8
สงวนลิขสิทธิสำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒน�คุณภ�พ วิช�ก�ร (พว.) จำ�กัด พ.ศ. ๒๕๕๘ สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนน นครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อัตโนมัติ ๑๕ ส�ย), ๐-๒๒๔๓-๑๘๐๕ แฟกซ์ : ทุกหม�ยเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖ website : www.iadth.com เล่ม ๑ ประวัติศาสตร์ไทย : เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ประเด็นวิภาค บุคคลสำาคัญ และภูมิปัญญาไทย กลุ่มส�ระก�รเรียนรู้สังคมศึกษ� ศ�สน� และวัฒนธรรม ต�มหลักสูตรแกนกล�งก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น พุทธศักร�ช ๒๕๕๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ ๔-๖ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ผู้เรียบเรียง ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ ดร.วงเดือน น�ร�สัจจ์ ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ชมพูนุท น�คีรักษ์ อ�จ�รย์มิตรชัย กุลแสงเจริญ ผู้ตรวจ ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์เช�วลี จงประเสริฐ ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ยุวดี วงศ์สว่�ง อ�จ�รย์อัมพร เอ็งสุโสภณ บรรณาธิการ ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ม�ลินี ประเสริฐธรรม

เล่ม ๑ ประวัติศาสตร์ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004127_example.pdf · ค ำน ำ สำรบัญ หนังสือเรียน

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เล่ม ๑ ประวัติศาสตร์ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004127_example.pdf · ค ำน ำ สำรบัญ หนังสือเรียน

สงวนลิขสิทธิ์

สำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒน�คุณภ�พ

วิช�ก�ร (พว.) จำ�กัด

พ.ศ. ๒๕๕๘

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนน

นครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ

๑๐๓๐๐ โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐

(อัตโนมัติ ๑๕ ส�ย),

๐-๒๒๔๓-๑๘๐๕

แฟกซ์ : ทุกหม�ยเลข,

แฟกซ์อัตโนมัติ :

๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑,

๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖

website : www.iadth.com

เลม่ ๑ ประวตัศิาสตรไ์ทย :เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ประเดน็วภิาค บคุคลสำาคญั และภมูปิญัญาไทย

กลุ่มส�ระก�รเรียนรู้สังคมศึกษ� ศ�สน� และวัฒนธรรมต�มหลักสูตรแกนกล�งก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น พุทธศักร�ช ๒๕๕๑

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ผู้เรียบเรียง

ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ ดร.วงเดือน น�ร�สัจจ์ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ชมพูนุท น�คีรักษ์

อ�จ�รย์มิตรชัย กุลแสงเจริญ

ผู้ตรวจ

ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์เช�วลี จงประเสริฐผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ยุวดี วงศ์สว่�ง

อ�จ�รย์อัมพร เอ็งสุโสภณ

บรรณาธิการ

ผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ม�ลินี ประเสริฐธรรม

Page 2: เล่ม ๑ ประวัติศาสตร์ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004127_example.pdf · ค ำน ำ สำรบัญ หนังสือเรียน

ค�ำน�ำ สำรบัญ

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานประวัติศาสตร์ เล่ม๑ประวัติศาสตร์ไทย : เวลาและยุคสมัยทาง

ประวัติศาสตร์ประเด็นวิภาคบุคคลส�าคัญและภูมิปัญญาไทยกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา

และวัฒนธรรมชั้นมัธยมศึกษาปีที่๔-๖ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.)เล่มนี้เป็นหนังสือเรียน

ทีส่อดแทรกการบรูณาการและเน้นการสร้างความรูก้บัค่านยิมตามแนวทางปรชัญาของเศรษฐกจิพอเพยีง

ตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑

หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยประกอบด้วย

• ตัวชี้วัดของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้นั้นๆ

• ผังสาระการเรียนรู้ สรุปเนื้อหาสาระของทั้งหน่วย

• สาระส�าคัญเพื่อง่ายต่อความเข้าใจของผู้เรียน

• จุดประกายความคิดกระตุ้นความคิดของผู้เรียนก่อนเข้าสู่บทเรียน

• เนื้อหา ถูกต้องตามหลักวิชาการ เน้นการใช้ภาษาที่ถูกต้องและครบถ้วนตามขอบข่าย

องค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม

ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับ

บริบทสภาพแวดล้อมเป็นพลเมืองดีมีความรับผิดชอบมีความรู้ทักษะคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

โดยได้ก�าหนดไว้ในสาระประวัติศาสตร์เรื่องแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความเป็นมาของชาติไทยวัฒนธรรม

ภูมิปัญญาไทยให้มีความรักความภูมิใจและสามารถธ�ารงความเป็นไทยไว้ได้สืบไป

• ผังสรุปสาระส�าคัญผังความคิดสรุปเนื้อหาสาระส�าคัญของทั้งหน่วย

• จุดประกายโครงงานให้ผู้เรียนฝึกกระบวนการคิดที่น�าไปสู่การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

• กิจกรรมบูรณาการอาเซียน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิก

อาเซียน

• กิจกรรมการเรียนรู้และค�าถามพัฒนากระบวนการคิด เน้นให้ผู้เรียนพัฒนาพฤติกรรมด้าน

ความรู้เจตคติคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมที่ดีงามโดยมุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะส�าคัญและมุ่งพัฒนา

ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์

• เว็บไซต์แนะน�าส่งเสริมการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) หวังว่าหนังสือเรียนเล่มนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา

กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิดได้ สมดังเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาอย่างครบถ้วน

ทุกประการ

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ๕

เวลากับประวัติศาสตร์ ๖

ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ๑๖

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ การสร้างองค์ความรู้ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ๓๓

องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ ๓๔

การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์สร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ ๓๙

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ประเด็นส�าคัญในประวัติศาสตร์ไทย ๕๐

ประเด็นที่๑ความเป็นมาของชนชาติไทย ๕๒

ประเด็นที่๒การค้ากับต่างประเทศสมัยอยุธยา ๖๔

ประเด็นที่๓ที่ปรึกษาและข้าราชการต่างชาติในสมัยรัชกาลที่๕ ๗๔

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สถาบันพระมหากษัตริย์ ๘๒

สถานภาพของพระมหากษัตริย์ ๘๔

รากฐานแห่งพระราชอ�านาจ ๘๗

บทบาทและหน้าที่ของกษัตริย์ ๙๒

การเถลิงถวัลยราชสมบัติ ๑๐๕

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ บุคคลส�าคัญในประวัติศาสตร์ไทย ๑๑๖

พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ไทย ๑๑๗

บทบาทของสตรีในประวัติศาสตร์ไทย ๑๓๒

ศิลปินแห่งชาติ ๑๔๓

บุคคลส�าคัญของไทยที่ได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก ๑๔๖

ชาวต่างประเทศที่มีส่วนสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและความก้าวหน้าของสังคมไทย ๑๕๕

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ ภูมิปัญญาไทย ๑๖๒

ความหมายของภูมิปัญญาไทย ๑๖๓

สาเหตุของการเกิดภูมิปัญญาไทย ๑๖๔

ลักษณะของภูมิปัญญาไทย ๑๖๕

ประเภทของภูมิปัญญาไทย ๑๖๘

สาขาของภูมิปัญญาไทย ๑๖๙

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ การอนุรักษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย ๒๐๐

นโยบายคุ้มครองและอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมไทย ๒๐๒

การด�าเนินการอนุรักษ์และคุ้มครองศิลปวัฒนธรรม ๒๐๖

บรรณานุกรม ๒๑๓

ตาราง ผลการวิเคราะห์ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนา

จ�าแนกตามหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ : ประวัติศาสตร์ไทย ๔

หน้า

Page 3: เล่ม ๑ ประวัติศาสตร์ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004127_example.pdf · ค ำน ำ สำรบัญ หนังสือเรียน

ตาราง ผลการวิเคราะห์ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนา

จำาแนกตามหน่วยการเรียนรู้ของรายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ : ประวัติศาสตร์ไทย

หน่วยการเรียนรู้/เรื่อง

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑

การเรียนรู้

ในศตวรรษที่ ๒๑

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑

เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒

การสร้างองค์ความรู้ด้วยวิธีการ

ทางประวัติศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓

ประเด็นสำาคัญในประวัติศาสตร์ไทย

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔

สถาบันพระมหากษัตริย์

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕

บุคคลสำาคัญในประวัติศาสตร์ไทย

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖

ภูมิปัญญาไทย

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗

การอนุรักษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

การเ

รียน

รู้เพ

ื่อรู้

(Lea

rnin

g to

kno

w)

การเ

รียน

รู้เพ

ื่อปฏ

ิบัติไ

ด้จริง

(Lea

rnin

g to

do)

การเ

รียน

รู้ที่จะ

อยู่ร่ว

มกัน

(Lea

rnin

g to

live

toge

ther

)

การเ

รียน

รู้ที่จะ

เป็น

(Lea

rnin

g to

be)

ทกัษ

ะการ

เรยีน

รูแ้ละ

นวตั

กรรม

ทักษ

ะด้าน

สารส

นเท

ศ สื่อ

แล

ะเท

คโน

โลยี

ทักษ

ะชีวิต

และก

ารท

ำางาน

หน่วยการเรียนรู้ที่

ตัวชี้วัด

ผังสาระการเรียนรู้

เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

สาระสำาคัญ

ตระหนักถึงความส�าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง

ของมนุษยชาติ(ส๔.๑ม.๔-๖/๑)

ผูศ้กึษาประวตัศิาสตร์จ�าเป็นต้องเข้าใจเรือ่งเวลาซึง่มคีวามเกีย่วข้องกบัการศกึษาประวตัศิาสตร์

เพื่อให้สามารถล�าดับช่วงเวลา เชื่อมโยงเหตุการณ์และวิเคราะห์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตาม

ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ได้ถูกต้อง

เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เวลากับประวัติศาสตร์

Page 4: เล่ม ๑ ประวัติศาสตร์ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004127_example.pdf · ค ำน ำ สำรบัญ หนังสือเรียน

ประวัติศาสตร์ไทย ม.๔-๖6 เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 7

เวลามีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตและปัจจุบันอย่างไร

เวลาเป็นสิ่งเชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบัน เนื่องจากยุคประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมีพัฒนาการมา

ยาวนานหลายพันปีการศึกษาความต่อเนื่องระหว่างยุคสมัยในประวัติศาสตร์ช่วงต่างๆ จึงต้องอาศัยเวลา

ที่ปรากฏอยู่ในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ในการล�าดับเหตุการณ์ เพื่อให้สามารถ

เชื่อมโยงถึงปัจจุบันดังนั้นเวลาจึงมีความส�าคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์มาก

ภาพพมิพ์คณะทตูสยามเดนิทางไปฝรัง่เศสในสมยั สมเดจ็พระนารายณ์มหาราช วาดโดยนโิคลาส์ เดอ ลาร์ เมสแซง็

ตพีมิพ์ทีป่ารสี มข้ีอความบรรยายและเวลาก�ากบัด้านล่าง

จุดประกายความคิด

๑. เวลากับประวัติศาสตร์

๑.๑ ความส�าคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ เวลาที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ช่วยให้ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์เข้าใจเหตุการณ์

ที่เกิดขึ้นในอดีตทั้งการล�าดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อน-หลังการเชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบันการสร้างความ

ต่อเนื่องของเหตุการณ์ต่างๆในอดีตและการเปรียบเทียบเหตุการณ์ร่วมสมัยในประวัติศาสตร์

การล�าดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์

คนส่วนใหญ่มักเรียกเหตุการณ์ที่ผ่านมาแล้วว่า “อดีต”

หรือ “สมัยก่อน (ปัจจุบัน)” ท�าให้บางครั้งไม่สามารถสืบสาวได้ว่า

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตนั้น เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนหรือหลัง

โดยเฉพาะเหตกุารณ์ทีน่บัย้อนหลงัไปยาวนานและห่างไกลจากปัจจบุนั

มาก เนื่องจากมนุษยชาติมีพัฒนาการมายาวนานมากกว่า๒ล้านปี

โดยเฉพาะยุคประวัติศาสตร์ของแต่ละดินแดนซึ่งมีช่วงเวลาแตกต่าง

กนักม็เีหตกุารณ์ประวตัศิาสตร์เกดิขึน้มากมายเกนิกว่าจะพรรณนาได้

ครบถ้วนดังนั้น นักประวัติศาสตร์จึงอาศัย “เวลา” ที่ปรากฏอยู่ใน

หลักฐานทางประวัติศาสตร์อธิบายหรือล�าดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

ในแต่ละดินแดน

เอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร์ การประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. ๑๗๗๖

นกัประวตัศิาสตร์เรยีงล�าดบัเหตกุารณ์

ในประวัติศาสตร์ตามปีที่เกิดเหตุการณ์นั้นๆ โดย

นับตามศักราช (ปี) ที่ปรากฏอยู่ในหลักฐานทาง

ประวัติศาสตร์ ทั้งนี้แต่ละสังคมมีวิธีเริ่มต้นนับ

ศักราชแตกต่างกันส่วนใหญ่มักยึดตามเหตุการณ์

ส�าคญัทางศาสนาทีต่นนบัถอืเป็นเกณฑ์เช่นครสิต์-

ศักราช (ค.ศ.)พุทธศักราช (พ.ศ.) และฮิจเราะห์-

ศักราช (ฮ.ศ.) ปัจจุบันประเทศส่วนใหญ่ต่างยึด

คริสต์ศักราชเป็นศักราชสากลแม้แต่ประเทศไทย

ซึ่งประกาศใช้พุทธศักราชอย่างเป็นทางการตั้งแต่

พ.ศ.๒๔๕๕ก็ใช้คริสต์ศักราชในการติดต่อสื่อสาร

กับนานาประเทศด้วย

การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับอดีตของมนุษยชาติที่มีพัฒนาการมายาวนานตั้งแต่สมัยก่อน

ประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์จ�าเป็นต้องใช้เวลาเป็นเกณฑ์แบ่ง เพราะจะท�าให้ผู้ศึกษาเข้าใจ

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามล�าดับก่อน-หลังและสามารถเชื่อมโยงหรือเปรียบเทียบเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น

ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติได้

Page 5: เล่ม ๑ ประวัติศาสตร์ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004127_example.pdf · ค ำน ำ สำรบัญ หนังสือเรียน

ประวัติศาสตร์ไทย ม.๔-๖8 9เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

การล�าดบัเหตกุารณ์ในประวตัศิาสตร์สามารถล�าดบัทัง้เหตกุารณ์ในประวตัศิาสตร์ของแต่ละ

ชาติและเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์สากลดังนี้

การล�าดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ของชาติ โดยทั่วไปนักประวัติศาสตร์สามารถล�าดับ

เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นภายในประเทศใดประเทศหนึ่งได้โดยง่าย โดยเฉพาะประเทศที่ใช้

คริสต์ศักราชเพียงศักราชเดียว ดังเช่นประเทศในยุโรป สหรัฐอเมริกา ฯลฯ การล�าดับเหตุการณ์

ประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นก่อน-หลังในประเทศเหล่านั้นตรวจสอบได้ง่าย เนื่องจากผู้ศึกษาประวัติศาสตร์

สามารถเรียงล�าดับเหตุการณ์ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีศักราชก�ากับ เช่น ในเหตุการณ์สงคราม

ปฏวิตัขิองชาวอเมรกินั(AmericanRevolutionWar,1775-1783)ชาวอาณานคิมอเมรกินัเริม่ท�าสงคราม

กับอังกฤษในยุทธการที่คองคอร์ด(BattleofConcord,1775)ในเดือนเมษายนค.ศ.๑๗๗๕ก่อนที่จะ

ประกาศอิสรภาพ(TheDeclarationof Independence)อย่างเป็นทางการในวันที่๔กรกฎาคมค.ศ.

๑๗๗๖ตัวอย่างที่ยกมานี้ช่วยให้ผู้ศึกษาล�าดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในภาพรวมได้ถูกต้อง

อย่างไรก็ตามบางประเทศ เช่นประเทศไทยในอดีตมีการใช้ศักราชหลายประเภท ได้แก่

พุทธศักราช (พ.ศ.) เริ่มขึ้นในอินเดียและแพร่หลายในประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาเป็นหลัก ไทยใช้

พุทธศักราชตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยนับปีถัดจากพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานเป็นพุทธศักราชที่ ๑

(ศรีลังกาและพม่านับปีที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานเป็นศักราชที่ ๑) ดังปรากฏในหลักฐานที่

เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา เช่น จารึกสุโขทัยและต�านานต่อมามีการใช้แพร่หลายมากขึ้นตั้งแต่สมัย

สมเดจ็พระนารายณ์มหาราชและรฐับาลไทยได้ประกาศใช้พทุธศกัราชอย่างเป็นทางการตัง้แต่พ.ศ.๒๔๕๕

มหาศักราช(ม.ศ.)เริ่มขึ้นในอินเดียหลังพุทธศักราช๖๒๑ปี(พ.ศ.=ม.ศ.+๖๒๑)และน�า

มาใช้ในดินแดนประเทศไทยตั้งแต่สมัยก่อนสุโขทัยจนถึงอยุธยาตอนกลาง

จุลศักราช(จ.ศ.)เริ่มขึ้นในพม่าหลังพุทธศักราช๑๑๘๑ปี(พ.ศ.=จ.ศ.+๑๑๘๑)และไทย

เริ่มใช้จุลศักราชตั้งแต่สมัยสุโขทัย จากนั้นได้แพร่หลายในสมัยอยุธยาตอนปลายต่อเนื่องจนถึงรัชสมัย

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) ในพ.ศ.๒๔๓๒พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง

ประกาศใช้รตันโกสนิทรศกโดยเริม่นบัรตันโกสนิทรศกที่๑ในพทุธศกัราช๒๓๒๕(พ.ศ.=ร.ศ.+๒๓๒๔)

ซึง่เป็นปีทีพ่ระบาทสมเดจ็พระพทุธยอดฟ้าจฬุาโลกมหาราชทรงสถาปนากรงุรตันโกสนิทร์เป็นราชธานีและ

ไทยได้ใช้รัตนโกสินทรศกจนถึงพ.ศ.๒๔๕๕ซึ่งมีการประกาศใช้พุทธศักราชอย่างเป็นทางการมาจนถึง

ปัจจุบัน

ปัจจุบันนอกจากการใช้พุทธศักราชแล้วในสังคมไทยยังใช้คริสต์ศักราชซึ่งเป็นศักราชสากล

และฮจิเราะห์ศกัราชในการนบัปฏทินิทางศาสนาอสิลามด้วยดงันัน้เพือ่ความสะดวกในการล�าดบัเหตกุารณ์

ในประวัติศาสตร์ไทยนักประวัติศาสตร์ต้องน�าศักราชต่างๆที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไป

เทียบกับพุทธศักราชก่อนดังตัวอย่างหลักฐานชั้นต้นต่อไปนี้

จารึกวัดป่าแดงสมัยสุโขทัย

จารึกพ่อขุนรามค�าแหงใช้มหาศักราช และระบุศักราช

(ศกหรือสก)ที่มีการจัดท�าจารึกไว้ว่า “...๑๒๑๔ศกปีมะโรง...”

ตรงกับพุทธศักราช๑๘๓๕(ม.ศ.๑๒๑๔+๖๒๑=พ.ศ.๑๘๓๕)

จารึกวัดป่ามะม่วงสมัยสุโขทัยมีการระบุพุทธศักราชไว้ว่า

“...แต่พระพุทธเจ้าเราเข้านิพพานมาเถิงวันบวชนั้นได้พันเก้าร้อย-

ห้าปี” ตรงกับพุทธศักราช ๑๙๐๔ (หลังจากปีที่ปรินิพพานแล้ว

๑๙๐๔ปี)

จารกึวดัป่าแดงสมยัสโุขทยัใช้จลุศกัราชและปรากฏศกัราช

ที่จารึกว่า“เมื่อศักราชได้๗๖๘จอนักษัตรเดือนอ้ายแรม๑๐ค�่า

วันอาทิตย์...”ตรงกับพุทธศักราช๑๙๔๙(จ.ศ.๗๖๘+๑๑๘๑=

พ.ศ.๑๙๔๙)

พระราชพงศาวดารกรงุศรอียธุยาฉบบัหลวงประเสรฐิอกัษรนติิใ์ช้จลุศกัราชและมบีานแผนก

บอกปีที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีพระบรมราชโองการให้เรียบเรียงไว้ว่า “ศุภมัสดุ ๑๐๔๒ศกวอก

นกัษตัรณวนัพธุเดอืน๕ขึน้๑๒ค�า่...”ตรงกบัพทุธศกัราช๒๒๒๓(จ.ศ.๑๐๔๒+๑๑๘๑=พ.ศ.๒๒๒๓)

พระราชด�ารขิองพระบาทสมเดจ็พระจลุจอมเกล้าเจ้าอยูห่วัในการปฏริปูการปกครองหวัเมอืง

ตามที่โปรดเกล้าฯให้แจ้งต่อที่ประชุมข้าหลวงเทศาภิบาลครั้งแรกลงวันที่๑๘มกราคมรัตนโกสินทรศก

๑๑๔ตรงกับพุทธศักราช๒๔๓๘(ร.ศ.๑๑๔+๒๓๒๔=พ.ศ.๒๔๓๘)

จากตัวอย่างข้างต้นพบว่าในสมัยสุโขทัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์มีการใช้ศักราชแตกต่าง

กนัดงันัน้ผูศ้กึษาจงึต้องน�าศกัราชเหล่านัน้ไปเทยีบกบัพทุธศกัราชก่อนแล้วจงึจะสามารถล�าดบัเหตกุารณ์

ก่อน-หลังได้

การล�าดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์สากล นักประวัติศาสตร์สามารถล�าดับเหตุการณ์ใน

ประวัติศาสตร์สากลโดยใช้ศักราชสากล คือ คริสต์ศักราช เช่น การศึกษาพัฒนาการความเจริญของ

อารยธรรมโบราณในดินแดนเมโสโปเตเมีย และอียิปต์ซึ่งเจริญรุ่งเรืองต่อเนื่องในช่วงหลายพันปี อนึ่ง

ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ยังสามารถล�าดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ในประเทศของตนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งใน

เหตกุารณ์ส�าคญัของโลกทีเ่กีย่วข้องกบัชะตากรรมของมนษุยชาตจิ�านวนมากได้โดยวธิกีารเทยีบศกัราชที่

ใช้อยูใ่นประเทศนัน้กบัครสิต์ศกัราชเช่นกรณขีองประเทศไทยให้น�าพทุธศกัราชไปเทยีบกบัครสิต์ศกัราช

(พ.ศ.=ค.ศ.+๕๔๓)ในการศึกษาสถานะของประเทศไทยในเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่๑และ๒ดังนี้

Page 6: เล่ม ๑ ประวัติศาสตร์ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004127_example.pdf · ค ำน ำ สำรบัญ หนังสือเรียน

10 ประวัติศาสตร์ไทย ม.๔-๖ 11เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

สงครามโลกครัง้ที่๑(ค.ศ.๑๙๑๔-๑๙๑๘)เริม่ขึน้ในยโุรปเมือ่ค.ศ.๑๙๑๔ประเทศไทยประกาศ

สงครามต่อฝ่ายมหาอ�านาจกลางและเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในพ.ศ.๒๔๖๐หรือค.ศ.๑๙๑๗

(พ.ศ.๒๔๖๐–๕๔๓=ค.ศ.๑๙๑๗)ซึ่งแสดงให้เห็นว่าไทยด�าเนินนโยบายเป็นกลางมาตลอดจนถึง

ช่วงท้ายของสงครามจึงตัดสินใจเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร

สงครามโลกครั้งที่๒(ค.ศ.๑๙๓๙-๑๙๔๕)เริ่มในยุโรปเมื่อค.ศ.๑๙๓๙หลังจากนั้นได้ขยาย

ไปทั่วโลก ในเอเชียญี่ปุ่นได้เริ่มสงครามมหาเอเชียบูรพาเมื่อวันที่ ๘ ธันวาคมค.ศ. ๑๙๔๑ และ

ยกพลขึ้นบกในประเทศไทยโดยอ้างว่าเพื่อขอยกทัพผ่านไปยังพม่าและอินเดีย ส่งผลให้ไทยต้อง

ประกาศสงครามต่อฝ่ายพันธมิตรเมื่อวันที่๒๕มกราคมพ.ศ.๒๔๘๕(ค.ศ.๑๙๔๒)

ข้อมูลที่ปรากฏในจารึกนี้เชื่อมโยงให้เห็นว่าภาษาไทยที่เราใช้กันในปัจจุบันมีพัฒนาการมา

นานกว่า๗๐๐ปีแล้วความสามารถในการประดิษฐ์อักษรไทยแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของชนชาติไทย

เพราะอักษรไทยแสดงถึงความก้าวหน้าทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมด้านวรรณกรรมของชนชาติ

นอกจากนี้อักษรไทยยังท�าให้มีการบันทึกข้อมูลประวัติศาสตร์ที่เชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบันได้

อนุสาวรีย์เฉลิมฉลองครบรอบ ๑,๐๐๐ ปีของชาวรัสเซีย ตั้งอยู่ที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย

การเผยแพร่ข้อมูลในพ.ศ.๒๕๕๒ เกี่ยวกับการค้นพบลูกปัดหลากสีจ�านวนมากในพื้นที่แถบ

ชายทะเลฝั่งตะวันตกของภาคใต้โดยเฉพาะที่อ�าเภอคลองท่อมจังหวัดกระบี่ซึ่งผู้เชี่ยวชาญวิเคราะห์

ว่ามีอายุมากกว่า๒,๐๐๐ปีท�าให้นักโบราณคดีเชื่อว่าดินแดนประเทศไทยในอดีตมีการติดต่อค้าขาย

กบัโลกภายนอกและมคีวามสามารถผลติสนิค้าประเภทหตัถกรรมเป็นสนิค้าออกเช่นเดยีวกบัดนิแดน

อารยธรรมอื่นๆของโลก

ข้อความในจารึกพ่อขุนรามค�าแหงระบุศักราชที่ประดิษฐ์ลายสือไทยว่า “...๑๒๐๕ศกปีมะแม

พ่อขุนรามค�าแหงหาใคร่ใจในใจ แลใส่ลายสือไทยนี้ ลายสือไทยนี้จึ่งมีเพื่อขุนผู้นั้นใส่ไว้...” ศักราช

๑๒๐๕ที่ระบุไว้คือมหาศักราชหรือพ.ศ.๑๘๒๖(พ.ศ.๑๘๒๖=ม.ศ.๑๒๐๕+๖๒๑)

ตัวอย่างเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ข้างต้นชี้ให้เห็นว่าข้อมูลเกี่ยวกับเวลามีความส�าคัญต่อการ

ล�าดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์มาก ไม่ว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์จะใช้ศักราชใดก็ตามผู้ศึกษา

ก็สามารถน�ามาเทียบกับศักราชสากลและล�าดับเรื่องราวต่างๆได้ต่อเนื่องและถูกต้อง

การเชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบัน

เวลาในประวัติศาสตร์คืออดีตที่มีความเกี่ยวข้องหรือเชื่อมโยงถึงปัจจุบันได้เวลาที่ยาวไกล

ในประวตัศิาสตร์บ่งบอกถงึอดตีทีย่าวนานของมนษุยชาติประเทศต่างๆ ให้ความส�าคญักบัประวตัศิาสตร์

ของชาติ เพราะประวัติศาสตร์บ่งบอกถึงความรุ่งเรืองก้าวหน้าของบรรพชนในอดีตที่สั่งสมความภูมิใจให้

กับคนรุ่นปัจจุบัน อย่างไรก็ตามแต่ละสังคมมีช่วงเวลาในอดีตต่างกันประเทศอียิปต์ จีนและอินเดียมี

ประวตัศิาสตร์ยาวนานหลายพนัปีทีส่ามารถเชือ่มโยงถงึ

ปัจจบุนัได้ส่วนประเทศมหาอ�านาจในยโุรปเช่นองักฤษ

ฝรั่งเศสเยอรมนีและรัสเซียมีประวัติศาสตร์ที่ยาวไกล

ไม่ถึง ๒,๐๐๐ ปี ความเจริญรุ่งเรืองที่ผ่านกาลเวลา

ยาวนานในประวัติศาสตร์ของชาติต่างๆที่เชื่อมโยงถึง

ปัจจุบันได้สร้างเกียรติภูมิให้กับชนชาตินั้น ๆ ดังนั้น

การศึกษาวิเคราะห์คุณค่าของประเทศใดประเทศหนึ่ง

จงึต้องให้ความส�าคญัต่อภมูหิลงัในอดตีทีบ่รรพชนของ

ชนชาตินั้นๆสั่งสมความเจริญให้กับโลกปัจจุบันด้วย

นอกจากนี้ เวลาที่ปรากฏในหลักฐาน

ทางประวัติศาสตร์ยังเชื่อมโยงเหตุการณ์ในอดีตกับ

ปัจจุบันด้วย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ทั้งหลักฐาน

ประเภทลายลกัษณ์และหลกัฐานทางโบราณคดทีีค้่นพบ

ในดินแดนต่างๆล้วนบ่งบอกถึงอดีตและความเป็นมา

ของมนุษยชาติเช่น

การสร้างความต่อเนื่องของเหตุการณ์ในอดีต

ข้อมูลที่พบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ช่วงเวลาต่าง ๆ มีความส�าคัญต่อการเชื่อมโยง

เหตกุารณ์ในอดตีมากเพราะช่วยให้ผูศ้กึษามองเหน็ความต่อเนือ่งของเหตกุารณ์จากช่วงเวลาหนึง่ไปยงัอกี

ช่วงเวลาหนึง่และสามารถเข้าใจภาพรวมของเหตกุารณ์ได้ดงัตวัอย่างการวเิคราะห์ค�าว่า“สยาม”ในหนงัสอื

เรื่องความเป็นมาของค�าสยามไทยลาวและขอมและลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติของจิตรภูมิศักดิ์

ซึ่งใช้ข้อมูลทางด้านนิรุกติศาสตร์ที่ปรากฏในหลักฐานสมัยต่าง ๆ อธิบายวิวัฒนาการของค�าว่า “สยาม”

หนังสือ “ความเป็นมาของค�าสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทาง

สังคมของชื่อชนชาติ” โดย จิตร ภูมิศักดิ์ ตีพิมพ์ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๔

ผู้ศึกษาสามารถน�าองค์ความรู้ที่จิตรภูมิศักดิ์ ค้นคว้าไว้มาประกอบ

การอธิบายภาพรวมของพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในดินแดน

ประเทศไทยได้ดังนี้

หลักฐานที่กล่าวถึงดินแดนสยามมีทั้งหลักฐานประเภท

จารึกต�านานจดหมายเหตุจีน วรรณกรรมและหลักฐานทางราชการ

ในสมัยรัตนโกสินทร์

หลกัฐานประเภทจารกึได้แก่จารกึของเขมรโบราณและ

จามต�านานภาคเหนือของไทยเช่นรัตนพิมพวงศ์(ต�านานพระแก้ว-

มรกต)ซึ่งเขียนในพ.ศ.๑๙๗๒จามเทวีวงศ์ซึ่งเขียนประมาณพ.ศ.

๒๐๐๐และชินกาลมาลีปกรณ์ซึ่งเขียนในพ.ศ.๒๐๕๙จดหมายเหตุ

จีนพ.ศ.๑๘๒๕เรียกดินแดนของชนชาติไทยว่า“เสียม”หรือ“เสียน”

ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอยุธยา พบค�าว่า

“สยาม” ในวรรณกรรมเรื่องลิลิตยวนพ่าย และมหาชาติค�าหลวง ใน

Page 7: เล่ม ๑ ประวัติศาสตร์ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004127_example.pdf · ค ำน ำ สำรบัญ หนังสือเรียน

12 ประวัติศาสตร์ไทย ม.๔-๖ 13เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

การเปรียบเทียบเหตุการณ์ร่วมสมัยในประวัติศาสตร์

การศึกษาเปรียบเทียบเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในดินแดนต่าง ๆ ช่วยให้ผู้ศึกษา

เข้าใจพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติได้มากขึ้น อย่างไรก็ตามการศึกษาในลักษณะนี้จะต้อง

เปรียบเทียบกับดินแดนที่อยู่ร่วมสมัยกันหรืออยู่ในช่วงเวลาเดียวกันหรืออยู่ในสถานการณ์ที่มีลักษณะ

เดยีวกนัเนือ่งจากความแตกต่างในด้านมติขิองเวลาท�าให้ไม่สามารถศกึษาเปรยีบเทยีบเหตกุารณ์ได้อย่าง

ถูกต้องแท้จริง การเปรียบเทียบเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยสามารถศึกษาได้หลากหลาย เช่นการ

เปรยีบเทยีบพฒันาการของอารยธรรมร่วมสมยัในดนิแดนต่างๆ และการเปรยีบเทยีบวธิกีารแก้ปัญหาของ

ประเทศต่างๆที่เผชิญสถานการณ์ร่วมสมัยหรือสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน

การเปรียบเทียบพัฒนาการของอารยธรรมร่วมสมัย การศึกษาในประเด็นนี้ไม่ได้เน้นการ

เปรียบเทียบว่าดินแดนใดเหนือกว่า หรือดีเลิศกว่าดินแดนอื่น ๆ แต่อย่างใดหากเป็นการเปรียบเทียบ

ให้เห็นว่ามนุษย์ในสมัยโบราณไม่ว่าจะมีถิ่นก�าเนิดณที่ใด เช่น อียิปต์ เมโสโปเตเมียอินเดียหรือจีน

ต่างก็มีสติปัญญาและความสามารถในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าให้กับสังคมของตนเองแต่ละสังคม

สามารถสร้างสังคมเมืองมีระบอบการปกครองที่เป็นแบบแผนการศึกษาเปรียบเทียบในลักษณะนี้ท�าให้

จารึกบนแผ่นหินของจีน (ซ้าย) และเมโสโปเตเมีย (ขวา) แสดงถึงสังคมเมืองที่พัฒนาอย่างมีแบบแผน

สมยัอยธุยาและรตันโกสนิทร์สมยัสมบรูณาญาสทิธริาชย์ในเอกสารจดหมายเหตชุือ่BurneyPapersของ

นายเฮนรีเบอร์นีย์(HenryBurney)สนธิสัญญาทางพระราชไมตรีที่ไทยท�ากับประเทศตะวันตกในสมัย

รัตนโกสินทร์ก็ใช้ชื่อว่าสยาม เช่น “หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี ประเทศอังกฤษแลประเทศสยาม

คฤษต์ศักราช ๑๘๒๖” และ “หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี ประเทศอเมริกา แล ประเทศสยาม

คฤษต์ศักราช๑๘๓๓”ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

หลักฐานเกี่ยวกับค�าว่า“สยาม”ที่ปรากฏในช่วงเวลาต่างๆ ท�าให้ผู้ศึกษาทราบความต่อเนื่อง

ของพัฒนาการทางด้านประวัติศาสตร์ของชนชาติไทยในดินแดนประเทศไทย อีกทั้งยังท�าให้เข้าใจถึง

ภาพรวมการตั้งถิ่นฐานของชนชาติไทยที่ก่อตั้งอาณาจักรในภาคเหนือของประเทศไทย (ดินแดนล้านนา)

มาเป็นเวลาช้านานก่อนที่จะเคลื่อนย้ายลงมาตั้งอาณาจักรทางตอนใต้ คือ สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และ

รัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน

ผู้ศึกษาตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาที่มนุษยชาติในอดีตได้สร้างสรรค์ผลงานและความรุ่งเรืองต่างๆ

ที่กลายเป็นรากฐานของความเจริญในปัจจุบันและเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังช่วยกันสืบทอดและอนุรักษ์มรดก

ทางวัฒนธรรมเหล่านั้นไว้ไม่ให้สูญสลายไปพร้อมกับกาลเวลา

การเปรียบเทียบวิธีการแก้ปัญหาของประเทศต่างๆในสถานการณ์ร่วมสมัยพัฒนาการทาง

ประวตัศิาสตร์ทีผ่่านมาชีใ้ห้เหน็ว่ามนษุยชาตใินหลายดนิแดนต่างเผชญิชะตากรรมในสถานการณ์ร่วมสมยั

เป็นต้นว่าภัยจากลัทธิอาณานิคมภัยสงครามภัยเศรษฐกิจฯลฯ

การศกึษาเปรยีบเทยีบเหตกุารณ์ร่วมสมยัในประวตัศิาสตร์ช่วยให้ผูศ้กึษาเรยีนรูบ้ทเรยีนจาก

ประวตัศิาสตร์สามารถเข้าใจวธิกีารแก้ปัญหาของผูน้�าในอดตีทีเ่สยีสละอดทนและยนืหยดัต่อสูเ้พือ่เอกราช

ของชาติ อีกทั้งจะช่วยให้เกิดคุณธรรม มีความรักและยึดมั่นต่อสันติสุขของประเทศชาติมากกว่า

ผลประโยชน์ส่วนตน

๑.๒ เวลากับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์เรียนรู้เรื่องราวในอดีตจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นเครื่องมือ

ส�าคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ หากขาดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์จะไม่สามารถ

ตรวจสอบความถูกต้องของเหตุการณ์ในอดีตได้ ขณะเดียวกันมนุษย์ก็จะไม่ทราบถึงภูมิหลังและ

ความเป็นมาของบรรพชนอย่างไรก็ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต้องมีเวลาก�ากับอยู่ด้วย เพราะหาก

หลักฐานนั้นไม่ปรากฏข้อมูลเกี่ยวกับเวลาผู้ศึกษาก็จะไม่สามารถวิเคราะห์ความส�าคัญของหลักฐานและ

ความเกี่ยวเนื่องกับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ได้

ในการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์นอกเหนือจากข้อมูลส�าคัญอื่นๆแล้วสิ่งที่ผู้ศึกษา

ต้องการทราบคือข้อมูลเกี่ยวกับเวลาหรืออายุของหลักฐานชิ้นนั้นเช่นหลักฐานนั้นสร้างขึ้นเมื่อไรสมัยใด

เกีย่วข้องกบัเหตกุารณ์ในอดตีในช่วงเวลาใดบ้างข้อมลูเกีย่วกบัเวลาทีป่รากฏในหลกัฐานจะช่วยให้ผูศ้กึษา

ทราบว่าหลักฐานนั้นเกี่ยวข้องกับใครในยุคสมัยใดและมีความต่อเนื่องหรือเชื่อมโยงกับเหตุการณ์อื่นๆ

ทัง้ก่อนหน้านัน้และหลงัจากนัน้อย่างไรอย่างไรกต็ามเนือ่งจากหลกัฐานทางประวตัศิาสตร์ในแต่ละยคุสมยั

มีจ�านวนมากและหลากหลายวิธีการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเวลาจากหลักฐานจึงแตกต่างกันโดยเฉพาะการ

สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเวลาจากหลักฐานประเภทลายลักษณ์และหลักฐานทางโบราณคดี

การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเวลาจากหลักฐานประเภทลายลักษณ์

หลกัฐานประเภทลายลกัษณ์จดัเป็นหลกัฐานทีพ่ดูได้กล่าวคอืเป็นหลกัฐานทีส่ามารถสือ่กบั

ผู้ศึกษาได้โดยตรงด้วยข้อความหรือเนื้อหาที่ปรากฏอยู่ในหลักฐานนั้นๆเช่นศิลาจารึกเอกสารประเภท

จารกึต่างๆ จดหมายเหตุพงศาวดารบนัทกึส่วนบคุคลกฎหมายราชกจิจานเุบกษาเอกสารราชการรายงาน

การประชุม รายงานการวิจัย หนังสือพิมพ์ บทความ แผ่นปลิว หลักฐานเหล่านี้ส่วนใหญ่มักให้ข้อมูล

เกีย่วกบัเวลาดงัเช่นศลิาจารกึสมยัสโุขทยัมกักล่าวถงึศกัราชทีเ่กีย่วข้องกบัเหตกุารณ์ทีป่รากฏอยูใ่นจารกึ

นัน้จารกึทีม่กีารระบศุกัราชไว้ช่วยให้นกัประวตัศิาสตร์สามารถเชือ่มโยงและล�าดบัเหตกุารณ์ประวตัศิาสตร์

ในสมยัสโุขทยัได้นอกจากนีพ้ระราชพงศาวดารต่างๆ กม็กัระบศุกัราชทีจ่ารหรอืเขยีนไว้ทีบ่านแผนก(หรอื

Page 8: เล่ม ๑ ประวัติศาสตร์ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1004127_example.pdf · ค ำน ำ สำรบัญ หนังสือเรียน

14 ประวัติศาสตร์ไทย ม.๔-๖ 15เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

บันทึกส่วนบุคคลของแอนน์ แฟรงก์ (ขวา) ถูกน�ามาใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับชาวยิวสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑

ซึ่งต่อมาได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในชื่อ เดอะไดอารีออฟอะยังเกิร์ล (ซ้าย)

อย่างไรก็ตามมีหลักฐานจ�านวนไม่น้อยที่ไม่ปรากฏข้อมูลเกี่ยวกับเวลา เนื่องจากหลักฐาน

นั้นช�ารุดเช่นศิลาจารึกสึกกร่อนหรือแตกหักหินกะเทาะหลุดหายไปบางส่วนเอกสารประเภทใบลานและ

กระดาษส่วนใหญ่ผุพังและช�ารุดสูญหาย เพราะความชื้นของอากาศท�าให้กระดาษเปื่อยหรือมดปลวก

กัดแทะ หรือฉีกขาด ส่งผลให้ข้อมูลขาดความต่อเนื่อง ดังนั้น นักประวัติศาสตร์จึงต้องสืบค้นข้อมูล

เกี่ยวกับเวลาเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์หลักฐานชิ้นนั้นๆการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอายุของ

หลักฐานประเภทลายลักษณ์ท�าได้หลายวิธีเช่น

เอกสารประเภทใบลาน

ศุภมัสดุ ศักราช ๑๑๕๗ สัปตศก (พ.ศ. ๒๓๓๗) สมเด็จพระบรมธรรมิกมหาราชาธิราช

พระเจ้าอยูห่วัผ่านถวลัยราชย์ณกรงุเทพทวารวดศีรอียธุยาเถลงิพระทีน่ัง่ดสุติมหาปราสาททรงช�าระ

พระราชพงศาวดาร(ประชุมพงศาวดารเล่ม๔๐ภาค๖๕-๖๖เรื่องพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับ

พันจันทนุมาศ(เจิม),หน้า๑)

การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเวลาจากหลักฐานทางโบราณคดี

หลักฐานทางโบราณคดีมีอยู่เป็นจ�านวนมาก เช่น ซากเมืองโบราณพีระมิดศาสนสถาน

โบสถ์ วิหาร เจดีย์ ปรางค์ ก�าแพงเมือง สุสานโบราณ สระน�้า โครงกระดูกของคนและสัตว์ เศษอิฐ

เศษกระเบื้อง เครื่องประดับ เครื่องปั้นดินเผา เครื่องดนตรี อาวุธ เรือ เครื่องใช้ต่างๆหลักฐานเหล่านี้

ให้ข้อมูลและองค์ความรู ้ทางประวัติศาสตร์ด้วย แต่ส่วนใหญ่เป็นหลักฐานที่พูดไม่ได้ เพราะไม่มี

การจารึกไว้ หรือจารึกอาจเลือนหายไปดังนั้น นักประวัติศาสตร์จึงต้องอาศัยการศึกษาวิเคราะห์และ

การก�าหนดอายุโบราณวัตถุเหล่านั้นจากนักโบราณคดี

นักโบราณคดีสนใจศึกษาพัฒนาการของมนุษยชาติทั้งยุคก่อนประวัติศาสตร์และยุค

ประวัติศาสตร์ตลอดจนวิถีการด�ารงชีวิตของมนุษย์ โดยศึกษาจากวัสดุที่มนุษย์สร้างขึ้นเป็นเครื่องมือใน

การด�ารงชีวิตคือหินและโลหะประเภทต่างๆและใช้วัสดุเหล่านั้นก�าหนดช่วงเวลาของพัฒนาการมนุษย์

ในแต่ละยคุซึง่มรีะยะเวลายาวนานและแตกต่างกนัโดยทัว่ไปนกัโบราณคดใีช้วธิกี�าหนดอายขุองหลกัฐาน

ทางโบราณคดหีลายวธิีทีส่�าคญัได้แก่วธิกีารทางวทิยาศาสตร์และวธิปีระตมิานวทิยาของนกัประวตัศิาสตร์

ศิลปะ

การก�าหนดอายหุลกัฐานทางโบราณคดด้ีวยวธิวีทิยาศาสตร์การใช้วธิกีารทางวทิยาศาสตร์

ก�าหนดอายหุลกัฐานทางโบราณคดีได้แก่การวเิคราะห์ทางธรณวีทิยาโดยน�าชัน้ดนิต่างๆ ทีพ่บวตัถสุิง่ของ

หรือโครงกระดูกไปวิเคราะห์เพื่อค�านวณอายุของวัตถุ นอกจากนี้ยังใช้การทดสอบทางเคมีที่เรียกว่า

คาร์บอน-14(carbon-14)เพื่อค�านวณอายุของโบราณวัตถุต่างๆ เช่นการวิเคราะห์อายุของภาชนะดินเผา

ซึ่งขุดพบที่บ้านเชียงจังหวัดอุดรธานีเพื่อน�ามาใช้ก�าหนดอายุของวัฒนธรรมบ้านเชียง

บานแพนก)ของพงศาวดารด้วยเช่นพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีฉบับพันจันทนุมาศ(เจิม)ดังข้อความ

ในบานแผนกต่อไปนี้

- การวิเคราะห์จากชื่อบุคคลหรือ

สถานที่

- การศึกษาเปรียบเทียบข ้อมูล

เกี่ยวกับประเพณีหรือพิธีกรรม

- การวิเคราะห์ส�านวนภาษาที่บันทึก

ในหลักฐาน

- การวเิคราะห์ทางด้านนริกุตศิาสตร์

เป็นการวิเคราะห์จากค�าศัพท์ต่าง ๆ ที่ปรากฏใน

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การศึกษาหลักฐานทางโบราณคดีของนักโบราณคดี

การก� าหนดอายุหลักฐานทาง

โบราณคดด้ีวยวธิปีระตมิานวทิยาเป็นวธิกี�าหนดอายุ

หลกัฐานทางโบราณคดขีองนกัประวตัศิาสตร์ศลิปะ

ซึ่ ง ใช ้ วิ ธีศึกษา เปรียบเทียบกับลักษณะของ

รูปแบบศิลปกรรมร่วมสมัย และประเภทของวัสดุ

ทีใ่ช้ในการจดัท�า/ก่อสร้างเพือ่สรปุอายหุรอืสมยัของ

โบราณสถานหรือโบราณวัตถุนั้น นอกจากนี้

นักโบราณคดียังสามารถก�าหนดอายุของหลักฐาน

ทางโบราณคดีอื่น ๆ ทั้งประเภทสถาปัตยกรรม

ประติมากรรม จิตรกรรม เครื่องปั้นดินเผาสมัย

ต่างๆที่พบในประเทศไทยและมีลักษณะร่วมสมัย

กับศิลปกรรมสมัยต่าง ๆ เช่น สมัยลพบุรี สมัย

เชียงแสนสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยาตอนต้น สมัย

รัตนโกสินทร์ตอนต้นได้ด้วย