏิบัติดวย ในการดําเนินการจัดทําสารสนเทศตองสํารวจและสอบถามความตองการใชขอมูลเพื่อใหไดขอมูลที่มีความสมบูรณในระดับหนึ่งที่เหมาะสม

4) ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บขอมูลจํานวนมากจะตองใชพื้นที่ในการจัดเก็บขอมูลมากจึงจําเปนตองออกแบบโครงสรางขอมูลใหกะทัดรัดสื่อความหมายได มีการใชรหัสหรือยนยอขอมูลใหเหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเขาไวในระบบคอมพิวเตอร

Page 3: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 3 -

5) ความสอดคลอง ความตองการเปนเรื่องที่สําคัญ ดังนั้นจึงตองมีการสํารวจเพื่อหาความตองการของหนวยงานและองคกร ดูสภาพการใชขอมูล ความลึกหรือความกวางของขอบเขตของขอมูลที่สอดคลองกับความตองการ

2.1.3 ชนิดและลักษณะของขอมูลขอมูลที่ใชในการประมวลผลแบงออกเปน 2 ชนิด คือ1) ขอมูลที่เปนตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ขอมูลที่ใชแทนจํานวนที่สามารถนําไป

คํานวณได ขอมูลแบบนี้เขียนไดหลายรูปแบบ คือก. เลขจํานวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไมมีจุดทศนิยม เชน 12, 9, 137 , 8319 , -46ข. เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีคาเปนจํานวนเต็ม เชน 12 หรือ

เปนจํานวนที่มีเศษทศนิยมก็ได เชน 12.763 เลขทศนิยมแบบนี้สามารถเขียนได 2 รูปแบบคือ

แบบที่ใชกันทั่วไป เชน 12., 9.0 ,17.63, 119.3267 , -17.34 แบบที่ใชงานทางวิทยาศาสตร เชน

123. x 104 หมายถึง 1230000.013.76 x 10-3 หมายถึง 0.01376- 1764.0 x 102 หมายถึง -176400.0- 1764.10-2 หมายถึง -17.64

2) ขอมูลที่เปนตัวอักขระ (Character Data) หมายถึง ขอมูลที่ไมสามารถนําไปคํานวณได แตอาจนําไปเรียงลําดับได เชน การเรียงลําดับตัวอักษร ขอมูลอาจเปนตัวหนังสือ ตัวเลข หรือเครื่องหมายใด ๆ เชน COMPUTER, ON-LINE, 1711101,&76

2.1.4 สารสนเทศจากที่กลาวมาแลววา ขอมูล คือ ขอเท็จจริงหรือเหตุการณเกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ เชน คน สถานที่

สิ่งของตางๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว และสามารถเรียกเอามาใชประโยชนไดในภายหลัง ขอมูลจึงจําเปนตองเปนขอมูลที่ดีมีความถูกตองแมนยํา

สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ไดจากการนําขอมูลที่เก็บรวบรวมไวมาประมวลผล เพื่อนํามาใชประโยชนตามจุดประสงค สารสนเทศที่ดีตองมาจากขอมูลที่ดี การจัดเก็บขอมูลและสารสนเทศจะตองมีการควบคุมดูแลเปนอยางดี เชน อาจจะมีการกําหนดใหผูใดบางเปนผูมีสิทธิ์ใชขอมูล ขอมูลที่เปนความลับจะตองมีระบบขั้นตอนการควบคุม กําหนดสิทธิ์ในการแกไขหรือการกระทํากับขอมูลวาจะกระทําไดโดยใครบาง นอกจากนี้ขอมูลที่เก็บไวแลวตองไมเกิดการสูญหายหรือถูกทําลายโดยไมไดตั้งใจ

รูปที่ 2.1 แสดงความสัมพันธของขอมูลและสารสนเทศ

รูปที่ 2.2 ตัวอยางขอมูลระเบียนประวัติของนักเรียน

ขอมูล การประมวลผล สารสนเทศ

ระเบียนประวัติชื่อ เพชร แข็งขัน เพศ ชาย

วัน เดือน ปเกิด 12 ม.ค. 2525

Page 4: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 4 -

การจัดเก็บขอมูลที่ดีจะตองมีการกําหนดรูปแบบของขอมูลใหมีลักษณะงายตอการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกัน ขอมูลแตละชุดควรมีความหมายและมีความเปนอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไมควรมีการเก็บขอมูลซ้ําซอนเพราะจะเปนการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บขอมูล

ขอความบนระเบียนประวัติของนักเรียนจากรูปที่ 2.2 ทําใหทราบวา เพชร แข็งขัน เปนนักเรียนชาย เกิดวันที่ 12 เดือนมกราคม ปพุทธศักราช 2525 ดังนั้นขอความ เพชร แข็งขัน ชาย และ 12 ม.ค. 2525 ที่อยูบนระเบียนประวัตินักเรียนจึงเปนขอมูล

ถามีการนําขอมูลเกี่ยวกับปเกิดของนักเรียนทั้งโรงเรียนจากระเบียนประวัติไปแจกแจงตามปเกิด ตามรูปที่ 3 จํานวนนักเรียนที่ไดจากการแจกแจงขอมูลตามปเกิดจะเปนสารสนเทศที่เกิดจากการนําขอมูลไปทําการประมวลผล

รูปที่ 2.3 การแจกแจงขอมูลปเกิดของนักเรียนทั้งโรงเรียน

ในบางครั้งผลสรุปจากการประมวลผลขอมูลแบบหนึ่ง อาจนําไปใชเปนขอมูลในการประมวลผลอีกแบบหนึ่งก็ได เชน ในการหาเกรดเฉลี่ยปลายภาคการศึกษาของนักเรียนชื่อนายสามารถ เริ่มจากครูผูสอนแตละวิชานําผลการสอบแตละครั้งและคะแนนการทํางานในชั้นเรียนของนายสามารถมาคํานวณคะแนนรวมและใหเกรดในวิชานั้นๆ เกรดที่ครูผูสอนแตละทานใหถือเปนสารสนเทศจากขอมูลคะแนนการสอบและการทํางานของนายสามารถ หลังจากสงเกรดแตละวิชาใหฝายวิชาการเพื่อคํานวณเกรดเฉลี่ย เกรดแตละวิชาที่สงมาจะเปนขอมูลในการคํานวณเกรดเฉลี่ยของนายสามารถ ซึ่งถือเปนสารสนเทศ หลังจากนั้นเกรดเฉลี่ยของนักเรียนแตละคนอาจเปนขอมูลในการประมวลผลอื่นๆ ตอไป เชน การคํานวณผลการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนทั้งชั้นเรียน

2.2 กระบวนการจัดการขอมูลและสารสนเทศการทําขอมูลใหเปนสารสนเทศจําเปนตองอาศัยเทคโนโลยีเขามาชวยดําเนินการ เริ่มตั้งแตการ

รวบรวมและตรวจสอบขอมูล การประมวลผลขอมูลใหกลายเปนสารสนเทศ และการดูแลรักษาขอมูลเพื่อการใชงาน

2.2.1 การรวบรวมและตรวจสอบขอมูล 1) การรวบรวมขอมูล ปจจุบันมีเทคโนโลยีชวยในการจัดเก็บขอมูลอยูเปนจํานวนมาก เชน การปอนขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอรผานแผงแปนอักขระ การอานขอมูลจากรหัสแทง การกราดตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดําในตําแหนงตางๆ 2) การตรวจสอบขอมูล เมื่อมีการรวบรวมขอมูลแลวจําเปนตองมีการตรวจสอบขอมูลเพื่อความถูกตอง ขอมูลที่เก็บเขาในระบบตองมีความนาเชื่อถือได หากพบที่ผิดพลาดตองแกไข การตรวจสอบขอมูลอาจตรวจสอบโดยสายตามนุษยหรือตั้งกฎเกณฑใหคอมพิวเตอรตรวจสอบ

ระเบียนประวัติ การแจกแจง

ปเกิด จํานวนนักเรียน2523 1102524 322525 67

.

.

.ขอมูล การประมวลผล

สารสนเทศ

Page 5: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 5 -

2.2.2 การประมวลผลขอมูลการประมวลผลขอมูลอาจประกอบดวยกิจกรรมดังตอไปนี้

1) การจัดกลุมขอมูล ขอมูลที่เก็บอาจมีการจัดกลุม เพื่อเตรียมไวสําหรับการใชงาน การแบงแยกกลุมมีวิธีการที่ชัดเจน เชน ขอมูลในโรงเรียนมีการแจกแจงหรือแบงกลุมประวัตินักเรียน ตานระดับชั้นเรียน ขอมูลในสมุดโทรศัพทหนาเหลืองมีการจัดกลุมเลขหมายโทรศัพทตามชนิดสินคาและบริการ 2) การจัดเรียงขอมูล เมื่อจัดกลุมแลว ควรมีการจัดเรียงขอมูลตามลําดับ ตัวเลข หรืออักขระ เพื่อใหเรียกใชงานไดงาย ประหยัดเวลา ตัวอยางการจัดเรียงขอมูล เชน การจัดเรียงบัตรขอมูลผูแตงหนังสือในตูบัตรรายการของหองสมุดตามลําดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผูใชโทรศัพทตามลําดับตัวอักษร 3) การสรุปผล บางครั้งขอมูลที่จัดเก็บมีจํานวนมาก จําเปนตองมีการสรุปผลหรือสรุปเปนรายงาน เพื่อนําไปใชประโยชน ขอมูลที่สรุปนี้จะสื่อความหมายไดดีกวา เชน สถิติจํานวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแตละชั้น 4) การคํานวณ ขอมูลที่เก็บรวบรวมมานั้น ขอมูลบางสวนเปนขอมูลจํานวนที่สามารถนําไปคํานวณเพื่อหาผลลัพธบางอยางได ดังนั้นการสรางสารสนเทศจากขอมูลจึงอาศัย การคํานวณขอมูลที่เก็บไวดวย เชน การคํานวณเกรดเฉลี่ยของนักเรียนแตละคน

2.2.3 การดูแลรักษาขอมูลการดูแลรักษาขอมูล อาจประกอบดวยกิจกรรมตอไปนี้

1) การเก็บรักษาขอมูล การเก็บรักษาขอมูล หมายถึง การนําขอมูลมาบันทึกเก็บไวในสื่อบันทึกตางๆ เชน แผนบันทึกขอมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทําสําเนาขอมูลเพื่อใหใชงานตอไปในอนาคตได 2) การทําสําเนาขอมูล การทําสําเนาเพื่อเก็บรักษาขอมูล หรือนําไปแจกจาย จึงควรคํานึงถึงความจุและความทนทานของสื่อบันทึกขอมูล 3) การสื่อสารและเผยแพรขอมูล ขอมูลตองกระจายหรือสงตอไปยังผูใชงานที่หางไกลไดงาย การสื่อสารขอมูลจึงเปนเรื่องสําคัญและมีบทบาทที่สําคัญยิ่งที่จะทําใหการสงขาวสารไปยังผูใชทําไดรวดเร็วและทันเวลา 4) การปรับปรุงขอมูล ขอมูลที่จัดเก็บไวมีจุดประสงคเพื่อการใชงาน เชน ในการตัดสินเพื่อดําเนินการ ดังนั้นขอมูลจึงตองมีการปรับปรุง ใหทันสมัยอยูตลอดเวลา และจัดเก็บอยางเปนระบบเพื่อการคนหาไดอยางรวดเร็ว

2.3 ขอมูลในคอมพิวเตอรคอมพิวเตอรทํางานดวยหลักการทางอิเล็กทรอนิกสที่ใชสัญญาณทางไฟฟาแทนตัวเลขศูนยและหนึ่ง ซึ่งเปน

ตัวเลขในระบบเลขฐานสอง แตละหลักเรียกวาบิต (binary digit : bit) และเมื่อนําตัวเลขหลายๆ บิตมาเรียงกัน จะใชสรางรหัสแทนจํานวนอักขระหรือสัญลักษณทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได และเพื่อใหการแลกเปลี่ยนขอความระหวางมนุษยกับคอมพิวเตอรเปนไปในแนวเดียวกัน จึงมีการกําหนดมาตรฐานรหัสแทนขอมูลในระบบเลขฐานสองขึ้น โดยรหัสมาตรฐานที่นิยมใชกันมากมีสองกลุม คือ รหัสยูนิโคดและแอสกี

2.3.1 ระบบเลขฐานสองในชีวิตประจําวันของมนุษยตองไดพบเจอกับจํานวนและการคํานวณอยูทุกวัน หากเราสังเกตจะ

พบวาจํานวนที่เราคุนเคยอยูทุกวันนั้นไมวาจะเปนการซื้อของเปนเงิน 39,587 บาท จํานวนเงินฝากในธนาคาร 1,426,000 บาท หรือจํานวนในใบแจงหนี้คาโทรศัพทจํานวน 2,560 บาท ลวนแลวแตประกอบขึ้นจากตัวเลข 10 ตัว คือ 0,1,2,3,4,5,6,7,8 และ 9 ทั้งสิ้น ตัวเลขทั้ง 10 ตัวนี้ถือไดวาเปนเครื่องมือที่ชวย

Page 6: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 6 -

ในการนับจํานวนของมนุษย การที่มนุษยเลือกเลข 10 ตัวในการแทนการนับ อาจเนื่องจากมนุษยมีนิ้วมือที่สามารถใชเปนอุปกรณชวยนับไดเพียง 10 นิ้ว จึงกําหนดระบบตัวเลขนี้ขึ้นมาและเรียกวา ระบบเลขฐานสิบ (decimal) ตอมาเมื่อมีการใชงานคอมพิวเตอรซึ่งเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ทํางาน แบบดิจิทัลและใชระดับแรงดันไฟฟาแสดงสถานะเพียง 2 สถานะ คือ ปด (แทนดวย 0) และเปด (แทนดวย 1) หรืออาจกลาวไดวาเครื่องคอมพิวเตอรรูจักตัวเลขเพียง 2 ตัวเทานั้น คือ 0 และ 1 หากมนุษยตองการใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือชวยทํางาน มนุษยตองเรียนรูระบบเลขที่ประกอบดวยตัวเลขเพียง 2 ตัวเชนกัน จึงไดมีการคิดคนระบบเลขฐานสอง (binary) ขึ้นเพื่อชวยในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร โดยระบบเลขฐานสองเปนระบบตัวเลขที่ประกอบดวยตัวเลขเพียง 2 ตัว คือ 0 และ 1 เทานั้น ตัวอยางเลขฐานสอง เชน 1102 , 101102

นอกจากระบบเลขฐานสองแลว ในการทํางานของคอมพิวเตอรยังอาจเกี่ยวของกับระบบตัวเลขระบบอื่นอีก เชน ระบบเลขฐานแปดและระบบเลขฐานสิบหกซึ่งระบบเลขฐาน ทั้งสองจะมีแนวคิดในทํานองเดียวกันกับระบบเลขฐานสองและฐานสิบ กลาวคือระบบเลขฐานแปดก็คือระบบเลขที่ประกอบดวยตัวเลขเพียง 8 ตัว คือ 0,1,2,3,4,5,6, และ 7 ตัวอยางเลขฐานแปด เชน 16738 765138 ในขณะที่ระบบเลขฐานสิบหกนั้นจะประกอบดวย ตัวเลขทั้ง 10 ตัวที่ใชอยูในระบบเลขฐานสิบ และเพิ่มตัวอักขระภาษาอังกฤษ A , B , C , D , E และ F แทนจํานวน 10 11 12 13 14 และ 15 ตามลําดับ ตัวอยางเลขฐานสิบหก เชน A154916 F7DA216 874316 จากที่กลาวมาขางตน จะเห็นวาการเขียนเลขฐานสอง ฐานแปดและฐานสิบหกนั้น มักจะเขียนตัวเลข 2 8 และ 16 กํากับอยูที่ตัวสุดทาย ทั้งนี้เพื่อปองกันความสับสน เชน 8743 หากเราไมเขียนตัวเลขกํากับไว ตัวเลขนี้อาจเปนเลขฐาน 10 หรือฐาน 16 ก็ไดเราก็จะไมทราบวาตัวเลขที่เขียนนั้นเปนเลขฐานใดตารางดานลางนี้เปนตารางแสดงคาของตัวเลขในระบบเลขฐานทั้งสี่ระบบที่กลาวถึงขางตน

ฐานสิบ เลขฐานสอง เลขฐานแปด เลขฐานสิบหก0 0000 0 01 0001 1 12 0010 2 23 0011 3 34 0100 4 45 0101 5 56 0110 6 67 0111 7 78 1000 89 1001 910 1010 A11 1011 B12 1100 C13 1101 D14 1110 E15 1111 F

ตารางที่ 2.1 รูปแบบของเลขในฐานสอง ฐานสิบ ฐานแปด และฐานสิบหก

Page 7: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 7 -

2.3.2 รหัสแทนขอมูล ขอยกตัวอยางที่นิยมใชในปจจุบัน 2 รูปแบบคือ1) รหัสแอสกี (American Standard Code Information Interchange :ASCII) เปน

มาตรฐานที่นิยมใชกันมากในระบบคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารขอมูล รหัสแทนขอมูลชนิดนี้ใชเลขฐานสองจํานวน 8 บิตหรือเทากับ 1 ไบตแทนอักขระหรือสัญลักษณแตละตัว ซึ่งหมายความวาการแทนอักขระแตละตัวจะประกอบดวยตัวเลขฐานสอง 8 บิตเรียงกัน ซึ่งลําดับของแตละบิตเปนดังนี้

รูปที่ 2.4 รหัสแทนขอมูลแบบรหัสแอสกี

จากหลักการของระบบเลขฐานสอง แตละบิตสามารถแทนคาได 2 แบบ คือ เลข 0 หรือเลข 1 ถาเราเขียนเลขฐานสองเรียงกัน 2 บิตในการแทนอักขระ เราจะมีรูปแบบในการแทนอักขระได (22) หรือ 4 รูปแบบ คือ 00 , 01 , 10 และ11 ดังนั้นในการใชรหัสแอสกีซึ่งมี 8 บิตในการแทนอักขระแลว เราจะมีรูปแบบที่ใชแทนไดถึง 28 หรือ 256 รูปแบบ ซึ่งเมื่อใชแทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแลวยังมีเหลืออยูสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หรือ สมอ. จึงไดกําหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อใหใชงานรวมกัน ตามตารางแสดงรหัส ASCII ดังนี้

ตารางที่ 2.2 รหัส ASCII แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษและภาษาไทย

บิตที่ 7 6 5 4 3 2 1 0 อักขระที่แทน0 0 1 1 0 1 1 1 70 1 0 0 0 1 1 1 G0 1 1 0 0 1 1 1 g

b7 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1b6 0 0 0 0 1 1 1 1 0 0 0 0 1 1 1 1b5 0 0 1 1 0 0 1 1 0 0 1 1 0 0 1 1b4 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1

b3 b2 b1 b00 0 0 0 0 @ P ' p ฐ ภ ะ เ ๐0 0 0 1 ! 1 A Q a q ก ฑ ม - ั แ ๑0 0 1 0 " 2 B R b r ข ฒ ย า โ ๒0 0 1 1 # 3 C S c s ฃ ณ ร -

ําไ ๓

0 1 0 0 $ 4 D T d t ค ด ฤ - ิ า ๔0 1 0 1 % 5 E U e u ฅ ต ล - ี ๆ ๕0 1 1 0 & 6 F V f v ฆ ถ ฦ - ึ - ็ ๖0 1 1 1 ' 7 G W g w ง ท ว - ื - ๗1 0 0 0 ( 8 H X h x จ ธ ศ - ุ - ๘1 0 0 1 ) 9 I Y i y ฉ น ษ - ู - ๙1 0 1 0 * : J Z j z ช บ ส - 1 0 1 1 + ; K [ k { ซ ป ห - 1 1 0 0 , < L \ l | ฌ ผ ฬ - ํ1 1 0 1 - = M ] m } ญ ฝ อ1 1 1 0 . > N ^ n ~ ฎ พ ฮ1 1 1 1 / ? O - o ฏ ฟ ฯ ฿

Page 8: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 8 -

2) รหัสยูนิโคด (Unicode) เปนรหัสที่สรางขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสรางแบบตัวอักษรของภาษาตางๆ รหัสยูนิโคดชเลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดคนรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใชงานคอมพิวเตอรในหลายประเทศและมีการสรางแบบตัวอักษร (font) ของภาษาตางๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเชน ภาษาจีน และภาษาญี่ปุน เปนภาษาที่เรียกวาภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเปนหมื่นตัว หากใชรหัสที่เปนเลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรไดเพียง 256 รูปแบบที่ไดอธิบายมาขางตน ซึ่งไมสามารถแทนตัวอักษรไดครบ จึงสรางรหัสใหมขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระไดถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณกราฟกและสัญลักษณทางคณิตศาสตรไดอีกดวย

2.3.3 การจัดเก็บขอมูลในหนวยความจําหนวยความจําหลักของคอมพิวเตอรเปนที่เก็บขอมูลและคําสั่งในขณะประมวลผล การเก็บขอมูล

ในหนวยความจําเปนการเก็บรหัสตัวเลขฐานสอง ขอมูลที่ใชในการประมวลผลทั้งตัวเลขหรือตัวอักขระจะไดรับการแทนเปนตัวเลขฐานสอง แลวเก็บไวในหนวยความจํา เชน ขอความวา BANGKOK เก็บในคอมพิวเตอรจะแทนเปนรหัสเรียงกันไป ดังนี้

ขอความ รหัสแทนขอมูลB 01000010A 01000001N 01001110G 01000111K 01001011O 01001111K 01001011

รูปที่ 2.5 การแทนขอมูลดวยรหัสเลขฐานสองในหนวยความจํา

2.3.4 การจัดเก็บคําสั่งในหนวยความจําในการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร นอกจากขอมูลแลว สิ่งสําคัญอีกอยางที่ทําใหเครื่อง

คอมพิวเตอรสามารถดําเนินการตางๆ ตามที่เราตองการไดคือชุดคําสั่ง โดยหนวยควบคุมของคอมพิวเตอรที่อยูในหนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หรือที่เรียกกันทั่วไปวาซีพียู ทําการอานคําสั่งจากหนวยความจํามาแปลความหมาย และกระทําตามคําสั่ง การแปลความหมายคําสั่ง หมายถึง การนําคําสั่งซึ่งเขียนขึ้นดวยภาษาคอมพิวเตอรภาษาใดภาษาหนึ่งมาแปลงใหเปนภาษาคอมพิวเตอรระดับพื้นฐานที่เรียกวา ภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งมีลักษณะเปนรหัสเลขฐานสอง คอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งมีคําสั่งที่ใชไดหลายรอยคําสั่ง แตละคําสั่งจะมีความหมายเฉพาะ เชน คําสั่งนําขอมูลที่มีคาเปน 3 จาก หนวยความจําตําแหนงที่ 8000 มาบวกกับขอมูลที่มีคาเปน 5 ในตําแหนงที่ 8001 ผลลัพธที่ไดใหเก็บไวในหนวยความจําตําแหนงที่ 8002 เมื่อเขียนคําสั่งเปนภาษาเครื่องจะมีลักษณะเปน เลขฐานสองเรียงตอกันเปนจํานวนมาก ซึ่งเขาใจไดยาก จึงมักใชตัวอักษรแทนรหัสภาษาเครื่องเหลานี้ ดังตัวอยางแสดงในรูป2.6

Page 9: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 9 -

ตัวอักษรแทนรหัสภาษาเครื่อง ภาษาเครื่องLD A, (8000) 00111010, 00000000, 10000000LD B, A 01000111LD A, (8001) 00111010, 00000001, 10000000ADD A, B 10000000LD (8002), A 00110010, 00000010, 10000000

รูปที่ 2.6 แสดงตัวอยางการแทนคําสั่งภาษาเครื่อง

รหัสภาษาเครื่องเมื่อเก็บอยูในหนวยความจําของคอมพิวเตอรจะมีลักษณะเรียงตอกันไป สมมติใหสวนของคําสั่งเก็บในหนวยความจําเริ่มจากตําแหนง 1000 และสวนของขอมูลเก็บไวเริ่มจากตําแหนง 8000 ดังรูปที่ 2.6 ภาษาเครื่องเปนภาษาสั่งการพื้นฐานที่ใชรหัสตัวเลขฐานสอง คอมพิวเตอรที่ใช หนวยประมวลผลกลางตางตระกูลกันจะมีภาษาเครื่องที่แตกตางกัน เชน เครื่องที่ใชซีพียูเพนเทียม (Pentium) กับซีพียูที่ใชในเครื่องแมกอินทอช มีรหัสคําสั่งตางกัน

2.4 การจัดการขอมูลดวยคอมพิวเตอรในปจจุบันที่สังคมเปนสังคมสารสนเทศ ขอมูลถือเปนทรัพยากรที่มีคาของทุกๆ หนวยงานไมวาขนาดเล็ก

หรือใหญ หนวยงานที่สามารถจัดการขอมูลไดดีกวายอมไดเปรียบกวาในทุกๆ ดาน ดังนั้นจึงไดมีความพยายามนําเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอรเขามาชวยใน การจัดการขอมูล โดยมีจุดประสงคเพื่อใหขอมูลของหนวยงานมีความถูกตอง แมนยํา ทันสมัยและสะดวกตอการเรียกใชงานมากที่สุด หากจะพิจารณาถึงการจัดการขอมูลยอมจะหมายถึง การจัดเก็บขอมูล การเรียกใชขอมูล รวมถึงการวิเคราะหขอมูลเพื่อนํามาใชงาน ลองพิจารณาถึงคลินิกแหงหนึ่งซึ่งเปนหนวยงานเล็กๆ ก็ยังตองมีการเก็บรวบรวมขอมูลคนไขที่มารับการรักษา ขอมูลที่ตองการเก็บ ไดแก ประวัติสวนตัวของคนไข อาการที่มารับการรักษา วิธีการรักษา และผลการรักษา วิธีหนึ่งที่ทํากันก็คือการจดบันทึกขอมูลทั้งหมดลงบนกระดาษและเก็บกระดาษนั้นไว ถามีหัวขอที่ซ้ํากัน เชน ขอความวาหัวขอ ชื่อคนไข และที่อยู ฯลฯ เจาหนาที่ตองเขียนทุกใบก็จะเปนการเสียเวลา ดังนั้นทางคลินิกอาจใชวิธีจางโรงพิมพพิมพแบบฟอรมขึ้นมาเพื่อใหการกรอกขอมูลงายขึ้น

Page 10: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 10 -

รูปที่ 2.7 ตัวอยางแบบฟอรมที่คลินิกแหงหนึ่งใช

เมื่อพิจารณาบัตรคนไข จะเห็นวา ขอมูลที่อยูบนบัตรมีความหมายตางๆ กัน การที่ขอมูลแสดงความหมายไดจะตองประกอบดวยสวนขอมูลที่พิมพบนบัตร กับสวนขอมูลที่กรอกเพิ่มเติม สวนขอมูลที่พิมพบนบัตรคือสวนที่อธิบายลักษณะของขอมูลที่ตองการ ทําใหสวนขอมูลที่กรอกเพิ่มเติมชัดเจน การใชงานขอมูลใหไดผลจึงตองมีทั้งตัวขอมูลและคําอธิบายลักษณะของขอมูล

ในการจัดเก็บขอมูลเหลานี้ ทางคลินิกใชตูเก็บเอกสารขนาดใหญสําหรับเก็บแบบฟอรมและเรียงไวในลิ้นชัก เมื่อมีคนไขใหมเพิ่มขึ้นก็เพิ่มแบบฟอรมแผนใหมเขาไป และในการเรียกใชขอมูลเมื่อมีคนไขมาติดตอ เจาหนาที่ตองคนหาขอมูลเดิมของคนไข วิธีหนึ่งที่ทําไดคือตรวจดูขอมูลบนบัตรคนไขทีละใบตั้งแตใบแรกจนพบ การคนหาวิธีนี้อาจเสียเวลามาก แตถาจัดเก็บขอมูลโดยเรียงชื่อตามตัวอักษรไวแลวจะทําไดรวดเร็วขึ้น

การจัดการขอมูลจึงเปนสิ่งที่จําเปนและเกี่ยวของกับการใชงานในชีวิตประจําวันและมีการนําคอมพิวเตอรมาชวยประมวลผลเพื่อไดขอมูลที่ถูกตองอยางรวดเร็ว การประมวลผลดวยคอมพิวเตอรจําเปนตองมีหลักการและวิธีการที่เปนระบบและการเก็บขอมูลควรพยายามลดขนาดของขอมูลใหเล็กที่สุด แตยังคงความหมายในตัวเองมากที่สุด

ดังที่กลาวมาแลววาการจัดเก็บขอมูลในคอมพิวเตอรนั้น เปนการเก็บขอมูลไวในสื่อบันทึก เชน เทปแมเหล็ก แผนบันทึก หรือจานแมเหล็ก โดยที่ขอมูลนั้นอยูในรูปของเลขฐานสองหลายบิตเรียงกัน ดังนั้นในการนําคอมพิวเตอรมาชวยในการประมวลผลจึงตองกําหนดรูปแบบหiรือโครงสรางของขอมูลเพื่อใหผูใชงานและคอมพิวเตอรสามารถเขาใจไดตรงกัน

ประวัติคลีนิกหนูนอยอ.เมือง จ.นครปฐม โทรศัพท 034-214428

---------------ชื่อคนไข อายุ เพศน้ําหนัก สวนสูงชื่อผูปกครอง อาชีพที่อยูประวัติการแพยาอาการที่มาการวินิจฉัยการรักษายาที่สั่งจาย

Page 11: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 11 -

2.4.1. โครงสรางแฟมขอมูล แฟมขอมูลประกอบดวยองคประกอบตางๆ ดังนี้

1) บิต (bit) คือ สัญญาณไฟฟาที่ใชแทนมีหรือไมมีไฟ ประกอบไปดวยเลข 0 กับ 1 ถาเปนเลข 0 แสดงวาไมมีสัญญาณไฟฟา แตถาเปนเลข 1 ก็แสดงวามีสัญญาณไฟ เปนโครงสรางที่เล็กที่สุด

2) ไบต (byte) คือ กลุมคําของบิตที่เปนรหัสใชแทนตัวอักษรเพียง 1 ตัว ซึ่งปกติแลวจะนับวา 8 บิต คือ 1 ไบต บางครั้งอาจจะเรียกไบตวา เปนตัวอักษร (Character) ก็ได ดังนั้นตัวอักษร 1 ตัว ก็จะเรียกวา 1 ไบต

3) เขตขอมูล(Field) หมายถึง กลุมของขอมูลที่อยูในพวกเดียวกันมารวมกัน เชน กลุมของรายชื่อนักเรียน กลุมของตัวเลขเงินเดือน กลุมของรหัสประจําตัวพนักงาน กลุมของคะแนนแตละวิชา เปนตน

4) ระเบียน(Record) หมายถึง รายการขอมูลแตละรายการซึ่งประกอบไปดวยฟลดตางๆ มารวมกัน เชน รายการขอมูลของพนักงานแตละคน รายการของสินคาแตละชิ้น รายการของ นักศึกษาแตละคน เปนตน

5) แฟมขอมูล(File) หมายถึง กลุมของรายการขอมูลที่เหมือนกันมารวมกัน เชน ไฟลที่เก็บทะเบียนประวัติ นักศึกษา ไฟลที่เก็บรายชื่อสินคาในสตอก ไฟลเก็บ รายชื่อหนังสือในหองสมุด ไฟลที่เก็บรายชื่อพนักงานในบริษัท เปนตน

2.4.2 ประเภทของแฟมขอมูลประเภทของแฟมขอมูลจําแนกตามลักษณะของขอมูลที่เก็บบันทึกไวเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ1. แฟมขอมูลหลัก (Master File) เปนแฟมขอมูลซึ่งเก็บขอมูลที่สําคัญ เชน แฟมขอมูลประวัติ

ลูกคา (Customer master file) ตามที่กลาวไวขางตน แฟมขอมูลประวัติผูจัดสงสินคา (Supplier master file) แฟมขอมูลสินคาคงเหลือ (Inventory master file) แฟมขอมูลบัญชี (Account master file) เปนตน ซึ่งแฟมขอมูลหลักเหลานี้เปนสวนประกอบของระบบงานบัญชี (Account system)

2. แฟมรายการปรับปรุง (Transaction file) เปนแฟมที่บันทึกขอมูลเกี่ยวกับแฟมขอมูลหลักที่มีการเปลี่ยนแปลงในแตละวัน รายการที่เกิดขึ้นตองนําไปปรับปรุงกับแฟมขอมูลหลักเพื่อใหแฟมขอมูลหลักมีขอมูลที่ทันสมัยอยูตลอดเวลา การปรับปรุงแฟมขอมูลสามารถทําไดหลายอยาง เชน การเพิ่มรายการ (Add record) การลบรายการ (Delete record) และการแกไขรายการ (Edit)

2.4.3. ขอดีของแฟมขอมูล1. การประมวลผลขอมูลทําไดรวดเร็ว2. คาลงทุนในเบื้องตนจะต่ํา อาจไมจําเปนตองใชคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพสูงก็สามารถทํา

การประมวลผลขอมูลได3. โปรแกรมประยุกตแตละโปรแกรมสามารถควบคุมการใชงานในแฟมขอมูลของตนเองได

2.4.4 ขอเสียของแฟมขอมูล1. มีความซ้ําซอนของขอมูล(Redundancy)2. ความยากในการประมวลผลขอมูลในแฟมขอมูลหลายแฟมขอมูล3. ไมมีผูควบคุมหรือรับผิดชอบระบบทั้งหมด4. ความขึ้นตอกัน(Dependency)ระหวางโปรแกรมประยุกตและโครงสรางของแฟมขอมูล

Page 12: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 12 -

พิจารณาการเก็บประวัติของนักเรียนในโรงเรียนแหงหนึ่ง ประวัติของนักเรียนคนหนึ่ง ๆ จะบันทึกลงในระเบียนประวัติหนึ่งใบ โดยประกอบดวยเขตขอมูลตาง ๆ เชน ชื่อ นามสกุล วันเดือนปเกิด ฯลฯ โดยที่ขอมูลเหลานี้อาจเปนตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได และใบระเบียนประวัติของนักเรียนในโรงเรียนจะไดรับการจัดเก็บไวในแฟมเดียวกัน

รูปที่ 2.8 แสดงการจัดเก็บประวัตินักเรียน

จากรูปจะเห็นวา นักเรียนแตละคนมีประวัติ 1 ใบ หรือ 1 ระเบียน เก็บอยูในแฟมประวัตินักเรียนทั้งโรงเรียน เมื่อดึงประวัตินักเรียน 1 คนมาพิจารณาจะประกอบดวยเขตขอมูลรายละเอียดดังรูปทางขวามือและจากรูปสามารถสรุปไดวา

ระเบียนประวัติของนักเรียนทั้งหมดเรียกวา แฟมขอมูล ประวัตินักเรียนของโรงเรียนระเบียนประวัติของนักเรียนแตละคนเรียกวา ระเบียนขอมูล ประวัตินักเรียนขอมูลแตละคาในระเบียนประวัติ เรียกวา เขตขอมูล ประวัตินักเรียนซึ่งอาจเปนตัวเลขหรือตัวหนังสือ

เลขประจําตัว ชื่อ – สกุล เพศ วัน เดือน ปเกิด00001 เพชรเกษม มั่นคง ชาย 1 ม.ค. 253500002 วีนา ใจสมุทร หญิง 24 พ.ย. 253500003 ภัคพล แสนเย็น ชาย 18 ต.ค. 2535

รูปที่ 2.9 แสดงการจัดเก็บประวัตินักเรียนในคอมพิวเตอร โดยขอมูลของนักเรียนแตละคนเก็บใน 1 ระเบียนและแตละระเบียนประกอบดวย 4 เขตขอมูล

สําหรับการจัดเก็บขอมูลเพื่อการประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอรนั้น จะมีการจัดเหมือนกับการจัดขอมูลทั่วไป คือ เปนแฟมขอมูล ระเบียนขอมูล และเขตขอมูล จากภาพการจัดการขอมูลทั่วไปในรูปแสดงการจัดเก็บประวัตินักเรียนนั้น สามารถจัดเก็บในคอมพิวเตอรไดดังรูป โดยจะเห็นวาแฟมขอมูลอยูในรูปตารางสองมิติ และแตละแถวจะแสดงระเบียนแตละระเบียน และแตละสดมภจะแสดงเขตขอมูลตาง ๆ แตละเขตขอมูลที่มีชื่อกํากับบอกไว จะสังเกตไดวาความสัมพันธของขอมูลจะสัมพันธกันในแตละระเบียน โดยมีความหมายในตัวเองและไมเกี่ยวของกับลําดับระเบียน

ระเบียนประวัติ

ระเบียนประวัติชื่อ เพชรเกษม มั่นคง เพศ ชายวัน เดือน ปเกิด 10 ม.ค. 2535ชื่อบิดา แกวฟา ม่ันคงชื่อมารดา ชาติชาย มั่นคงแฟมระเบียนประวัตินักเรียนทั้งโรงเรียน

ระเบียนประวัตินักเรียนหนึ่งคน

ระเบียน

เขตขอมูล

Page 13: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 13 -

ในการจัดเก็บขอมูลตองกําหนดคุณสมบัติของขอมูลใหชัดเจนตลอดจนวิธีการเตรียม ขอมูลเพื่อการประมวลผลดังตอไปนี้

รูปที่ 2.10 ขอมูลประวัตินักเรียน

(1) กําหนดชื่อและจํานวนเขตขอมูลในระเบียนขอมูล เชน ในระเบียนขอมูลนักเรียนในรูปแสดงการจัดเก็บประวัตินักเรียนในคอมพิวเตอร อาจประกอบดวยเขตขอมูลจํานวน 6 เขต คือ เขตขอมูลที่ 1 ชื่อเขตขอมูล ID หมายถึง เลขประจําตัวนักเรียน เขตขอมูลที่ 2 ชื่อเขตขอมูล NAME หมายถึง ชื่อสกุลนักเรียน เขตขอมูลที่ 3 ชื่อเขตขอมูล SEX หมายถึง เพศของนักเรียน เขตขอมูลที่ 4 ชื่อเขตขอมูล BIRTHDAY หมายถึง วันเดือนปเกิดของนักเรียน

(2) กําหนดชนิดและขนาดของเขตขอมูลแตละเขต เชน เขตขอมูล NAME เปนตัวหนังสือมีขนาดที่เก็บ 30 ตัวอักษร (3) กําหนดวิธีการและสื่อในการจัดเก็บขอมูล แฟมขอมูลจะไดรับการนําไปเก็บไวในหนวยความจําของคอมพิวเตอร โดยขอมูลนี้อาจไดรับการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมหรือตัดออกได

เขตขอมูล ขนาดขอมูล ตัวอยางขัอมูลเลขประจําตัว ตัวอักษร 5 ตัว 00001ชื่อ – สกุล ตัวอักษร 30 ตัว เพชรเกษม มั่นคง

เพศ ตัวอักษร 1 ตัว ชวัน เดือน ปเกิด ตัวอักษร 10 ตัว 1/1/2535

รูปที่ 2.11 การกําหนดลักษณะการจัดเก็บขอมูลของแฟมขอมูลประวัตินักเรียน

ในแตละระเบียนอาจเลือกเขตขอมูลหนึ่ง ซึ่งสามารถบงบอกความแตกตางของขอมูลใหทราบไดอยางมีนัยสําคัญมาเปนตัวบงชี้ความแตกตางของระเบียนแตละระเบียนซึ่งเรียกวา กุญแจ (key) เชน ระเบียนประวัตินักเรียนอาจเลือกเขตขอมูลรหัสประจําตัวเปนกุญแจเพราะ เขตขอมูลนี้จะบงบอกความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ กลาวคือ จะบอกไดวาเปนนักเรียน คนเดียวกันหรือไม

เลขประจําตัว ชื่อ – สกุล เพศ วัน เดือน ปเกิด00001 เพชรเกษม มั่นคง ชาย 1 ม.ค. 253500002 วีนา ใจสมุทร หญิง 24 พ.ย. 253500003 ภัคพล แสนเย็น ชาย 18 ต.ค. 2535

Page 14: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 14 -

2.5 ระบบฐานขอมูลฐานขอมูล หมายถึง แหลงที่ใชสําหรับเก็บรวบรวมขอมูลซึ่งอยูในรูปแฟมขอมูลมารวมไวที่เดียวกัน รวมทั้ง

ตองมีสวนของพจนานุกรมขอมูล (data dictionary) เก็บคําอธิบายเกี่ยวกับโครงสรางของฐานขอมูล และเนื่องจากขอมูลที่จัดเก็บนั้นตองมีความสัมพันธซึ่งกันและกันทําใหสามารถสืบคน (retrieval) แกไข (modified) ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสราง ขอมูล (update) และจัดเรียง (sort) ไดสะดวกขึ้นโดยในการกระทําการดังที่กลาวมาแลว ตองอาศัยซอฟตแวรประยุกตสําหรับจัดการฐานขอมูล

ระบบฐานขอมูล หมายถึง ระบบการรวบรวมแฟมขอมูลหลายๆ แฟมขอมูลเขาดวยกัน โดยขจัดความซ้ําซอนของขอมูลออก แลวเก็บขอมูลไวที่ศูนยกลาง เพื่อการใชงานรวมกันในองคกร ภายในระบบตองมีสวนที่เปนโปรแกรมประยุกตที่สรางขึ้นเพื่อเชื่อมโยงและใชงานขอมูลในฐานขอมูล(database) และจะตองมีการดูแลรักษาความปลอดภัยของขอมูลเหลานั้น มีการกําหนดสิทธิของผูใชงานแตละคนใหแตกตางกัน ตามแตความตองการในการใชงาน

จากความหมายที่กลาวมาขางตน ระบบฐานขอมูลจะประกอบดวยแฟมขอมูลจํานวนหลายๆ แฟมดังตัวอยางในรูป แฟมขอมูลเหลานี้ตองมีการจัดระบบแฟมไวอยางดี กลาวคือ ขอมูลในแฟมขอมูลเดี ยวกั นต อง ไ ม มี การซ้ํ า ซ อนกัน แต ระหว า งแฟมขอมูลอาจมีการซ้ําซอนกันไดบาง และตองเปดโอกาสใหผูใชสามารถเขาถึงขอมูล และคนหาไดงาย นอกจากนี้ยังสามารถ เพิ่มเติม หรือลบออกไดโดยไมทําใหขอมูลอื่นเสียหาย

2.5.1 โครงสรางขอมูลในระบบฐานขอมูลความสัมพันธของแตละแฟมขอมูลจะแสดงดวยตัวชี้ที่จะบอกวาขอมูลของระเบียนเดียวกันอยูที่

ใดในแฟมอื่นๆ เชน เมื่อแบงแยกแฟมขอมูลออกเปน 3 แฟม คือ นักเรียน อาจารย และ วิชา โดยแตละแฟมขอมูลจะมีตัวชี้บงบอกวาขอมูลที่สัมพันธกันอยูที่ใด ดังตัวอยางในรูป

รูปที่ 2.13 ตัวอยางการใชตัวชี้เพื่อบอกความสัมพันธของแฟมขอมูลในระบบฐานขอมูล

หองเรียน

นักเรียน

หองเรียน

วิชา

รูปที่ 2.12 แสดงแฟมขอมูลทั้งหมดที่ประกอบรวมอยูในฐานขอมูล

นักเรียน000010000200003 เกษมเพชร T02

อาจารยT01T02 สุชิน ง30101T03

วิชาค30101 คณิตศาสตร 1ช30102 ชีววิทยา 1ง30101 การเขียนโปรแกรม 1

Page 15: บทที่ 2 - mwit.ac.thcs/download/tech30101/TECH30101_ch2.pdfรายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นต

รายวิชา ง30101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน ภาคเรียนที่ 1/2554

- 15 -

โครงสรางขอมูลในฐานขอมูลตามรูป ประกอบดวย 3 แฟม ในแตละแฟมมีความสัมพันธถึงกัน เชน ขอมูลในแฟมนักเรียนจะมีสวนที่เปนตัวชี้ที่บอกความสัมพันธกับแฟมอาจารยวาอาจารยประจําชั้นเปนใคร

กรณีที่การคนหาขอมูลของนักเรียน เชน นักเรียนที่มีเลขประจําตัวนักเรียน 00003 มีชื่อวาอะไร มีใครเปนอาจารยประจําชั้น และเรียนวิชาอะไร ลักษณะการคนหาคือ คนหาในแฟมนักเรียนทีละระเบียนจนพบระเบียนที่มีเลขประจําตัว 00003 ก็จะทราบชื่อนักเรียนและมีตัวชี้ที่ระบุวาขอมูลนี้สัมพันธกับขอมูลในแฟมอาจารย ทําใหทราบวาอาจารยชื่ออะไร และจะทราบตัวชี้ที่ระบุตอวาอาจารยสอนวิชาอะไร เปนตน

2.5.2 หลักการที่สําคัญของฐานขอมูลการจัดการฐานขอมูลยึดหลักการที่สําคัญคือ(1) ลดความซ้ําซอนของขอมูล การจัดเก็บขอมูลที่ไมเปนระบบที่ดี อาจมีขอมูลที่ซ้ําซอน

กระจายอยูในหลายๆ แฟม ทําใหมีปญหาของการปรับแกไขขอมูล เพราะตองคอยปรับปรุงขอมูลใหครบทุกแฟม มิฉะนั้นจะพบกับปญหาความไมตรงกันของขอมูล ซึ่งทําใหการบริหารขอมูลทําไดยาก จึงควรมีการออกแบบและเก็บเพียงที่เดียว เพื่อลดความ ซ้ําซอน

(2) ควบคุมความคงสภาพของขอมูล ในการสรางฐานขอมูลจะตองมีการกําหนดโครงสรางของขอมูลแตละเขตขอมูล โดยการกําหนดชื่อ ชนิดของขอมูล รวมทั้งขนาดของคาขอมูล ทําใหสามารถตรวจสอบขอมูลที่ผูใชกรอกในขั้นตอนของการนําเขาขอมูลได โดยคาของขอมูลที่ผิดไปจากรูปแบบที่กําหนดจะไมไดรับการนําเขาสูฐานขอมูล มีผลใหลดความผิดพลาดของขอมูลได

(3) มีระบบปองกันความปลอดภัยของขอมูล ขอมูลที่จัดเก็บไวในฐานขอมูลจําเปนตองจัดแบงระดับความสําคัญของขอมูลเพื่อกําหนดผูใช มีการควบคุมการใชขอมูล เพื่อบงบอกวาใครจะเปนผูแกไขหรือปรับปรุงขอมูลไดบาง มีการบันทึกประวัติการแกไขขอมูลเพื่อตรวจสอบ ขอมูลที่จัดเก็บนั้นอาจมีความสําคัญ การแกไขหรือปรับปรุงขอมูลโดยรูเทาไม ถึงการณนั้นอาจทําใหขอมูลเสียหายได นอกจากนี้ระบบควรมีการสํารองขอมูลเพื่อปองกัน ขอมูลสูญหาย

(4) มีความเปนอิสระจากโปรแกรม ระบบจัดการฐานขอมูลที่ดีจะตองเปนระบบที่ฐานขอมูลมีความเปนอิสระจากโปรแกรม ทําใหสามารถใชโปรแกรมจัดการฐานขอมูลใดๆ จัดการฐานขอมูลได การออกแบบใหขอมูลเปนอิสระนี้ ทําใหขอมูลใชไดกับเครื่องคอมพิวเตอรทุกรูปแบบ

(5) รวมขอมูลเพื่อใชขอมูลรวมกัน แตเดิมมีการเก็บขอมูลแยกเปนแฟมขอมูลขนาดเล็กกระจัดกระจาย ซึ่งทําใหดูแลและบริหารจัดการขอมูลไดยาก แตในปจจุบันดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยสามารถรวบรวมฐานขอมูลเหลานี้เขาเปนฐานขอมูล ทําใหระบบทํางานรวมกันไดดีขึ้น

การดําเนินงานฐานขอมูลจะตองมีการจัดการเตรียมฐานขอมูลและบริหารขอมูล โดยจัดแยกกลุม ปรับปรุงขอมูล และตรวจสอบความถูกตอง หนาที่หลักของผูบริหาร ฐานขอมูล จึงประกอบดวยการจัดเก็บขอมูล การติดตอประสานงานกับแหลงและที่มาของ ขอมูล ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล แบงกลุม จัดลําดับ กําหนดรหัสขอมูล คํานวณ สรุปผลทํารายงาน เก็บรักษาขอมูลโดยตองคํานึงถึงความปลอดภัยและเชื่อถือไดของขอมูล การคนหาขอมูล การสํารวจขอมูล และการเผยแพรแจกจายขอมูล