60
ชื่อ .......................................................................... นามสกุล................................................................. เลขที......................... ห้อง ม.3/..........................

ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

ช่ือ .......................................................................... นามสกลุ................................................................. เลขที ่......................... ห้อง ม.3/..........................

Page 2: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน รหัส ท ๒๓๑๐๑

ครูผูสอน ๑. มิสปาริชาติ ดํารงพิริยกุล ๒. มิสจิตตวรา ดํารักษ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ / ๒๕๕๙

จํานวน ๓ คาบ/สัปดาห ๖๐ คาบ/ภาคเรียน จํานวน ๑.๕ หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ............................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติทักษะทางภาษา การพูด การฟง การอาน การดู และการเขียนเพ่ือสรางความรู ความคิด

วิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความคิดเห็นหรือโตแยงในเรื่องตางๆ ตีความ ประเมินคาอยางมีวิจารณญาณ อานบท

รอยแกวและบทรอยกรอง อานวรรณกรรมประเภทตางๆ อานออกเสียง อานในใจ แปลความ ตีความ ขยายความ ถอดความ

สรุปจับใจความ เลาเรื่อง ยอเรื่อง ประเมินคาจากเรื่อง ศึกษาหลักและการใชภาษาเก่ียวกับคํา กลุมคําและความสัมพันธของ

คํา การสรางคําไทย การสรางกลุมคํา การสรางประโยค วิเคราะหโครงสรางประโยคท่ีซับซอน การสังเกตคําไทยแทและการ

ใชคําภาษาตางประเทศท่ีมีใชในภาษาไทย การใชสํานวนโวหาร การทองบทอาขยาน การเขียนสะกดคําถูกตองตามอักขรวิธี

โดยใชกระบวนการคิด วิเคราะห หาเหตุผล กระบวนการสื่อความหมาย เขาใจในภาษาซ่ึงเปนภาษาประจําชาติ ใชเทคโนโลยี

ในการสื่อสารท่ีหลากหลาย เลือกอานหนังสือท่ีมีคุณคา เห็นคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมในระดับท่ียากยิ่งข้ึน การ

พิจารณาคุณคาของเรื่องท่ีอาน ฟง ดู ดานเนื้อหา ภาษา สภาพสังคม ความเปนอยู วิถีชีวิต ภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถ่ิน

ความเชื่อ คานิยมไดอยางถูกตอง และมีมารยาท

โดยใชกระบวนการคิด ทักษะการสื่อสาร สรุป วิเคราะหขอมูลจากเรื่องและสื่อตางๆ ท่ีอานฟงและดูเพ่ือใหเกิด

ความรู ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจนําไปใชชีวิตประจําวันไดอยาง

ภาคภูมิใจรักความเปนไทย ชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงม่ันทํางานและมีจิตสาธารณะ

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด ( จํานวน ๒๗ ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี ๑ การอาน มฐ. ท ๑.๑ ตัวชีว้ัดท่ี ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐

สาระท่ี ๒ การเขียน มฐ. ท ๒.๑ ตัวชีว้ัดท่ี ๑, ๔, ๗, ๙, ๑๐

สาระท่ี ๓ การฟง การดูและการพูด มฐ. ท ๓.๑ ตัวชีว้ัดท่ี ๑, ๒, ๓, ๖

สาระท่ี ๔ หลักและการใชภาษา มฐ. ท ๔.๑ ตัวชีว้ัดท่ี ๑, ๒, ๓, ๖

สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มฐ. ท ๕.๑ ตัวชีว้ัดท่ี ๑, ๒, ๓, ๔

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิตและมี

นิสัยรักการอาน

ตัวช้ีวัด ๑. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตองและเหมาะสมกับเรื่องท่ีอาน

๒. ระบุความแตกตางของคําท่ีมีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย

๓. ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดของขอมูลท่ีสนับสนุนจากเรื่องท่ีอาน

Page 3: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

๔. อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความและรายงาน

๕. วิเคราะห วิจารณ และประเมินเรื่องท่ีอานโดยใชกลวิธีการเปรียบเทียบเพ่ือใหผูอานเขาใจไดดีข้ึน

๖. ประเมินความถูกตองของขอมูลท่ีใชสนับสนุนในเรื่องท่ีอาน

๗. วิจารณความสมเหตุสมผล การลําดับความ และความเปนไปไดของเรื่อง

๘. วิเคราะหเพ่ือแสดงความคิดเห็นโตแยงเก่ียวกับเรื่องท่ีอาน

๙. ตีความและประเมินคุณคา และแนวคิดท่ีไดจากงานเขียนอยางหลากหลายเพ่ือนําไปใชแกปญหาในชีวิต

๑๐. มีมารยาทในการอาน

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียน

รายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวช้ีวัด ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด

๔. เขียนยอความ

๗. เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความคิดเห็น หรือโตแยง ในเรื่องตางๆ

๙. เขียนรายงานการศึกษาคนควา และโครงงาน

๑๐. มีมารยาทในการเขียน

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ

อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค

ตัวช้ีวัด ๑. แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟงและการดู

๒. วิเคราะหและวิจารณเรื่องท่ีฟงและดู เพ่ือนําขอคิดมาประยุกตใชในการดําเนินชีวิต

๓. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา

๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญา

ทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

ตัวช้ีวัด ๑. จําแนกและใชคําภาษาตางประเทศท่ีใชในภาษาไทย

๒. วิเคราะหโครงสรางประโยคซับซอน

๓. วิเคราะหระดับภาษา

๖. แตงบทรอยกรอง

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใช

ในชีวิตจริง

ตัวช้ีวัด ๑. สรุปเนือ้หาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถ่ินในระดับท่ียากยิ่งข้ึน

๒. วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน

๓. สรุปความรูและขอคิดจากการอาน เพ่ือนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง

๔. ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยานตามท่ีกําหนดและบทรอยกรองท่ีมีคุณคาตามความสนใจและนําไปใช

อางอิง

Page 4: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

๑. การสื่อสาร ๑๐ คะแนน ท ๑.๑ (๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๗, ๘, ๙, ๑๐)

ท ๓.๑ (๑, ๒, ๓, ๖)

คะแนนเตม็

๓๐ คะแนน

ท ๔.๑ (๑, ๒, ๓, ๖)

ท ๕.๑ (๑, ๒, ๓, ๔)

๒. สภาพจริง ๒๐ คะแนน ท ๒.๑ (๑, ๘, ๙, ๑๐)

ท ๔.๑ (๑, ๒, ๓, ๖)

ท ๕.๑ (๑, ๒, ๓, ๔)

๓. กลางภาค ๓๐ คะแนน ท ๒.๑ (๑, ๔, ๗, ๙, ๑๐)

ท ๕.๑ (๑, ๒, ๓, ๔)

๔. แฟมสะสมงาน ๑๐ คะแนน ท ๒.๑ (๙, ๑๐)

รวมคะแนนท้ังหมด ๑๐๐ คะแนน

การทดสอบ

๑. สอบกลางภาค (Mid-term Test) ๓๐ คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เร่ือง รายละเอียด

พระอภัยมณ ีตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร - ประวัตผิูแตง / ท่ีมาของเรื่อง / ลกัษณะคําประพันธ / จุดประสงคในการแตง

- เน้ือหา / ขอคิดท่ีไดจากเรื่อง / ลกัษณะนิสยัตัวละคร

- คําศัพท / สํานวนโวหารท่ีปรากฏในเรื่อง / การสะกดคํา

พระบรมราโชวาท - ประวัตผิูแตง / ท่ีมาของเรื่อง / ลกัษณะคําประพันธ / จุดประสงคในการแตง

- เน้ือหา / ขอคิดท่ีไดจากเรื่อง / ลกัษณะนิสยัตัวละคร

- คําศัพท / สํานวนโวหารท่ีปรากฏในเรื่อง / การสะกดคํา

๒. สอบปลายภาค (Final Examination) ๓๐ คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เร่ือง รายละเอียด

อิศรญาณภาษิต - ประวัตผิูแตง / ท่ีมาของเรื่อง / ลกัษณะคําประพันธ /จดุประสงคในการแตง

- เน้ือหา / ขอคิดท่ีไดจากเรื่อง / ภาพสํานวนสภุาษิต

- คําศัพท / สํานวนโวหารท่ีปรากฏในเรื่อง / การสะกดคํา

คําไทยแทและคําท่ีมาจากภาษาอ่ืน - คําไทยแท บาลสีันสกฤต เขมร อังกฤษ จนี ฯลฯ

สมบัติวรรณคดไีทย - วรรณคด ี/ วรรณกรรม / การเลนคํา / โวหารภาพพจน

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- หนังสือสาระการเรียนรูพ้ืนฐานวรรณคดีวิจักษ ของ กระทรวงศึกษาธิการ

- หลักภาษาไทย ของ กําชัย ทองหลอ - หลักการใชภาษา ของ ปรานี บุญชุม

- หลักภาษาไทย ของ เปลื้อง ณ นคร - อานอยางไรและเขียนอยางไร ของ ราชบัณฑิตยสถาน

- พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตตยสถาน - ใบงาน / ใบความรูท่ีครูแจกให

งานวัดและประเมินผล

Page 5: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา คณิตศาสตรพ้ืนฐาน รหัส ค 23101

ครูผูสอน 1. มิสวิภาภรณ แซลิ้ม 2. มิสธัญลักษณ ธนูศร

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 / 2559

จํานวน 4 คาบ/สัปดาห 80 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 2 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษา / ฝกทักษะการคิดคํานวณและฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้

พ้ืนท่ีผิวและปริมาตร การหาพ้ืนท่ีและปริมาตรของปริซึม การหาพ้ืนท่ีผิวและปริมาตรของทรงกระบอก การแก

โจทยปญหาเก่ียวกับพ้ืนท่ีผิวและปริมาตร การหาปริมาตรของพีระมิด กรวยและทรงกลม การเปรียบเทียบหนวยปริมาตร

การคาดคะเนเก่ียวกับการวัด การแกโจทยปญหาเก่ียวกับพ้ืนท่ีผิวและปริมาตร ลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด

ทรงกระบอก กรวยและทรงกลม

กราฟ กราฟเสนตรง การนําไปใช กราฟอ่ืนๆ สมการเชิงเสนสองตัวแปร กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร

ระบบสมการเชิงเสน กราฟของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร การแกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร

การแกโจทยปญหาเก่ียวกับระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร

ความคลาย สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลาย

การจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน

เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และ

นําประสบการณดานความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจําวันอยาง

สรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานอยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความ

รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง

การวัดผลและประเมินผล ใชวิธีการหลากหลายตามสภาพความเปนจริงของเนื้อหาและทักษะท่ีตองการวัด

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด (จํานวน 17 ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี 2 การวัด มฐ. ค 2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2, 3, 4

มฐ. ค 2.2 ตัวชี้วัดท่ี 1

สาระท่ี 3 เรขาคณิต มฐ. ค 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1

มฐ. ค 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1

สาระท่ี 4 พีชคณิต มฐ. ค 4.2 ตัวชี้วัดท่ี 2 ,3 ,4 ,5

สาระท่ี 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร มฐ. ค 6.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 ,2, 3, 4, 5, 6

Page 6: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

ตัวช้ีวัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพ้ืนฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีตองการวัด

1. หาพ้ืนท่ีผิวของปริซึมและทรงกระบอก

2. หาปริมาตรของปริซึมทรงกระบอก พีระมิด กรวยและทรงกลม

3. เปรียบเทียบหนวยความจุ หรือปริมาตรในระบบเดยีวกันหรือตางระบบและเลือกใชหนวยการวัดไดอยาง

เหมาะสม

4. ใชการคาดคะเนเก่ียวกับการวัดในสถานการณตางๆไดอยางเหมาะสม

มาตรฐาน ค 2.2 แกโจทยปญหาเก่ียวกับการวัด

1. ใชความรูเก่ียวกับพ้ืนท่ี พ้ืนท่ีผิว และปริมาตรในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ

มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ

1. อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวยและทรงกลม

มาตรฐาน ค 3.2 ใชการนึกภาพ (visualization) ใชเหตุผลเก่ียวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใชแบบจําลองทาง

เรขาคณิต (geometric model) ในการแกปญหา

1. ใชสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายในการใหเหตุผลและแกปญหา

มาตรฐาน ค 4.2 ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร (mathematic model) อ่ืนๆ แทน

สถานการณตางๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใช

1. เขียนกราฟแสดงความเก่ียวของระหวางปริมาณสองชุดท่ีมีความสัมพันธเชิงเสน

2. เขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร

3. อานและวิเคราะหความหมายกราฟของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและกราฟอ่ืนๆ

4. แกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและนําไปใชในการแกปญหา พรอมท้ังตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ

คําตอบ

มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และการ

นําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตร และเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอ่ืนๆ และมี

ความคิดริเริ่มสรางสรรค

1. ใชวิธีการท่ีหลากหลายแกปญหา

2. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ไดอยาง

เหมาะสม

3. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลไดอยางเหมาะสม

4. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย และการนําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน

5. เชื่อมโยงความรูตางๆในคณิตศาสตรและนําความรู หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตร

อ่ืนๆ

6. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

Page 7: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ค 2.1 (1-4) , ค 2.2.1 , ค 3.1.1 , ค 3.2.1 ,

ค 4.2 (2-5), ค 6.1 (1-6)

คะแนนเตม็

30 คะแนน

ค 2.1 (1-4) , ค 2.2.1 ,

ค 3.1.1 , ค 3.2.1 ,

ค 4.2 (2-5)

สภาพจริง 20 คะแนน ค 2.1 (1-4) , ค 2.2.1 , ค 3.1.1 , ค 3.2.1 ,

ค 4.2 (2-5), ค 6.1 (1-6)

กลางภาค 30 คะแนน ค 2.1 (1-4) , ค 2.2.1 , ค 3.1.1 , ค 4.2 (2-3)

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ค 2.1 (1-4) , ค 2.2.1 , ค 3.1.1 , ค 6.1 (1-6)

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค (Mid-term Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เร่ือง รายละเอียด

1. พื้นทีผ่ิวและปริมาตร 1.1 การหาพื้นที่และปริมาตรของปริซึม

1.2 การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก

1.3 การหาปริมาตรของพีระมิด กรวยและทรงกลม

1.4 การเปรียบเทียบหนวยปริมาตร

1.5 การคาดคะเนเก่ียวกับการวัด

1.6 การแกโจทยปญหาเก่ียวกับพื้นที่ผิวและปริมาตร

1.7 ลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวยและทรงกลม

2. กราฟ 2.1 กราฟเสนตรง การนําไปใช กราฟอ่ืน ๆ

2.2 สมการเชิงเสนสองตัวแปร กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร

2. สอบปลายภาค (Final Examination) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เร่ือง / บทท่ี รายละเอียด

1. พื้นทีผ่ิวและปริมาตร 1.1 การแกโจทยปญหาเก่ียวกับพื้นที่ผิวและปริมาตร

2. กราฟ 2.1 กราฟเสนตรง การนําไปใช กราฟอ่ืน ๆ

2.2 สมการเชิงเสนสองตัวแปร กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร

3. ระบบสมการเชิงเสน 3.1 กราฟของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร

3.2 การแกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร

3.3 การแกโจทยปญหาเก่ียวกับระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร

4. ความคลาย 4.1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลาย

4.2 การแกปญหาโดยใชสมบัติของสามเหลี่ยมคลาย

หนังสืออางอิง /เอกสารประกอบการสอน และ หนงัสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

เอกสารการเรียนรูท่ีครูผูสอนจัดทําข้ึน , หนังสือคูมือของสํานักพิมพตาง ๆ งานวัดและประเมินผล

Page 8: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา วิทยาศาสตรพ้ืนฐาน รหัส ว 23101

ครูผูสอน 1. มิสวลัยพร หองแซง 2. มาสเตอรวีระชัย ญาณเดชอังกูร

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1/2559

จํานวน 3 คาบ/สัปดาห 60 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาวิทยาศาสตรพ้ืนฐานเก่ียวกับ พันธุกรรม ยีนสและ โครโมโซม กระบวนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ความผิดปกติและโรคทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพกับพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต

ไวรัส ความกาวหนาของการใชเทคโนโลยีชีวภาพในปจจุบัน และศึกษา อธิบาย วิเคราะห คํานวณ สํารวจ ตรวจสอบ ระบุ

เก่ียวกับการเคลื่อนท่ีของวัตถุ คําอุปสรรค ปริมาณทางฟสิกส ระยะทาง การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว ความเร็วเฉลี่ย

อัตราเร็วเฉลี่ย ความเรง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา การเคลื่อนท่ีในแนวตรง/ดิ่ง การเคลื่อนท่ีแบบวิถีโคง แรงเสียดทาน

กฎการเคลื่อนท่ี แรงลอยตัว งาน กําลัง พลังงานกล โมเมนตของแรง กฎการอนุรักษพลังงาน

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การทดลอง การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล และ

การอภิปรายเพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคา

ของการนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตรจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 16 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต มฐ. ว 1.2 ตัวชี้วัด 1, 2, 3, 4, 5, 6

สาระท่ี 4 แรงและการเคลื่อนท่ี มฐ. ว 4.1 ตัวชี้วัด 1, 2, 3

มฐ. ว 4.2 ตัวชี้วัด 1, 2, 3

สาระท่ี 5 พลังงาน มฐ. ว 5.1 ตัวชี้วัด 1

สาระท่ี 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มฐ. ว 8.1 ตัวชี้วัด 1, 2, 3

ตัวช้ีวัด

มาตรฐานท่ี ว 1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพท่ีมีผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม

มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสาร สิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

1. สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมท่ีมีหนวยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส

2. อธิบายความสําคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ และกระบานการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

3. อภิปรายโรคทางพันธุกรรมท่ีเกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซม และนําความรูไปใช ประโยชน

4. สํารวจแลวอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพในทองถ่ินท่ีทําใหสิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตไดอยางสมดุล

5. อธิบายผลของความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีตอมนุษย สัตว พืช และสิ่งแวดลอม

6. อภิปรายผลของเทคโนโลยีชีวภาพตอการดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งแวดลอม

Page 9: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

มาตรฐานท่ี ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะ

หาความรู สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม

1. อธิบายความเรงและผลของแรงลัพธท่ีกระทําตอวัตถุ

2. ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาระหวางวัตถุและนําความรูไปใชประโยชน

3. ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวท่ีกระทําตอวัตถุ

มาตรฐานท่ี ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนท่ีแบบตางๆของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู

และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

1. ทดลองและอธิบายความแตกตางระหวางแรงเสียดทานสถิตกับแรง และนําความรูไปใชประโยชน

2. ทดลองและวิเคราะหโมเมนตของแรง และนําความรูไปใชประโยชน

3. สังเกตและอธิบายการเคลื่อนท่ีของวัตถุเปนแนวตรงและแนวโคง

มาตรฐานท่ี ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวาง

สารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู

สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

1. อธิบายงาน พลังงานจลน พลังงานศักยโนมถวง กฎการอนุรักษพลังงานและความสัมพันธระหวาง

ปริมาณเหลานี้ รวมท้ังนําความรูไปใชประโยชน

มาตรฐานท่ี ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหารูวา

ปรากฏการณทางธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนสวนใหญมีรูปแบบท่ีแนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได

ภายใตขอมูลและเครื่องมือท่ีมีอยูในชวงเวลานั้นๆเขาใจวาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี สังคม

และส่ิงแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน

1. ตั้งคําถามท่ีกําหนดประเด็นหรือตัวแปรท่ีสําคัญในการสํารวจ ตรวจสอบหรือศึกษาคนควาเรื่องท่ีสนใจ

อยางครอบคลุมเชื่อถือได

2. สรางสมมติฐานท่ีสามารถตรวจสอบได และวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลายๆวิธ ี

3. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจ ตรวจสอบท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพท่ีไดผลเท่ียงตรง ปลอดภัย โดยใชวัสดุ

และเครื่องมือท่ีเหมาะสม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ว 4.1 (1-3),ว 4.2 (1-3) คะแนนเต็ม

30 คะแนน

ว 1.2 ( 1,2,3,4,5,6)

ว 5.1 (1) 2.สภาพจริง 20 คะแนน ว 1.2 (ขอ 1-6),ว 4.1 (1-3),

ว 4.2 (1-3),ว 5.1 (1)

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ว 4.1 (1-3),ว 4.2 (1-3)

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ว 1.2 (ขอ 1-6),ว 4.1 (1-3),

ว 4.2 (1-3),ว 5.1 (1)

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

Page 10: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค (Mid-term Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

ขอสอบปรนัย 20 คะแนน

1. แรง และการเคล่ือนท่ี - คําอุปสรรค - ปริมาณทางฟสิกส

- ระยะทาง การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว ความเร็วเฉลี่ยอัตราเร็วเฉลี่ย ความเรง - การเคลื่อนท่ีในแนวตรง/ดิ่ง - การเคลื่อนท่ีแบบวิถีโคง

- แรงเสียดทาน - กฎการเคลื่อนท่ี - แรงลอยตัว

ขอสอบอัตนัย 10 คะแนน เครื่องเคาะสัญญาณเวลา

2. สอบปลายภาค (Final Examination) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. พันธุกรรม - พันธุกรรม ยีนสและ โครโมโซม กระบวนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ความผิดปกติและโรคทาง

พันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพกับพันธุกรรม

2. ความหลากหลายทางชีวภาพของส่ิงมีชีวิต - ความหลากหลายทางชีวภาพ อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ไวรัส ความกาวหนาของการใชเทคโนโลยีชีวภาพใน

ปจจุบัน

3. งาน และพลังงาน - งาน กําลัง พลังงานกล โมเมนตของแรง กฎการอนุรักษพลังงาน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. เอกสารประกอบการเรียนการสอนท่ีครูผูสอนจัดทําข้ึน

2. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร ม. 3

3. สมุดเลมสีขาว จํานวน 1 เลม

งานวัดและประเมนิผล

Page 11: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา สังคมพ้ืนฐาน รหัส ส 23101

ครูผูสอน มาสเตอรธีรเมธ อาษากิจ

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 /2559

จํานวน 2 คาบ / สัปดาห 40 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาเรื่องการใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลเก่ียวกับลักษณะทางกายภาพ

และสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป

อเมริกาเหนือและอเมริกาใต วิเคราะหการกอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคม อันเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ

และทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในทวีป

อเมริกาเหนือและอเมริกาใต สํารวจอภิปรายประเด็นปญหาเก่ียวกับสิ่งแวดลอมท่ีเกิดข้ึนในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

วิเคราะหเหตุและผลกระทบตอเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตท่ีสงผลกระทบ

ตอประเทศไทย

ตระหนักและเขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอม มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

ศึกษาเรื่อง อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ มีสวนรวมในการแกปญหาและพัฒนาทองถ่ินตามปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะหความสัมพันธระหวางแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ อธิบายบทบาทหนาท่ีของ

รัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ แสดงความคิดเห็นตอนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐท่ีมีตอบุคคล กลุมคนและ

ประเทศชาติ อภิปรายบทบาทความสําคัญของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ อภิปรายผลกระทบท่ีเกิดจากภาวะ

เงินเฟอ เงินฝด วิเคราะหผลเสียจากการวางงานและแนวทางแกปญหา วิเคราะหสาเหตุและวิธีการกีดกันทางการคาใน

ระหวางประเทศ

ตระหนักถึงความเขาใจในกลไกราคาทางเศรษฐกิจท่ีมีผลตอการกําหนดราคาสินคาและบริการ เขาใจหลักการของ

เศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาทองถ่ินท่ีมีความสัมพันธกับระบบสหกรณ เพ่ือการดํารงชีพอยางมีดุลยภาพ เขาใจบทบาท

หนาท่ีของรัฐบาลในการบริหารเศรษฐกิจของประเทศ เขาใจระบบเศรษฐกิจความสัมพันธ และความจําเปนของการรวมมือ

กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

สาระ / มาตราฐาน / ตัวช้ีวัด ( จํานวน 14 ตัวช้ีวัด )

สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร มฐ. ส 5.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2

มฐ. ส 5.2 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4

สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร มฐ. ส 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3,4

มฐ. ส 3.2 ตวัชี้วัดท่ี 1,2,3,4

Page 12: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร

มาตรฐานท่ี ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลตอกันและกันในระบบของ

ธรรมชาติ ใชแผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหาวิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศ

อยางมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด 1 ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวมวิเคราะหและนําเสนอขอมูลเก่ียวกับลักษณะทาง กายภาพ

และสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

2 วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอมเมริกาเหนือและ อเมริกาใต

มาตรฐานท่ี ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพท่ีกอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มี

จิตสํานึก และมีสวนรวมในการอนุรักษ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

ตัวชี้วัด 1 วิเคราะหการกอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคมอันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ และทาง

สังคมของอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

2 ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

3 สํารวจ อภิปรายประเด็นปญหาเก่ียวกับสิ่งแวดลอมท่ีเกิดข้ึนในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

4 วิเคราะหเหตุและผลกระทบตอเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ

อเมริกาใตท่ีสงผลตอประเทศไทย

สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร

มาตรฐานท่ี ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใชทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัด

ไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดํารงชีวิตอยางมี

ดุลยภาพ

ตัวชี้วัด 1 วิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอการลงทุนและการออม

2 อธิบายปจจัยการผลิตสินคาและบริการและปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการผลิตสินคาและบริการ

3 เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในทองถ่ินตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

4 อภิปรายแนวทางการคุมครองสิทธิของตนในฐานะผูบริโภค

มาตรฐานท่ี ส 3.2 เขาใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตางๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจและความจําเปนของการรวมมือ

กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ตัวชี้วัด 1 อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบตางๆ

2 ยกตัวอยางท่ีสะทอนใหเห็นการพ่ึงพาอาศัยกัน และการแขงขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย

3 วิเคราะหการกระจายของทรัพยากรในโลกท่ีสงผลตอความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ

4 วิเคราะหการแขงขันทางการคาในประเทศและตางประเทศท่ีสงผลตอคุณภาพสินคาปริมาณการผลิต

และราคาสินคา

Page 13: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน ส 5.1 ขอท่ี 1,2

มาตรฐาน ส 5.2 ขอท่ี 1,2,3,4

มาตรฐาน ส 3.1 ขอท่ี 1,2,3,4

มาตรฐาน ส 3.2 ขอท่ี 1,2,3,4

คะแนนเต็ม

30 คะแนน

มาตรฐาน ส 3.1 ขอท่ี

1,2,3,4

มาตรฐาน ส 3.2 ขอท่ี

1,2,3,4

2. สภาพจริง 20 คะแนน

4. สอบกลางภาค 30 คะแนน มาตรฐาน ส 5.1 ขอท่ี 1,2

มาตรฐาน ส 5.2 ขอท่ี 1,2,3,4

5. แฟมสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน ส 5.1 ขอท่ี 1,2

มาตรฐาน ส 5.2 ขอท่ี 1,2,3,4

มาตรฐาน ส 3.1 ขอท่ี 1,2,3,4

มาตรฐาน ส 3.2 ขอท่ี 1,2,3,4

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค (Mid-term Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

- เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร

- ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

- ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม วฒันธรรม และประชากรของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

- สิ่งแวดลอมใหมทางสงัคมในทวปีอมเมริกาเหนือและอเมริกาใต

- วิกฤติการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทวปีอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

- แนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

- ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตตอประเทศไทย

2. สอบปลายภาค (Final Examination) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

- กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ

- เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาทองถ่ินและระบบสหกรณ

- รัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ และนโยบายกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล

- ปญหาเศรษฐกิจในระดับประเทศ

- การรวมกลุมทางเศรษฐกิจและการกีดกันทางการคาระหวางประเทศ

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

- หนังสือเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 สํานักพิมพพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.)

- หนังสือโลกนารูจากแผนที่ อเมริกาเหนือและอเมริกาใต สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิชจาํกัด(ทวพ.)

- หนังสือ ATLAS แผนที่ภูมิศาสตร-ประวัติศาสตร New Edition สํานักพิมพวัฒนาพานิช(วพ.)

- ใบความรูและใบงานวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

* หมายเหตุ ใชสมุดเลมเล็กสีขาวที่ทางโรงเรียนจัดให เพื่อจดบนัทึกเนื้อหาในการเรียนรู

งานวัดและประเมนิผล

Page 14: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ประวัติศาสตร รหัส ส 23102

ครูผูสอน มาสเตอรปภังกร อัครชยางกร

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ….... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 / 2559

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระพ้ืนฐาน วิชาสาระเพ่ิมเติม อ่ืนๆ………..

คําอธิบายรายวิชา

อธิบาย วิเคราะห สืบคนขอมูลเรื่องราวหรือเหตุการณท่ีเกิดข้ึนในอดีตและเชื่อมโยงกับมิติของเวลา โดยใช

กระบวนการวิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆอยางเปนระบบ นอกจากนี้ศึกษาการสถาปนากรุงเทพมหา

นครอันเปนราชธานีของไทยในสมัยรัตนโกสินทร พัฒนาการของไทยในสมัยรัตนโกสินทรทางดานการเมือง การปกครอง

สังคม เศรษฐกิจ ความสัมพันธระหวางประเทศตามชวงสมัยตางๆ รวมท้ังเหตุการณสําคัญในสมัยรัตนโกสินทรท่ีมีผลตอการ

พัฒนาชาติไทย เชน การทําสนธิสัญญาเบาวริงในสมัย รัชกาลท่ี 4 การปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลท่ี 5 การเขารวม

สงครามโลกครั้งท่ี 1 และครั้งท่ี 2 เปนตน

โดยใชกระบวนการความรู ความเขาใจ การวิเคราะห และสังเคราะหอันจะสรางองคความรูใหมในการประเมินคา

สถานการณตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในประวัติศาสตรไทยท่ีมีผลตอสถานการณปจจุบัน

เพ่ือใหเกิดความตระหนัก มีความรักชาติ ศาสน กษัตริย มีความซ่ือสัตย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มีความเปนไทย

และมีจิตสาธารณะ (BSG) สามารถนําผลการเรียนรูไปใชในชีวิตประจําวันและอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุขและสันติ

สุขภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด (รวม 5 ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร มฐ. ส 4.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2

มฐ. ส 4.3 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3

มาตรฐานท่ี ส.4.1 เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถใชวิธีการทางประวัติ

ศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆอยางเปนระบบ

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหเรื่องราวเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรไดอยางมีเหตุผล

2. ใชวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเรื่องราวตางๆท่ีตนสนใจ

มาตรฐานท่ี ส.4.3 เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธํารงความเปนไทย

ตัวช้ีวัด 1. วิเคราะหพัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทรในดานตางๆ

2. วิเคราะหปจจัยท่ีสงผลตอความม่ันคงและความเจริญรุงเรืองของไทยสมัยรัตนโกสินทร

3. วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทรและอิทธิพลตอการพัฒนาชาติไทย

Page 15: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

การวัดและการประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน

มฐ.4.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2

มฐ.4.3 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3

คะแนนเต็ม

30 คะแนน

มฐ.4.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2

มฐ.4.3 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3

สภาพจริง 20 คะแนน

กลางภาค 30 คะแนน

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค (Mid-term Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ 1. วิธีการทางประวัติศาสตร

2. การสถาปนากรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานี

3. พัฒนาการดานการปกครองสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ.2325 – พ.ศ.2394)

4. พัฒนาการดานการปกครองสมัยการปรับปรุงประเทศใหทันสมัย (พ.ศ.2394 – พ.ศ.2475)

3. สอบปลายภาค (Final Examination) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. พัฒนาการดานสังคมและวัฒนธรรมในสมัยรัตนโกสินทรสมัยตอนตน (พ.ศ.2325 – พ.ศ.2394)

2. พัฒนาการดานความสัมพันธกับตางประเทศสมัยรัตนโกสินทรสมัยการปรับปรงุประเทศใหทันสมัย (พ.ศ.2394 – พ.ศ.2475)

3. พัฒนาการดานการปกครองยุคประชาธิปไตยสมัยรัชกาลท่ี 7 (พ.ศ.2475 – ปจจุบัน)

4. พัฒนาการดานเศรษฐกิจในสมัยประชาธิปไตย (พ.ศ.2475 – ปจจุบัน)

5. ความสัมพันธกับตางประเทศในโลกปจจุบัน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

วงเดือน นาราสัจจ และ ชมพูนุจ นาคีรักษ. 2555.ประวัติศาสตร ม.3.กรุงเทพมหานคร: พัฒนาคุณภาพวิชาการ.

งานวัดและประเมินผล

Page 16: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา สุขศึกษา รหัส พ 23101

ครูผูสอน มาสเตอรมนศักดิ์ ปลอดโปรง

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 / 2559

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จาํนวน 1 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ....................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรูเก่ียวกับการเจริญเติบโตแตละชวงวัย แนวทางการดําเนินชีวิตของวัยรุนท่ีสอดคลองกับความคาดหวัง

ของสังคม การวิเคราะหสื่อโฆษณา การปฏิบัติเก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุท่ีเหมาะสมกับวัยของตน สถาบันครอบครัวและ

แนวทางปองกันความขัดแยงในครอบครัว คุณคาของอาหารกับการเสริมสรางสุขภาพ โรคติดตอและโรคไมติดตอ ปญหาดาน

สุขภาพในชุมชน ปจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงดานสุขภาพ การแกไขปญหาการใชความรุนแรง การดื่มเครื่องดื่มท่ีมี

แอลกอฮอลกับการเกิดอุบัติเหตุ หลักการชวยฟนคืนชีพข้ันพ้ืนฐาน การวางแผนการออกกําลังกายและการทดสอบ

สมรรถภาพทางรางกาย

เพ่ือใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจเนื้อหา สามารถประยุกตและนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางมี

ประสิทธิภาพ รูจักการทํางานเปนทีมและปรับตัวในสังคมแหงการเรียนรูไดอยางมีความสุข

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด (จํานวน 6 ตัวชีว้ัด)

สาระท่ี 1 การเติบโตและพัฒนาการของมนุษย มฐ. พ.1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3

สาระท่ี 2 ชีวิตและครอบครัว มฐ. พ.2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1,2,3

สาระท่ี 1 การเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

มาตรฐาน พ.1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

1. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคมและสติปญญาแตละชวงของชีวิต

2. วิเคราะหอิทธิพลและความคาดหวังของสังคมตอการเปลี่ยนแปลงของวัยรุน

3. วิเคราะหสื่อโฆษณาท่ีมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุน

สาระท่ี 2 ชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน พ.2.1 เขาใจและเห็นคุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต

1. อธิบายอนามัยแมและเด็ก การวางแผนครอบครัวและวิธีการปฏิบัติตนท่ีเหมาะสม

2. วิเคราะหปจจัยท่ีมีผลกระทบตอการตั้งครรภ 3. วิเคราะหสาเหตุและเสนอแนวทางการปองกันแกไขความขัดแยงในครอบครัว

Page 17: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

การวัดและประเมินผล (สุขศึกษา)

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน

พ.1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

พ.2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

คะแนนเต็ม

20

คะแนน

พ.1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

พ.2.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

2.สภาพจริง …20… คะแนน

3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

อัตราสวนคะแนนระหวางภาคกับคะแนน 80 : 20

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

1. ความสนใจในชั้นเรียน 5 คะแนน

2. การถามและตอบถามในชั้นเรียน 5 คะแนน

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) (30 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

1. นักเรียนสัมภาษณพอแมเรื่องสิ่งท่ีคาดหวังในตัวลูกชวงวัยรุน เปนแลวรายงานหนาชั้นเรียน 10 คะแนน

2. แบงกลุมนักเรียน 4-5 คน สํารวจสื่อโฆษณาทางโทรทัศนแลวมาวิพากษหนาชั้น 10 คะแนน

3. แบงกลุมนักเรียน 4-5 คน ศึกษาคนควาเพ่ือรายงานวัยรุนกับการวางแผนครอบครัวและวิธีการปฏิบัติตนท่ี

เหมาะสม 10 คะแนน

3. สอบกลางภาค/สอบปฎิบัต ิ(Mid-term Test /Performance Assessment) (30 คะแนน)

รายละเอียดการสอบ

1. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม สติปญญาแตละชวงชีวิต 10 คะแนน

2. อิทธิพลและความคาดหวังของสังคมตอการเปลี่ยนแปลงของวัยรุน 10 คะแนน

3. สื่อโฆษณาท่ีมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุน 10 คะแนน

4. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) (10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

1. สมุด 5 คะแนน

2. ใบงาน 5 คะแนน

Page 18: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

สอบปลายภาค 20 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

1. การเจริญเติบโตแตละชวงวัย

2. แนวทางการดําเนินชีวิตของวัยรุนท่ีสอดคลองกับความคาดหวังของสังคม

3. การวิเคราะหสื่อโฆษณา

4. อนามัยเจริญพันธุท่ีเหมาะสมกับวัยของตน

5. สถาบันครอบครวัและแนวทางปองกันความขัดแยงในครอบครัว

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด

2. หนังสือเรียน รายวชิาพ้ืนฐานสุขศึกษาและพลศึกษา ม.3 สํานักพิมพวัฒนาพานิช สําราญราษฎ จํากัด

งานวัดและประเมินผล

Page 19: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา พลศึกษา (วายน้ํา) รหัส พ 23101

ครูผูสอน มาสเตอรประทุม เลิศหงิม

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 / 2559

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จาํนวน 1 หนวยการเรยีน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกายการเจริญเติบโต การพัฒนาการและปจจัยท่ีมีผลกระทบของ

ผูใหญในวัยทองและสูงวัย การสรางเสริมสุขภาพและการพัฒนาการตนเองใหโตสมวัย การจัดการเก่ียวกับเรื่องเพศและการ

สรางสัมพันธภาพกับผูอ่ืน อนามัยการเจริญพันธของวัยรุน พฤตกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ ประวัติกีฬาการชวยชีวิต

ผูบาดเจ็บจากการ วิธีการดําเนินการใหความชวยเหลือเบื้องตนในหนาท่ีของตนเอง (Rescue) การชวยชีวิต (Resuscitation)

วายน้ําโดยกําหนดเวลาไมเกิน 10 นาที หรือระยะทาง 300 เมตร การโยนอุปกรณ (Throwing) การชวยเหลือผูจมน้ําท่ีหมด

สติในระยะ 10 เมตร การดําน้ําในระดับความลึก 3.00 เมตร เพ่ือเก็บวัตถุ สถานการณจําลอง (Initiative) เทคนิคการปองกัน

ตัว (Defensive Technique) โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชื่อมโยง การฝกปฏิบัติ กระบวนการกลุม และกระบวนการสืบคน

เพ่ือใหมีระเบียบวินัย ใฝเรียนรู เคารพกฏกติกา มุงม่ันในการทํางาน ความสามารถในการคิด การสื่อสาร การแกปญหา การ

ใชเทคโนโลยี การใชทักษะชีวิต มีทัศนคติท่ีดีตอการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกกําลังกาย

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 8 ตัวช้ีวัด)

สาระท่ี 3 การเคล่ือนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬา

มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

1. เลนกีฬาไทยและกีฬาสากลไดอยางละ 1 ชนิดโดยใชเทคนิคท่ีเหมาะสมกับตนเองและทีม

2. นําหลักการ ความรูและทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกมและการเลนกีฬาไปใชเสริมสุขภาพ

อยางตอเนื่องเปนระบบ

3. รวมกิจกรรมนันทนาการอยางนอย ๑ กิจกรรมและนําหลักความรูวิธีการไปขยายผลการเรียนรูใหกับผูอ่ืน

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฎิบัติเปนประจําสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ

กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

1. มีมารยาทในการเลนและดูกีฬาดวยความมีน้ําใจนักกีฬา

2. ออกกําลังกายและเลนกีฬาอยางสมํ่าเสมอและนําแนวคิดหลักการจากการเลนไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนดวย

ความภาคภูมิใจ

3. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา และขอตกลงในการเลนตามชนิดกีฬาท่ีเลือกและนําแนวคิดท่ีไดไปพัฒนาคุณภาพชีวิต

ของตนในสังคม

4. จําแนกกลวิธีการรุก การปองกัน และใชในการเลนกีฬาท่ีเลือกและตัดสินใจเลือกวิธีท่ีเหมาะสมกับทีมไปใชไดตาม

สถานการณของการเลน

5. เสนอผลการพัฒนาสุขภาพของตนเองท่ีเกิดจากการออกกําลังกาย และการเลนกีฬาเปนประจํา

Page 20: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-5

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-3

มฐ.3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

2.สภาพจริง 25+5 คะแนน

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

1.การประเมินจากการสื่อสารรายบุคคล (...10.. คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

เร่ือง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. ความตั้งใจเรียน , การเขารวมทํากิจกรรม

4

1. ตั้งใจเรียน เขารวมกิจกรรมสม่ําเสมอ = 4 คะแนน

2. ตั้งใจเรียน เขารวมกิจกรรมบางคร้ัง= 2 คะแนน

3. ตั้งใจเรียน เขารวมกิจกรรมนอย = 1 คะแนน

2. การตอบคําถาม , ความสะอาด เรียบรอย

สวยงามในการทํางาน 4

1. สม่ําเสมอ = 4

2. บางคร้ัง = 2

3. นอย = 1

3. การสงงานตรงตอเวลา

2

1. สม่ําเสมอ = 4

2. บางคร้ัง = 2

3. นอย = 1

คะแนนรวม 10

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( …25… คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

เร่ือง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. ความรับผิดชอบ 5

- เวลาเรียน = 3 คะแนน

- เคร่ืองแตงกาย = 2 คะแนน

2. ระเบียบวินยั

10

- ดูแลรักษาอุปกรณ = 3 คะแนน

- การเดินแถว = 3 คะแนน

- ตรงตอเวลา = 4 คะแนน

3. พัฒนาตนเอง

10

- พัฒนาการทางกาย = 3 คะแนน

- พัฒนาการทางทักษะ = 3 คะแนน

- พัฒนาการทางบุคลิกภาพ = 4 คะแนน

คะแนนรวม 25

Page 21: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

3. การทดสอบระหวางเรียน (Formative Test) / ทฤษฎี (5 คะแนน)

รายละเอียดการสอบ

ทักษะการชวยชีวิต

- การโยนอุปกรณ

- การผายปอด

4. สอบกลางภาค / สอบปฏิบตัิ (Mid-term Test /Performance Assessment) ( 30 คะแนน)

รายละเอียดการสอบ

เร่ือง / บทที ่ รายละเอียด นํ้าหนักความสําคัญ (%) คะแนน

1.ทักษะการชวยชีวติ (Resuscitation) -การจัดทาผูจมน้ําที่หมดสติ (Lateral-

Position) 30% 10

2.วายน้ําโดยกําหนดเวลาไมเกิน 10

นาที หรือระยะทาง 300 เมตร

-การวายระยะทาง 100 เมตรทาวายน้ํา

ชวยชีวิตแบบกบหงาย (Breast-Stroke) 20% 5

3.การโยนอุปกรณ (Throwing) -การโยนเสื้อชชูีพและการสวมเสื้อชูชีพในน้ํา

(P.E.D) 20% 5

4.การชวยเหลือผูจมน้าํที่หมดสติใน

ระยะ 10 เมตร

-การผายปอด (E.A.R.) 30% 10

รวม 100 30

5. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) (10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

เร่ือง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. ใบงานทักษะพืน้ฐาน Life

Saving

10

1. ความถูกตองของขอมูล = 3 คะแนน

2. รูปแบบการนําเสนอของขอมูล และความคิดสรางสรรค

= 3 คะแนน

3. ความประณีต สวยงาม สะอาด = 2 คะแนน

4. การสงงานตรงตามเวลาที่กําหนด = 2 คะแนน

คะแนนรวม 10

สอบปลายภาค ……20……. คะแนน

รายละเอียดการสอบ

เร่ือง / บทที ่ รายละเอียด นํ้าหนักความสําคัญ (%) คะแนน

1.การดําน้ําในระดับความลึก

3.00 เมตร เพื่อเก็บวัตถุ - การใชศีรษะดําลงพับตวั (L-Support) 70% 15

2.สถานการณจําลอง

(Initiative) - การนําพาผูจมน้ําข้ึนสูฝง 30% 5

รวม 100 20

Page 22: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรูวิชา พลศึกษา (บาสเกตบอล 1) รหัส พ 23101 ครูผูสอน มาสเตอรศุภสิทธิ์ ดาลัดจรัสแสง

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1/2559 จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 1 หนวยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................

คําอธิบายรายวิชา

มุงใหนักเรียนมีสวนรวมในการปฏิบัติจริง มีความรูความเขาใจเก่ียวกับเรื่องทักษะและการปฏิบัติกิจกรรมการออก

กําลังกายดวยกิจกรรมกีฬาบาสเกตบอลในเรื่องของทักษะการทรงตัว การเคลื่อนไหว ทักษะการรับ-สงลูกบอล การเลี้ยงบอล

การยิงประตูและวิธีการเลนแบบตาง ๆ ท้ังในขณะท่ีเปนผูเลนฝายรุกและฝายรับอยางถูกตอง มีความสนุกสนานและปลอดภัย

ในการเลน รูจักกฎกติกา ระเบียบการแขงขัน มารยาทของการเปนผูเลนและผูดูท่ีดี มีน้ําใจนักกีฬา รูจักบํารุงรักษาสุขภาพ

และการเสริมสรางสุขภาพโดยใชหลักและวิธีการออกกําลังกายท่ีถูกตอง เพ่ือใหเกิดทักษะและนําไปใชในชีวิตประจําวันได

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน 9 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 3 การเคล่ือนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล

มาตรฐานท่ี พ 3.1 เขาใจมีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา

ตัวช้ีวัด

1. วิเคราะหความคิดรวบยอดเก่ียวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบตางๆในการเลนกีฬา 2. ใชความสามารถของตน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของทีม คํานึงถึงผลท่ีเกิดตอ ผูอ่ืน และสังคม

3. เลนกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคล/คู กีฬาประเภททีม อยางนอย 1 ชนิด

4. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรรค

5. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และนําหลักการแนวคิดไปปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและ

สังคม

มาตรฐานท่ี พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ มีวินัยเคารพ

สทิธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา

ตัวช้ีวัด

1. ออกกําลังกาย และเลนกีฬาท่ีเหมาะสมกับตนเองอยางสมํ่าเสมอ และใชความสามรถของตนเองเพ่ิมศักยภาพของทีม

ลดความเปนตัวตนคํานึงถึงผลท่ีเกิดตอสังคม 2. อธิบายและปฏิบัติเก่ียวกับสิทธิ กฎกติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขันกีฬากับผูอ่ืนและนําไปสรุป

เปนแนวปฏิบัติ และใชในชีวิตอยางตอเนื่อง

3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดูการเลน และการแขงขันกีฬาดวยความมีน้ําใจนักกีฬาและนําไปใชปฏิบัติทุก

โอกาสจนเปนบุคลิกภาพท่ีดี

4. รวมกิจกรรมทางกาย และเลนกีฬาอยางมีความสุข ชื่นชมในคุณคาและความงามของกีฬา

Page 23: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.พ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 1-2

20 คะแนน

มฐ.พ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

2.สภาพจริง 25 คะแนน มฐ.พ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 3-4

3.ทฤษฎี 5 คะแนน มฐ.พ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 2

4.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน มฐ.พ 3.2 ตัวชี้วัดท่ี 1-4

5.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน มฐ.พ 3.1 ตัวชี้วัดท่ี 5

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พรอมเกณฑการใหคะแนน)

อัตราสวนคะแนนระหวางภาคกับคะแนน 80 : 20

1.การประเมินจากการส่ือสารรายบุคคล (10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

3. ความสนใจในชั้นเรียน 5 คะแนน

4. เวลาเรียน 5 คะแนน

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) = 25+5 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

4. นักเรียนปฏิบัติจริงการหยุดและหมุนตัวถูกตองตามกติกาบาสเกตบอล 5 คะแนน

5. นักเรียนปฏิบัติจริงการรับ-สงบอลถูกตองตามกติกาบาสเกตบอล 10 คะแนน

6. นักเรียนปฏิบัติจริงการเลี้ยงบอลถูกตองตามกติกาบาสเกตบอล 10 คะแนน

7. สอบทฤษฎีปลายภาค 5 คะแนน

3. สอบปฎิบัติ (Performance Assessment) (30 คะแนน)

รายละเอียดการสอบ

1. นักเรียนปฏิบัติจริงการยิงประตูท่ีเสนโทษถูกตองตามกติกาบาสเกตบอล 10 คะแนน

2. นักเรียนปฏิบัติจริงการกระโดดยิงประตูใตแปนถูกตองตามกติกาบาสเกตบอล 10 คะแนน

3. นักเรียนปฏิบัติจริงการวิ่งยิงประตูถูกตองตามกติกาบาสเกตบอล 10 คะแนน

4. การประเมินจากแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) (10 คะแนน)

- ประวัติกีฬาบาสเกตบอล

- พ้ืนฐานการทรงตัว

- พ้ืนฐานการหยุดและหมุนตัว

- พ้ืนฐานการรับ-สงบอล

- การเลี้ยงบอล

- การยิงประตู

- กติกากีฬาบาสเกตบอล

Page 24: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

สอบปลายภาค 20 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

- แขงขันบาสเกตบอลภายในหองเรียน 10 คะแนน

- กติกากีฬาบาสเกตบอล 10 คะแนน

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานสุขศึกษาและพลศึกษา วิชาบาสเกตบอล ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด

2. หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานสุขศึกษาและพลศึกษา วิชาบาสเกตบอล ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 สํานักพิมพวัฒนาพานิช สําราญราษฎ

จํากัด

งานวัดและประเมินผล

Page 25: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ศิลปะพ้ืนฐาน รหัส ศ 23101/ศ 23102

ครูผูสอน มิสปานจิตต ชนะกานนท

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1-2/2559

จํานวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลปโดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ การสรางงาน

ทัศนศิลปของตนเองใหมีคุณภาพ การผสมผสานวัสดุตาง ๆ ในการสรางงานท้ัง 2 มิติ และ 3 มิติ เพ่ือถายทอดประสบการณ

และจินตนาการ การสรางสรรคงานทัศนศิลปเพ่ือสื่อความหมายเปนเรื่องราว ศึกษารูปแบบ เนื้อหาและคุณคาในงาน

ทัศนศิลปของตนเองและผูอ่ืนหรือของศิลปน การสรางสรรคงานทัศนศิลปเพ่ือบรรยายเหตุการณตาง ๆ โดยใชเทคนิคท่ี

หลากหลาย ศึกษาอาชีพท่ีเก่ียวของกับงานทัศนศิลป และทักษะท่ีจําเปนในการประกอบอาชีพนั้น ๆ การเลือกงานทัศนศิลป

โดยใชเกณฑท่ีกําหนดข้ึนอยางเหมาะสม และนําไปใชในการจัดนิทรรศการ งานทัศนศิลปท่ีสะทอนคุณคาของวัฒนธรรม

ความแตกตางของงานทัศนศิลปในแตละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล องคประกอบดนตรี-ศิลปะ เทคนิครองเพลง

รอง-เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง แตงเพลงงาย ๆ ประวัติดนตรีไทย-สากลยุคสมัยตางๆ วิเคราะหวิจารณงานดนตรีของตนเอง

และผูอ่ืน อิทธิพลของดนตรีท่ีมีตอบุคคลและสังคม การแสดงดนตรี บูรณาการในกลุมสาระเดียวกัน รูปแบบการละคร

ประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป

วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทางดนตรี เทคโนโลยี สรางความคิดวิจารณญาณ เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่น

ชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

สาระท่ี 1 ทัศนศิลป มฐ. ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 , 10 , 11

มฐ. ศ 1.2 ตัวชีว้ัดท่ี 1 , 2

รวม 13 ตัวชี้วัด

ตัวช้ีวัด

มาตราฐาน. ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางาน

ทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

1. บรรยายสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลปท่ีเลือกมา โดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ

2. ระบุและบรรยายเทคนิควิธีการของศิลปนในการสรางงานทัศนศิลป

3. วิเคราะหและบรรยายวิธีการใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสรางงานทัศนศิลปของตนเองใหมีคุณภาพ

4. มีทักษะในการสรางงานทัศนศิลปอยางนอย ๓ ประเภท

5. มีทักษะในการผสมผสานวัสดุตาง ๆ ในการสรางงานทัศนศิลปโดยใชหลักการออกแบบ

6. สรางงานทัศนศิลปท้ัง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพ่ือถายทอดประสบการณและจินตนาการ

7. สรางสรรคงานทัศนศิลปสื่อความหมายเปนเรื่องราวโดยประยุกตใชทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ

8. วิเคราะหและอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณคาในงานทัศนศิลปของตนเองและผูอ่ืนหรือของศิลปน

Page 26: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

9. สรางสรรคงานทัศนศิลปเพ่ือบรรยายเหตุการณตาง ๆ โดยใชเทคนิคท่ีหลากหลาย

10. ระบุอาชีพท่ีเก่ียวของกับงานทัศนศิลป และทักษะท่ีจําเปนในการประกอบอาชีพนั้น ๆ

11. เลือกงานทัศนศิลปโดยใชเกณฑท่ีกําหนดข้ึนอยางเหมาะสม และนําไปใชในการจัดนิทรรศการ

มาตราฐาน. ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปท่ีเปน

มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทย และสากล

1. ศึกษาและอภิปรายเก่ียวกับงานทัศนศิลปท่ีสะทอนคุณคาของวัฒนธรรม

2. เปรียบเทียบความแตกตางของงานทัศนศิลปในแตละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2

ศ 1.2 ตัวชี้วัดท่ี 1 , 2

คะแนนเต็ม

20

คะแนน

ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี

3 , 4 , 6 , 7 2.สภาพจริง 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 3-11

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 3-11

4.แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดท่ี 2 , 3

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล ๑. การประเมินดวยการส่ือสารสวนบุคคล ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. ตรงตอเวลา 5 (สังเกต) มีความรับผิดชอบและตรงตอเวลา

2. ความสนใจในเวลาเรียน 3 (สังเกต) มีความสนใจ และกระตือรือรน

3. การเขารวมกิจกรรม 2 (สังเกต) เขาเรียนสมํ่าเสมอ ขยันหม่ันเพียร

คะแนนรวม 10

๒. การประเมินสภาพจริง ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1.สรางสรรคผลงานออกแบบพาณิชยศิลป 10 อาชีพนักออกแบบ

2. สรางสรรคผลงานศิลปะบริสุทธิ์ 10 ภาพรางแบบงานสวนตัว 2 มิติ และ 3มิต ิ

3. วิเคราะหเพ่ือสรางสรรค 5 ใบงาน 1 ชุด

4. แบบฝกหัดภาคทฤษฎ ี 5 องคความรูเก่ียวกับทัศนศิลป

คะแนนรวม 30

Page 27: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

๓. การประเมินภาคปฏิบัติ / กลางภาค ( 30 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. สรางสรรคผลงานชิ้นท่ี 1 10 • เนื้อหา จัดองคประกอบภาพ ความคิดสรางสรรค

• เรียบรอย, สวยงาม

• การสงงาน (ตรงตามกําหนดเวลา)

2. สรางสรรคผลงานชิ้นท่ี 2 10

3. การหาขอมูลศิลปน 10

คะแนนรวม 30

๔. การประเมินแฟมสะสมงาน ( 10 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

1. การจัดทําเอกสาร 5 เนื้อหา (ตามหัวขอ, จัดเรียงขอมูลและใชภาษาเหมาะสม)

3 เรียบรอย, สวยงาม

2 การสงงาน (ตรงตามกําหนดเวลา)

คะแนนรวม 10

๕. การสอบปลายภาค ( 20 คะแนน )

เรื่อง / ช้ินงาน คะแนน เกณฑการใหคะแนน

สรางสรรคงานศิลปะบรสิุทธ 15 การวาดภาพ จัดองคประกอบภาพ

5 การตรงตอเวลา

คะแนนรวม 20

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม การจัดองคประกอบศิลป , ทฤษฎีสี , Internet และหองสมุด

งานวัดและประเมินผล

Page 28: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชาศิลปะ (ดนตรีไทย) รหัส ศ 23101 – ศ 23102

ครูผูสอน มาสเตอรบรรหาร ปาโล

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1-2/2559

จํานวน 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...........................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ องคประกอบดนตรี-ศิลปะ เทคนิครองเพลง รอง-เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง แตงเพลงงาย ๆ

ประวัติดนตรีไทย-สากลยุคสมัยตางๆ วิเคราะหวิจารณงานดนตรีของตนเองและผูอ่ืน อิทธิพลของดนตรีท่ีมีตอบุคคลและ

สังคม การแสดงดนตรี บูรณาการในกลุมสาระเดียวกัน รูปแบบการละคร ประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทาง

ดนตรี เทคโนโลยี สรางความคิดวิจารณญาณ

เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิต

เพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด (จํานวน 13 ตัวชี้วัด)

สาระดนตรี

มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอด

ความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวช้ีวัดท่ี 1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแตละประเภท

2. จําแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีท้ังไทยและสากล

3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรม สรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ

5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยาง

เหมาะสม

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

8. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวช้ีวัดท่ี 1. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยตาง ๆ

2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

3. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

Page 29: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

5. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

การสือ่สาร 10 คะแนน ศ 2.1.4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7 สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.5 / 2.2.1 / 2.2.2

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.3

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงท่ีกําหนดให (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

2. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

2.1 ความสําเร็จของช้ินงาน (20 คะแนน) ชิ้นงานท่ีไดรับมอบหมายเปนงานกลุมหรือเดี่ยว (โดยแบงการเก็บ

คะแนนออกเปน 2 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o รายละเอียดตางๆ ของชิ้นงาน 5 คะแนน

o ความสะอาด / เปนระเบียบ 3 คะแนน

o ทัศนคติของนักเรียนตอการเรียนดนตรีและชิ้นงาน 2 คะแนน

2.2 การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรก

คุณธรรม จริยธรรม

เกณฑการใหคะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน

o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี) 2 คะแนน

2.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป ตามแนว

หลักสูตรแกนกลางฯ เปนขอสอบปรนัย 4 ตัวเลือกจํานวน 15 ขอ

เกณฑการใหคะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

Page 30: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

3. การสอบปลายภาค 20 คะแนน

การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร ตามบทเพลงท่ีกําหนดไวในหลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 10 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. ดุริยางคไทย (สงบศึก ธรรมวิหาร)

2. ดนตรีวิจักษณ (สุกรี เจริญสุข)

3. สารานุกรมศัพทดนตรีไทย (ฉบับราชบัณฑิต)

4. ดนตรีในวิถีชีวิตไทย (กรมวิชาการ)

5. ประวัติการดนตรีไทย (ปญญา รุงเรือง)

งานวัดและประเมินผล

Page 31: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ศิลปะ (ดนตรีสากล) รหัส ศ 23101 / ศ 23102

ครูผูสอน มาสเตอรคทาหัสต นวลพลกรัง

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1-2/2559

จํานวน 1 คาบ / สัปดาห 20 คาบ / ภาค จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ...........................

คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝกปฏิบัติ องคประกอบดนตรี-ศิลปะ เทคนิครองเพลง รอง-เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง แตงเพลงงาย ๆ

ประวัติดนตรีไทย-สากลยุคสมัยตางๆ วิเคราะหวิจารณงานดนตรีของตนเองและผูอ่ืน อิทธิพลของดนตรีท่ีมีตอบุคคลและ

สังคม การแสดงดนตรี บูรณาการในกลุมสาระเดียวกัน รูปแบบการละคร ประยุกตใชกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ

โดยใชกระบวนการสรางความรูความเขาใจ สรางคานิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป วิเคราะห สรางทักษะการปฏิบัติทาง

ดนตรี เทคโนโลยี สรางความคิดวิจารณญาณ

เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะนิสัยดานศิลปะชื่นชม รวมกิจกรรม ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทํางาน รักความเปนไทย มีชีวิต

เพียงพอ และจิตอาสา

สาระ / มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด (จํานวน 13 ตัวชี้วัด)

สาระดนตรี

มาตรฐานท่ี ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอด

ความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวช้ีวัดท่ี 1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแตละประเภท

2. จําแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีท้ังไทยและสากล

3. อธิบายเหตุผลท่ีคนตางวัฒนธรรม สรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน

4. อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะตางๆ

5. รองเพลง หรือเลนดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเนนเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง

6. สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพ การประพันธและการเลนดนตรี ของตนเองและผูอ่ืนไดอยาง

เหมาะสม

7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูสึก ท่ีไดรับจากงานดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรม ตางกัน

8. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอ่ืน ๆ

มาตรฐานท่ี ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีท่ีเปนมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากล

ตัวช้ีวัดท่ี 1. วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยตาง ๆ

2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมตาง ๆ

3. เปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

Page 32: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

4. อธิบายบทบาทของดนตรีในการ สะทอนแนวความคิดและคานิยม ท่ีเปลี่ยนไปของคนในสังคม

5. นําเสนอแนวทางในการสงเสริมและ อนุรักษดนตรีในฐานะมรดกของชาติ

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดท่ี (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.4

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

ศ 2.1.7

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.5 / 2.2.1 / 2.2.2

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.2 / 2.1.3

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

4. การประเมินจากการปฏิบัติ/สอบกลางภาค (30 คะแนน)

การบรรเลงรวมวง ตามแบบฝกหัดท่ีกําหนดใหในใบความรูท่ี1 (โดยแบงการเก็บคะแนนออกเปน 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 5 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

5. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

5.1 บรรเลงจากการเห็นโนตครั้งแรก /Sight Reading (20 คะแนน) ใหนักเรียนบรรเลงเดี่ยวตามแบบฝกหัดท่ี

กําหนดใหโดยนักเรียนไมเคยเห็นมากอน เพ่ือวัดทักษะการอานโนตและปฏิบัติเครื่องดนตรีตามความเปนจริง

ของนักเรียน (วัด2 ครั้งๆละ 10 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o ความถูกตองในการอานโนต 5 คะแนน

o ความถูกตองในการบรรเลง 3 คะแนน

o ทัศนคติและความม่ันใจในการบรรเลง 2 คะแนน

5.2 การทดสอบอาน คิดวิเคราะห เขียนส่ือความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบขอเขียน โดยสอดแทรก

คุณธรรม จริยธรรม

เกณฑการใหคะแนน

o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน

o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุมดนตรี) 2 คะแนน

5.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป ตามแนว

หลักสูตรแกนกลางฯ เปนขอสอบปรนัย 4 ตัวเลือกจํานวน 15 ขอ

เกณฑการใหคะแนน

o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

Page 33: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

6. การสอบปลายภาค 20 คะแนน

การบรรเลงรวมวงตามหลักดุริยางคศาสตร ตามบทเพลงท่ีกําหนดไวในหลักสูตร (20 คะแนน)

เกณฑการใหคะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ทํานอง ถูกตองและแมนยํา 10 คะแนน

o มารยาทในการฟง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน

o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออางอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. สังคีตนิยมวาดวยดนตรีตะวันตก (ณรุทธิ์ สุทธจิต)

2. เว็บไซทตางๆท่ีเก่ียวของกับดนตรี เชน 7.1 www.musictheory.net

งานวัดและประเมินผล

Page 34: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Computer Code ง 23101

Instructors: Chokchai Pengyasa

Class Level Primary …… Secondary 3 Semester 1 Academic year 2016

2 periods/week 40 periods/semester

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description:

Study HTML, JavaScript and flowchart to solve problems. Apply using of HTML & JavaScript into

interesting applications. List and identify the general syntax of HTML, JavaScript and problem solving

techniques.

Students will be able to work and solve problems individually and with others. They will be able

to apply using the problem solving models to real life situations. Understand working methods to help

themselves and their families

They will understand and take responsible to use computer and the Internet with morality and

within the flame of laws both at supply side and end-user.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 1: Living and Family O 1.1 Understanding of concept of work; endowment with

creativity and skills for various aspects and work processes,

management, teamwork, investigation for seeking knowledge,

morality, diligence, and awareness of the need to economize

on the use of energy and the environment for one’s life and

for family

Strand 2: Design and Technology O 2.1 Understanding of technology and technological

processes; design and creation of objects and utensils or

methodologies through creative technological processes;

selective utilisation of technologies beneficial to one’s life,

society and the environment; and participation in sustainable

technological management.

Strand 3 : Information and

Communication Technology

O 3.1: Understanding, appreciation, and efficient, effective

and ethical use of information technology processes in

searching for data, communicating, problem–solving, working

and livelihood

Page 35: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Indicators:

O 1.1.1 Discuss efficient stages of working.

O 1.1.2 Apply skills for team working with morality.

O 2.1.1 Explain technological levels.

O 2.1.2 Safely construct objects and utensils or methodologies through the technological

process; design by conveying ideas through a projected picture, leading to constructing

models of objects and utensils, or conveying concepts of the methodology through

models, and reporting on results of presenting the methodology.

O 3.1.1 Explain principles of implementing a project requiring application of information

technologies.

O 3.1.2 Write basic programming languages.

O 3.1.3 Use information technologies in forms appropriate to the type of work.

O 3.1.4. Use computers to facilitate creation of work pieces from imagination or work performed

in daily life in accord with the principles of project implementation with awareness and

responsibility.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

Communication 10 marks O 1.1.1, O 1.1.2, O 2.1.1, O 3.1.3

20

Marks

O 3.1.2 Authentic 30 marks

(Moral,.Final Project,Dictation)

O 1.1.1, O 1.1.2, O 2.1.1, O 2.1.2

O 3.1.1, O 3.1.2, O 3.1.3, O 3.1.4

Performance test 30 marks O 1.1.1, O 1.1.2, O 2.1.1, O 2.1.2

O 3.1.1, O 3.1.2, O 3.1.3, O 3.1.4

Portfolio 10 marks O 3.1.2

Total 100 marks

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

- Basic Network & Website

- Basic flowchart

- Algorithms

- HTML

- JavaScript Programming

- PHP Programming

- Computer Project

Page 36: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

2. Final Examination (20 marks)

Topic / subject matter:

- flowchart

- Algorithms

- Functions

- HTML Coeding

- JavaScript Coeding

- PHP Coeding

- Control instructions for iterations

References:

Topic / subject matter:

http://www.w3school.com

Page 37: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Technology Code : ง 23101

Instructor: Master Supoj Saarddee

Class Level Primary …… Secondary 3 Semester 1 Academic year 2016

2 periods /week 40 periods/semester 1 units of learning

Basic Subject Intensive Subject Others

Course Description :

This course introduces students to study and analyze Technological levels, advantages and effects

on production or procedures of Technological developments, and managements for saving energy,

resources and environments. Students also study controlling instruments and appliances by using control

program, Moreover, they will study principle of designing and constructing proper equipment according to

the technological process in term of correctness and safety including applying Technology for enhancing

work and occupations to be in knowledge, skillful, and interests by themselves.

Students will achieve understanding by practices, problems solving, management in group work,

reporting results, and seeking knowledge by searching and comprehension discussion including conveying

ideas through a projected picture to lead constructing models of objects and utensils. They will also

employ mechanical, electrical and electronic skills to design and construct products toward technology

timeframe. Furthermore, students will employ tools and machines that used skills to repair, remark, and

proper maintain of equipments.

Additionally, students will love in works, and have responsible, punctual, conserve, sacrifice,

diligence and endure, creative thinking, and work circumspectly. They also concern in maintaining

equipments, and work cleanly and safety. They will have consciousness concerning utilization of natural

resources and environment, involving moral, positive attitude about career.

The Learning Standard:

Strand : Standard :

Strand 1: Living and Family O1.1 Understanding of concept of work; endowment with

creativity and skills for various aspects and work

processes, management, teamwork, investigation for

seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of

the need to economise on the use of energy and the

environment for one’s life and for family

Page 38: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Strand : Standard :

Strand 2: Design and Technology O2.1 Understanding of technology and technological

processes; design and creation of objects and utensils or

methodologies through creative technological processes;

selective utilisation of technologies beneficial to one’s

life, society and the environment, and participation in

sustainable technological management

Strand 3: Information and

Communication Technology

O3.1 Understanding, appreciation, and efficient, effective and

ethical use of information technology processes in

searching for data, communicating, problem–solving,

working and livelihood

Strand 4: Occupation O4.1 Understanding and acquisition of necessary skills and

experiences; proper perception of future career;

technological application for occupational development;

endowment with morality and favourable attitude

towards occupations

Indicators

O 1.1.1 Discuss efficient stages of working.

O 1.1.2 Apply skills for team working with morality.

O 1.1.3 Discuss work by applying management skills for economising on energy, resources and

the environment.

O 2.1.1 Explain technological levels.

O 2.1.2 Safely construct objects and utensils or methodologies through the technological process;

design by conveying ideas through a projected picture, leading to constructing models of

objects and utensils, or conveying concepts of the methodology through models, and

reporting on results of presenting the methodology.

O 3.1.2 Write basic programming languages.

O 3.1.4 Use computers to facilitate creation of work pieces from imagination or work performed in

daily life in accord with the principles of project implementation with awareness and

responsibility.

O 4.1.1 Explain searching for employment through diverse methods.

O 4.1.2 Analyse the guidelines for entering employment.

O 4.1.3 Evaluate alternatives for taking up occupations in keeping with their knowledge, attitudes

and interests

Page 39: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Evaluation and Assessment

Assessment

1. Performance Assessment ( 30 Marks )

2. Final Examination ( 20 Marks )

Reference : www.fischertechnik.com , www.technologystudent.com , www.bbc.co.uk/schools/, www.scienceray.com ,

www.need.org

During the course Indicators Final examination Indicators

(Final examination)

Communication 10 marks O 1.1.1 , O 1.1.3 , O 4.1.1

20

Marks O 1.1.3 , O 2.1.1 , O 2.1.2

Authentic 30 marks

O 1.1.1, O 1.1.2, O 2.1.2, O 3.1.2,

O 3.1.4, O 4.1.1, O 4.1.2, O 4.1.3

Performance Test 30 marks

O 1.1.1, O 1.1.2, O 2.1.2,

O 3.1.2, O 3.1.4

Portfolio 10 marks O 1.1.1, O 1.1.3, O 4.1.1,

O 4.1.2, O 4.1.3

Total 100 marks

Topic Subject matter

1. Computer Control.

- Using hardware components and software for

controlling

- Controlling instrument and appliance by using

control program

- The method to solve a problem

- Creation and process of the performance

- Achievement

2. Innovations of Technology.

- Applying Pic microcontroller to Electronic

circuit

- The method to solve a problem

- Creation and process of the performance

- Achievement

Topic Subject matter

1. Technology for Living. - The level of Technology.

- Advantages and effects on production or procedures of

Technological developments.

- Saving energy, resources and environments.

2. Computer Control. - System and Control.

- Basics of Control program.

3. Innovations of Technology. - Pic Microcontroller.

- Robotics

Page 40: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : E.I.E. : 1 Grammar Code : อ23101

Instructors : 1. Mr.Chayut Mathumisaranon 2. .Miss Chanida Chimsuwan

Class Level: Primary Secondary 3 Semester 1 Academic year 2016

4 periods/week 80 periods/semester 2 units of learning

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

The aim of this course is to enable students to improve their upper level grammatical structures

in context. During the introduction to each lesson the teacher will describe each part of speech in detail,

explaining the first practice exercise of each lesson to the class. After the lesson and the first exercise are

explained, students will complete the following practice exercises on their own. Answers will be reviewed

before the end of class. Exercises’ explanations are discussed and acquired in class.

This course also focuses on the grammatical principles covered on O-NET examination. Developing

a firm understanding of these concepts will not only improve performance on this exam, but will also

guide students to communicate in English more effectively and will enhance their ability to successfully

communicate English in everyday situations.

This course will enhance and motivate students’ honesty, responsibility, discipline and attempt

in learning, having precise work, self-confidence, creativity, loyalty to the school as well as having

positive attitude towards learning English.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 1: Language for

communication

Standard F1.1 Understand the listening and speaking

process. Be able to understand a story from listening and

reading various media and apply the understanding logically.

Standard F1.2 Gain communication skills to exchange news

and information, express thoughts and opinions by using the

proper technology and management for lifelong learning.

Strand 2: Language and culture Standard F2.2 Understand the similarities and differences in

the cultures and languages of the native speakers and Thais.

Apply these understandings appropriately.

Page 41: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Strand 3: Language and Relationship

with Other Learning Areas

Standard F3.1 Use the foreign language to connect

knowledge with other learning areas. This is the basis for

opening up and developing students’ vision.

Strand 4: Language and Relationship

with Community and the World

Standard F4.1 Be able to communicate in a foreign

language in various situations, such as school, community

and society.

Standard F4.2 Foreign language applications as a learning

tool for higher studies and career, and for cooperation and

harmony in society.

Indicators :

Component1: Language for Communication

F1.1.3 Specify and write various forms of non-text information related to sentences and text heard or

read

F1.2.1 Converse and write to exchange data about themselves, various matters around them, situations,

news and matter of interest to society, and communicate the data continuously and appropriately.

Component 2: Language and Culture

F2.2.2 Compare and explain similarities and differences between the lifestyles and culture of native

speakers, and those of Thais, and apply them appropriately.

Component 3: Language and its relationship to other learning groups

F3.1.1 Search for, collect and summarize the data / facts related to other learning areas from learning

sources, and presents them through speaking/writing.

Component 4: Language and its relationship with communities and the world

F4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in classroom, school,

community and society.

F4.2.1 Use foreign languages in conducting research, collecting and summarizing knowledge and various

data from the media and different learning sources for further education and livelihood.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks F1.1.3 , F2.2.2 , F4.1.1 , F4.2.1

30 marks

F1.1.3 , F1.2.1, F2.2.2

F3.1.1 ,F4.1.1 , F4.2.1

Authentic 20 marks F1.2.1 , F2.2.2 , F3.1.1 , F4.2.1

Performance test 30 marks F1.1.3 , F1.2.1, F2.2.2 , F3.1.1

,F4.1.1 , F4.2.1

Portfolio 10 marks F1.1.3 , F2.2.2 , F4.1.1 , F4.2.1

Total 100 marks

Page 42: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

1. Tenses

- Present Simple

- Present Continuous

- Present Perfect

- Past Simple

- Past Continuous

- Past Perfect

- Future Simple ( will , to be going to )

2. Passive Voice

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

1. Tenses

- Present Simple

- Present Continuous

- Present Perfect

- Past Simple

- Past Continuous

- Past Perfect

- Future Simple ( will , to be going to )

2. Noun Clause

3. Adjective Clause ( Relative Clause )

4. Adverb Clause ( Conditional Sentence )

References :

St Gabriel’s Foundation . 2015 , My world of English Secondary 3.

Margaret Bonner , 2011 . Grammar Express Intermediate.

Online resources

Page 43: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Mathematics IE. Code ค 23201

Instructors : Ms.Nuanpun Manossayawong

Class Level : Primary Secondary 3 Semester 1 Academic year 2016

2 periods/week 40 periods/semester 1 units of learning

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

The students will study concepts of mathematics such as; Factorization of a quadratic

polynomial, Quadratic equation, Trigonometry and Parabola.

From the above contents the students learn and educate how to calculate, solve problems by

using experimentations and duplicated situations. They will have mathematics skills and processes so

that the students are able to practice, experiment, conclude and report that improve their calculating

assessment, problem solving, valid argument and mathematical communication. In addition, students

should be able to select and use appropriate and efficient techniques and strategies to solve

problems of increasing difficulty for lifelong learning and adaptation to everyday situations.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 2: Measurement

Sub – strand: Trigonometry

Standard M.2.1: Understanding the basics of

measurement; ability to measure and estimate the size

of the objects to be measured.

Strand 4: Algebra Sub – strand: Factorization of Polynomials

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions,

equations, inequalities, graphs and other mathematical

models to represent various situations, as well as

interpretation and application for problem-solving.

Strand 4: Algebra Sub – strand: Quadratic Equations

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions,

equations, inequalities, graphs and other mathematical

models to represent various situations, as well as

interpretation and application for problem-solving.

Strand 4: Algebra Sub – strand: Parabola

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions,

equations, inequalities, graphs and other mathematical

models to represent various situations, as well as

interpretation and application for problem-solving.

Page 44: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Indicators :

Strand 2: Measurement

Sub – strand: Trigonometry

Standard M.2.1: Understanding the basics of measurement; ability to measure and estimate the size of

the objects to be measured.

Indicators:

M.2.1.1. Define trigonometry;

M.2.1.2. Identify the six trigonometric ratios of an angle;

M.2.1.2. Prove trigonometric equations;

M.2.1.3. Calculate the trigonometric ratios of special angles;

M.2.1.4. Compute the trigonometric ratios of complementary angles;

M.2.1.5. Find the other ratios where angles are taken as zero and 90 degrees.

Strand 4: Algebra

Sub – strand: Factorization of Polynomials

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequalities, graphs and other

mathematical models to represent various situations, as well as interpretation and application for

problem-solving.

Indicators:

M.4.2.1. Identify and give examples of polynomials;

M.4.2.2. Rewrite polynomials in standard form;

M.4.2.3. Identify and give examples of the types of polynomial;

M.4.2.4. Determine the degree of a polynomial;

M.4.2.5. Factorize polynomials using the different methods;

M.4.2.6. Calculate the remainder of a polynomial using remainder theorem;

M.4.6.7. Determine the factors of the polynomial using the long division and factor theorem.

Strand 4: Algebra

Sub – strand: Quadratic Equations

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequalities, graphs and other

mathematical models to represent various situations, as well as interpretation and application for

problem-solving.

Indicators:

M.4.2.1. Identify and give examples of quadratic equations;

M.4.2.2. Determine the nature of the roots of quadratic equation;

M.4.2.3. Solve the roots of quadratic equations by factorisation;

M.4.2.4. Solve quadratic equation by completing the square;

M.4.2.5. Derive the quadratic formula;

Page 45: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

M.4.2.6. Solve quadratic equations using the quadratic formula;

M.4.2.7. Analyze and solve word problems involving quadratic equation.

Strand 4: Algebra

Sub – strand: Parabola

Standard M.4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequalities, graphs and other

mathematical models to represent various situations, as well as interpretation and application for

problem-solving.

Indicators:

M.4.2.1. Define parabola;

M.4.2.2. Graph quadratic equations;

M.4.2.3. Determine the maximum point and the minimum point of the parabola;

M.4.2.4. Solve quadratic equations that has different solutions;

M.4.2.5. Determine the roots of the quadratic equations by graphing.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks M.2.1.1- M.4.2.5

30 marks

M.4.2.5 – M.4.6.7

M.4.2.3 – M.4.2.7

M.4.2.2 – M.4.2.5

Authentic 20 marks M.2.1.1- M.4.2.5

Performance test 30 marks M.2.1.1 - M.2.1.5

Portfolio 10 marks M.2.1.1 - M.4.2.5

Total 100 marks

Assessment

1. Mid-term Test /Performance Assessment ( 30 marks )

Topic / subject matter:

Chapter 6: Trigonometric Ratios

- Power of Trigonometric Ratios

- Trigonometric Ratios for Special Angles

- Trigonometric Ratios of Complementary Angles

- Angles 0º and 90º Chapter 7: Height and Distant

- Angles of Elevation and Depression

Page 46: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

2. Final Examination ( 30 marks )

Topic / subject matter:

Chapter 1: Factorization of Polynomials

- Factorize polynomials using the different methods.

- Calculate the remainder of a polynomial using remainder theorem;

- Determine the factors of the polynomial using the long division and factor theorem.

Chapter 2: Quadratic Equations

- Determine the nature of the roots of quadratic equation;

- Solve the roots of quadratic equations by factorization.

- Solve quadratic equations using the quadratic formula;

- Analyze and solve word problems involving quadratic equation

- Solve quadratic equation by completing the square.

Chapter 4: Parabola

- Graph quadratic equations;

- Determine the maximum point and the minimum point of the parabola;

- Solve quadratic equations that have different solutions;

- Determine the roots of the quadratic equations by graphing.

References :

- My world of Math Secondary 3 St Gabriel’s Foundation

Page 47: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Science I.E. Code ว 23201

Instructors : Mr. Khemmatat Nakpan and Mr. Walter P.

Class Level : Primary Secondary 3 Semester 1 Academic year 2016

2 periods/week 40 periods/semester 1 units of learning

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description : The science syllabus includes the measurement of physical quantities, speed,

velocity, and acceleration. Students also learn about force, Newton’s laws of motion, force diagrams, and

friction as a force, increase and reduction of friction, mass, weight, density, floating and sinking, pressure

and liquid pressure.

The students learn by using the scientific processes of inquiry and investigation. They will

learn how to search for knowledge and present their findings. They will learn how decisions are made

and be able to relate this to their daily lives in their own locality.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 4 : Forces and Motion Standard Sc 4.1: Understanding of the nature of electromagnetic, gravitational and nuclear forces; investigative process of seeking knowledge and applying acquired knowledge for useful and ethical purposes.

Standard Sc 4.2: Understanding of characteristics and various

types of motion of natural objects; investigative process for

seeking knowledge and scientific mind; and communication of

acquired knowledge for useful purposes.

Indicators :

Unit 1 : Physical quantities and measurement

Sc.4.1.1. Understand SI units and use various prefixes

Sc.4.1.2. Understand scalar and vector quantities, base and derived quantities.

Sc.4.1.3. Understand scientific notation.

Sc.4.1.4. Measure length, time, area and volume using different instruments.

Sc.4.1.5. Use formula to calculate area and volume.

Page 48: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Unit 2 : Kinematic

Sc.4.2.1. Meaning distance, displacement, speed and velocity.

Sc.4.2.2. Calculate speed and average speed using formula.

Sc.4.2.3 Understand uniform and non- uniform acceleration

Sc.4.2.4. Calculate uniform acceleration using formula.

Sc.4.2.5. Understand that due to free fall near Earth is approx 10 m/s2

Unit 3 : Dynamics

Sc.4.1.6. How balanced and unbalance forces affect a body.

Sc.4.1.7. Effect of force on motion.

Sc.4.1. 8. Identify forces acting on a body and draw free body diagram.

Sc.4.1.9. Understand the effect of friction on the motion of a body.

Unit 4 : Mass weight and density

Sc.4.1.10. Understand that mass is measure of the amount of matter in an object whereas weight

is a force.

Sc.4.1.11. Calculate density using formula.

Sc.4.1.12. Understand how density is related to floating and sinking.

Unit 5 : Pressure and liquid pressure

Sc.4.1.13. Understand the pressure depends on force and area over which the force acts.

Sc.4.1.14. Use pressure= Force/ Area to solve problems.

Sc.4.1.15. Calculate liquid pressure by using formula.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks Sc.4.1.1- Sc.4.1.15

Sc.4.2.1- Sc.4.2.5

30 marks

Sc.4.1.10-Sc.4.1.15

Authentic 20 marks Sc.4.1.1- Sc.4.1.15

Sc.4.2.1- Sc.4.2.5

Performance test 30 marks Sc.4.1.1- Sc.4.1.9

Sc.4.2.1- Sc.4.2.5

Portfolio 10 marks Sc.4.1.1- Sc.4.1.15

Sc.4.2.1- Sc.4.2.5

Total 100 marks

Page 49: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Assessment

1. Performance Assessment ( 30 marks)

Topic / subject matter:

Unit 1 Physical quantities

- Base and derived quantities

- Scalar and vector quantities

- SI unit, prefixes, standard form and conversion

- Measurement of length, time, area, and volume

Unit 2 Kinematics

- Speed, velocity, and acceleration

- Acceleration due to gravity

Unit 3 Dynamics

- Force

- Free-body Diagrams

- Friction

2. Final Examination ( 30 marks)

Topic / subject matter:

Unit 4 Mass weight and density

- Mass and weight

- Density

- Floating and Sinking

Unit 5 Pressure and liquid pressure

Reference :

Topic / subject matter:

My world of science Secondary 3 and Science websites

Page 50: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Social studies Code ส 23201

Instructor: Miss Sumruay kaewngam

Class Level Primary Secondary 3 Semester 1 Academic year 2016

2 periods/week 40 periods/semester 1 units of learning

Basic Subject Intensive Subject others......................

Course Description:

This course will be focused on Geography; the students will analyze, compare, and contrast the

physical characteristic demographic trends different areas of the earth. They are able to learn how to use

kinds of geographical tools and modern technology to search for information, furthermore; they will

analyze the natural environments and resources of countries and regions of the world. Moreover, they

will understand the relationship between economic and social systems. Students know the rights,

responsibilities, regulations, situations and activities concerning with nature resources and environmental

management. Finally, they can find out the proper ways to solve environmental problems in order to

improve local environmental quality.

The Learning Standard:

Strand : Standard :

Strand 5: Geography

Standard So5.1 Understand the physical

characteristics of the Earth and the relationship

of various things in the natural system which

affect one another: utilization of maps and

geographical instruments for searching, and

analysis, conclusion and efficient utilization of

geo-data and information.

So. 5.1.1 Identify on a map the location of major physical and

geographical features of each continent.

So. 5.1.2 Analyze the influence of climate over a region and its

population. (Europe, North America, South America, and Africa)

Strand 5: Geography

Standard So5.2 Understanding of

interrelationship between man and physical

environment leading to cultural creativity:

awareness of and participation in conservation

of resources and the environment for

sustainable development

So. 5.2.1 Analyze the formation of the new social environment

resulting from natural and social changes of Europe, North America,

South America, and Africa.

So.5.2.2 Specify guidelines for conservation of natural resources

and environment in Europe, North America, South America, and

Africa.

So. 5.2.3 Explore and discuss environmental issues and problems

in Europe, North America, South America, and Africa.

So.5.2.4 Analyze causes and continuing effects of environmental

changes in Europe, North America, South America, and Africa.

Page 51: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Indicators:

Standard: So 5.1

1. Analyze and compare the physical characteristics and human beings’ modes of living in Europe,

North America, South America and Africa.

2. Know how to use, and realize the significance of different kinds map, geographical tools in

Europe, North America, South America and Africa.

3. Using geographical tools to search for information used in defining geographical terms in Europe,

North America, South America and Africa.

4. Analyze the natural environment and resources of Europe, North America, South America, and

Africa.

5. Recognize the worth of the cultural environment of countries and regions around the world.

6. Evaluate the effects of man’s activities and changes in population and migration on problems

and crises within the natural and culture environment in Europe, North America, South America, and Africa.

7. Have skills in studying and researching extensive environmental information and apply to solve

problems in Europe, North America, South America, and Africa.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

(Finalexamination)

Communication 10 marks So.5.1.1, So.5.1.2,

So.5.2.1, So.5.2.2

30

Marks

So.5.2.1, So.5.2.2

So.5.2.3, So.5.2.4 Authentic 20 marks So.5.1.1, So.5.1.2,

So.5.2.1, So.5.2.2

Mid-Term Test 30 marks So.5.1.1, So.5.1.2

Portfolio 10 marks So.5.1.1, So.5.1.2

Total 100 marks

Assessment

1. Mid-term Test /Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

1. Paper test

Unit 1. The physical characteristic in Europe, North America, South America and Africa.

- Location, land area, geological features and climate.

2. Listening test

Unit 1. The physical characteristic in Europe.

Page 52: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

1. Unit 2. The Society and Culture of Europe, North America, South America and Africa: population,

language, religion and economic

2. Unit 3. The Natural environment and resources of Europe, North America, South America and

Africa: soil, water, forest and mineral

3. Unit 4. Environmental Crisis, Pollution and Solution: land, water and air.

References: Social Studies Textbook, Secondary 3, Saint Gabriel’s College, worksheet

Remarks: ใชสมุดสีขาวสําหรับจดงาน 1 เลม

Page 53: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : E.I.E.2 : Reading Code อ 23201

Instructors : Ms. Naiyana Chaiyasit Mr.Yuttana Petyotha Phongphaew

Class Level: Primary Secondary 3 Semester 1 Academic year 2016

3 periods/week 60 periods/semester 1.5 units of learning

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description :

This course provides a variety of text types including stories, newspaper articles, business letters

and movie reviews. Students will study as well as practice using several reading techniques so that they

become more advanced readers who are able to decide and select the most appropriate way to read

different text types. The topics studied in this course include routines, culture, festivals, local wisdom,

sport, health, occupation, famous places, royal project as well as reading advertisements, recipes and e-

mails.

Introducing the reading strategies in this course comprises finding the main idea, analyzing

supporting details, scanning, skimming, and pronoun reference. Student-centered learning such as self-

study, pair work, group discussion and brainstorming will be applied in the classroom.

This course places great emphasis on motivating students’ honesty, responsibility, discipline and

attempt in learning. Students are expected to have precise work, self-confidence, creativity, loyalty to

school as well as positive attitude towards learning English.

The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 1. Language for Communication Sub-Strand: Main Idea and Supporting details

F1.1 Understanding of and capacity for interpreting what has been heard and read from various types of media and ability to express opinions with proper reasoning

Strand 1. Language for Communication Sub-Strand: Fact and Opinion

F1.1 Understanding of and capacity for interpreting what has been heard and read from various types of media and ability to express opinions with proper reasoning

Strand 1. Language for Communication Sub-Strand: Drawing Conclusions

F1.1 Understanding of and capacity for interpreting what has been heard and read from various types of media and ability to express opinions with proper reasoning

Page 54: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Strand 1. Language for Communication Sub-Strand: Summarizing and Paraphrasing Strand 1 Language for Communication Sub-Strand: Stories and Questions (Stories 1-15)

F1.1 Understanding of and capacity for interpreting what has been heard and read from various types of media and ability to express opinions with proper reasoning F1.1 Understanding of and capacity for interpreting what has been heard and read from various types of media and ability to express opinions with proper reasoning

Indicators:

1. Main idea and supporting details

- F1.1.1: Identify the main idea of a passage

- F1.1.2: Prove how details support the main idea

2. Fact and Opinion

- F1.1.1: Define fact and Opinion

- F1.1.2: Explain when to use each

- F1.1.3: Identify facts and opinions in a given passage

3. Drawing Conclusions

- F1.1.1: Identify words that signal unstated facts

- F1.1.2: Defect unstated or implied facts and infer meanings of a passage

- F1.1.3: Explain the message of the author

4. Summarizing and Paraphrasing

- F1.1.1: Define summarizing and paraphrasing

- F1.1.2: Explains how to summarize and paraphrase a passage

- F1.2.1: Paraphrases and summarizes a passage in their own words

5. Stories and Questions

- F1.1.1: Identify parts of the story (plot, characters, setting)

- F1.1.2: Explain the main idea of the story

- F1.1.5: Practice reading aloud and pronunciation skills

- F1.2.1: Define new vocabulary words

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

Communication 10 marks F1.1.1, F1.1.2

30 Marks

F1.1.1, F1.1.2,

F1.1.3, F1.1.5, F1.2.1

Authentic 20 marks F1.1.3, F1.1.5

Performance test 30 marks F1.1.1, F1.1.2, F1.2.1, F1.1.5

Portfolio 10 marks F1.1.1, F1.1.2, F1.1.5

Total 100 marks

Page 55: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

Assessment

1. Performance Assessment (30 marks)

Topic / subject matter:

- Main idea and supporting details

- Fact and Opinion

- Drawing Conclusion

- Summarizing and Paraphrasing

2. Final Examination (30 marks)

Topic / subject matter:

- Stories and Questions 15 stories

References:

- My World of English

- Unseen Stories

- Value Education

Page 56: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูวิชา ภาษาไทยเพ่ิมเติม รหัส ท ๒๓๒๐๑

ครูผูสอน มาสเตอรชาตรี ตั้งอัมพรตรีพล

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี ........... มัธยมศึกษาปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๕๙

จํานวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห ๔๐ คาบ/ภาคเรียน จํานวน ๑ หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ............................ คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝกปฏิบัติทางภาษา พัฒนาการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด เรื่องราว ขอมูล สื่อสารสนเทศ

ในรูปแบบตาง ๆ เพ่ือสรางความรู ความคิด วิเคราะห วิจารณ สรุปความคิดและประเมินคาอยางมีประสิทธิภาพ ใช

กระบวนการ นําเสนอความรู แสดงคงวามคิดเห็น โตแยงอยางมีเหตุผล เขียนสื่อสารในรูปแบบตาง ๆ เชน จดหมายกิจธุระ

เชิญวิทยากร ขอความชวยเหลือ แสดงความขอบคุณ เขียนเรียงความสุภาษิต เขียนสรุปบันทึก ขอความ เขียนยอความจาก

สารคดี บทความ พระบรมราโชวาท จดหมาย ศึกษาธรรมชาติของภาษา กฏเกณฑ การแกไขปญหาและขอบกพรองในการใช

ภาษาสื่อสาร ใชคําใหตรงกับความหมาย การแตงคําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ การใชโวหารภาพพจน ถอยคําสํานวน

ตางประเทศและสํานวนไทย วิเคราะห วิจารณ ตัวละครในวรรณกรรม วรรณคดี ใหเห็นคุณคาและความงามทางภาษา

โดยใชกระบวนการทางภาษา สืบเสาะแสวงหาความรู พัฒนาการอาน การเขียน การฟง การดู การพูด และการคิด

วิเคราะห วิจารณ สังเคราะห ตีความ ประเมินคา

เพ่ือใหเกิดทักษะการเรียนรู มีความรู ความเขาใจ สามารถนําไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน อยางภาคภูมิใจ มีนิสัยรักการอาน รักความเปนไทย ชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงม่ันทํางานและมีจิตสาธารณะ

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ( จํานวน ๒๖ ตัวช้ีวัด)

๑. สาระท่ี ๑ การอาน มาตรฐาน ท ๑.๑ ตัวชีว้ัด ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐

๒. สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ตัวชีว้ัด ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๗, ๑๐

๓. สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ ตัวชีว้ัด ๑, ๒, ๓, ๖

๔. สาระท่ี ๔ หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ตัวชีว้ัด ๑, ๖

๕. สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ ตัวชีว้ัด ๒, ๓, ๔

มาตรฐานท่ี ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน

ตัวช้ีวัด ๒) ระบุความแตกตางของคําท่ีมีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย

๓) ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดของขอมูลท่ีสนับสนุนจากเรื่องท่ีอาน ๔) อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ยอความ และรายงาน ๕) วิเคราะห วิจารณ และประเมินเรื่องท่ีอานโดยใชกลวิธีการเปรียบเทียบใหผูอานเขาใจ

ไดดีข้ึน

Page 57: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

๖) ประเมินความถูกตองของขอมูลท่ีใชสนับสนุนในเรื่องท่ีอาน ๗) วิจารณความสมเหตุสมผล การลําดับความ และความเปนไปไดของเรื่อง

๘) วิเคราะหเพ่ือแสดงความคิดเห็นโตแยงเก่ียวกับเรื่องท่ีอาน ๙) ตีความและประเมินคุณคาแนวคิดท่ีไดจากงานเขียนเพ่ือนําไปแกปญหาในชีวิต ๑๐) มีมารยาทในการอาน

มาตรฐานท่ี ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ

เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวช้ีวัด ๑) คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๒) เขียนขอความโดยใชถอยคําไดถูกตองตามระดับภาษา ๓) เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติโดยเลาเหตุการณ ขอคิดเห็น และทัศนคติในเรื่องตางๆ

๔) เขียนยอความ ๕) เขียนจดหมายกิจธุระ ๗) เขียนวิเคราะห วิจารณ แสดงความรู ความคิดเห็น หรือโตแยงในเรื่องตางๆ

๑๐) มีมารยาทในการเขียน มาตรฐานท่ี ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาส

ตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ตัวช้ีวัด ๑) แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟงและการดู ๒) วิเคราะหและวิจารณเรื่องท่ีฟงและดู เพ่ือนําขอคิดมาประยุกตใชในการดําเนินชีวิต

๓) พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา ๖) มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

มาตรฐานท่ี ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

ตัวช้ีวัด ๑) จําแนกและใชคําภาษาตางประเทศท่ีใชในภาษาไทย

๖) แตงบทรอยกรอง มาตรฐานท่ี ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และนํามา

ประยุกตใชในชีวิตจริง ตัวช้ีวัด ๒) วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน ๓) สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพ่ือนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง

๔) ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยานตามท่ีกําหนด และบทรอยกรองท่ีมีคุณคาตามความสนใจ และนําไปใชอางอิง

Page 58: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ตัวชี้วัดท่ี (ระหวางภาค) คะแนนปลายภาค ตัวชี้วัดท่ี (ปลายภาค)

๑. การสื่อสาร ๑๐ คะแนน ท ๑.๑ (๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐)

คะแนนเตม็

๓๐ คะแนน

ท ๑.๑ (๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐)

๒. สภาพจริง ๒๐ คะแนน ท ๒.๑ (๑, ๓, ๕, ๗, ๑๐) ท ๕.๑ (๔) ท ๒.๑ (๒, ๔, ๑๐)

๓. กลางภาค/ปฏิบัติ ๓๐ คะแนน ท ๔.๑ (๑, ๓) ท ๓.๑ (๑, ๒, ๓, ๖)

๔. แฟมสะสมงาน ๑๐ คะแนน ท ๕.๑ (๒, ๓) ท ๔.๑ (๑, ๓)

ท ๕.๑ (๒, ๓)

รวมคะแนนท้ังหมด ๑๐๐ คะแนน

การทดสอบ

๑. สอบกลางภาค (Mid-term Test) ๓๐ คะแนน

รายละเอียดการสอบ

ตอนท่ี ๑ ขอสอบแบบปรนัย

- การเขียนจดหมายกิจธุระ

- การเขียนเรียงความสุภาษิต

- หลักการฟง การดู และการพูด

- การอานสรุปจับใจความ การอานคิดวิเคราะห ตีความ และประเมินคา

ตอนท่ี ๒ ขอสอบแบบอัตนัย

- การแตงบทรอยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ

๒. สอบปลายภาค (Final Examination) ๓๐ คะแนน

รายละเอียดการสอบ

- ขอบกพรองในการใชภาษาสื่อสาร

- การเขียนยอความ

- หลักการสรุปจับใจความสําคัญ

- การใชภาพพจนและรสวรรณคดี

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

๑. หนังสือกระบวนการเรียนรูของอาจารยวัชรพงศ โกพุทธธรรมวิบูลย

๒. หลักและการใชภาษาไทยของกรมวิชาการและอาจารยกําชัย ทองหลอ

งานวัดและประเมินผล

Page 59: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชา หนาท่ีพลเมืองเพ่ิมเติม 5 รหัส ส 22215

ครูผูสอน มาสเตอร ปภังกร อัครชยางกร

ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี …..... มัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 / 2559 จาํนวน 1 คาบ/สัปดาห 20 คาบ/ภาคเรียน จํานวน 0.5 หนวยการเรียน

วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ คําอธิบายรายวิชา มีสวนรวมและแนะนําผูอ่ืนใหอนุรักษมารยาทไทย ในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแตงกาย

การมีสัมมาคารวะ แสดงออกและแนะนําผูอ่ืนใหมีความเอ้ือเฟอเผื่อแผและเสียสละตอสังคม เห็นคุณคา อนุรักษ และสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย ปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเอง ในเรื่อง ความซ่ือสัตยสุจริต ขยันหม่ันเพียร อดทน ตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี และยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง ปฏิบัติตนเปนแบบอยางและแนะนํา

ผูอ่ืนใหมีการปฏิบัติตนท่ีแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ประยุกตและเผยแพรพระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีสติ ความขยัน อดทน หลักการทรงงาน ในเรื่องภูมิสังคม ขาดทุนคือกําไร และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซ่ือสัตยสุจริต ขยันหม่ันเพียร อดทน ใฝหาความรู

และตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่องการติดตามขาวสารบานเมือง ความกลาหาญ ทางจริยธรรม การเปนผูนําและการเปนสมาชิกท่ีดี มีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอกิจกรรมของ หองเรียนและ

โรงเรียน ตรวจสอบขอมูลเพ่ือใชประกอบการตัดสินใจในกิจกรรมตาง ๆ และรูทันขาวสาร ปฏิบัติตน เปนผูมีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซ่ือสัตยสุจริต อดทน ตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี ใฝหาความรู และยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง เห็นคุณคาของการอยูรวมกันในภูมิภาคเอเชียอยางสันติ และพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกันโดยคํานึงถึง ความ

หลากหลายทางสังคม วัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชีย ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดลอม การอยูรวมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมและการพ่ึงพาซ่ึงกันและกัน ในเรื่องการเคารพซ่ึงกันและกัน ไมแสดงกิริยา และวาจาดูหม่ินผูอ่ืน ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน แบงปน มีสวนรวมและเสนอแนวทางการแกปญหาความขัดแยง โดยสันติวิธีเก่ียวกับการละเมิดสิทธิ การใชของ

สวนรวม ดวยการเจรจาไกลเกลี่ย การเจรจาตอรอง การระงับ ความขัดแยง ปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซ่ือสัตยสุจริต อดทน ใฝหาความรู ตั้งใจปฏิบัติหนาท่ี ยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเอง โดยใชกระบวนการกลุม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ กระบวนการ แก

ปญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู กระบวนการสรางความตระหนัก กระบวนการสรางคานิยม และกระบวนการสรางเจตคติ เพ่ือใหผูเรียนมีลักษณะท่ีดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเปนไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดม่ัน ในศาสนา

และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย เปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีสวนรวมทางการเมืองการปกครอง อยูรวมกับผูอ่ืนอยางสันติ จัดการความขัดแยงดวยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง สาระ/มาตรฐาน/จุดเนน ( จํานวน 5 จุดเนน)

จุดเนนท่ี 1 ความเปนไทย

จุดเนนท่ี 2 รักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย

จุดเนนท่ี 3 ความเปนพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

จุดเนนท่ี 4 ความปรองดอง สมานฉันท

จุดเนนท่ี 5 ความมีวินัยในตนเอง

Page 60: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.3/edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/M3-59.pdf · ๔. อ านเรื่องต างๆ แล

การวัดและการประเมินผล

คะแนนเก็บระหวางภาค ผลการเรียนรู

(ระหวางภาค)

คะแนนปลายภาค ผลการเรียนรู

(ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน จุดเนนท่ี 1 – 5

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

จุดเนนท่ี 1 – 5

สภาพจริง 30 คะแนน จุดเนนท่ี 1 – 5

กลางภาค/ปฏิบัต ิ 30 คะแนน จุดเนนท่ี 1 – 5

แฟมสะสมงาน 10 คะแนน จุดเนนท่ี 1 – 5

รวมคะแนนท้ังหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค (Mid-term Test) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

(ทดสอบจากการปฏิบัติ)

1. มีสวนรวมและแนะนําผูอ่ืนใหอนุรักษมารยาทไทย 2. แสดงออกและแนะนําผูอ่ืนใหมีความเอ้ือเฟอเผื่อแผ และเสียสละตอสังคม

3. เห็นคุณคา อนุรักษ และสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาไทย 4. เปนแบบอยางและแนะนําผูอ่ืนใหมีความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย

2. สอบปลายภาค (Final Examination) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

- ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

หนังสืออางอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือท่ีนักเรียนตองอานคนควาเพ่ิมเติม

1. เอกสารประกอบการเรียนท่ีครูผูสอนจัดทําข้ึน 2. หนังสือเรียนกิจกรรมรายวิชาเพ่ิมเติม หนาท่ีพลเมือง 5 สํานักพิมพคุณภาพวิชาการ วัฒนาพาณิชย