31
วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1 รหัส 3106-2004 สาขาวิชา ช่างก่อสร้าง หลักสูตร วิชาชีพชั นสูง (ปวส.)

วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

วชิา เทคนิคก่อสร้าง 1

รหสั 3106-2004 สาขาวชิา ช่างก่อสร้าง

หลกัสูตร วชิาชีพชั้นสูง (ปวส.)

Page 2: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

หน่วยที่ 3 เสาเข็ม

Page 3: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็ม

เสาเข็ม คือ ส่วนที่รับน า้หนกัของฐานรากในสภาพดินที่มีการแบกรับน า้หนกัได้ต ่า โดยเลือกใช้ฐานรากวางบนเสาเข็มเพื่อถ่ายน า้หนกัลงสูด่ินที่มีความมัน่คงด้านลา่ง

Page 4: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

หวัเสาเขม็

ต าแหน่งตดัหวัเสาเขม็

ตวัเสาเขม็

ปลายเสาเขม็ ปลายล่างเสาเขม็

ส่วนประกอบของเสาเข็ม

Page 5: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

หวัเสาเข็ม หมายถึง ส่วนบนสุดของเสาเข็มเป็นส่วนที่รับแรงกระแทกจากอปุกรณ์การตอกเสาเข็ม ต าแหน่งตัดหัวเสาเข็ม หมายถึง ระดับที่จะท าการตัดหัวเสาเข็มออกโดยมากคือต าแหน่งใต้ฐานของฐานราก

ตวัเสาเข็ม หมายถึง ส่วนล าตวัของเสาเข็ม มีพืน้ที่มากที่สุดท าหน้าที่รับแรงฝืดระหวา่งผิวเสาเข็มกบัชัน้ดิน

ปลายเสาเข็ม หมายถึง ส่วนปลายล่างสุดของเสาเข็มท าหน้าที่เจาะทะลชุัน้ดิน ปลายล่างเสาเข็ม หมายถึง วสัดหุ่อหุ้มส่วนปลายของเสาเข็มเป็นเหล็กหล่อ เพ่ือให้สามารถเจาะทะลทุะลวง ชัน้ทรายแน่นและชัน้ดิน

Page 6: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

ประเภทของเสาเข็ม

แบง่ตามลกัษณะการรับก าลงัของชัน้ดินเป็น 2 ประเภทดงันี ้

1.เสาเข็มแรงต้านทานส่วนปลาย คือ เสาเข็มที่ตอกลงถึงชัน้ทรายหรือชัน้ดินแข็ง แรงต้านส่วนปลายจะวางอยู่บนชัน้ดินแข็งที่รับน า้หนกัได้มัน่คง

2.เสาเข็มแรงฝืด คือ เสาเข็มที่ไม่มีชัน้ดินแข็งรองรับด้านล่างปลายเสาเข็ม การรับน า้หนักของเสาเข็มจะเกิดจากแรงฝืดระหว่างผิวของเสาเข็มกบัดินรอบเสาเข็ม ในดินที่มีความเช่ือมแน่นสงู

Page 7: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

ชนิดของเสาเข็ม ที่นิยมในประเทศไทยมีหลายชนิดตามปัจจยัและสิ่งแวดล้อมในการก่อสร้างอาคารตา่งๆ ปัจจบุนัแบง่ออกเป็น 6 ชนิดได้แก่ 1.เสาเข็มไม้ 2.เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหลก็ 3.เสาเข็มคอนกรีตหลอ่ส าเร็จรูป 4.เสาเข็มคอนกรีตหลอ่ในท่ี 5.เสาเข็มเหลก็ 6.เสาเข็มประกอบ 7.เสาเข็มเจาะเสียบ

Page 8: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มไม้

เป็นเสาเข็มที่หาได้ง่าย มีน า้หนักเบา ราคาถูก มีอายุการใช้งานนานเมืออยู่ต ่ากว่าระดบัน า้ใต้ดิน เสาเข็มไม้มีความฝืดสงู

ข้อจ ากัด คือ รับแรงได้น้อย อิกทัง้หาเสาเข็มไม้ที่มีล าต้นยาวได้ยาก หัวเสาเข็มอาจเสียหายได้งา่ยระหวา่งตอก

Page 9: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหลก็

เป็นเสาเข็มหลอ่ในท่ี เน่ืองจากอาจไม่สามารถขนสง่เสาเข็มหลอ่ส าเร็จรูปไปยงัสถานที่ก่อสร้างได้ หรือมีจดุประสงค์ด้านการใช้งานตา่งๆ เป็นต้น

Page 10: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเขม็คอนกรีตหล่อส าเร็จรูป

เป็นเสาเข็มอดัแรงหล่อจากโรงงาน ผลิตโดยใช้เทคนิคการดึงลวดรับแรงดึง แล้วเทคอนกรีตลงในแบบหล่อในขณะที่แรงดึงในลวดยงัคงค้างอยู่

Page 11: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

หน้าตดัเสาเข็มคอนกรีตหลอ่ส าเร็จที่ขายในปัจจบุนั

Page 12: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มคอนกรีตหล่อในที่

เป็นเสาเข็มที่ออกแบบเพื่อลดการเสียหายของอาคารข้างเคียง เน่ืองจากการสัน่สะเทือนจากการตอกเสาเข็ม เสาเข็มหลอ่ในที่แบง่ลกัษณะการท างานเป็น 2 ชนิดคือ

1.เสาเข็มชนิดฝังปลอกเหลก็

2.เสาเข็มชนิดไมฝั่งปลอกเหลก็

Page 13: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มชนิดฝังปลอกเหลก็

แบบที่ 1 เสาเข็มแบบลิ่ม

Page 14: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มชนิดฝังปลอกเหลก็

แบบที่ 2 เสาเข็มชนิดขยายสว่นลา่ง

Page 15: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มชนิดฝังปลอกเหลก็

แบบที่ 3 เสาเข็มชนิดรูปทรงกระดมุ

Page 16: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มชนิดฝังปลอกเหลก็

แบบที่ 4 เสาเข็มชนิดเท้าช้าง

Page 17: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มชนิดฝังปลอกเหลก็

แบบท่ี 4 เสาเข็มชนิดมีลิ่มอดุปลายเสา

Page 18: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มคอนกรีตหล่อในที่

ท าการก่อสร้างโดยการตอกหรือกดปลอกเหล็กลงในดินจนถึงชัน้ดินแข็ง หลงัจากการเทจ่ะดงึปลอกเหลก็ออกทนัท ี

เสาเข็มชนิดนีจ้ะรับน า้หนักได้สูง ส าหรับดินรอบเสาเข็มที่มีความเช่ือมแน่น

ข้อควรระวงั ในขณะที่ถอนปลอกเหล็ก อาจท าให้ดินรอบเสาทลายลงผสมกับเนือ้คอนกรีตที่ยังไม่แห้งได้ อาจท าให้เสาคอดหรือคอนกรีตไม่แข็งแรงสง่ผลตอ่การรับน า้หนกั

Page 19: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มเหลก็

เป็นเสาเข็ม ที่มีความสามารถในการแบกรับน า้หนักได้สูงกวา่เสาไม้และคอนกรีต

Page 20: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มประกอบ

เป็นเสาเข็มที่ประกอบด้วยวสัด ุ2 ชนิด โดยทัว่ไป นิยมน าไม้และคอนกรีตมาประกอบกนั จดุที่ส าคญัท่ีสดุคือรอยตอ่

รอยต่อเสาเขม็ประกอบ

Page 21: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มเจาะเสียบ น ามาใช้เพื่อลดปัญหาจากการสัน่สะเทือนจากการตอกเสาเข็ม

โดยใช้รถติดเคร่ืองเจาะกดเสาเข็มแทนการใช้ปัน้จัน่ตอก

Page 22: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เคร่ืองมอืทีใ่ช้ในการตอกเสาเข็ม

ปัน้จัน่แบบลกูตุ้มปลอ่ยตก

Page 23: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

ปัน้จัน่แบบดีเซล

Page 24: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มเจาะ หรือเสาเข็มคอนกรีตหลอ่ในท่ี

คือ เสาเข็มระบบพิเศษที่ต้องท าการขุดเจาะดินที่ต าแหน่งของเสาเข็ม จนถึงระดับความลึกที่ต้องการ แล้วจึงใส่เหล็กเสริมและเทคอนกรีตในหลมุเจาะ

ท างานได้ 2 ระบบคือ

Page 25: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

1. เสาเขม็เจาะระบบแห้ง

เป็นเสาเข็มเจาะเหมาะกบัเสาเข็มที่มีขนาดเส้นผ่านศนูย์กลางตัง้แต ่0.35 – 0.60 ม. ความลกึของหลมุเจาะไม่ลกึมากนกั ก้นหลมุอยูใ่นชัน้ดินเหนียวแข็ง หรือชัน้ทรายที่ไมมี่น า้ การน าดินขึน้จะใช้สว่าน หรือกระบะตกัดิน ภายในหลมุเจาะต้องไม่มีน า้และการพงัของดินในหลมุควรน้อยท่ีสดุ หรือไม่มีเลย

Page 26: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข
Page 27: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

เสาเข็มเจาะระบบเปียก

เป็นเสาเข็มที่มีขนาดเส้นผ่านศนูย์กลางตัง้แต่ 0.50 เมตรขึน้ไป ไม่จ ากดัความลึกของหลมุเจาะส าหรับอาคารขนาดใหญ่อาจใช้ความลกึประมาณ 40-50 เมตร

จะใช้สารประเภท Bentonite Slurry ในการป้องกนัการพงัทลายของดิน

เทคอนกรีตโดยวิธีการใช้ Tremie Pipe เพ่ือป้องกนัไม่ให้คอนกรีตเกิดการแยกตวัเมือไปผสมกบัสารละลาย Bentonite

Page 28: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

รถเครนเจาะดิน

Page 29: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

สาร BENTONITE SLURRY

คา่ความหนาแน่น ระหวา่ง 1.02-1.15 ตนั/ลบ.ม

Page 30: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

ทอ่ TREMIE PIPE

Page 31: วิชา เทคนิคก่อสร้าง 1building.cmtc.ac.th/main/images/stories/Tanakarn/Tachnic...เสาเข มเจาะระบบแห ง เป นเสาเข

ขัน้ตอนการเจาะเสาเข็มระบบเปียก