20
คูมือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๖ ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 สํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบ

ประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน

เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๖

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

สํานักทดสอบทางการศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

Page 2: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 2

คํานํา

การท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจาตุรนต ฉายแสง) มีนโยบายท่ีจะ

ปฏิรูปการเรียนรูท้ังระบบใหเช่ือมโยงสัมพันธกัน เพื่อใหผูเรียนสามารถคิดวิเคราะหแกปญหา และ

เรียนรูไดดวยตนเองอยางตอเน่ืองโดยปฏิรูปใหมีการเช่ือมโยงกันท้ังหลักสูตรและการเรียนการสอน

ใหกาวทันตอการเปลี่ยนแปลงและสอดคลองกับการเรียนรูยุคใหม การพัฒนาครู และการพัฒนา

ระบบการทดสอบท้ังภายในและภายนอกใหเปนเคร่ืองมือสงเสริมการปฏิรูปการเรียนรู และพัฒนา

คุณภาพผู เรียนใหมีมาตรฐานเทียบเคียงไดกับนานาชาติ ในปการศึกษา ๒๕๕๖สํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานมีนโยบายท่ีจะประเมินนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓

ในความสามารถพื้นฐานท่ีใชในการเรียนรูของ๓ ดาน คือ ความสามารถดานภาษา (Literacy) ดาน

คํานวณ (Numeracy) และดานเหตุผล(Reasoning abilities) โดยในปการศึกษาน้ีจะมีโรงเรียนท่ี

สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษา

เอกชน กรมสงการปกครองทองถ่ิน ตํารวจตระเวนชายแดน เขารวมประเมินดวย ดังน้ัน สํานัก

ทดสอบทางการศึกษาจึงไดจัดทําคูมือจัดสอบประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อการ

ประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๖ข้ึน เพื่อเปนแนวทางการดําเนินการประเมินของ

สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา

ภายในคูมือจัดสอบฯจะอธิบายถึงบทบาทภาระหนาท่ีในการประเมินท้ังของสวนกลาง

และสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และขอปฏิบัติในการจัดสอบฯ เพื่อใหการดําเนินประเมินเปนไป

ในแนวทางเดียวกัน มีมาตรฐานเดียวกันท้ังประเทศ ผลการประเมินมีความนาเช่ือถือถูกตองตรงตาม

ความสามารถท่ีแทจริงของนักเรียนสามารถนําขอมูลท่ีไดไปใชในการวางแผนปรับปรุงและพัฒนา

ความสามารถพื้นฐานของนักเรียนท้ังในระดับรายบุคคล โรงเรียนสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

สุดทายน้ี สํานักทดสอบทางการศึกษาตองขอขอบคุณสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาท่ีใหความรวมมือในการดําเนินประเมิน โดยยึดแนวทางตามคูมือการประเมินฯทุก

ประการ เพื่อความเปนมาตรฐานในการจัดสอบ ผลการประเมินไดขอมูลท่ีถูกตองตรงตาม

ความสามารถท่ีแทจริงของนักเรียน สามารถนําไปวางแผนปรับปรุงและพัฒนาไดอยางดี ตอไป

สํานักทดสอบทางการศึกษา

Page 3: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 3

สารบัญ

หนา

๑. เหตุผลและความสําคัญ ๔

๒. วัตถุประสงค ๖

๓. กลุมเปาหมาย ๖

๔. เคร่ืองมือท่ีใชประเมิน ๖

นิยามความสามารถดานภาษา(Literacy) ๖

ความสามารถดานคํานวณ(Numeracy) ๗

ความสามารถดานเหตุผล(Reasoning abilities) ๘

โครงสรางขอสอบ ๙

ตารางสอบ ๑๑

๔. แนวปฏิบัติการจัดสอบ ๑๑

ตัวอยางกระดาษคําตอบ ๑๓

การกรอก/ระบายรหัสบนกระดาษคําตอบ ๑๔

แตงต้ังศูนยประสานการสอบ สนามสอบ และกรรมการกํากับหองสอบ ๑๖

การนําผลไปใช ๑๗

ภาคผนวก

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติของผูกํากับการสอบฯ ๑๙

Page 4: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 4

๑.เหตุผลและความสําคัญ

ตามท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจาตุรนต ฉายแสง) ประกาศใหป ๒๕๕๖

เปนปแหง “การรวมพลัง ยกระดับคุณภาพการศึกษา” โดยมี ๔ เปาหมาย ๘ นโยบายการศึกษา

และ ๕ กลไกในการขับเคลื่อนนโยบายสูการปฏิบัติ โดยนโยบายขอท่ี ๑ใหเรงปฏิรูปการเรียนรูท้ัง

ระบบใหเช่ือมโยงสัมพันธกัน เพื่อใหผูเรียนสามารถคิดวิเคราะหแกปญหา และเรียนรูไดดวยตนเอง

อยางตอเน่ืองโดยใหมีการเช่ือมโยงกันท้ังหลักสูตรและการเรียนการสอน ใหกาวทันตอการ

เปลี่ยนแปลงและสอดคลองกับการเรียนรูในยุคศตวรรษท่ี ๒๑รวมท้ังการพัฒนาครู และการพัฒนา

ระบบการทดสอบ การวัดและประเมินผลท่ีไดมาตรฐานเช่ือมโยงและมีความสัมพันธกับหลักสูตร

การจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาผูเรียน โดยใหเรงรัดและสานตอการปฏิรูปหลักสูตรให

กาวหนาและสําเร็จโดยจะสงเสริมการมีสวนรวมจากผูเช่ียวชาญและผูท่ีเกี่ยวของใหมากข้ึน เพื่อ

พัฒนาผูเรียนใหมีทักษะชีวิตท่ีเหมาะสมกับการศึกษาในทุกระดับช้ันประกอบกับการพัฒนา

กระบวนการเรียนการสอนปจจุบันท่ีรองรับหลักสูตรใหมท่ีมุงใหผูเรียนสามารถคิดวิเคราะห

แกปญหา และเรียนรูไดดวยตนเองอยางตอเน่ือง ซึ่งจะสงผลใหมีผลสัมฤทธ์ิสูงข้ึน สอดคลองกับการ

เรียนรูในโลกยุคใหม โดยจะเร่ิมจาก คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ภาษาตางประเทศ

และการคิดวิเคราะห ดังน้ันพัฒนาระบบทดสอบวัดและประเมินผลท้ังภายในและภายนอก

จึงเปนเคร่ืองมือสงเสริมการปฏิรูปการเรียนรู และพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีมาตรฐานเทียบเคียง

ไดกับนานาชาติ โดยเช่ือมโยงเน้ือหาสาระในหลักสูตรและการเรียนการสอน รวมท้ังพัฒนาระบบ

การคัดเลือกบุคคลใหเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ใหสอดคลองกับการปฏิรูปการเรียนการสอน

ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานประกอบกับรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการไดประกาศนโยบาย

เรงดวนท่ีจะลดปญหาการอานไมออก เขียนไมไดของนักเรียนระดับประถมศึกษาโดยใหมีการคัด

กรองนักเรียนเพื่อหาเด็กกลุมเสี่ยงท่ียังไมสามารถอานออกเขียนได นํามาสอนเสริมและกําหนด

เปาหมาย นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑-๓ ทุกคนตองอานออกเขียนได ๑๐๐ % โดยใหทุก

โรงเรียนคัดกรองเด็กท่ีอานไมออก เขียนไมไดดวยแบบประเมินท่ีเขมขนและนําผลไปใชในการวาง

แผนการขับเคลื่อนการปฏิรูปการเรียนรูท้ังระบบ

คูมือการจัดสอบ

ประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน

เพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน ปการศึกษา ๒๕๕๖

Page 5: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 5

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ยังไดกําหนดมุงหมายในการยกระดับ

คุณภาพการศึกษาสูมาตรฐานสากล คือ ๑) ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ๕ กลุมสาระวิชาหลัก

เพิ่มข้ึนอยางนอยรอยละ ๕เพิ่มศักยภาพนักเรียนดานเทคโนโลยี และดานภาษาอังกฤษเพื่อเตรียม

ความพรอมสูประชาคมอาเซียน๒) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ ทุกคน อานออก เขียนได คิดเลข

เปน และนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ ทุกคน อานคลอง เขียนคลอง และคิดคํานวณท่ีซับซอน

ข้ึน ๓) นักเรียนทุกคนมีความสํานึกในความเปนชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ๔) สถานศึกษาทุกแหงมีระบบประกันคุณภาพภายใน

ท่ีเขมแข็ง และผานการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก

จากนโยบายดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจึงไดดําเนินการจัดทํา

แบบทดสอบวัดความสามารถดานการอาน เพื่อใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาใชในการศึกษา

สภาพท่ีเปนจริง ในปจจุบันเกี่ยวกับการอานของนักเรียน ในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓และช้ัน

ประถมศึกษาปท่ี ๖สําหรับใชเปนขอมูลในการสงเสริมและพัฒนาใหนักเรียนทุกคนมีความสามารถ

ในการออกเสียง และการอานอยางรูเร่ือง ซึ่งเปนความสามารถพื้นฐานท่ีจําเปนสําหรับใชเปน

เคร่ืองมือในการเรียนรูของนักเรียนในระดับสูงข้ึนตอไปและการวัดและประเมินผลการเรียนรูของ

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จะดําเนินการประเมินเพื่อศึกษาและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ

ผูเรียนใหเขาสูมาตรฐาน เพื่อเปนหลักประกันการเรียนรู(Accountability) และเตรียมการใหผูเรียน

มีความพรอมสําหรับรองรับการประเมินท้ังการทดสอบระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยจะมุง

ประเมินใหทัดเทียมกับนานาชาติเชนการประเมินระดับนานาชาติ (PISA,TIMSS,…) ท่ีมีรูปแบบ

การประเมินท่ีหลากหลาย มุงเนนคุณภาพของนักเรียนโดยพิจารณาจากความสามารถพื้นฐานหลัก

ท่ีจําเปน สําหรับปการศึกษา ๒๕๕๖ น้ีจะประเมินความสามารถท่ีตกผลึก(Crystallization) จาก

การเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานใน ๓ ดาน คือ ดานภาษา(Literacy) ดาน

คํานวณ(Numeracy) และดานเหตุผล(Reasoning abilities)กับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ ซึ่ง

ถือเปนความสามารถพื้นฐานเบ้ืองตนสําคัญท่ีใชในการเรียนรูผลการประเมินท่ีไดจะเปนขอมูล

สําคัญท่ีสะทอนคุณภาพการดําเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เขตพื้นท่ีการศึกษา และ

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ีจําเปนตองมีขอมูลผลการเรียนรู เพื่อปรับปรุงและ

พัฒนาในการเตรียมความพรอมของผูเรียน และเปนตัวบงช้ีคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐานในภาพรวม

เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการกําหนดนโยบาย และการวางแผนในการพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับสํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพื้นฐาน

Page 6: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 6

๒. วัตถุประสงค

เพื่อประเมินความสามารถพื้นฐานท่ีจําเปนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ ในดาน

ภาษา(Literacy)ดานคํานวณ(Numeracy) และดานเหตุผล(Reasoning abilities)

๓.กลุมเปาหมาย

นักเรียนท่ีศึกษาในช้ันระดับประถมศึกษาปท่ี ๓ ปการศึกษา ๒๕๕๖ ทุกคนทุกโรงเรียนซึ่ง

อยูในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการสงเสริม

การศึกษาเอกชนและตํารวจตระเวนชายแดน

๔. เครื่องมือที่ใชในการประเมิน

เคร่ืองมือท่ีใชในการประเมินช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓แสดงรายละเอียด ดังตาราง

แบบทดสอบความสามารถ จํานวนขอ เวลา

ดานภาษา(Literacy) ๓๐ ๖๐

ดานคํานวณ(Numeracy) ๓๐ ๗๕

ดานเหตุผล(Reasoning abilities) ๓๐ ๕๐

ความสามารถดานภาษา (Literacy) หมายถึง ความสามารถในการอานการฟงการดูการ

พูดเพื่อรู เขาใจ วิเคราะห สรุปสาระสําคัญ ประเมินสิ่งท่ีอาน ฟง ดู จากสื่อประเภทตางๆ และ

สื่อสารดวยการพูด การเขียนไดถูกตองตามหลักการใชภาษาอยางสรางสรรค เพื่อการนําไปใชใน

ชีวิตประจําวัน การอยูรวมกันในสังคม และการศึกษาตลอดชีวิต

คําสําคัญ (Keywords)

๑. รู หมายถึง สามารถบอกความหมาย เร่ืองราว ขอเท็จจริง และเหตุการณตางๆ

๒. เขาใจ หมายถึง สามารถแปลความ ตีความ ขยายความ และอางอิง

๓. วิเคราะห หมายถึง สามารถแยกแยะโครงสราง เร่ืองราว ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น เหตุผล

และคุณคา

๔. สรุปสาระสําคัญ หมายถึง สามารถสรุปใจความสําคัญของเร่ืองไดอยางครอบคลุม

นิยามความสามารถดานภาษา

Page 7: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 7

๕. ประเมิน หมายถึง สามารถตัดสินความถูกตอง ความชัดเจน ความเหมาะสม คุณคา

อยางมีหลักเกณฑ

๖. สื่อประเภทตางๆ หมายถึง สิ่งท่ีนําเสนอเร่ืองราวและขอมูลความรูตางๆ ท้ังท่ีเปนสื่อ

สิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และสื่อของจริง

๗.สื่อสาร หมายถึง สามารถถายทอดความรู ความเขาใจ และความคิด จากการอานฟง-ดู

โดยการพูดหรือเขียนอธิบาย วิเคราะห สรุป หรือประเมนิ

๘. สรางสรรค หมายถึง สามารถสื่อสารความรู ความเขาใจ เร่ืองราว ทัศนะและความคิดท่ี

แปลกใหมจากการอาน การฟงและการดู แสดงออกมาเปนคําพูด การเขียน หรือการกระทําได

อยางหลากหลายและมีประโยชนเพิ่มมากข้ึน

๙. การนําไปใชในชีวิตประจําวัน การอยูรวมกันในสังคมและการศึกษาตลอดชีวิต

หมายถึง ความสามารถในการนําความรู ความเขาใจ การวิเคราะห การสรุปสาระสําคัญไปใช

ประโยชนในการแกไขปญหา การตัดสินใจในการดําเนินชีวิตการอยูรวมกับผูอื่น และการพัฒนา

ตนเองอยางตอเน่ือง

ความสามารถดานคํานวณ (Numeracy) หมายถึงความสามารถในการใชทักษะ

กระบวนการทางคณิตศาสตรทักษะการคิดคํานวณ และความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรใน

สถานการณตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน

คําสําคัญ (Keywords)

ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หมายถึง ความสามารถในการแกปญหาดวยวิธีการท่ี

หลากหลาย การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร การนําเสนอ การ

เช่ือมโยงความรูและการมีความคิดริเร่ิมสรางสรรค

ทักษะการคิดคํานวณ หมายถึง ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร

ไดอยางถูกตอง คลองแคลว

ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร หมายถึง ความรูความเขาใจเกี่ยวกับ จํานวนนับ

เศษสวน ทศนิยม และรอยละ ความยาว ระยะทาง นํ้าหนัก พื้นท่ี ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ

แผนผัง และขนาดของมุม ชนิดและสมบัติของรูปเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ แผนภูมิ

และกราฟ การคาดคะเนการเกิดข้ึนของเหตุการณตาง ๆ

นิยามความสามารถดานคํานวณ(Numeracy)

Page 8: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 8

ความสามารถดานเหตุผล (Reasoning Abilities)หมายถึง ความสามารถในการ

เช่ือมโยงความรู และประสบการณดานวิทยาศาสตรและสิ่งแวดลอม ดานสังคมศาสตรและ

เศรษฐศาสตร และดานการดําเนินชีวิต โดยการวิเคราะห สังเคราะห ประเมินคา และตัดสินใจ

อยางมีหลักการ และเหตุผล บนพื้นฐานของขอมูลสถานการณ หรือสารสนเทศท่ีเพียงพอ โดยยึด

หลักคุณธรรมและจริยธรรม

คําสําคัญ (Keywords)

๑. ความรู หมายถึง ขอเท็จจริง ทฤษฏี หลักการ กระบวนการท่ีศึกษารวมท้ังคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ประสบการณ หมายถึง ความรูเดิมท่ีเกิดจากการเรียนรู ปฏิบัติ หรือไดพบเห็น เร่ืองตาง ๆ

ในระดับบุคคล สังคม และสังคมโลก

๓. วิเคราะห หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ บอกความตาง ความเหมือน

สรุปหลักการบอกความสัมพันธเช่ือมโยงอยางมีเหตุผลบนพื้นฐานของหลักการทางวิทยาศาสตร

สังคมศาสตร และการดําเนินชีวิต อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม

๔. สังเคราะห หมายถึง ความสามารถในการสรางขอสรุปใหม ออกแบบ คิดสรางสรรค

บนพื้นฐานของขอมูลท่ีผานการวิเคราะห ประเมินแลวอยางสมเหตุสมผล

๕. ประเมินคา หมายถึง ความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกอยางสมเหตุสมผล มี

ประโยชนและสรางสรรค

๖.เหตุผลทางวิทยาศาสตร หมายถึง การนําความรู ประสบการณท่ีเกิดจากการเรียนรูมา

ประกอบการตัดสินใจในสถานการณท่ีเกิดข้ึนในสังคม ใหสมเหตุสมผลตามหลักเกณฑทาง

วิทยาศาสตร

๗. เหตุผลทางสังคมศาสตร หมายถึง การนําความรู ประสบการณจากกฎเกณฑ ความเช่ือ

วัฒนธรรม คานิยมทางสังคมศาสตรมาประกอบการตัดสินใจในสถานการณท่ีเกิดข้ึนในสังคมได

อยางสมเหตุสมผล

๘. เหตุผลทางการดําเนินชีวิต หมายถึง การนําความรู หลักการ กฎเกณฑ มาใชในการ

ดํารงชีวิต หรือประกอบการตัดสินใจในสถานการณท่ีเกิดข้ึนในสังคมอยางมีคุณธรรมจริยธรรม

นิยามความสามารถดานเหตผุล(Reasoning Abilities)

Page 9: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 9

โครงสรางขอสอบ

๑. ความสามารถดานภาษาช้ันประถมศึกษาปที่ ๓มีกรอบโครงสรางในการประเมินดังน้ี

ตัวช้ีวัด ขอที ่ รวม

1. บอกความหมายของคําและประโยคจากเร่ืองท่ี ฟง ดู และอาน 1-4 4

2. บอกความหมายของเคร่ืองหมายสัญลักษณ 5-6, 9 3

3. ตอบคําถามจากเร่ืองท่ีฟง ดู และอาน 7-8, 10-13 6

4. บอก เลาเร่ืองราวท่ีไดจากการฟง ดู และอานอยางงายๆ 14-16, 19 4

5. คาดคะเนเหตุการณท่ีจะเกิดข้ึนจากเร่ืองท่ีฟง ดู และอาน 17-18, 20-23, 30 7

6. สื่อสารความรู ความเขาใจขอคิดเห็นจากเร่ืองท่ีฟง ดู และอาน

อยางเหมาะสม

24-29 6

รวมท้ังหมด 30

๒. ความสามารถดานคํานวณช้ันประถมศกึษาปที่ ๓ มีกรอบโครงสรางในการประเมินดังน้ี

สาระการเรียนรู ขอที ่ รวม

1. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณ

เพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณ

ตางๆ ในชีวิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร

เร่ือง จํานวนและการดําเนินการตามขอบขายสิ่งเรา

1 – 10 10

2. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณ

เพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณ

ตางๆ ในชีวิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร

เร่ือง การวัด ตามขอบขายสิ่งเรา

11 – 18 8

3. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณ

เพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณ

ตางๆ ในชีวิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร

เร่ือง เรขาคณิต ตามขอบขายสิ่งเรา

19 – 22 4

Page 10: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 10

สาระการเรียนรู ขอที ่ รวม

4. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณเพื่อ

ตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ใน

ชีวิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร เร่ือง พีชคณิต

ตามขอบขายสิ่งเรา

23 – 26 4

5. ใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร หรือทักษะการคิดคํานวณเพื่อ

ตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคําตอบจากสถานการณตางๆ ใน

ชีวิตประจําวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร เร่ือง การ

วิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน ตามขอบขายสิ่งเรา

27-30 4

รวมท้ังหมด 30

๓. ความสามารถดานเหตผุลช้ันประถมศึกษาปที่ ๓มีกรอบโครงสรางในการประเมินดังน้ี

๑. ตัวช้ีวัด ขอที ่ รวม

1. มีความเขาใจในขอมูล สถานการณ หรือสารสนเทศทางดาน

วิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม ดานสังคมศาสตร เศรษฐศาสตร และดาน

การดําเนินชีวิตอยางมีเหตุผล

1-4 4

2. วิเคราะหขอมูล สถานการณ หรือสารสนเทศ โดยใช องคความรู

ดานวิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม ดานสังคมศาสตร เศรษฐศาสตร และ

ดานการดําเนินชีวิตอยางมีเหตุผล

5-7, 9-10,

12, 14, 24-25 9

3. สามารถสรางขอสรุปใหม ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของ

ขอมูล สถานการณ หรือสารสนเทศท่ีผานการวิเคราะห โดยใชองค

ความรูดานวิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม ดานสังคมศาสตร เศรษฐศาสตร

และดานการดําเนินชีวิตอยางมีเหตุผล

8, 11, 13,

16-18,

22-23, 29

9

4. สามารถตัดสินใจและแกปญหาอยางมีหลักการและเหตุผลหรือให

ขอสนับสนุนขอโตแยงท่ีสมเหตุสมผล โดยคํานึงถึงคุณธรรมและ

จริยธรรม คานิยม ความเช่ือ ในกรณีท่ีมีสถานการณท่ีตองการ

ตัดสินใจหรือมีปญหา

15, 19-21,

26-28, 30 8

รวมท้ังหมด 30

Page 11: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 11

ตารางสอบ

การประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐานฯช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ ปการศึกษา ๒๕๕๖

กําหนดสอบวันท่ี ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ รายละเอียดกําหนดสอบ ตามตารางสอบดังน้ี

วันสอบเวลา ๘.๓๐-๙.๓๐น.

พกั

๑๐.๐๐-๑๑.๑๕น.

พกั

๑๒.๓๐-๑๓.๒๐ น.

๒๔ ก.พ. ๒๕๕๗ ความสามารถ

ดานภาษา

ความสามารถ

ดานคํานวณ

ความสามารถ

ดานเหตุผล

๔.

ใหมีกรรมการกํากับการสอบหองละ ๒ คนปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวย

การปฏิบัติของผูกํากับการสอบ พ.ศ. ๒๕๔๘ อยางเครงครัดการจัดหองสอบ ใหจัดหองสอบท่ีน่ังสอบ

ไมเกิน ๓๕ คนตอหอง ในกรณีท่ีโรงเรียนมีหองเรียนหองเดียวและมีนักเรียนเกิน ๓๕ คน แตไมเกิน

๔๐ คน อาจจัดหองสอบเปนหองเดียวกันได แตควรจัดโตะใหมีระยะหางกันพอสมควรและไมควร

จัดโตะใหอยูนอกหองสอบกรณีจํานวนผูเขาสอบเกิน ๔๐ คนใหจัดหองสอบเพิ่ม ประกาศรายช่ือ

โรงเรียน/นักเรียนและแผนผังท่ีน่ังสอบติดท่ีหนาหองสอบทุกหอง พรอมขอมูลรายละเอียดของ

นักเรียนแตละคนท่ีตองระบายในกระดาษคําตอบ เชน รหัสโรงเรียน รหัสประจําตัวประชาชนของ

นักเรียน ๑๓ หลัก โรงเรียนจัดเตรียมดินสอ ๒B และยางลบใหนักเรียน หรือกําชับนักเรียนให

เตรียมติดตัวมาในวันสอบ ดําเนินการสอบตามลําดับข้ันตอน ดังน้ี

๑) ใหกรรมการกํากับการสอบดําเนินการสอบตามเวลาท่ีกําหนดในตารางสอบกอนเวลา

เร่ิมการสอบใหเปดซองบรรจุแบบประเมินความสามารถแตละดาน และกระดาษคําตอบ กอนเปด

ใหตรวจสอบความเรียบรอยของซองบรรจุ (หากพบความผิดปกติใหรีบแจง และบันทึกเหตุการณ

ตอประธานสนามสอบเพื่อแจงศูนยประสานการสอบ) โดยเรียกตัวแทนนักเรียนท่ีเขาสอบเปนพยาน

และลงลายมือช่ือความเรียบรอยของซองบรรจุ จึงใหกรรมการกํากับการสอบแจกกระดาษคําตอบ

และแบบประเมิน ฯ โดยควํ่าหนาแบบประเมิน ฯ ไวบนโตะท่ีน่ังสอบของนักเรียนจนครบ

๒) ให กรรมการกําก ับการสอบอธิบายการกรอกรหัสรายการตางๆท่ีดานหนา

กระดาษคําตอบและช้ีแจงวิธีการเขียนหรือระบายรหัสลงในชองตรงกับตัวเลขรหัสท่ีกรอกไว

๓) ใหนักเรียนเปดแบบประเมิน ฯ พรอมกัน

๔) ใหกรรมการกํากับการสอบยํ้าเร่ืองเวลาท่ีใชในการสอบ

แนวปฏบิตัิการจัดสอบ

Page 12: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 12

๕) ใหกรรมการกํากับการสอบนําบัญชีรายช่ือนักเรียนไปใหนักเรียนแตละคนลง

ลายมือ เพื่อเปนหลักฐานการเขาสอบของนักเรียน

๖) ในขณะที่นักเรียนกําลังทําขอสอบใหกรรมการกํากับการสอบตรวจความ

เรียบรอยและปองกันการทุจริตโดยยืนท่ีมุมใดมุมหน่ึงภายในหองในกรณีท่ีมีผูสงสัยใหยกมือข้ึนเพื่อท่ี

กรรมการกํากับการสอบจะไดอธิบายขอสงสัยเปนรายบุคคลดวยเสียงเบาๆหรือถาขอสงสัยน้ันเปนสิง่ท่ี

จะตองแจงใหนักเรียนทราบท้ังหองใหเขียนบนกระดาน (หมายเหตุ.กรรมการกํากับหองสอบจะตอบ

ขอสงสัยไดเฉพาะกรณีท่ีขอสอบพิมพไมชัดเจนหรือมีขอบกพรองอื่นๆเชนขอความหายไปเน่ืองจาก

การพิมพบกพรอง)

๗) การเตือนเวลาการสอบในแตละฉบับใหดําเนินการ๒ คร้ัง คือ คร้ังท่ี๑ เมื่อ

นักเรียนสอบไดคร่ึงเวลาท่ีกําหนดใหคร้ังท่ี ๒ เมื่อเหลือเวลาอีก ๕ นาที

๘) ในกรณีท่ีมีนักเรียนทําเสร็จกอนเวลาในแตละฉบับ (ไมนอยกวา ๓๐ นาที)ให

วางแบบแบบทดสอบและกระดาษคําตอบไวท่ีโตะท่ีน่ังสอบโดยปดแบบแบบทดสอบและสอด

กระดาษคําตอบไวโดยใหหัวกระดาษย่ืนออกมาพอประมาณ เพื่อความสะดวกในการเก็บรวบรวม

แลวใหวางแบบประเมิน ฯ พรอมกระดาษคําตอบไวท่ีโตะน่ังสอบของนักเรียนแตละคนกอน

นักเรียนออกจากหองสอบกรรมการคุมสอบ เตือนไมใหนําแบบทดสอบหรือกระดาษคําตอบออก

นอกหองสอบโดยเด็ดขาด และใหออกจากหองสอบได เพื่อเตรียมสอบในฉบับตอไป

๙) ระหวางพักกลางวันใหกรรมการกํากับการสอบเก็บแบบทดสอบและ

กระดาษคําตอบจากโตะท่ีน่ังสอบของนักเรียนทุกคน นํากระดาษคําตอบมาเรียงตามเลขท่ีน่ังสอบ

บรรจซุองสงกองกลางไวกอน(เน่ืองจากกระดาษคําตอบ ๑ แผน ใชสอบ ๓ วิชา ในชวงพักกลางวัน

นักเรียนจะสอบเสร็จความสามารถดานภาษา และความสามารถดานคํานวณ) และเมื่อสอบวิชา

ความสามารถดานเหตุผล จึงใหเบิกกระดาษคําตอบ(เดิม) และแบบทดสอบความสามารถดาน

เหตุผลจากกองกลางแจกใหนักเรียนสอบตอไป

๑๐. หลังจากสอบความสามารถดานเหตุผลเสร็จเรียบรอยใหเก็บกระดาษคําตอบจัดเรียง

ตามเลขท่ีน่ังสอบ (กรณีขาดสอบไมตองแทรกกระดาษคําตอบ/กระดาษเปลา) ใหกรรมการกํากับ

การสอบตรวจสอบความถูกตองของการระบายรหัสตางๆ ของนักเรียนใหถูกตองและบรรจุซอง

พรอมบัญชีรายช่ือนักเรียนนําสงกองกลางตรวจสอบจํานวนใหถูกตองปดผนึกพรอมลงช่ือกํากับให

เรียบรอย เพื่อรวบรวมนําสงศูนยประสานการสอบตอไป

หมายเหตุแบบประเมิน ฯ อนุญาตใหโรงเรียนเก็บไวใชเพื่อประโยชนในการพัฒนา

จํานวนท่ีพอควร ในลักษณะเอกสารลับทางราชการ หากเหลือใหมอบเขตพื้นท่ีการศึกษาเพื่อ

จัดเก็บ/ทําลาย ตามระเบียบราชการ

Page 13: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 13

ตัวอยางกระดาษคําตอบ

Page 14: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 14

ควรแจงครูประจําช้ันใหฝกนักเรียนเกี่ยวกับกรอกหรือระบายรหัส บนกระดาษคําตอบ เพราะ

เปนขอมูลท่ีสําคัญ หากกรอกขอมูลไมครบถวน จะมีปญหาในการจัดสงขอมูลผลการสอบได

ผูสอบจําเปนตองกรอกรายละเอียดตาง ๆ ในกระดาษคําตอบ ใหครบและถูกตอง ตามคอลัมนท่ี

กําหนด ดังน้ี

รหัสโรงเรียน จํานวน ๑๐ หลัก คอลัมนท่ี ๑- ๑๐

ช้ัน จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๑๑-๑๒

หองสอบ จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๑๓-๑๔

เลขท่ี จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๑๕-๑๖

เลขท่ีบัตรประชาชน จํานวน ๑๓ หลัก คอลัมนท่ี ๑๗-๒๙

เพศ จํานวน ๑ หลัก คอลัมนท่ี ๓๐

เด็กพิเศษ จํานวน ๒ หลัก คอลัมนท่ี ๓๑-๓๒

คําอธิบายรหัสตางๆ ดังน้ี

รหัสโรงเรียนมีจํานวน ๑๐ หลัก ใหใสรหัสโรงเรียนท่ีกําหนดในระบบ EPCC เทาน้ัน

สําหรับโรงเรียนท่ีไมมีรหัสในระบบ EPCC ติดตอขอรหัสโรงเรียนผานระบบ EPCC เทาน้ัน(ผาน

ทางขอความสวนตัว) หรือโทรศัพทหมายเลข ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๘๖

ช้ัน มีจํานวน ๒ หลัก ซึ่งช้ัน ป.๓ใชรหัส ๑๓(กระดาษคําตอบจะกรอกและระบายไวแลว)

หองสอบ มีจํานวน ๒ หลัก ใหใสเลขท่ีของหองเรียนปกติ (๐๑,๐๒,๐๓,...)

เลขที ่ มีจํานวน ๒ หลัก ใหใสเลขท่ีตามบัญชีเรียกช่ือของนักเรียน (๐๑,๐๒,๐๓,...)

***ในกรณีจํานวนผูเขาสอบเกิน๓๕คนและนักเรียนบางสวนตองไปสอบท่ีหองสอบอื่น

ยังคงใหนักเรียนใชเลขที่หองสอบตามหองเรียนของนักเรียน และเลขที่นั่งสอบตามบัญชี

เรียกช่ือเหมือนเดิม แมวาจะไปน่ังสอบท่ีหองสอบอื่นก็ตาม ดังตัวอยางตอไปน้ี

โรงเรียน ก มีนักเรียน ป.๓/๑ จํานวน ๔๕ คน และ ป.๓/๒ จํานวน ๔๔ คน ควรจัด

หองสอบและรหัสหองสอบดังน้ี

การกรอก/ระบายรหัสบนกระดาษคําตอบ

Page 15: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 15

หองสอบท่ี ๑ นักเรียนช้ัน ป.๓/๑ เลขท่ีตามบัญชีเรียกช่ือเลขท่ี ๑ – ๓๕

รหัสหองสอบและเลขที่สอบ

นักเรียนคนท่ี ๑ ๐๑๐๑

นักเรียนคนท่ี ๒ ๐๑๐๒

" ….. "

นักเรียนคนท่ี ๓๕ ๐๑๓๕

หองสอบท่ี ๒ นักเรียนช้ัน ป.๓/๒ เลขท่ีตามบัญชีเรียกช่ือเลขท่ี ๑ – ๓๕

รหัสหองสอบและเลขที่สอบ

นักเรียนคนท่ี ๑ ๐๒๐๑

นักเรียนคนท่ี ๒ ๐๒๐๒

" …….. "

นักเรียนคนท่ี ๓๕ ๐๒๓๕

หองสอบท่ี ๓ ซึ่งมีนักเรียนเกินมาจากหอง ป.๓/๑ จํานวน ๑๐ คน ใชรหัสหองสอบ

๐๑ ตามดวยเลขท่ีสอบตามบัญชีเรียกช่ือ(หองเรียน/เลขท่ีเดิม) และหอง ป.๓/๒ จํานวน ๙ คน ใช

รหัสหองสอบ ๐๒ ตามดวยเลขท่ีสอบตามบัญชีเรียกช่ือ(หองเรียน/เลขท่ีเดิม) การลงรหัสหองสอบ

และเลขท่ีสอบเปนดังน้ี

รหัสหองสอบและเลขที่สอบ

หอง ป.๓/๑ นักเรียนคนท่ี ๓๖ ๐๑๓๖

" "

นักเรียนคนท่ี ๔๕ ๐๑๔๕

หอง ป.๓/๒ นักเรียนคนท่ี ๓๖ ๐๒๓๖

" "

นักเรียนคนท่ี ๔๔ ๐๒๔๔

Page 16: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 16

เลขประจําตัวประชาชน มีจํานวน ๑๓ หลัก ใหใสตามท่ีกําหนดอยูในบัตรประจําตัว

ประชาชน หรือทะเบียนบานของนักเรียนเอง การลงรหัสเลขท่ีบัตรประชาชนของนักเรียนจะเปน

ขอมูลท่ีสําคัญอยางย่ิงสามารถสืบคนขอมูลยอนกลับมาดูภายหลังได สําหรับนักเรียนที่ไมมี

เลขประจําตัวประชาชน ใหใชรหัสโรงเรียน ๑๐ หลักแรกตามดวยลําดับนักเรียนท่ีไมมี

เลขประจําตัวประชาชน ๓ หลัก เร่ิมท่ี ๐๐๑, ๐๐๒, …รวมเปน ๑๓ หลัก

เพศ มีจํานวน ๑ หลัก กรอกตามเพศของผูเขาสอบ โดย เพศชาย = ๑ เพศหญิง = ๒

เด็กพิเศษ นักเรียนท่ีเปนเด็กพิเศษท่ีมีความบกพรอง (ท่ีไมรุนแรง) ใหกรอกรหัสตาม

ประเภทของความบกพรอง (เด็กปกติ เวนวางไว) ท่ีระบุหมายเลขรหัสไว คือ

สายตา(บอด) = ๐๑ การเรียนรู(เขียน) = ๐๗

สายตา(เลือนราง) = ๐๒ การเรียนรู(คิดคํานวณ)= ๐๘

การไดยิน = ๐๓ การพูด = ๐๙

สติปญญา = ๐๔ พฤติกรรม = ๑๐

รางกาย = ๐๕ ออทิสติก = ๑๑

การเรียนรู(อาน) = ๐๖ ซอน = ๑๒

๑. แตงต้ังศูนยประสานการสอบ ณ กลุมโรงเรียนในอําเภอตามความเหมาะสมท้ังน้ี

คํานึงถึงความสะดวกและรวดเร็วในการประสานงานและการเดินทางในการรับ – สงขอสอบ ท้ังน้ีมี

รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ท่ีรับผิดชอบอําเภอในการจัดการศึกษา (Area

Based) และเปนประธานศูนย ประธานกลุมโรงเรียน ผูอํานวยการโรงเรียน ศึกษานิเทศก ครู/

อาจารย หรือบุคลากรทางการศึกษา ในจํานวนท่ีเหมาะสม เปนกรรมการ ทําหนาท่ีรับผิดชอบ

ประสานงาน อํานวยการรับ – สงขอสอบ และเอกสารประกอบระหวางคณะอนุกรรมการ ฯ จาก

เขตพื้นท่ีการศึกษา กับสนามสอบรวมท้ังดูแล กํากับ ติดตาม ใหขอเสนอแนะ แกปญหาในการจัด

สอบแตละสนามสอบใหดําเนินไปดวยความเรียบรอย และบันทึกรายงานผลการดําเนินการจัดสอบ

ของศูนย ฯ ใหแกประธานกรรมการดําเนินงานประเมินระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาตอไป

แตงตั้งศูนยประสานการสอบ สนามสอบ และกรรมการกํากบัหองสอบ

Page 17: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 17

๒. แตงต้ังสนามสอบ และกรรมการสนามสอบ ประกอบดวยผูอํานวยการโรงเรียน

เปนประธานสนามสอบ ครู/อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ในจํานวนท่ีเหมาะสมเปน

กรรมการกลาง โดยกรรมการกลางทําหนาท่ีรับ - สงขอสอบ และเอกสารประกอบ จากศูนย

ประสานการสอบ ตรวจสอบความถูกตองของจํานวนเคร่ืองมือท่ีไดรับ ความเรียบรอยการปดผนึก

ซองขอสอบไมมีรองรอยการเปด สงตอใหกับกรรมการกํากับการสอบ สวนกรรมการกํากับการสอบ

ทําหนาท่ีดําเนินการจัดสอบตามแนวปฏิบัติการจัดสอบ และกํากับการสอบตามระเบียบ

กระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติของผูกํากับการสอบพ.ศ. ๒๕๔๘อยางเครงครัด หากเกิด

ปญหาในข้ันตอนใด ใหแจงประธานสนามสอบเพื่อตัดสินใจแกปญหาในทันที และประธานสนาม

สอบรายงานการดําเนินงานจัดสอบใหกับประธานศูนยประสานการสอบฯ ตอไป

๓. แตงต้ังกรรมการกํากับการสอบ ใหแตงต้ังกรรมการกํากับการสอบโดยสลับ

กรรมการจากตางโรงเรียน ๒ คน ตอ ๑ หองสอบ เพื่อทําหนาท่ีดําเนินการจัดสอบตามแนว

ปฏิบัติการจัดสอบในคูมือฯ และกํากับการสอบตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติ

ของผูกํากับการสอบพ.ศ.๒๕๔๘ อยางเครงครัด โดยใหกรรมการรับซองแบบทดสอบจาก

กรรมการกลาง ตรวจสอบจํานวนซอง และความเรียบรอยของซองเคร่ืองมืออีกคร้ัง กอนท่ีจะเรียก

ตัวแทนนักเรียนท่ีเขาสอบเปนพยานรวมเปดซอง และลงลายมือช่ือจึงดําเนินการสอบตามตาราง

สอบ(วันท่ี ๒๐ กุมภาพันธ๒๕๕๗) เก็บรวบรวมกระดาษคําตอบท่ีสอบเสร็จ ตรวจนับจํานวน

ความเรียบรอยของการกรอกรหัส บรรจุใสซอง สงใหกรรมการกลางตรวจสอบจํานวนใหถูกตอง

อีกคร้ังกอนปดผนึก พรอมลงช่ือกํากับเพื่อรวบรวมสงใหศูนยประสานการสอบ ตอไป

เพื่อใหเขตพื้นท่ีการศึกษาสามารถนําผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไปพัฒนาและ

ยกระดับคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ สงผลถึงตัวผูเรียน และ

ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และการกํากับดูแลแนวทางการจัดการศึกษาของ

เขตพื้นท่ีการศึกษา ใหเปนไปตามจุดเนนของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

โดยเฉพาะอยางย่ิงการพัฒนาใหผูเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ อานออกและเขียนได คิด

เลขไดและคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผลและเปนรูปธรรม เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา

จําเปนตองนําผลจากการประเมินมาวิเคราะห และจัดทําเปนแผนการยกระดับคุณภาพการศึกษา

ในทุกระดับ ต้ังแตแผนการพัฒนาตัวผูเรียนรายบุคคล การพัฒนาสภาพการจัดการเรียนการสอน

การนําผลการประเมินไปใช

Page 18: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 18

ของโรงเรียน สภาพปญหาและความตองการ บริบทในการบริหารจัดการการกํากับดูแลการจัดการ

เรียนการสอนของเขตพื้นท่ีการศึกษา โดยมีจุดเนนในแตละระดับดังน้ี

๑. ผู เ รียนรายบุคคล ใหโรงเรียนวิเคราะหผลรายบุคคลของนักเรียน ท่ีสะทอนถึง

ความสามารถของผูเรียนในความสามารถแตละดาน และแจงใหนักเรียนทราบถึงจุดเดน–ดอย ท่ี

ตองเรงพัฒนา และปรับปรุง เปนรายบุคคล เพื่อใหผูเรียนสามารถปรับปรุง และพัฒนาตนไดอยาง

ถูกทิศทาง

๒. โรงเรียน อาจวิเคราะหผลภาพรวม เปรียบเทียบผลการประเมินกับผลภาพรวมระดับ

เขตพื้นท่ีการศึกษา และเปรียบเทียบผลระหวางปการศึกษา ๒๕๕๕ และปการศึกษา ๒๕๕๖ เพื่อดู

พัฒนาการของโรงเรียน และทราบถึงจุดท่ีตองเรงดําเนินการพัฒนา ปรับปรุง การจัดการเรียนการ

สอนของตน จัดทําเปนแผนยกระดับ กําหนดเปาหมายในการพัฒนา

๓. เขตพื้นท่ีการศึกษา อาจวิเคราะหผลภาพรวมของแตละโรงเรียน และภาพรวมของเขต

พื้นท่ีการศึกษา รวมท้ังวิเคราะหปจจัย กระบวนการ แนวทางในการสงเสริม ปรับปรุงการจัดการ

เรียนการสอนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษากําหนดเปนแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษา

ของเขตพื้นท่ีการศึกษา

Page 19: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 19

ภาคผนวก

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ

วาดวยการปฏิบัติของผูกํากับการสอบ พ.ศ. ๒๕๔๘ ------------------------

โดยที่เห็นสมควรปรับปรงุระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการปฏิบัติของผูกํากับหองสอบให

เหมาะสมย่ิงข้ึน และใหสอดคลองกับกฎหมายระเบียบบรหิารราชการ กระทรวงศึกษาธิการและกฎหมาย

การศึกษาแหงชาติ

อาศัย อํานาจตามความในมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบรหิารราชการกระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการจึงวางระเบียบไวดังน้ี

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติของผูกํากบัการสอบ

พ.ศ. ๒๕๔๘”

ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใชบงัคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไป

ขอ ๓ ใหยกเลกิระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการปฏิบัติของผูกํากบั การสอบ พ.ศ. ๒๕๐๖

ระเบียบน้ีใหใชบังคับแกผูมีหนาที่กํากบัการสอบสําหรับการสอบทกุประเภทในสวนราชการและ

สถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และใหหมายความรวมถึงผูมหีนาทีก่ํากบัการสอบในสถานศึกษาทีอ่ยูใน

กํากับดูแล หรือสถานศึกษาทีอ่ยูในความควบคุม ของกระทรวงศึกษาธิการดวย ยกเวนสถาบันอุดมศึกษาของ

รัฐและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

ขอ ๔ ผูกํากับการสอบตองปฏิบัติดังน้ี

๔.๑ ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนเกี่ยวกับการสอบไปถึงสถานทีส่อบกอนเวลาเริ่มสอบตาม

สมควร หากไมสามารถปฏิบัติไดดวยเหตุผลใด ๆ ใหรีบรายงานผูบังคับบญัชาทราบโดยดวน

๔.๒ กํากับการสอบใหดําเนินไปดวยความเรียบรอยไมอธิบายคําถามใด ๆ ในขอสอบแก

ผูเขาสอบ

๔.๓ ไมกระทําการใด ๆ อันเปนการรบกวนแกผูเขาสอบรวมทัง้ไมกระทําการใด ๆ อันเปนการ

ทําใหการปฏิบัติหนาที่ของผูกํากบัหองสอบไมสมบูรณ

๔.๔ แตงกายใหสุภาพเรียบรอยตามแบบทีส่วนราชการหรือสถานศึกษากําหนด หากผูกํากบั

การสอบไมปฏิบัติตามวรรคหน่ึง ใหผูบงัคับบัญชาพิจารณาความผิดและลงโทษตามควรแกกรณี

Page 20: คู มือการจัดสอบ ประเมินคุณภาพ ...itnan1.ednan1.go.th/uploads/00933-3.pdfค ม อการจ ดสอบฯ หน า 4 ๑.เหต

คูมือการจัดสอบฯ หนา 20

ขอ ๕ ผูกํากับการสอบมีความประมาทเลินเลอ หรือจงใจละเวน หรือรูเห็นแลวไมปฏิบัติตามหนาที่

หรือไมรายงานตอหัวหนาจนเปนเหตุใหมีการทจุริตในการสอบเกิดข้ึน ถือวาเปนการประพฤติผิดวินัยรายแรง

ขอ ๖ ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการรกัษาการใหเปนไปตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘

ลงช่ือ จาตุรนต ฉายแสง

(นายจาตุรนต ฉายแสง)

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ