12
ติว LIVE แนะแนวการเตรียมสอบเข้า มหาวิทยาลัย ในระบบ TCAS ส�าหรับนักเรียน ม.5-ม.6

ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

1

ติว LIVEแนะแนวการเตรียมสอบเข้า

มหาวิทยาลัย ในระบบ TCAS

ส�าหรับนักเรียน ม.5-ม.6

Page 2: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

2

สถิติคะแนน PAT-2 ปี 6170

60

50

40

30

20

10

030.01 -60.00

0.00 -30.00

60.01 -90.00

90.01 -120.00

120.01 -150.00

150.01 -180.00

180.01 -210.00

210.01 -240.00

240.01 -270.00

270.01 -300.00

percent 0.1 26.89 62.15 9.12 1.34 0.34 0.06 0.01 0 0

สถิติคะแนนชีวะสามัญ ปี 60 - 6160

50

40

30

20

10

00-10.00 10.01-20.00 20.01-30.00 30.01-40.00 40.01-50.00 50.01-60.00 60.01-70.00 70.01-80.00 80.01-90.00 90.01-100

ปี 60ปี 61

0.130.23

13.5920.03

46.6248.68

23.1718.76

8.416.73

4.433.19

2.341.61

1.050.84

0.250.15

0.010.01

Page 3: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

3

PAT-2 สามัญ

แนวการออกข้อสอบ กระจายบท ไม่ครบทุกบทไม่ซ้ำาแนว

ออกครบทุกบทซ้ำาแนวเดิม ตามหลักสูตร

ความยาก บางข้อต้องวิเคราะห์ เกินเนื้อหาที่เรียน เดาทางข้อสอบยาก

ออกรายละเอียดได้เยอะต้องจำาเนื้อหาทั้งหมด

พื้นฐาน 10% 10%

ดุลยภาพสัตว์ 10% 10%

ประสานงานสัตว์ 20% 20%

พืช 20% 15%

พันธุศาสตร์ 25% 25%

ระบบนิเวศ 15% 10%

Page 4: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

4

จุดเน้น... พื้นฐานห้ามพลาด

สารเคมีในสิ่งมีชีวิต

ธรรมชาติของโมเลกุลน้ำา หมู่ function ในสารอินทรีย์ โครงสร้างโมเลกุลของ Carbohydate, Protein, Lipid, Nucleic acid

เซลล์

การทำางานของออร์แกเนลต่างๆ การลำาเลียงสารผ่านเซลล์ ความแตกต่างของ mitosis กับ meiosis

ระบบเลือด และภูมิคุ้มกัน

การไหลเวียนของเลือด การให้เลือด (ABO, Rh group) T-cell, B-cell Active, passive immunity

ระบบประสาท

การเกิด action potential หน้าที่ของสมองส่วนต่างๆ ระบบสั่งการ somatic, autonomic ตา, หู

Page 5: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

5

ระบบสืบพันธุ์

ท่อ, ต่อมที่ผลิต semen Spermatogenesis, Oogenesis ระดับฮอร์โมนระหว่างตกไข่และมีประจำาเดือน

โครงสร้างพืช

ประเภทของเนื้อเยื่อเจริญ และเนื้อเยื่อถาวร โครงสร้างราก และลำาต้น ตัดตามยาว / ตามขวาง โครงสร้างใบ และการคายน้ำา การลำาเลียงน้ำา การลำาเลียงอาหาร

สังเคราะห์ด้วยแสง

Cyclic / non-cyclic e- transfer พืช C3, C4, CAM Saturation point Compensation point

Page 6: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

6

การถ่ายทอดทางพันธุกรรม

ตำาแหน่งของยีนบนโครโมโซม การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ตามกฎเมนเดล Linked gene Polygenes Multiple alleles

ยีน และโครโมโซม

อัตราส่วน A, T, C, G ใน DNA เอนไซม์ในกระบวนการ Replication, Transcription, Translation ให้ DNA Template มา แล้วให้เราหาลำาดับกรดอะมิโน Mutation ระดับยีน และระดับโครโมโซม

Page 7: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

7

1. การตรวจสอบสมมติฐานอาจทำาได้หลายวิธี เช่น การเฝ้าสังเกต การสำารวจ

และการทดลองจงพิจารณาสมมติฐานและการตรวจสอบในตารางด้านล่างนี้

การตรวจสอบสมมติฐานทางชีววิทยาในข้อใด มีวิธีตรวจสอบที่ไมเ่หมาะสม

(PAT กพ 61)

1. สมมติฐาน ก 2. สมมติฐาน ข 3. สมมติฐาน ค 4. การตรวจสอบสมมติฐานไม่เหมาะสม 2 ข้อ 5. การตรวจสอบสมมติฐานไม่เหมาะสมทั้ง 3 ข้อ

สมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน

ก. ถ้าพืชกลุ่มฝางในประเทศไทยมีลักษณะทางกายวิภาคของใบแตกต่างกัน ดังนั้น พืชกลุ่มฝางควรมีปากใบหลายรูปแบบรวมทั้งมี ไทรโคม ต่อมและขนชนิดต่างๆ

ศึกษาลักษณะ ปากใบ ไทรโคม ต่อม และขน ของพืชในกลุ่มฝาง ชนิดละ 5 ซ้ำา

ข. ถ้าความเค็มมีผลต่อการเจริญของต้นพริก ดังนั้น ต้นพริกที่ปลูกในดินเค็มจะมีขนาดลำาต้นเล็ก และต้นเตี้ย

ทดลองปลูกพริกในดินเค็มจำานวน 10 กระถาง เป็นเวลา 1 เดือนและวัดขนาดเส้นรอบวงและความสูงของต้น ทุกสัปดาห์

ค. ถ้าต้นทุเรียนต้องอาศัยค้างคาวช่วยถ่ายเรณูในเวลากลางคืน ดังนั้น เมื่อดอกทุเรียนบานในเวลากลางคืนจะมีค้างคาวบินมาตอมดอกทุเรียน

ตั้งกล้องวิดีโอ เพื่อบันทึกชนิด จำานวน และพฤติกรรมของค้างคาว หรือสัตว์อื่นๆ ที่บินมาตอมดอกทุเรียนระยะดอกบานเวลากลางคืน

โจทย์... จริงจัง !!

Page 8: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

8

2. เมื่อสารอาหารถูกดูดซึมเข้าสู่ไมโครวิลลัสของเซลล์บุผิวลำาไส้แล้ว สารอาหารชนิดใด

ที่ถูกลำาเลียงเข้าสู่หัวใจโดยไม่ผ่านหลอดเลือดที่เข้าตับ (สามัญ มีค 61)

1. Lysine 2. Glucose 3. Galactose 4. Linoleic acid 5. Glutamic acid

3. ข้อใดกล่าวเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อเอ็มบริโอ 3 ชั้น และส่วนที่เกี่ยวข้อง

ได้อย่างถูกต้องที่สุด (PAT มีค 60)

1. ในสัตว์มีกระดูกสันหลังส่วนใหญ่ โนโทคอร์ดจะถูกแทนที่ด้วยกระดูกสันหลัง หรือกระดูกอ่อน เมื่อโตเต็มวัย 2. เริ่มเกิดเนื้อเยื่อเอ็มบริโอ 3 ชั้น เมื่อเอ็มบริโอเข้าสู่ระยะมอรูลา 3. เนื้อเยื่อเอ็มบริโอ 3 ชั้น ได้แก่ เอกโทเดิร์ม เมโซเดิร์ม และเอนโดมีเทรียม 4. โนโทคอร์ดซึ่งเป็นโครงสร้างค้ำาจุนร่างกาย มีการเจริญพร้อมกับไขสันหลัง 5. ระบบทางเดินอาหารและระบบขับถ่ายเจริญมาจากเนื้อเยื่อเอ็มบริโอชั้นเมโซเดิร์ม

Page 9: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

9

4. ในภาวะที่พืชขาดน้ำา ปากใบเปิดน้อยลงเพื่อรักษาน้ำา มีผลทำาให้ได้รับ CO2 น้อยลง

เกิด Calvin cycle ในอัตราที่ลดลง เพื่อให้เกิดสมดุลระหว่างอัตราการทำางานใน

light reactionและ Calvin cycle การเปลี่ยนแปลงของพืชข้อใดเหมาะสมที่สุด

ในภาวะขาดน้ำา (สามัญ มีค 61)

1. ลดการสร้าง NADPH 2. ลด photorespiration 3. เพิ่มอัตราการสร้างแป้ง 4. ลดกิจกรรมของ Rubisco 5. เพิ่มจำานวน antenna complex

5. โครงสร้างใดมีจีโนไทป์เหมือนเซลล์ชั้น cortex ในลำาต้นของต้นแม่ (สามัญ มีค 61)

1. pollen 2. embryo 3. seed coat 4. endosperm 5. embryo sac

Page 10: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

10

6. เกษตรกรคนหนึ่งผสมพันธุ์ถั่วลันเตา โดยใช้ถั่วลันเตาที่มีเมล็ดสีเขียว 2 สายพันธุ์

(พันธุ์ A1 และ A2) ผสมพันธุ์กับถั่วลันเตาเมล็ดสีทองสายพันธุ์แท้ (พันธุ์ Z) ลูกรุ่น F1

ของทั้งสองคู่ผสมพันธุ์มีเมล็ด สีทอง แต่ลูกรุ่น F2 มีสัดส่วนของลักษณะเมล็ดสีทอง :

สีเขียวในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ดังตารางข้อใดถูก (PAT กพ 61)

1. จำานวนยีนที่ควบคุมลักษณะสีเมล็ดในถั่วลันเตาพันธุ์ A1 และ A2 แตกต่างกัน 2. ยีนที่ควบคุมลักษณะเมล็ดสีทองและสีเขียวอยู่ต่างตำาแหน่งกันบนโครโมโซม 3. ลูกรุ่น F2 ของคู่ผสมพันธุ์ที่ 2 ที่มีเมล็ดสีเขียวมีจีโนไทป์แบบเดียว 4. ถั่วลันเตาพันธุ์ Z มีจีโนไทป์แบบ homozygous recessive 5. ถั่วลันเตาพันธุ์ A2 ไม่ใช่สายพันธุ์แท้

คู่ผสมพันธุ์ที่ สายพันธุ์พ่อ – แม่ ลักษณะรุ่น F1ลักษณะรุ่น F2

สีทอง สีเขียว

1 A1 × Z เมล็ดสีทอง 3/4 1/4

2 A2 × Z เมล็ดสีทอง 9/16 7/16

7. จากรูปแสดงโครงสร้างที่อยู่ในนิวเคลียส A, B และ C เรียกว่าอะไร (สามัญ มีค 61)

Page 11: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

11

8. จากรูปแสดงการสังเคราะห์ DNA A, B, C และ D คืออะไร (สามัญ มีค 61)

1. ความถี่ของแอลลีล S ในชั่วรุ่นที่ 2 ลดลงจากชั่วรุ่นที่ 1 2. ความถี่ของแอลลีล S ในชั่วรุ่นที่ 2 เพิ่มขึ้นจากชั่วรุ่นที่ 1 3. ความถี่ของแอลลีล S ของประชากรทั้งสองชั่วรุ่นมีค่าเท่ากับ 0 4. ปัจจัยหลักที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลคือ มิวเทชัน (mutation) 5. การเปลี่ยนแปลงนี้ เป็นการเพิ่มความหลากหลายทางพันธุกรรมในประชากรแมลงหวี่ ที่ทดลอง

9. นักพันธุศาสตร์ท่านหนึ่งทดลองเลี้ยงแมลงหวี่ในห้องปฏิบัติการ พบว่าแอลลีล S ทำาให ้

ขนมีรูปร่างผิดปกติ ซึ่งข่มแอลลีลปกติ (s) ได้อย่างสมบูรณ์ โดยแมลงหวี่ที่มีจีโนไทป์

homozygous SS จะตายตั้งแต่เป็นเอ็มบริโอ ส่วนแมลงหวี่ที่มีชีวิตมีจีโนไทป์

heterozygous Ss มีขนรูปร่างผิดปกติ และแมลงหวี่มีจีโนไทป์ homozygous ss

มีขนปกตินักพันธุศาสตร์ท่านนี้ได้คำานวณความถี่จีโนไทป์ของแมลงหวี่ทั้ง 3 จีโนไทป์

ใน 2 ชั่วรุ่น ได้ข้อมูลดังนี้ข้อใดถูก (ศักยภาพ) (PAT มีค 60)

ชั่วรุ่นจีโนไทป์

SS Ss ss

1 0 0.140 0.860

2 0 0.131 0.869

Page 12: ติว LIVE3. ความถ ของแอลล ล S ของประชากรท งสองช วร นม ค าเท าก บ 0 4. ป จจ ยหล กท

12

10. เกษตรกรคนหนึ่งต้องการรู้ว่าปลานิลในบ่อเลี้ยงของเขามีความหนาแน่นประชากรเท่าไร

วันหนึ่งเขาจึงจับปลาในบ่อของเขาขึ้นมา 2 ครั้ง ครั้งแรกได้ปลา 22 ตัว ครั้งที่สองได้ปลา

18 ตัว เขาทำาเครื่องหมายปลาทั้งหมดที่จับได้นี้แล้วปล่อยกลับลงไปในบ่อ วันต่อมาเขา

จับปลาด้วยวิธีเดียวกับในวันแรก ครั้งแรกได้ปลาทั้งหมด 18 ตัว เป็นปลาที่มีเครื่องหมาย

9 ตัว เขายังไม่ปล่อยปลาที่จับได้แต่จับปลาครั้งที่สองทันที ได้ปลาทั้งหมด 6 ตัว เป็นปลา

ที่มีเครื่องหมาย 3 ตัว ถ้าบ่อของเขามีพื้นที่ 100 ตารางเมตร ข้อสรุปใดถูกต้อง

(PAT มีค 60)

1. ปลาในบ่อนี้มีความหนาแน่นเชิงนิเวศเท่ากับ 8 ตัวต่อตารางเมตร 2. ปลาในบ่อนี้มีความหนาแน่นเชิงนิเวศเท่ากับ 0.36 ตัวต่อตารางเมตร 3. ปลาในบ่อนี้มีความหนาแน่นเชิงนิเวศเท่ากับ 0.54 ตัวต่อตารางเมตร 4. ปลาในบ่อนี้มีความหนาแน่นอย่างหยาบเท่ากับ 54 ตัวต่อตารางเมตร 5. ปลาในบ่อนี้มีความหนาแน่นอย่างหยาบเท่ากับ 0.8 ตัวต่อตารางเมตร