57
ปญหาพิเศษ การทดสอบทางพฤกษเคมีและการออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากพืช Phytochemical screening and Biological activities of plant extracts โดย นางสาวศิรประภา ลําภา เสนอ สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาบัตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรทั่วไป) .. 2550

ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

ปญหาพิเศษ

การทดสอบทางพฤกษเคมีและการออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากพืช

Phytochemical screening and Biological activities of plant extracts

โดย

นางสาวศิรประภา ลําภา

เสนอ

สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เพื่อความสมบูรณแหงปรญิญาบัตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรทั่วไป) พ.ศ. 2550

Page 2: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

ใบรับรองปญหาพิเศษ สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต ปริญญา

วิทยาศาสตรทั่วไป วิทยาศาสตร สาขา สายวิชา เร่ือง การทดสอบทางพฤกษเคมแีละการออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกดัจากพืช

Phytochemical screening and Biological activities of plant extracts

นามผูวิจัย นางสาวศิรประภา ลําภา ไดพิจารณาเห็นชอบโดย ประธานกรรมการ

( อาจารยวันเพ็ญ เหลาศรีไพบูลย )

สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรรับรองแลว

( อาจารยพุทธพร สองศร ี )

หัวหนาสายวชิาวิทยาศาสตร วันท่ี เดือน พ.ศ.

Page 3: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

ปญหาพิเศษ

เรื่อง

การทดสอบทางพฤกษเคมีและการออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากพืชPhytochemical screening and Biological activities of plant extracts

โดย

นางสาวศิรประภา ลําภา

เสนอ

สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาบัตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรทั่วไป) พ.ศ. 2550

Page 4: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

ศิรประภา ลําภา 2550 : การทดสอบทางพฤกษเคมีและการออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ของสารสกัดจากพืช ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรทั่วไป) สายวิชาวิทยาศาสตร ประธานกรรมการที่ปรึกษา : อาจารยวนัเพญ็ เหลาศรีไพบูลย, Ph.D. 47 หนา

จากการศึกษาการทดสอบทางพฤกษเคมีและการออกฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชสมุนไพร โดยการสกัดแยกสวนใบและกานทั้งแบบสดและแบบแหง ดวยตวัทําละลาย 7 ชนิดคือ อะซีโตน คลอโรฟอรม ไดคลอโรมีเทน 95% เอทานอล เอทิลอะซิเตต เฮกเซนและเมทานอล พบวาคลอโรฟอรมสามารถสกัดสารจากใบแปะตําปงอบแหงไดดีที่สุด ไดเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบเทากับ 7.04 สวนเมทานอลสกัดสารจากใบแปะตําปงสดและใบฮวานง็อกไดดีที่สุด ไดเปอรเซ็นต สารสกัดหยาบเทากับ 0.81 และ 2.67 ตามลําดับ และสารสกัดหยาบทีส่กัดจากกานแปะตําปงสดและใบสังกรณีดวยอะซีโตนสกดัสารไดดีที่สุด ไดเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบเทากับ 0.49 และ 1.64ตามลําดับ เมื่อนํามาทดสอบดวยโครมาโทกราฟแบบแผนเคลือบ ปรากฎวาตวัทําละลายที่สามารถแยกสารสกัดไดดีคือ คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) ซ่ึงแยกกลุมสารไดเร็วและมรีะยะหางกนั นําสารสกัดที่ไดมาทดสอบการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียจากพืชสมุนไพรที่สกัดดวย 95 % เอทานอล พบวาสารสกัดจากใบและกานพืชสมุนไพรแปะตําปงแบบสด สามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียไดทั้งเชื้อ Bacillus subtilis และ Staphylococcus aureus สวนสารสกัดจากใบและกานสมนุไพรฮวานง็อกแบบสด สามารถยับยั้งไดเฉพาะเชื้อ Staphylococcus aureus นําสารสกัดหยาบที่ไดมาทดสอบการเปนสารตานอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH assay ที่ความเขมขน 50 ppm โดยใชวิตามินซีเปน positive control พบวาสารสกัดจากใบและกานสมุนไพรแปะตําปง และสารสกัดจากใบสมุนไพรฮวานงอ็กที่สกัดแบบสดที่สกัดดวยอะซีโตน มีคาเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH สูงสุด เทากับ 4.6979 %, 1.9295 % และ 9.1443 % ตามลําดับ สวนสารสกัดจากใบสมุนไพรแปะตําปงที่สกัดแบบแหงดวยไดคลอโรมีเทน มีคาเปอรเซ็นตการตานอนมุูลอิสระ DPPH สูงสุด เทากับ 8.9765 % และสารสกัดใบสมุนไพรสังกรณีที่สกัดแบบสดดวย 95% เอทานอล มีคาเปอรเซ็นต การตานอนุมูลอิสระ DPPH สูงสุด เทากับ 17.6704 % / / ลายมือช่ือนิสิต ลายมือช่ือประธานกรรมการ

Page 5: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

Siraprapa Lampha 2007 : Phytochemical screening and Biological activities of plant extracts

Bachelor of Science. (General Science) Department of Science. Special Problem Advisor : Ms. Wanpen Laosripaiboon, Ph.D. 47 p.

To investigate the bioactive compounds for antioxidant and antibacterial activities, the

herbal plants were prepared and extracted with 7 organic solvents: acetone, chloroform, dichloromethane, 95% ethanol, ethyl acetate, hexane and methanol. Form the studies found that chloroform was a suitable solvent for extraction of dried Gynura divaricata ( L) DC. leave while methanol was a proper solvent for fresh Gynura divaricata ( L) DC. and Pseuderatherum Platiferum leave. The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata ( L) DC. stalk and Barieria strigosa Wild. leave. Examined by TLC of extracts indicated that chloroform: ethyl acetate (7: 3) was a suitable solvent for separation. Furthermore, the biological activities of crude extracts were tested. The results showed that the extracts from leave and stalk of Gynura divaricata ( L) DC. using fresh extraction could inhibited the growth of both Bacillus subtilis and Staphylococcus aureus. Conversly, the extracts from fresh Pseuderatherum Platiferum leave and stalk showed inhibitory effect only on Staphylococcus aureus. Antioxidant activity was obtained using DPPH assay at concentration of 50 ppm using vitamin C as positive control. Clearly, the extracts from Barieria strigosa Wild. gave higher antioxidant than others. The percentage of inhibition was 17.6704 % / / Student’s signature Advisor’s signature

Page 6: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

กิตติกรรมประกาศ ขอกราบขอบพระคุณ ดร.วนัเพ็ญ เหลาศรไีพบูลย อาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษเปนอยางสูงที่กรุณาใหคําปรึกษา คําแนะนํา อบรมสัง่สอนและมอบความรูตางๆ มากมายตลอดระยะเวลาในการทําปญหาพิเศษนี้รวมทั้งตรวจแกไขรายงานปญหาพเิศษฉบับนี้ใหสําเร็จสมบูรณยิง่ขึ้น ขอขอบคุณเจาหนาที่สาขาเคมี และสาขาจลุชีววิทยา คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตรทุกทานที่ใหความชวยเหลือและความอนเุคราะหในการปฏบิัตงิาน สุดทายขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาและ คุณอา เปนอยางสูงที่ใหการอบรมเลี้ยงดู แนะนําสั่งสอน คอยใหกําลังใจและใหการสนับสนุนเปนอยางดจีนกระทั่งสําเร็จการศึกษา

ศิรประภา ลําภา พฤษภาคม 2550

Page 7: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

สารบัญ หนา สารบัญ (1) สารบัญตาราง (2) สารบัญภาพ (3) คํานํา 1 การตรวจเอกสาร 2 อุปกรณและวธีิการ 16 อุปกรณ 16 วิธีการ 17 ผลและวิจารณ 23

การเตรียมสารสกัดจากพืชสมุนไพร 23

การวิเคราะหสารสกัดจากพืชสมุนไพรโดยวิธีโครมาโทกราฟแบบแผนเคลือบ 26

(Thin layer chromatography, TLC) การทดสอบการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย 33 การทดสอบหากลุมสาร (Chemical Screening) 38 การทดสอบการเปนสารตานอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH assay 40

สรุป 44 เอกสารและสิ่งอางอิง 46

(1)

Page 8: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

สารบัญตาราง

ตาราง หนา

1 น้ําหนกัและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบจากการสกัดใบพืชสมุนไพรแปะตําปง 23 ดวยตวัทําละลายชนดิตางๆ

2 น้ําหนกัและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบจากการสกัดใบพืชสมุนไพรแปะตําปง 24 แบบแหงดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ

3 น้ําหนกัและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบจากการสกัดกานพชืสมุนไพรแปะตําปง 24 ดวยตวัทําละลายชนดิตางๆ

4 น้ําหนกัและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบจากการสกัดใบพืชสมุนไพรฮวานง็อก 25 แบบสดดวยตวัทําละลายชนดิตางๆ

5 น้ําหนกัและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบจากการสกัดใบพืชสมุนไพรสังกรณี 25 แบบสดดวยตวัทําละลายชนดิตางๆ

6 ผลการทดสอบหากลุมสารของสารสกัดจากพืชสมุนไพร 39 7 คากิจกรรมการตานสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัด 40

แบบสดของใบพืชสมุนไพรแปะตําปง ดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ 8 คากิจกรรมการตานสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัด 41

แบบแหงของใบพืชสมุนไพรแปะตําปง ดวยตวัทําละลายชนิดตางๆ 9 คากิจกรรมการตาบสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัด 41

แบบสดของกานพืชสมุนไพรแปะตําปง ดวยตวัทําละลายชนิดตางๆ 10 คากิจกรรมการตานสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัด 42

แบบสดของใบพืชสมุนไพรฮวานง็อก ดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ 11 คากิจกรรมการตานสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัด 43

แบบสดใบพืชสมุนไพรสังกรณี ดวยตวัทําละลายชนิดตางๆ

(2)

Page 9: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา 1 ใบสมุนไพรแปะตําปง 3 2 ใบสมุนไพรฮวานง็อก 5 3 ใบสมุนไพรสังกรณ ี 6

4 การทดสอบสารสกัดจากพชืสมุนไพรกับเชื้อแบคทีเรีย 19 5 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากใบพืชสมุนไพรแปะตําปงใน 27

ตัวทําละลาย ก. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) ข. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ค. 95% เอทานอล: อะซีโตน (4: 6) 6 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากกานพืชสมุนไพรแปะตําปงใน 28

ตัวทําละลาย ง. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) จ. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ฉ. 95% เอทานอล: อะซีโตน (4: 6)

7 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบแหงจากใบพืชสมุนไพรแปะตําปงใน 29 ตัวทําละลาย ช. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) ซ. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ฌ. 95 % เอทานอล: อะซีโตน (4: 6)

8 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากใบพืชสมนุไพรฮวานง็อกใน 30 ตัวทําละลาย ญ. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) ฎ. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ฏ. 95 % เอทานอล: อะซีโตน (4: 6)

9 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากใบพืชสมนุไพรสังกรณใีน 32 ตัวทําละลาย ฐ. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) ฑ. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ฒ. 95 % เอทานอล: อะซีโตน (4: 6)

10 การทดสอบการยับยั้งการเจริญเของเชื้อ B. subtilis โดยดโูซนใส 33 (inhibition zone) ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบแปะตาํปงแบบสด

11 การทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis โดยดูโซนใส (inhibition zone) 34 ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบแปะตําปงแบบแหง

12 การทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis โดยดูโซนใส (inhibition zone) 34 ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากกานแปะตําปงแบบสด

(3)

Page 10: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพที ่ หนา

13 การทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis โดยดูโซนใส (inhibition zone) 35 ดวยวิธีdisc agar diffusion ของสารสกัดจากใบฮวานง็อกแบบสด

14 การทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis โดยดูโซนใส (inhibition zone) 35 ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากกานฮวานงอ็กแบบสด

15 การทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) 36 ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบแปะตําปงแบบสด

16 การทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) 36 ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบแปะตําปงแบบแหง

17 การทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) 37 ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากกานแปะตําปงแบบสด

18 การทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) 37 ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบฮวานง็อกแบบสด

19 การทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) 38 ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากกานฮวานงอ็กแบบสด

(4)

Page 11: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

1

การทดสอบทางพฤกษเคมีและการออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากพืช Phytochemical screening and Biological activities of plant extracts

คํานํา

พืชสมุนไพรไดรับความสนใจเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่องในประเทศไทยหลังจากท่ีถูกละเลยมา

นับทศวรรษ ปจจุบันพืชสมุนไพรไดมีบทบาทในการดแูลดานสุขภาพของผูบริโภคท้ังในแงการปองกันโรคและการรักษาโรคตางๆโดยเฉพาะอยางยิ่งโรคท่ีไมสามารถรักษาดวยยาแผนปจจุบัน ซ่ึงปจจุบันในอาหารและส่ิงแวดลอมมีสารอนุมูลอิสระและเช้ือจุลินทรียท่ีเปนสาเหตุของการเกิดโรคหลายๆอยาง ถึงแมวาจะมีท้ังสารเคมีและยาปฏิชีวนะท่ีมีฤทธ์ิในการตานอนุมูลอิสระและรักษาโรคท่ีเกิดจากจุลินทรีย แตสารดงักลาวเปนสารสังเคราะหจึงอาจมีผลขางเคียง มีโอกาสเปนพิษและมีราคาคอนขางสูง ตองนําเขาจากตางประเทศ ทําใหมีผูสนใจหนัมาใชสมุนไพรแทน ซ่ึงนอกจากจะเปนการประหยัดเงินตราของประเทศแลว ยงัเปนการอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เพิ่มรายไดโดยสงเสริมใหเกษตรกรและผูท่ีสนใจหันมาปลูกเปนพชืเศรษฐกิจ และการใชสมุนไพรยังมีขอดีคือ ทําใหเกิดอาการพิษไดนอยเพราะสมุนไพรมีฤทธ์ิออน เกิดอาการขางเคียงไดนอยกวายาแผปจจุบัน ประหยดัรายจาย เนื่องจากมีราคาถูกกวายาแผนปจจุบัน ธุรกิจดานยาหรืออาหารเสริมไดจับตามองวาจะนําพืชสมุนไพรมาใชประโยชนในผลิตภัณฑไดอยางไร จึงควรมีขอมูลท่ีถูกตองสําหรับผูผลิตภาคอุตสาหกรรมและผูบริโภคผลิตภัณฑนัน้ งานวจิัยนี้จงึไดทําการศึกษาผลของการสกัดสารจากพืชสมุนไพร 3 ชนิด คือ สมุนไพรแปะตําปง สมุนไพรฮวานง็อกและสมุนไพรสังกรณี เพื่อทด สอบการเปนสารตานอนุมูลอิสระและสารตานเช้ือแบคทีเรีย โดยพืชสมุนไพรท่ีนํามาทดลองแปนพืชสมุนไพรทีมี่รายงานวาเปนสมุนไพรท่ีใชกันมาต้ังแตสมัยโบราณ สามารถรักษาโรคไดหลายอยาง แตยังไมมีการศึกษาคนควาและวิจยัอยางจริงจัง เพื่อเปนขอมูลเบ้ืองตนและแนวทางในการพัฒนาเปนผลิตภัณฑสมุนไพรในการรักษาโรคตางๆ ตอไปในอนาคต

Page 12: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

2

วัตถุประสงค

1. เพื่อสกัดสารจากพืชและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวทําละลายแตละชนดิท่ีใชในการสกัด 2. เพื่อศึกษาชนิดของกลุมสารท่ีเปนองคประกอบในสารสกัดจากพืช 3. เพื่อทดสอบกิจกรรมการตานอนุมูลอิสระและการตานทานเช้ือแบคทีเรียของสารสกัด 4. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการเปนสารตานอนุมูลอิสระและการตานทานเช้ือแบคทีเรียของ สารสกัดจากพืชแตละชนดิ

การตรวจเอกสาร

1. สมุนไพร

สมุนไพรแยกเปน 2 กลุม คือ กลุมท่ีมีการพสูิจนวามีสรรพคุณทางยาและมีการใชอยางแพรหลาย เชน ฟาทะลายโจร เสลดพังพอน เปนตน อีกกลุมหนึ่งยังไมมีการพิสูจนสรรพคุณทางยา วาสามารถรักษาโรคใดไดบาง และมีโทษอยางไร อยางไรก็ตามกระทรวงสาธารณสุขไมไดหามรับประทานในกรณีท่ีไมเปนอันตราย แตควรเปนทางเลือกในการรักษาควบคูไปกับการรักษาของแพทยแผนปจจุบัน เพื่อไมใหเกิดการขาดชวงการรักษาของแพทย ซ่ึงจะเปนอันตรายมากหากเปนผูปวยเรื้อรัง เพราะจะนําไปสูโรคแทรกซอนและเปนอันตรายตอชีวติได (สุวรรณชัย, 2550) การใชสมุนไพรมีขอดีคือ ทําใหเกิดอาการพิษไดนอย เพราะสมุนไพรมีฤทธ์ิออน เกิดอาการขางเคียงไดนอยกวายาแผนปจจุบัน ประหยดัรายจาย เนื่องจากมีราคาถูกกวายาแผนปจจุบัน ท้ังสามารถยังปลูกไวใชเองได เปนท่ีพึ่งของคนชนบทหางไกลท่ีไมสะดวกมารับการรักษาตามโรงพยาบาล สถานีอนามัยท่ีอยูหางไกล ชวยขจดัปญหาการขาดแคลนยาในภาวะคับขัน ซ่ึงยาแผนปจจุบันตองใชวัตถุดิบท่ีนําเขาจากตางประเทศ หากเกิดภาวะขาดแคลนยาหรืออยูในภาวะสงครามการใชสมุนไพรแทนยาแผนปจจุบันเปนส่ิงท่ีอํานวยประโยชนอยางยิง่ สวนขอเสียคือ ใชไมสะดวกยุงยาก เสียเวลา มีฤทธ์ิไมแนนอน เพราะสมุนไพรมีฤทธ์ิออน ออกฤทธ์ิชาและมีสารหลายชนิด การศึกษาเกี่ยวกับฤทธ์ิของสมุนไพรจะทําใหไดขอมูลที่ตรงและเหมาะสมกับโรคยิ่งข้ึน (พิยดา¸ 2548)

Page 13: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

3

ในการคัดเลือกพืชสมุนไพรที่จะนํามาสกดั ควรมีขอมูลดานสรรพคุณของพืช ทราบสวนท่ีใช องคประกอบท่ีสําคัญและขบวนการสกัด ตลอดจนการเลือกตัวทําละลายท่ีใชสกดัอยางเหมาะสม เพื่อใหสารสกดัมีคุณภาพตรงกับท่ีตองการมากท่ีสุด สารสกัดท่ีไดจากพืชสมุนไพรแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก สารสกัดจากพืชท้ังลําตน สามารถเตรียมไดโดยนําพชืมาท้ังตน หรือจากหลายสวนของตนพืชตามท่ีเราตองการจะไดสารสําคัญ พืชท่ีใชอาจเปนพืชสดหรืออบแหง นํามาผานกระบวนการสกัดท่ีเหมาะสม ในตัวทําละลายท่ีเหมาะสม เชน น้ํา แอลกอฮอล หรือตัวทําละลายอินทรียตางๆ จากนั้นนํามากรองและทําใหไดความเขมขนหรือรูปแบบตามท่ีตองการ เพื่อนําไปใชตอไป อีกประเภทหนึ่งไดแก สารสกัดจากบางสวนของพืช ไดจากการนําบางสวนของพืชซ่ึงคัดเลือกอยางเหมาะสมโดยมีสมบัติทางฟสิกสหรือทางเคมีท่ีแตกตางกัน สวนมากมกัเปนสารสกัดในสวนของน้าํมัน น้ําค้ันจากผลไม หรือ Sap ของพืช ในกรณีของนํ้ามันหอมระเหยอาจนํามากล่ันไดน้ํามันหอมระเหย และเติมน้ําเพื่อใหไดน้ําปรุง (aromatic water)

ในงานวิจยันี้ ผูทดลองไดทําการสกัดพืชสมุนไพร 3 ชนิด คือ สมุนไพรแปะตําปง, สมุนไพรฮวานง็อก และสมุนไพรสังกรณี โดยมีสรรพคุณตางๆ ดังนี ้

1.1 สมุนไพรแปะตําปง

ภาพท่ี 1 ใบสมุนไพรแปะตาํปง ท่ีมา : www.geocities.com/nunote280/health/herb/paeteungpung.htm

Page 14: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

4

ช่ือวิทยาศาสตร : Gynura divaricata ( L) DC. ช่ือสามัญ : Purple passion vine, Purple velvel plant วงศ : COMPOSITAE ช่ือทองถ่ิน : จักรนารายณ, เซียตอเอ๊ียะ และ งูปุยไฉ

ในบรรดาพืชสมุนไพรท้ังของไทยและตางประเทศ มีการใชประโยชนจากสวนตางๆของพืชแตกตางกนัและมีคุณสมบัติมากนอยแตกตาง สมุนไพรแปะตําปงหรือเรียกวา “ จินฉ่ีเหมาเยีย่ ” มีถ่ินกําเนิดจากประเทศจีน นาํเขามาในประเทศไทยพรอมกับหญาปกกิ่งหรือหญาเทวดา แตสมุนไพรแปะตําปงหรือจินฉ่ีเหมาเยี่ย ถูกตั้งช่ือไทยวา “จักรนารายณ” มีดวยกัน 2 ชนิด คือ ชนิดใบนุมเหมือนกํามะหยี่ ใบเปนสีเขียวออนเสนใบดานบนลึกเชนเดยีวกบักลางใบ แตดานหลังใบกลับนูนข้ึน กิ่งกานเปราะหักงาย สวนอีกชนิดหน่ึงใบมีลักษณะคอนขางแหลมสีเขียว สมุนไพรแปะตําปงจะเปนไมลมลุกขนาดเล็ก สูง 2-3 ฟุต แตกกิ่งกานหนา กานและลําตนมีสีมวง แตถาหักภายในจะมีสีเขียวออน ลักษณะลําตนคลายตนหูเสือ หักงาย มีน้ําในลําตนมาก โดยใบเปนแบบใบเด่ียว ใบหนาอวบน้าํกลมรี รูปไขใบเขียว มีขนปกคลุมดานบน ขอบหยัก ดานบนใบเปนสีเขียวสวนดานลางขาวหมนๆกวาดานบน ขนาดของใบกวางประมาณ 1-1.5 นิ้ว ยาว 1.5-2 นิ้ว หรือโตกวานีบ้างเล็กนอย สวนดอกมีสีขาว ออกเปนชอ 3-5 ดอก ตามซอกใบและปลายยอด กานชอดอกยาว กลีบเล้ียงสีเหลืองรูปกรวย กลีบดอกเปนปุยสีขาว สวนผลเปนรูปรีแบนขนาดเล็ก สีน้ําตาลดํา การขยายพันธุโดยตัดกิ่งปกชําหรือเพาะเมล็ด ใบใชรับประทานสด ซ่ึงมีกล่ินคลายผลชมพูสาแหรกขณะผลออน แตมีรสเย็น (www.raikuwong.is.in.th/?md=news&ma=show&id=9) ประโยชนท่ัวไปของแปะตําปง

1. บรรเทาอาการและแกพิษ สรรพคุณทางจีนนั้นพบวา มีรสจืด เย็นมาก ไมมีพิษ แกรอนใน ประสะเลือดใหเยน็ ดับพิษ ใชภายนอก แกอักเสบ แกบวม ฤทธ์ิเขาถึงปอดและมาม สวนสรรพคุณไทย แกปวดฝ แกฟกบวม แกพิษอักเสบทุกชนิด แกปวดหัว แกพษิตะขาบ แมลงปองและสัตวท่ีมีพิษขบกัดหรือตอย เปนยาดูดถอนพิษไดดี (www.raikuwong.is.in.th/?md=news&ma=show&id=8)

2. จากการศึกษาดานพฤกษเคมีและคุณสมบัติทางชีวภาพ พบวาสารสกัดเอทานอลมี

คุณสมบัติตานไวรัสเฮอรปส ซ่ึงเปนไวรัสทําใหเกิดโรคเริม และสารสําคัญท่ีแสดงฤทธ์ิตานไวรัสตัวนี้คือสารผสมของกลุมคาฟออยควินกิ (www.raikuwong.is.in.th/?md=news&ma=show&id=9)

Page 15: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

5

3. ใชรับประทานใบสดชวยรักษาโรคเบาหวาน หวัใจ มะเร็ง ความดันโลหิตสูง หืดหอบ ภูมิแพ เปนตน

1.2 สมุนไพรฮวานง็อก (Hoan ngoc)

ภาพท่ี 2 ใบสมุนไพรฮวานงอ็ก ท่ีมา : www.blog.sanook.com/default.aspx?alias=medplant

ช่ือวิทยาศาสตร : Pseuderatherum Platiferum

วงศ : ACANTHACEAE ช่ือทองถ่ิน : วานลิง, พญาวานร

ฮวานง็อกหรือพญาวานร เปนตนสมุนไพรถือกําเนิดในประเทศเวยีดนาม ซ่ึงปจจุบันเปนท่ีนิยมรับประทานกันมากเพราะเช่ือกันวา สามารถรักษาโรคไดหลายอยางและไมตองยุงยากเพียงนําใบมารับประทานสดๆ ท่ีจริงพืชสมุนไพรชนิดนี้เขามาในประเทศไทยมานานแลวโดยมีทหารผานศึกที่ไปรบในเวียดนามนําเขามา ซ่ึงชวงแรกขายกนักระถางละ 7 หม่ืนบาทเพราะรักษาโรคตางๆ เห็นผลเร็วและไมมีผลขางเคียง ลักษณะของตนสมุนไพรฮวานง็อกเปนไมพุมขนาดเล็ก นิยมปลูกในกระถาง ลําตนตรง เปลือกตนเรียบสีเขียว เปนสมุนไพรท่ีมีใบมาก แตกกิ่งกานทรงพุมไดดี สูงราว 1-2 เมตร สวนใบเปนใบเดีย่วออกเรียงตรงกันขามตามตนและกิ่ง ใบออนรูปทรงรีกึ่งใบหอก สีเขียวมัน สวนลางของใบจะหยาบสีเขียวเขม ดานบนสีเขียวออน กวาง 3-5 เซนติเมตร ยาว 6-10 เซนติเมตร โคนใบสอบ ปลายใบแหลมเรียว ขอบใบเรียบ มีเสนแขนงใบ 8-11 คู การขยายพันธุ

Page 16: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

6

สรรพคุณของตนสมุนไพรฮวานง็อก (จากเอกสาร ฮานอย 2-9-1995 ถายทอดจากตนฉบับจริง)

1. รักษาคนสูงอายุ ปวดเม่ือยตามรางกายโดยไมทราบสาเหตุ 2. รักษาเปนไขหวัด ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตตํ่า 3. รักษาอาการมีบาดแผล เคล็ดขัดยอก กระดูกหัก 4. รักษาอาการทางเดินอาหารไมปกติ โรคกระเพาะอาหาร โรคเลือดออกในลําไสเกีย่วกับ

กระเพาะปสสาวะ 5. รักษาอาการคอพอก ตับอักเสบ ไตอักเสบ ปสสาวะเปนเลือด ปสสาวะขุนขน 6. รักษารักษาโรคตาทุกชนิด เชน ตาแดง ตาตอ ตาหอเลือด 7. รักษาอาการมดลูกหยอนของหญิงคลอดบุตรใหม ชวยใหมดลูกเขาอู 8. รักษาอาการโรคมะเร็งปอด โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เปนตน

(www.raikuwong.is.in.th/?md=content&ma=show&id=6)

1.3 สมุนไพรสังกรณี

ภาพท่ี 3 ใบสมุนไพรสังกรณี ท่ีมา : www.ds.ac.th/~botany/list/data/sukkoranee.html

Page 17: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

7

ช่ือวิทยาศาสตร : Barieria strigosa Wild.

วงศ : ACANTHACEAE ช่ือทองถ่ิน : สังกรณ,ี หญาหงอนไก, หญาหัวนาค(ภาคเหนือ), ข้ีไปนกคม

(ปราจีนบุรี), จุกโรหน(ีชลบหุรี), เพิงดี (กะเหร่ียง - กาญจนบุรี)

สังกรณีเปนไมพุมขนาดเล็ก สูง 30-100 ซม. ตนต้ังตรง เปลือกตนสีเทา เรียบ สวนใบเปนใบเดีย่วข้ึนเรียงตรงขามตามตนสลับต้ังฉาก รูปไขแกมขอบขนาน กวาง 4-7 เซนติเมตร ยาว 10-15 เซนติเมตร โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ มีเสนแขนงใบ 5-7 คู ทองใบสีจางกวาดานบน สวนดอกออกเปนชอท่ีซอกใบและปลายยอด แตละชอมีดอกยอยเล็กจํานวนมาก ดอกยอยไมมีกาน เวลาบานกลีบดอกยอยสีมวงแกมน้ําเงิน ท่ีปลายกลีบแยกเปนสองปาก มีกลีบเล้ียงปลายแยกเปน 4 แฉก โดยผลมีลักษณะรูปทรงแบน พอแกจัดจะแหงและแตกไดในท่ีสุด การขยายพันธุจะใชวิธีเพาะเมล็ดและปกชํากิ่ง ประโยชน ราก แกรอนใน กระหายน้ํา ดับพิษไข แกไอ ใบ แกกําเดา แกไขหวัดใหญ แกคออักเสบ สังกรณีกระจายพันธุท่ัวทุกภาคในไทย พบตามปาดิบช้ืนท่ัวไป ตามปาเต็งรังและปาไผ ตางประเทศพบท่ีจนี พมา อินโดจีนและมาเลเซีย (www.wangtakrai.com/panmai/detail.php?id=319)

2. องคประกอบของสารสําคัญท่ีพบในพชื พืชแตละชนดิหรือแตละสวนของตนพืชมักประกอบดวยสารสําคัญหลายชนิดรวมอยู ไดแก 1. สารกลุมไขมัน (Lipids) หมายถึงน้ํามันระเหยยาก (fixed oils) ไขมัน (fat) และไข (waxes) สารกลุมนี้เปนสารเอสเทอรของกลุมไขมัน และแอลกอฮอลในไขมันสายยาว ในพืชไขมันมักรวมอยูกับโปรตีนและสวนมากเปนอาหารสํารองในเมล็ด สปอร และเนื้อในของผล ไขมันและน้ํามันระเหยยาก มักเปนเอสเทอรของกรดสเตียริก กรดปาลมเมติก กรอโอเลอิก กรดไลโนเลอิก กรดเมอริสติก และกรดปาลมโตเลอิก เปนตน อยูรวมกับ trihydric alcohol เรียกวา ไตรกลีเซอไรด สารในกลุมไขมันนี้มีสมบัติเปนอีมัลเลียน ชวยบํารุงผิว ชวยทําใหผิวนุมเนียน ไมหยาบแหง 2. สารประกอบฟนอล (Phenols) อะโรมาติก ตอกับกลุมไฮดรอกซิล (hydroxyl) สารกลุมนี้พบมากในพืชโดยอยูรวมกับน้ําตาลในรูปของไกลโคไซด เรียกวาฟนอลิกไกลโคไซด (phenolic

Page 18: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

8

3. สารกลุมแทนนิน (tannins) มีโครงสรางเปนสารเชิงซอน มักพบในรูปของสารผสมของโพลีฟนอล (polyphenols) พบมากในพืชเกอืบทุกชนิดและกระจายอยูตามสวนตางๆ ของพืช เชน ผล เปลือกลําตน ลําตน ใบ ราก เปนตน สารกลุมน้ีละลายน้ําดางเจือจาง แอลกอฮอล และอะซีโตน มักมีรสขมฝาด ทนตอการถูกยอยสลายดวยเอนไซมยอยโปรตีน สารแทนนินใชมากในทางยา โดยมีฤทธ์ิสมาน ทําใหแผลหายเร็ว ทางผิวหนังใชสําหรับแผลไฟไหมทําใหเนื้อเยื่อสรางเร็วข้ึน นอกจากนี้ยังใชแกพษิของสารแอลคาลอยดโดยทําใหเกดิ insoluble tannates และใชประโยชนในอุตสาหกรรมฟอกหนัง กรณีท่ีรับประทานแทนนินเปนประจําอาจทําใหเกิดมะเร็ง สมุนไพรท่ีมีแทนนิน คือ เปลือกทับทิม เปลือกอบเชย ใบฝร่ัง ใบ / เปลือกสีเสียด ใบชา เปนตน นอกจากสารดังกลาว ในพืชสมุนไพรยังมีสารประกอบอีกหลายชนิด เชน ไขมัน สเตียรอยด (steroid) เปนตน สารเหลานี้บางชนิด มีสรรพคุณทางยาเชนกัน 4. สารกลุมแอลคาลอยด แอลคาลอยดเปนสารอินทรียท่ีมีไนโตรเจนเปนสวนประกอบ (Organic Nitrogen Compound) มักพบในพืชช้ันสูง มีสูตรโครงสรางซับซอนและแตกตางกันมากมาย ปจจบัุนพบแอลคาลอยดมากกวา 5,000 ชนิด คุณสมบัติของแอลคาลอยด คือ สวนใหญมีรสขม ไมละลายนํ้า ละลายไดในสารละลายอินทรีย (Organic Solvent) มีฤทธ์ิเปนดาง แอลคาลอยดมีประโยชนในการรักษาโรคอยางกวางขวาง เชน ใชเปนยาระงับปวด ยาชาเฉพาะท่ี ยาแกไอ ยาแกหอบหืด ยารักษาแผลในกระเพาะและลําไส ยาลดความดัน ยาควบคุมการเตนของหวัใจ เปนตน พชืสมุนไพรท่ีมีแอลคาลอยดเปนสวนมาก คือ หมากลําโพง ซิงโคนา ดองดึง ระยอม ยาสูบ กลอย ฝน แสลงใจ เปนตน 5. สารกลุมคารโบไฮเดรต คารโบไฮเดรตเปนสารอินทรียท่ีประกอยดวย คารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน คารโบไฮเดรตเปนกลุมสารท่ีพบมากท้ังในพชืและสัตว สารท่ีเปน คารโบไฮเดรต เชน แปง น้ําตาล กัม (Kum) วุน (Agar) น้าํผ้ึง เปคติน (Pectin) เปนตน 6. สารกลุมไกลโคไซด เปนสารประกอบอินทรียท่ีเกดิจากอะไกลโคน (aglycone หรือ genin) จับกับสวนท่ีเปนน้ําตาลเรียก ไกลโคน (glycone) ละลายนํ้าไดดี โครงสรางของอะไกลโคน

Page 19: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

9

6.1 คารดิเอ็ก ไกลโคไซด (Cardiac Glycosides) มีฤทธ์ิตอระบบกลามเนื้อหัวใจ และระบบการไหลเวยีนของโลหิต เชน ใบยี่โถ เปนตน

6.2 แอนทราควิโนน ไกลโคไซด (Anthraquinone Glycosides) มีฤทธ์ิเปนยา ระบาย ยาฆาเช้ือและสียอมผา เชน ใบมะขามแขก ใบข้ีเหล็ก ใบชุมเหด็เทศ ใบวานหางจระเข

6.3 ซาโปนิน ไกลโคไซด (Saponin Glycosides) เปนกลุมสารท่ีมีคุณสมบัติเกิด ฟองเม่ือเขยากบัน้ํา เชน ลูกประคําดีควาย เปนตน

6.4 ไซยาโนเจนนีตกิไกลโคไซด (Cyanogenetic Glycosides) มีสวนของ aglycone เชน ไซยาโนเจนนีติกไนเตรต (Cyanogenetic Nitrate) สารกลุมนี้เม่ือถูกยอยจะไดสารจําพวกไซยาไนด เชน รากมันสําปะหลัง ผักสะตอ ผักหนาน ผักเส้ียนผี กระเบาน้ํา เปนตน

6.5 ไอโซไทโอไซยาเนท ไกลโคไซด (Isothiocyanate Glycosides) มีสวนของ aglycone เปนสารจําพวกไอโซไทโอไซยาเนท

6.6 ฟลาโวนอล ไกลโคไซด (Flavonol Glycosides) เปนสารสีท่ีพบในหลายสวน ของพืช สวนใหญสีออกไปทางสีแดง เหลือง มวง น้ําเงิน เชน ดอกอัญชัน เปนตน

6.7 แอลกอฮอลิค ไกลโคไซด (Alcoholic Glycosides) มี aglycone เปน แอลกอฮอล ยงัมีไกลโคไซดอีกหลายชนดิ เชน ฟนอลิก ไกลโคไซด (Phenolic Glycosides) แอลดีไฮด ไกลโคไซด (Aldehyde Glycosides) เปนตน 7. สารกลุมน้ํามันหอมระเหย น้ํามันหอมระเหยเปนสารท่ีพบมากในพืชเขตรอน มีลักษณะเปนน้ํามัน มีกล่ินและรสเฉพาะตัว ระเหยไดงายในอุณหภูมิธรรมดา เบากวาน้ํา สามารถสกัดจากสวนตางๆของพืชไดโดยวิธีการกล่ันดวยไอน้ํา (steam distillation) หรือการบีบ (expression) ประโยชนคือเปนตัวแตงกล่ินในอุตสาหกรรมเคร่ืองสําอางและสมุนไพร มีประโยชนดานขับลม ฆาเช้ือโรค พืชสมุนไพรที่มีน้ํามันหอมระเหย คือ กระเทียม ขิง ไพล มะกรูด ตะไคร กานพลู อบเชย เปนตน 8. สารกลุมเรซิน เปนสารอินทรียหรือสารผสมประเภทโพลีเมอร มีรูปรางไมแนนอน สวนใหญจะเปราะ แตกงาย บางชนิดจะน่ิม ไมละลายน้ํา ละลายไดในตวัทําลายอินทรีย เม่ือเผาไฟจะ

Page 20: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

10

(www.sophon.bcnlp.ac.th/workstu/chm.html) 3. สารตานอนุมูลอิสระ ( Antioxidant )

สารอนุมูลอิสระ (free radical) เปนอะตอม กลุมอะตอม หรือโมเลกุลท่ีมีอิเล็กตรอนอิสระหรืออิเล็กตรอนไรคู (unpaired electron) อยู 1 ตัว หรือมากกวาท่ีช้ันนอกสุดของออรบิทัล (orbital) ทําใหอนุมูลอิสระมีความไวตอการทําปฏิกิริยา จัดเปนสารออกซิแดนท (oxidant) อยางแรง ( ณรงค และคณะ, 2541; รัฎฐกาล, 2543) อนุมูลอิสระอาจมีประจุบวกหรือประจุลบก็ได ประจุเหลานี้จะถายทอดเปนพลังงานสูเนื้อเยือ่ใกลเคียงและสามารถเพ่ิมจํานวนเปนทวคูีณอยางตอเนือ่งดวยปฏิกิริยาลูกโซ (chain reaction) เกิดภาวะอนุมูลอิสระเกิน (oxidative stress) เปนผลทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงภายในเซลล เชน การทําลายของ DNA ภายในเซลล (DNA damage) การทําลายโปรตีนภายในเซลล (protein damage) หรือเกิดการเปล่ียนแปลงในไขมันไมอ่ิมตัว (lipid peroxidation) ซ่ึงเปนสวนประกอบของผนังเซลล ทําใหเซลลหยุดทํางาน หยุดการซอมแซม การทําหนาท่ีตางๆ ของเซลลเสียไป (Aruoma and Halliwell, 1978; Cotran, Kumar and Collin, 1999) อนุมูลอิสระเปนปจจัยท่ีสําคัญปจจัยหนึ่งท่ีมีผลตอการกอใหเกิดพยาธิสภาพในอวัยวะตางๆ เชน หัวใจ ซ่ึงสงผลใหโครงสรางและหนาท่ีของอวัยวะเหลานั้นเสียไป มีงานวจิัยมากมายท่ีแสดงใหเห็นวาอนุมูลอิสระน้ีมีความเกีย่วของกับโรคหลายชนิด เชน โรคเสนเลือดหัวใจอุดตัน (coronary heart disease) โรคมะเร็งบางชนิด และ โรคพารคินสัน (Parkinson disease) (Sies, 1980)

ตัวอยางของอนุมูลอิสระ ไดแก

1. O2- Superoxide anion อนุมูลซุปเปอรออกไซด

2. OH. Hydroxyl radical อนุมูลไฮดรอกซิล 3. ROO. Peroxy radical อนุมูลเปอรออกซี 4. H2O2 Hydrogen Peroxide ไฮโดรเจนเปอรออกไซด

ในทางชีวเคมีสมัยใหมรายงานวารางกายของคนเราเส่ือมลงทุกวัน ความเส่ือมท่ีปรากฏให

เห็นอยางชัดเจน คือภาวะหลอดเลือดแข็งตัว ความดนัโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ไขขอเส่ือมเกิด

Page 21: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

11

แอนติออกซิแดนท (antioxidants) เปนสารธรรมชาติ มีสมบัติในการตอตานปฏิกิริยา

ออกซิเดชันท่ีเกิดจากอนุมูลอิสระ (free radicals) ทําหนาท่ีดูดซับอิเล็กตรอนเดี่ยวจากสารอนุมูลอิสระไวในตัวมัน ทําใหอนุมูลอิสระหมดคุณสมบัติท่ีจะออกซิไดซตอไป ทําใหหยุดปฏิกิริยาลูกโซในการทําลายสารชีวโมเลกุล ไดแก โปรตีน ไขมัน และดีเอนเอในเซลลของรางกาย ในอาหารและผลิตภัณฑ แอนติออกซิแดนทเปนสารกลุมหนึ่งท่ีเรียกวา สารพฤกษเคมี (phytochemicals) สวนใหญไดมาจากพืชผัก ผลไม เมล็ด และธัญพืช เปนสารเคมีธรรมชาติ เชนโพลีฟนอล (เชน แคเทซิน อีจีซีจี ), ไบโอฟลาโวนอยด (เชน เคอรซีทิน, รูทิน, และโปรแอนโธรไซยานิดิน) มีแรธาตุบางชนิด เชน เซเลเนียมและสังกะสี เปนสารท่ีชวยปฏิกิริยาของเอนไซมซ่ึงทําหนาท่ีกําจัดอนุมูลอิสระดวยอาหารบางชนิดก็มีแอนติออกซิแดนทท่ีเปนสารเคมีสังเคราะห เชน butylated hydroxy anisole (BHA), butylated hydroxy toluene (BHT) ท่ีใชเปนสารกันหนืในนํ้ามันปรุงอาหาร แอนติออกซิแดนทมีความสามารถในการตานทานอนมูุลอิสระ จึงมีประโยชนในการปกปองหรือการชะลอความชรา การตานทานภาวะผิดปกติจากสารพิษในส่ิงแวดลอมและการหยุดยั้งการเกดิโรค เนื่องจากสารเคมีกออนุมูลอิสระได แตรางกายไมสามารถสังเคราะหแอนติออกซิแดนทเองได (ไมตรีและ ศิริวรรณ, 2540)

โดยปกติรางกายจะมีขบวนการในการกําจดัอนุมูลอิสระ ซ่ึงกระทําโดยการทํางานของ

เอนไซมบางชนิด เชน catalase, superoxide dismutase หรือ peroxidase นอกจากนี้ยังมีสารตานอนุมูลอิสระ (antioxidant) ในรูปของวิตามิน เชน เบตาแคโรทีน วิตามินซี วิตามินอี ซ่ึงสารนี้จะมีสวนรวมในขบวนการยับยั้งการสรางอนุมูลอิสระ หรือรับอิเล็กตรอนจากอนุมูลอิสระทําใหมีสภาพเสถียร (อัจฉราวรรณ, 2550) มีการวิจยัคนพบวาผูปวยท่ีเปนโรคเบาหวานจะมีสารอนมูุลอิสระ (free radical) อยูมากกวาในคนปกติ ดังนัน้จึงควรไดรับสารอาหารและสารตานอนุมูลอิสระ (antioxidant) อยางเหมาะสม สารตานอนุมูลอิสระ (antioxidant) 5 ชนดิท่ีสําคัญกับผูปวยท่ีเปนโรคเบาหวานจะพบในวิตามินเอ ซี อี โคเอนไซมคิวเทนและใน alpha-lipoic acid ยังมีสารอาหารท่ีสําคัญตอผูปวยท่ี

Page 22: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

12

4. สมุนไพรท่ีมีฤทธ์ิเปนสารตานอนุมูลอิสระและตานเชื้อแบคทีเรีย Xuewu Duan และคณะ (2005) ไดสกัดแอนโทไซยานิน (Anthocyanins) และทําใหบริสุทธ์ิจากเปลือกของผลล้ินจี่ และตรวจสอบสมบัติในการเปนสารตานอนุมูลอิสระ การประเมินผลของการทดสอบ exogenous anthocyanin กับการเกิดสีน้ําตาลท่ีเปลือกและความสามารถในการคัดเลือกสารเขาออกของเมมเบรนกับผลของล้ินจี่ท่ีเก็บเกีย่วแลว แอนโทไซยานินท่ีสกัดไดสามารถยับยั้งขบวนการออกซิเดช่ันไดอยางดี และแสดงการกําจัดอนุมูลอิสระไดโดยข้ึนอยูกับปริมาณท่ีใช โดยพบวาตอตาน DPPH radical, superoxidation และ hydroxyl radical ในขบวนการยอยสลาย deoxyribose แสดงใหเห็นวาแอนโทไซยานินไปยับยั้งโดยเปนตัว chelator มากกวาการกําจัดอนุมูลอิสระ ซ่ึงปริมาณแอนโทไซยานินท่ีใชมีคาเทากับ 3.70 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร วิตามินซีเทากับ 0.427 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร และ butylated hydroxy toluene (BHT) เทากับ 0.148 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร ช้ีใหเห็นวาแอนโทไซยานินท่ีสกดัไดสามารถเปนสารใหอิเล็กตรอนไดดี นอกจากนีก้ารประยุกตใชแอนโทไซยานินกับผลของล้ินจี่ท่ีเก็บเกี่ยวแลว สามารถปองกันการเกิดสีน้ําตาลท่ีเปลือกและชะลอการเพิ่มความสามารถในการคัดเลือกสารของเมมเบรนไดอยางมีนัยสําคัญ จากผลการทดลองดังกลาวช้ีใหเหน็วาแอนโทไซยานนิสามารถนํามาใชประโยชนในการกําจัดอนุมูลอิสระและลดขบวนการ lipid peroxidation ของเปลือกผลล้ินจี่ได

L. Jagan Mohan Rao และคณะ (2005) ไดสกัดสาร Oleoresin จากใบ curry ดวยอะซิโตนและนํามาตรวจสอบกิจกรรมการเปนสารตานอนุมูลอิสระโดยใชระบบ β-carotene-linoleic acid model เทียบกบัสารสกัดอ่ืนๆท่ีใชเมทานอล น้ํา และนํ้ามันหอมระเหยในการสกัด พบวาสาร Oleoresin ท่ีสกัดไดมีกิจกรรมสูงสุด 83.2% ท่ีความเขมขน 100 ppm เม่ือเปรียบเทียบกับสารสกัดอ่ืนๆท่ีเปนสารตานอนุมูลอิสระชนิดสังเคราะหท่ีช่ือ butylated hydroxyl anisole มีกิจกรรมการยับยั้ง

Page 23: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

13

Nuket Kartal และคณะ (2005) ไดทดสอบคุณสมบัติการเปนสารตานอนุมูลอิสระของสารสกัดจากพืชสมุนไพร Ferula orientalis L ซ่ึงในการทดลองนี้ไดทดสอบคุณสมบัติการเปนสารตานอนุมูลอิสระ in vitro ของนํ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร Ferula orientalis A. (Apiaceae) การตานทานอนุมูล 2,2-diphenyl-l-picrylhydrazyl (DPPH) สูงสุด พบในสารสกัดจากตัวทําละลายมีข้ัวระหวางเมทานอลกับน้ําในอัตราสวน 1: 1 มีคา IC50 ท่ี 99.1 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร การทดสอบอีกอยางหนึ่งคือ การทดสอบโดยวิธี β-carotene-linoleic acid พบวาสารท่ีสกัดดวยอะซีโตนใหผลดกีวา ความสัมพันธของกิจกรรมการเปนสารตานอนุมูลอิสระ (RAA%) ของสารสกัดมีคา 10.1% ถึง 76.1% ตามลําดับ การสกัดดวยสารผสมระหวางเมทานอลกับน้ําในอัตราสวน 1: 1 เปนวิธีท่ีเหมาะสมมากกวาเพราะไดคาของเปอรเซ็นตการสกัดมากกวาและมีประสิทธิผลท่ีสูงกวา สังเกตไดจากการทดสอบท้ังสองวิธี ถึงแมวาน้ํามันหอมระเหยจะแสดงคาการเปนสารตานอนุมูลอิสระท่ีดีแตไมดีเทากับสาร BHT จากการวิเคราะหและตรวจสอบนํ้ามันหอมระเหยดวยเคร่ือง GC/MS พบสารประกอบ 39 ชนิด ซ่ึงประกอบไปดวยสาร β-phellandrene (23.6%), สาร (E)-β-ocimene (13.8%), สาร α-pinene (12.5%), สาร α-phellandrene (11.5%) และสาร dehydro-sesquicineole (10.1%) ท่ีเหลือเปนสารประกอบหลักอ่ืนๆในพืช Sofija Dordevic และคณะ (2007) ไดทําการทดสอบการยับยั้งจุลินทรีย การยับยั้งเกี่ยวกับการอักเสบ การยับยั้งแผลเปอยเร้ือรัง และกิจกรรมการตานอนุมูลอิสระของน้ํามันหอมระเหยจากราก Carlina acanthifolia All. (Asteraceae) ซ่ึงต้ังแตสมัยโบราณไดใชในการรักษาโรคที่มีความผิดปกติเกีย่วกบักระเพาะและผิวหนัง ผูทําการวิจยัจึงไดทําการศึกษาการยับยั้งจุลินทรีย การยับยั้งเกี่ยวกับการอักเสบ การยับยัง้แผลเปอยเร้ือรัง และกิจกรรมการตานอนมูุลอิสระของน้ํามันหอมระเหยจากราก Carlina acanthifolia ซ่ึงมีการอางถึงสรรพคุณทางยาท่ีพิสูจนวาใชได กิจกรรมการยับยั้งจุลินทรียไดทดสอบกับแบคทีเรีย 15 ชนิดและเช้ือรา 3 สายพันธุ โดยวิธี agar diffusion และ broth microdilution methods ในการประเมิณผลกิจกรรมการยับยั้งการอักเสบ ใชสารคารราจีแนน

Page 24: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

14

แกรมบวก (+) คือ Streptococcus pyogenes, Enterococcus faecalis, Bacillus subtilis และตาน Candida albicans ท่ีทุกความเขมขน สารคารราจีแนน (carrageenan) ชักนําใหเกิดอาการเทาบวมในหนู สวนเอทานอลชักนําการเกิดแผลเร้ือรังของกระเพาะอาหารในหน ู I. M. S. Eldeena and J. Van Staden (2007) ไดตรวจสอบทางเภสัชวิทยาในหลอดทดลองของสารสกัดจากพืชบางชนดิท่ีใชเปนยาแบบด้ังเดิมในประเทศซูดาน โดยในการทดลองน้ีไดทดสอบสารสกัดท่ีไดจากพชื 7 ชนิด ซ่ึงเคยใชเปนยาแบบดั้งเดิมในประเทศซูดานสําหรับการตานเช้ือแบคทีเรีย ทดสอบกิจกรมการตานโคลีนเอสเทอเรส และตรวจสอบศักยภาพการเปนสารกอการกลายพันธุ โดยวิธี Amest test การทดสอบกิจกรรมการตานเช้ือแบคทีเรีย จะใชวิธี micro-dilution assay โดยนําสารสกัดมาทดสอบการตานเช้ือแบคทีเรียแกรมบวก ไดแก Bacillus subtilis และ Staphylococcus aureus และแบคทีเรียแกรมลบ ไดแก Escherichia coli และ Klebsiella pneumoniae จากการตรวจสอบสารสกัดจากพืชท่ีทดลอง พบวา 75% ท่ีแสดงใหเหน็วาความเขมขนตํ่าสุด (MIC) ท่ีสามารถตานเช้ือแบคทีเรียได มีคานอยกวา/หรือประมาณ 1.5 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร สารสกัดท่ีไดจาก Acacia seyal (สารสกัดจากใบดวยเอทานอลและสารสกัดจากเปลือกดวยไดคลอโรมีเทนของ Acacia seyal ) สารสกัดจากรากดวยไดคลอโรมีเทนของ Capparis decidua สารสกัดดวยเอทิลอะซิเตต (เปลือกและราก) และสารสกัดดวยเอทานอล (ราก) ของ Erythrina latissima สามารถตานเช้ือแบคทีเรียแกรมลบ คือ Klebsiella pneumoniae ในการทดอบการยับยั้งอะซีทิลโคลีนเอสเทอเรส พบวา 58% ของสารสกัดจากพืชยับยั้งท่ีความเขมขน/หรือตํ่ากวา 1 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร โดยวิธี micro-dilution assay คา IC50 ต่ําสุดคือ 0.09 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร ซ่ึงสังเกตไดดวยสารสกัดจากเปลือกดวยเอทานอลและสารสกัดจากรากของ Erythrina latissima และ Klebsiella pneumoniae สวนการตรวจสอบสารสกัดจากพืชโดยวิธี Ames assay พบวาไมมีมีศักยภาพการเปนสารกอการกลายพันธุ Bin Shan และคณะ (2007) ไดศึกษากิจกรรมการตานเช้ือแบคทีเรียในหลอดทดลองของสารสกัดจากพชืเคร่ืองเทศและพืชสมุนไพร ซ่ึงตรวจสอบโดยวิธี agar well diffusion ดวยเช้ือ

Page 25: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

15

Page 26: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

16

อุปกรณและวิธีการ

เชื้อจุลินทรีย

เช้ือแบคทีเรีย Basillus subtilis และ Staphylococcus aureus จากภาควิชาจุลชีววิทยา คณะ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน

พืชสมุนไพร

1. สมุนไพรแปะตําปง 2. สมุนไพรฮวานง็อก 3. สมุนไพรสังกรณี

อุปกรณ

1. เคร่ือง UV-VIS spectrometer 2. เคร่ืองระเหยแบบหมุน (Rotary Evaporator) Buchi, R-210, Switzerland 3. เคร่ืองฉายรังสี UV (UV lamp) Consort, E2101, Belgium 4. เคร่ืองปนเหวีย่ง (Centrifuge) Sorval, RC26 Plus, USA 5. เคร่ืองฆาเช้ือแบบอัดความดนั (Autoclave) Tomy, SS-325, Japan 6. ตูถายเช้ือ (Laminar air flow) Issco, VS-124, USA 7. ตูอบ (Hot air oven) 8. เคร่ืองแกวสําหรับการวิเคราะห

สารเคมี

1. อะซีโตน (Acetone, C3H6O) (Analytical science, LAB-SCAN,Thailand) 2. คลอโรฟอรม (Chloroform, CHCl3) (Analytical science, LAB-SCAN,Thailand) 3. ไดคลอโรมีเทน (Dichrolomethane, CH2Cl2) (Analytical science, LAB-SCAN,Thailand) 4. 95% เอทานอล (Ethanol, C2H5OH)

Page 27: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

17

สารเคมี (ตอ) 5. เอทิลอะซิเตด (Ethyl acetate, CH3COOCH2CH3) (Analytical science, LAB-SCAN,

Thailand) 6. เฮกเซน (Hexane, ) (Analytical science, LAB-SCAN,Thailand) 7. เมทานอล (Methanol, CH3OH) (Analytical reagent grade, Fisher Scientific, UK) 8. 2,2-diphenyl-1-picryhydrazyl hydrate (DPPH) 9. วิตามินซี (Ascorbic acid, C6H8O6)

วิธีการ

1. การเตรียมตัวอยางพืชสมุนไพร

นําใบพืชสมุนไพรมาแยกสวนเปนกานและใบ ลางใหสะอาด ผ่ึงใหแหง หั่นแตละสวนใหมีขนาดเล็กลง หลังจากนัน้นาํไปอบท่ีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 8 ช่ัวโมงหรือจนกวาใบจะแหง แลวนําไปปนใหละเอียดดวยเคร่ืองปน นําไปสกัดหรือเกบ็ใสถุงไวในตูเย็นเพื่อนําไปทดลองตอไป

2. การเตรียมสารสกัดจากพืชสมุนไพรดวยตัวทําละลาย

2.1 การสกัดแบบแหง

ช่ังตัวอยางพืชสมุนไพรท่ีอบแหงและบดละเอียด (30 กรัม) นํามาสกัดดวยตัวละลายชนิด ตางๆ ปริมาตร 150 มิลลิลิตร ซ่ึงในการศึกษาคร้ังนี้ไดใชตวัทําละลายท้ังหมด 7 ชนิด ไดแก อะซีโตน (Acetone), คลอโรฟอรม (Chloroform), ไดคลอโรมีเทน (Dichloromethane), 95% เอทานอล (Ethanol 95%), เอทิลอะซิเตต (Ethyl acetate), เฮกเซน (Hexane) และ เมทานอล (Methanol) ท้ิงไวท่ีอุณหภูมิหองนาน 7 วัน จากน้ันนํามากรองดวยกระดาษกรอง whatman no.1 แลวนําสารสกดัท่ีไดไประเหยตัวทําละลายออกดวยเคร่ืองระเหยภายใตความดันตํ่าแบบหมุน (Rotary Evaporatory) แลว

Page 28: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

18

2.2 การสกัดแบบสด

นําตัวอยางใบพืชสมุนไพรสด (30 กรัม) มาลางใหสะอาดและผ่ึงใหแหง นําไปปนให

ละเอียดดวยเคร่ืองปน แลวทําการสกัดเหมือนกับวิธีการสกัดแบบแหงทุกข้ันตอน (ขอ 2.1) สารสกัดท่ีไดเก็บไวในขวด vial เพื่อทําการทดสอบตอไป

3. การวิเคราะหสารสกัดจากพืชสมุนไพรโดยวิธีโครมาโทกราฟแบบแผนเคลือบ (Thin layer chromatography, TLC)

นําสารสกัดหยาบท่ีไดจากขอ 2 มาวิเคราะหโดย TLC โดยใชตวัทําละลายคือ ไดคลอโรมีเทน : เมทานอล (3: 7), คลอโรฟอรม : เอทิลอะซิเตต (7: 3) และ 95% เอทานอล : อะซีโตน (4: 6) วิเคราะหผลภายใตแสงยูวี และวัดระยะทางท่ีสารเคล่ือนท่ีเพื่อคํานวณหาคา Rf 4. การทดสอบการออกฤทธ์ิยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย

ถาย (inoculate) เช้ือแบคทีเรีย Basillus subtilis และ staphylococcus aureus บริสุทธ์ิ

จํานวน 1 loop ลงในอาหาร nutrient broth (NB) ปริมาตร 50 มิลลิลิตร ในขวดรูปชมพู บมไวท่ีอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24 ช่ัวโมง ใชไมโครปเปต (micro pipet) ปเปตของเหลว จํานวน 50 ไมโครลิตร ลงบน NA plate ท่ีเตรียมไว สเปด (spread) จานเล้ียงเช้ือ (plate) ดวยแทงแกวงอ (spatula) ใหเช้ือกระจายทัว่จานเล้ียงเช้ือ ท้ิงไวใหแหง

นํากระดาษตาปลาชุบสารสกัดหยาบจากพืชสมุนไพรชนิดตางๆท่ีสกดัดวย 95% เอทานอล

ท้ิงไวสักพกัเพือ่ระเหยตัวทําละลาย วางกระดาษตาปลาบนจานเล้ียงเช้ือ ดังภาพท่ี 4 (โดย control จะชุบตัวทําละลายท่ีใชสกัดสารนั้น) บมไวท่ีอุณหภูมหองและสังเกตผลระหวาง 24-48 ช่ัวโมง ถาสารสกัดสามารถยับยั้งเช้ือแบคทีเรียได จะเห็น clear zone เกิดข้ึน (ทําการทดลองสารสกัดละ 3 ซํ้า)

Page 29: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

19

control

ภาพท่ี 4 การทดสอบสารสกัดจากพืชสมุนไพรกับเชื้อแบคทีเรีย

5. การทดสอบหากลุมสารสกัด (Chemical Screening)

5.1 การทดสอบหาสารแคโรทีนอยด (carotenoids)

นําตัวอยางพืชสมุนไพร (แบบสดและแหง) ท่ีบดละเอียด 500 มิลลิกรัม เติมคลอโรฟอรม 30 มิลลิลิตร ใหความรอนในเคร่ืองอังน้ํา (water bath) กรองสารท่ีสกัดและนําสารละลายท่ีกรองไดแบงเปน 2 สวนเทาๆกัน แลวนําไประเหยจนแหง นําแตละหลอดมาละลายดวยคลอโรฟอรม ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร โดยหลอดท่ี 1 เติมกรดซัลฟวริกเขมขน ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร ถาไดสารละลายสีน้ําเงิน-น้ําเงินมวง แสดงวาเปนสารแคโรทีนอยด สวนหลอดท่ี 2 เติม 20 % w/v แอนติโมนี ไตรคลอไรด (Antimony trichloride) ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร ถาไดสารละลายสีน้ําเงิน แสดงวามีสารแคโรทีนอยด

5.2 การทดสอบหาสารประกอบฟโนลิก (phenolic compounds)

เติมสารละลายเอทานอลในน้ํา ความเขมขน 70% (v/v) ปริมาตร 6 มิลลิลิตร ลงในพืช สมุนไพร (ท้ังสดและแหง) ท่ีบดละเอียด 500 มิลลิกรัม ในหลอดทดลอง ตมในเคร่ืองอังน้ํา (water bath) นาน 2 นาที ท้ิงไวใหเย็น ทําการปนเหวีย่งแลวนําสวนใส (supernatant) มาทดสอบโดยเติมสารละลายเฟอริกคลอไรด ความเขมขน 5% (v/v) ปริมาตร 2 หยด ถาไดสารละลายสีเขียวแกมน้าํเงินหรือสีเขียว แสดงวามีสารประกอบฟโนลิก

Page 30: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

20

5.3 ทดสอบหาสารแอลคาลอยด (alkaloids)

5.3.1 การสกัด

นําตัวอยางพืชสมุนไพร (แบบสดและแหง) ท่ีบดละเอียด 2 กรัม เติมกรด ซัลฟวริก ความเขมขน 1% (v/v) ปริมาตร 20 มิลลิลิตร ในขวดรูปชมพู ขนาด 50 มิลลิลิตร ใหความรอนบนเคร่ืองอังน้ํา (water bath) นาน 2 นาทีและเขยาเปนคร้ังคราว ทําการปนเหวี่ยง แลวปเปตสารละลายสวนใสใสขวดรูปชมพูขนาดเล็ก ทดสอบสารแอลคาลอยดเบ้ืองตนโดยเติม Mayer’s reagent 1 หยด ในสารสกัดท่ีได 0.1 มิลลิลิตร จะไดตะกอนสีขาว-น้ําตาลอมเหลือง ดูดสารละลายสวนใส (supernatant) ลงในกรวยแยก เจือจางดวยสารละลายแอมโมเนียในน้ําความเขมขน 2 โมลาร ใหไดปริมาตร 50 มิลลิลิตรและทําการสกัดดวยไดคลอโรมีเทน ปริมาตร 10 มิลลิลิตร จํานวน 3 คร้ัง (อยาเขยาแรง เพราะสารท้ังสองจะผสมกันและแยกยาก) แยกสารละลายช้ันลาง (Dichloromethane layer) มารวมกันในกรวยแยกอีกใบ ลางดวยน้าํกล่ันเล็กนอย (เขยากับน้ําแตไมกรองช้ันน้ํา) แลวกรองช้ันไดคลอโรมีเทน โดยเอาสําลีมารองตรงปากกรวยแยก เติมไดคลอโรมีทนอีก 5 มิลลิลิตร นําสารสกัดท่ีไดไประเหยในเคร่ืองอังน้ํา (water bath) จนแหง สารสกัดท่ีไดจะนําไปใชในการทดสอบตอไป

5.3.2 การทดสอบหาสารแอลคาลอยด (alkaloids)

นําสารสกัดท่ีไดจากขอ 5.3.1 มาเติมกรดซัลฟวริก ความเขมขน 1% (v/v) ปริมาตรเล็กนอย แลวดูดสารละลายใสหลอดทดลอง 2 หลอดๆละ 0.1 มิลลิลิตร โดยหลอดท่ี 1 เติม Mayer’s reagent 1 หยด ถาไดตะกอนสีขาวแสดงวามีสารแอลคาลอยด สวนหลอดท่ี 2 เติม Dragendorff’s reagent 1 หยด ถาไดตะกอนสีแดงสมแสดงวามีสารแอลคาลอยด

5.3.3 การทดสอบหาสารแซนไทนแอลคาลอยด (xanthine alkaloids)

ตมพืชสมุนไพร (ท้ังสดและแหง) ท่ีบดละเอียด 500 มิลลิกรัม ในนํ้ากล่ัน ปริมาตร 10 มิลลิลิตร นํามากรองขณะรอน รอใหเย็นและสกัดดวยคลอโรฟอรม ปริมาตร 5 มิลลิลิตร 2 คร้ัง นําสารสกัดท่ีไดไประเหยดวยเคร่ืองอังน้ํา (water bath) จนแหง จากน้ันเติมไฮโดรเจนเปอรออกไซดความเขมขน 30% w/v จํานวน 5 หยด และเติมกรดไฮโดรลิกความเขมขน

Page 31: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

21

5.4 การทดสอบหาสารอนุพันธแอนทราซีน ไกลโคไซด (anthracene-derivative

glycosides)

5.4.1 วิธี Borntrager test

นําตัวอยางพืชสมุนไพร (แบบสดและแหง) ท่ีบดละเอียด 200 มิลลิกรัม เติมสารละลายกรดซัลฟวริกความเขขมขน 1% ปริมาตร 2 มิลลิลิตร ในหลอดทดลอง ใหความรอนดวยเคร่ืองอังน้ํา (water bath) เปนเวลา 5 นาที จากนั้นนาํไปปนเหวี่ยง ดูดสวนใส (supernatent) ใสในกรวยแยก เติมสารละลายไดคลอโรมีเทน เขยา นําสารละลายช้ันลาง (Dichloromethane layer) เจือจางดวยสารละลายแอมโมเนียเขมขนปริมาตรคร่ึงหนึ่งของสารละลายช้ันลาง เขยา ถาเกิดสารละลายสีชมพูในช้ันสารละลายแอมโมเนีย แสดงวามีสารแอนทราซีน

5.4.2 วิธี modified Borntrager test

นําตัวอยางพืชสมุนไพร (แบบสดและแหง) ท่ีบดละเอียด 200 มิลลิกรัม มา เติมสารละลายกรดซัลฟวริกความเขมขน 1% (v/v) ปริมาตร 2 มิลลิลิตร และสารละลายเฟอริกคลอไรดในน้ําความเขมขน 5% (v/v)ปริมาตร 2 มิลลิลิตร ท้ิงไวนาน 5 นาที จากนั้นทําการปนเหวี่ยง ปเปตสวนใส (supernatent) ใสกรวยแยก เติมสารละลายไดคลอโรมีเทน เขยา นําสารละลายช้ันลาง (Dichloromethane layer) เจอืจางดวยสารละลายแอมโมเนียเขมขนปริมาตรคร่ึงหนึ่งของสารละลายช้ันลาง เขยา ถาเกิดสารละลายสีชมพูในช้ันสารละลายแอมโมเนีย แสดงวามีสารแอนทราซี 6. การทดสอบการเปนสารตานอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH assay การกําจัดอนุมูลอิสระ DPPH ดวยสารท่ีสกดัไดจากพืชสมุนไพรซ่ึงสกัดในตัวทําละลายชนิดตางๆ โดยทดสอบตามวิธีของ Larrauri, Sanchez-Mopreno และ Saura-Calixto (1998) นําสารสกัดจากพืชสมุนไพรท่ีความเขมขน 50 ppm ปริมาตร 0.1 มิลลิลิตร เติมสารละลาย DPPH-methanol

Page 32: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

22

DPPH-scavenging activity (%) = [ 1 - ( A sample - A blank ) ] x 100

A control

โดยท่ี A sample = คาการดูดกลืนแสงของสารสกัดจากพืชสมุนไพรกับสารละลาย DPPH A blank = คาการดูดกลืนแสงของสารสกัดจากพืชสมุนไพรกับเมทานอล A control = คาการดูดกลืนแสงของสารละลาย DPPH กับเมทานอล

สถานท่ีและระยะเวลาในการทดลอง

สถานท่ี

หองปฏิบัติการเคมี สายวิชาวิทยาศาสตร คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน จังหวดันครปฐม

ระยะเวลาในการทดลอง

การทดลองนี้เร่ิมต้ังแต สิงหาคม 2549 – พฤษภาคม 2550

Page 33: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

23

ผลและวิจารณ 1. การเตรียมสารสกัดจากพืชสมุนไพร จากการสกัดพืชสมุนไพรแปะตําปง สมุนไพรฮวานง็อกและสมุนไพรสังกรณี ในสวนใบและกาน ท้ังแบบสดและแบบแหงดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ พบวาไดน้ําหนักและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบ ดังแสดงในตารางท่ี 1-5 เปอรเซ็นตสารสกัดหยาบ = น้ําหนกัสารสกัด น้ําหนักตัวอยางพืชสมุนไพร

x 100

ตารางท่ี 1 น้ําหนักและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบจากการสกัดใบพืชสมุนไพรแปะตําปงแบบสดดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ

ตัวทําละลาย น้ําหนักสารสกัดหยาบ เปอรเซ็นตสารสกัดหยาบ (กรัม) (%)

อะซีโตน 0.1899 0.63 คลอโรฟอรม 0.1028 0.34 ไดคลอโรมีเทน 0.1830 0.61 95% เอทานอล 0.1771 0.59 เอทิลอะซิเตต 0.1404 0.47 เฮกเซน 0.0315 0.10 เมทานอล 0.2442 0.81

Page 34: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

24

ตารางท่ี 2 น้ําหนักและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบจากการสกัดใบพืชสมุนไพรแปะตําปงแบบแหงดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ

ตัวทําละลาย น้ําหนักสารสกัดหยาบ (กรัม)

เปอรเซ็นตสารสกัดหยาบ (%)

อะซีโตน 1.3514 4.50 คลอโรฟอรม 2.1132 7.04 ไดคลอโรมีเทน 1.6804 5.60 95% เอทานอล 1.8866 6.29 เอทิลอะซิเตต เฮกเซน เมทานอล

1.4558 0.4182 1.9188

4.85 1.39 6.39

ตารางท่ี 3 น้ําหนักและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบจากการสกัดกานพชืสมุนไพรแปะตาํปงแบบสดดวยละตัวทําลายชนดิตางๆ

ตัวทําละลาย น้ําหนักสารสกัดหยาบ (กรัม)

เปอรเซ็นตสารสกัดหยาบ (%)

อะซีโตน 0.1478 0.49 คลอโรฟอรม 0.0370 0.12 ไดคลอโรมีเทน 0.0608 0.20 95% เอทานอล 0.0528 0.18 เอทิลอะซิเตต เฮกเซน เมทานอล

0.0532 0.0166 0.0568

0.18 0.06 0.19

Page 35: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

25

ตารางท่ี 4 น้ําหนักและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบจากการสกัดใบพืชสมุนไพรฮวานง็อกแบบสดดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ

ตัวทําละลาย น้ําหนักสารสกัดหยาบ (กรัม)

เปอรเซ็นตสารสกัดหยาบ (%)

อะซีโตน 0.5569 1.86 คลอโรฟอรม 0.1582 0.53 ไดคลอโรมีเทน 0.1271 0.42 95% เอทานอล 0.5293 1.76 เอทิลอะซิเตต เฮกเซน เมทานอล

0.4765 0.1248 0.8000

1.59 0.42 2.67

ตารางท่ี 5 น้ําหนักและเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบจากการสกัดใบพืชสมุนไพรสังกรณแีบบสดดวยตวัทําละลายชนิดตางๆ

ตัวทําละลาย น้ําหนักสารสกัดหยาบ (กรัม)

เปอรเซ็นตสารสกัดหยาบ (%)

อะซีโตน 0.4913 1.64 คลอโรฟอรม 0.1915 0.64 ไดคลอโรมีเทน 0.1358 0.45 95% เอทานอล 0.4899 1.63 เอทิลอะซิเตต เฮกเซน เมทานอล

0.3620 0.0325 0.2678

1.21 0.11 0.89

จากการสกัดพืชสมุนไพรดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ ท้ัง 7 ชนิด โดยใชน้ําหนกั

พืชสมุนไพร 30 กรัม ในตัวทําละลาย 150 มิลลิลิตร (1: 5) พบวาการสกดัใบแปะตําปงและใบฮวาน ง็อกท่ีสกัดแบบสดดวยตัวทําละลายเมทานอล ไดน้ําหนักสารสกัดหยาบมากท่ีสุด คือ 0.2442 กรัม มีเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบ 0.81 % (ตารางท่ี 1) และ 0.8000 กรัม มีเปอรเซ็นตสารสกัดหยาบ 2.67%

Page 36: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

26

2. การวิเคราะหสารสกัดจากพืชสมุนไพรโดยวิธีโครมาโทกราฟแบบแผนเคลือบ (Thin layer chromatography, TLC) จากการนําสารสกัดท่ีสกัดแบบสดจากใบและกานพืชสมุนไพรแปะตําปง สกัดแบบแหงจากใบแปะตําปง สกัดแบบสดจากใบฮวานง็อกและใบสังกรณีท่ีสกัดในตัวทําละลายชนิดตางๆ ซ่ึงตัวทําละลายท่ีใชสกัด 7 ตัว คือ เฮกเซน (1), 95% เอทานอล (2), เมทานอล (3), เอทิลอะซีเตต (4), คลอโรฟอรม (5), ไดคลอโรมีเทน (6) และอะซีโตน (7) มาวิเคราะหโดย TLC โดยใชตัวทําละลายระหวาง ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7), คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ 95% เอทานอล: อะซีโตน (4: 6) ไดผลดังภาพท่ี 5-9

จากภาพท่ี 5 และ 6 เปน TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากใบและกานพืชสมุนไพรแปะตําปง ตามลําดับ ซ่ึงมีลักษณะคลายกัน โดยตัวทําละลายท่ีสามารถแยกสารสกัดไดดีคือ คลอโรฟอรม: เอทิล อะซีเตต (7: 3) (ภาพท่ี 5 ข และ 6 จ) จะเหน็วาแยกกลุมสารไดประมาณ 3-4 กลุม ซ่ึงสารแตละกลุมแยกออกมาไดเร็วและมีระยะหางกัน ยกเวนสารสกัดในตัวทําละลายเฮกเซน (1) ซ่ึงแยกสารไดหนึ่งกลุม สวนตัวทําละลายไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) (ภาพท่ี 5 ก) และ 95% เอทานอล: อะซีโตน (4: 6) (ภาพท่ี 6 ง) แยกสารไดกลุมเดียว แสดงวาองคประกอบของสารในสารสกัดจากสวนของใบและกานของแปะตําปงไมแตกตางกัน

Page 37: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

27

ก (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

ภาพท่ี 5 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากใบพืชสมุนไพรแปะตําปงในตวัทําละลาย

ก. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) ข. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ค. 95% เอทานอล: อะซีโตน (4: 6)

Page 38: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

28

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) ง

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) จ

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

ภาพท่ี 6 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากกานพืชสมุนไพรแปะตําปงในตวัทําละลาย

ง. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) จ. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ฉ. 95% เอทานอล: อะซีโตน (4: 6)

Page 39: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

29

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) ช

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

ภาพท่ี 7 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบแหงจากใบพืชสมุนไพรแปะตําปงในตัวทําละลาย ช. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) ซ. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ฌ. 95 % เอทานอล: อะซีโตน (4: 6)

Page 40: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

30

จากภาพท่ี 7 เปน TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบแหงจากใบพืชสมุนไพรแปะตําปง พบวาตัวทําละลายคลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) (ภาพท่ี 7 ซ) สามารถแยกสารสกัดไดดกีวาตัวทําละลาย ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) (ภาพท่ี 7 ช) และ 95 % เอทานอล: อะซีโตน (4: 6) (ภาพท่ี 7 ฌ) จะเหน็วาแยกกลุมสารไดประมาณ 2-3 กลุม เม่ือเปรียบเทียบกับการสกัดแบบสดของใบและกานแปะตําปง ปรากฏวาแยกกลุมสารออกมาไดนอยกวา แสดงวาอุณหภูมิอาจจะมีผลทําใหสารบางตัวสลายตัวไป

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) ญ

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

ภาพท่ี 8 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากใบพืชสมุนไพรฮวานง็อกในตวัทําละลาย

ญ. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) ฎ. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ฏ. 95 % เอทานอล: อะซีโตน (4: 6)

Page 41: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

31

ภาพท่ี 8 (ตอ)

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) ฏ

ภาพท่ี 8 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากใบพืชสมุนไพรฮวานง็อกในตวัทําละลาย ญ. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) ฎ. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ฏ. 95 % เอทานอล: อะซีโตน (4: 6) จากภาพท่ี 8 เปน TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากใบพืชสมุนไพรฮวานง็อก

จะเห็นวาตัวทําละลายท่ีสามารถแยกสารสกัดไดดีคือคลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) (ภาพท่ี 8 ฎ) ซ่ึงสามารถแยกกลุมสารไดประมาณ 3-4 กลุม ซ่ึงสารแตละกลุมแยกออกมาไดเร็วและมีระยะหางกัน และสารสกัดท่ีสกัดในตัวทําละลายเอทิลอะซิเตต (4) สามารถแยกกลุมสารไดดท่ีีสุด คือประมาณ 5 กลุม สวนตัวทําละลาย ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) (ภาพท่ี 8 ญ) และ 95 % เอทานอล: อะซีโตน (4: 6) (ภาพท่ี 8 ฏ) แยกสารไดเพยีงกลุมเดียว

Page 42: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

32

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

ภาพท่ี 9 TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากใบพืชสมุนไพรสังกรณีในตัวทําละลาย ฐ. ไดคลอโรมีเทน: เมทานอล (3: 7) ฑ. คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และ ฒ. 95 % เอทานอล: อะซีโตน (4: 6)

Page 43: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

33

จากภาพท่ี 9 เปน TLC โครมาโทแกรมของสารสกัดแบบสดจากใบพืชสมุนไพรสังกรณ ีจะเห็นวาตัวทําละลายท่ีสามารถแยกสารสกัดไดดีคือ คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) (ภาพท่ี 9ฑ) ซ่ึงแยกกลุมสารไดประมาณ 3-4 กลุมและสารแตละกลุมแยกออกจากกันไดเร็ว มีระยะหางกัน และสารสกัดท่ีสกัดในตัวทําละลายเมทานอล (3) สามารถแยกกลุมสารไดดีท่ีสุด คือแยกไดประมาณ 6 กลุม 3. การทดสอบการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย จากการเล้ียงเช้ือ B. subtilis และ S. aureus ในอาหาร NB แลวปเปตแตละเช้ือมา 50 ไมโครลิตร ใสลงในแตละจานเล้ียงเช้ือท่ีมีอาหาร NA อยู เกล่ียใหท่ัว ชุบกระดาษตาปลาในสารสกัดจากสมุนไพรชนิดตางๆ ท่ีสกัดดวย 95 % เอทานอล ท้ังในแบบสดและแบบแหง บมเปนเวลา 24-48 ช่ัวโมง ท่ีอุณหภูมิหอง ไดผลดังแสดงในภาพท่ี 10-19

clear zone clear zone

clear zone

ภาพท่ี 10 การทดสอบการยบัยั้งการเจริญเของเชื้อ B. subtilis โดยดูโซนใส (inhibition zone)

ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบแปะตาํปงแบบสด

Page 44: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

34

ภาพท่ี 11 การทดสอบการยบัยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวย วิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบแปะตําปงแบบแหง

clear zone clear zone

clear zone

ภาพท่ี 12 การทดสอบการยบัยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวย

วิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากกานแปะตําปงแบบสด

จากภาพท่ี 10-12 เปนการทดสอบการยับยั้งการเจริญของเช้ือ B. subtilis โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบแปะตําปงแบบสดและแหง และกานแปะตําปงแบบสด ตามลําดับ พบวา สารออกฤทธ์ิยับยั้ง B. subtilis ไดสวนใหญเปนสารสกัดจากใบและกานสมุนไพรแปะตําปงท่ีสกัดแบบสด แตจากภาพจะมองเห็น clear zone ไมชัด อาจเปนเพราะวามีปริมาณเช้ือในจานเล้ียงเช้ือหนาและกระดาษที่ใชชุบสารสกัดมีขนาดเล็กเกินไป สวนสารสกัดจากใบแปะตําปงแบบแหงไมออกฤทธ์ิยับยั้ง B. subtilis

Page 45: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

35

ภาพท่ี 13 การทดสอบการยบัยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวย วิธีdisc agar diffusion ของสารสกัดจากใบฮวานง็อกแบบสด

ภาพท่ี 14 การทดสอบการยบัยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวย

วิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากกานฮวานง็อกแบบสด จากภาพท่ี 13 และ 14 เปนการทดสอบการยับยั้งการเจรญิของเช้ือ B. subtilis โดยดูโซนใส

(inhibition zone) ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบและกานฮวานง็อกทีส่กัดแบบสด พบวา สารสกัดไมออกฤทธ์ิยับยั้ง B. subtilis เนื่องจากไมเกิด clear zone

Page 46: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

36

clear zone clear zone

clear zone

ภาพท่ี 15 การทดสอบการยบัยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวย

วิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบแปะตําปงแบบสด

ภาพท่ี 16 การทดสอบการยบัยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวย วิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบแปะตําปงแบบแหง

Page 47: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

37

clear zone

ภาพท่ี 17 การทดสอบการยบัยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวย วิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากกานแปะตําปงแบบสด

จากภาพท่ี 15-17 เปนการทดสอบการยับยั้งการเจริญของเช้ือ S. aureus โดยดูโซนใส

(inhibition zone) ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบแปะตําปงท่ีสกัดแบบสดและแบบแหง และกานแปะตําปงท่ีสกัดแบบสด พบวา สารสกัดจากใบและกานแปะตําปงท่ีสกัดแบบสดสามารถออกฤทธ์ิยับยั้ง S. aureus ได แตจากภาพอาจมองเห็น clear zone ไมชัดเจน อาจเนื่องจากเช้ือท่ีเกล่ียในจานเล้ียงเช้ือไมสมํ่าเสมอ ทําใหมองเห็นบริเวณ clear zone ไมชัดเจน สวนสารสกัดจากใบแปะตําปงท่ีสกัดแบบแหงไมเกิด clear zone แสดงวา ไมสามารถยับยั้งเช้ือ S. aureus ได

ภาพท่ี 18 การทดสอบการยบัยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวย วิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบฮวานง็อกแบบสด

clear zone

clear zone clear zone

clear zone

Page 48: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

38

clear zone clear zone

clear zone

ภาพท่ี 19 การทดสอบการยบัยั้งการเจริญของเชื้อ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวย

วิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากกานฮวานง็อกแบบสด จากภาพท่ี 18 และ 19 เปนการทดสอบการยับยั้งการเจรญิของ S. aureus โดยดูโซนใส (inhibition zone) ดวยวิธี disc agar diffusion ของสารสกัดจากใบและกานฮวานง็อกแบบสด พบวา สารสกัดจากใบและกานฮวานง็อก สามารถออกฤทธ์ิยับยั้งเช้ือ S. aureus ไดเพราะเกดิ clear zone แตจากภาพอาจจะมองเหน็ไมชัดเจน อาจเนื่องมาจากการเข่ียเช้ือในจานเล้ียงเช้ือไมสมํ่าเสมอ และกระดาษท่ีใชชุบสารสกัดมีขนาดเล็กเกินไป 4. การทดสอบหากลุมสาร (Chemical Screening) เม่ือนําสวนของใบและกานของพืชสมุนไพรท้ัง 3 ชนิด ท่ีสกัดท้ังแบบสดและแบบแหงมาทดสอบหากลุมสาร ไดผลดังแสดงในตารางท่ี 6 พบวาเม่ือทดสอบหากลุมสารแอลคาลอยดของพืชสมุนไพรท้ัง 3 ชนิด ไดผลการทดสอบเปนบวก (positive) โดยเม่ือทดสอบกับ Mayer’s reagent จะไดสารละลายขุน และเม่ือทดสอบกับ Dragendorff’s reagent จะไดสารละลายสีสม ยกเวนใบแปะตําปงแหงและกานแปะตําปงแหง เม่ือทดสอบจะไดสารละลายใส ไมเปล่ียนแปลงท้ังสองหลอด แสดงวาอุณหภูมิท่ีใชในการอบพชือาจจะมีผลทําใหสารบางชนิดในพืชสมุนไพรถูกทําลายหรือสลายไป สวนการทดสอบกลุมสารแคโรทีนอยดและฟโนลิก ปรากฎวาไดผลการทดสอบเปนบวก แตการทดสอบกลุมสารอนุพันธุแอนทราซีนไกลโคไซดและแซนไทนแอลคาลอยด ใหผลการทดสอบเปนลบ (negative) แสดงวาสารสกัดจากพืชสมุนไพรท้ัง 3 ชนิดไมมีสารกลุมอนุพันธุแอนทราซีนไกลโคไซดและแซนไทนแอลคาลอยดเปนองคประกอบ

Page 49: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

39

ตารางท่ี 6 แสดงผลการทดสอบหากลุมสารของสารสกัดจากพืชสมุนไพร

พืชสมุนไพร การทดสอบหากลุมสาร ใบ

แปะตําปงสด

ใบ แปะตําปงแหง

กาน แปะตําปงสด

กานแปะตําปงแหง

ใบ ฮวาน ง็อกสด

กาน ฮวาน ง็อกสด

ใบ สังกรณีสด

กาน สังกรณีสด

แคโรทีนอยด -Conc. H2SO4 -20%w/v Antimony trichloride

+ +

+

+

+

+

+

+

+

+

+

+

+

+

+

+

สารประกอบ ฟโนลิก

+ + + + + + + +

แอลคาลอยด -Mayer’s reagent -Dragendorff’s reagent -แซนไทน แอลคาลอยด

+ +

-

- -

-

+ +

-

- -

-

+ +

-

+ +

-

+ +

-

+ +

-

อนุพันธุ แอนทราซีน ไกลโคไซด -Borntrager test -modified Borntrager test

_ _

_ _

_ _

_ _

_ _

_ _

_ _

_ _

หมายเหตุ + คือ ผลการทดสอบเปนในทางบวก (positive)

- คือ ผลการทดสอบเปนในทางลบ (negative

Page 50: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

40

5. การทดสอบการเปนสารตานอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH assay จากการศึกษาการเปนสารตานอนุมูลอิสระ โดยการนําสารสกัดหยาบจากพืชสมุนไพรท่ีสกัดในตัวทําละลายชนิดตางๆ มาระเหยตัวทําละลายชนดินั้นๆออกและละลายดวยเมทานอลและเจือจางใหไดความเขมขน 50 ppm นําไปวดัคาการดูดกลืนแสงท่ีความยาวคล่ืน 517 นาโนเมตร โดยใชวิตามินซี (ascorbic acid) เปน positive control พบวาเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดตางๆไดผลดังแสดงในตารางท่ี 7-11 ตารางท่ี 7 คากิจกรรมการตานสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัดแบบสดของใบพืชสมุนไพรแปะตําปง ดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ ท่ีความเขมขน 50 ppm

ตัวทําละลาย เปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH อะซีโตน คลอโรฟอรม

4.6979 1.5939

ไดคลอโรมีเทน 1.7617 95 % เอทานอล 1.2584 เอทิลอะซิเตต -2.0134 เฮกเซน -0.0839 เมทานอล -0.7550 จากตารงท่ี 7 เม่ือเปรียบเทียบเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัดแบบสดของใบพืชสมุนไพรแปะตําปงดวยตัวทําละลายชนดิตางๆ พบวาสารสกัดจากอะซีโตนมีเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH สูงสุด เทากับ 4.6979 % สวนสารสกัดจากเอทิลอะซิเตต เฮกเซนและเมทนานอล ไมสามารถตานอนุมูลอิสระได

Page 51: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

41

ตารางท่ี 8 คากิจกรรมการตานสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัดแบบแหงของใบพืชสมุนไพรแปะตําปง ดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ ท่ีความเขมขน 50 ppm

ตัวทําละลาย เปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH อะซีโตน คลอโรฟอรม

5.7886 1.5939

ไดคลอโรมีเทน 8.9765 95% เอทานอล 7.5503 เอทิลอะซิเตต 2.6007 เฮกเซน 1.8456 เมทานอล 4.1107 จากตารางท่ี 8 เม่ือเปรียบเทียบเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัดแบบแหงของใบพืชสมุนไพรแปะตําปงดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ จะเหน็วาสารสกัดจากไดคลอโรมีเทน มีเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH สูงสุด คือ 8.9765 % และสารสกัดจากคลอโรฟอรมมีเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH ต่ําสุด คือ 1.5939% ตารางท่ี 9 คากิจกรรมการตาบสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัดแบบสดของกานพืชสมุนไพรแปะตําปง ดวยตัวทําละลายชนดิตางๆ ท่ีความเขมขน 50 ppm

ตัวทําละลาย เปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH อะซีโตน คลอโรฟอรม

1.9295 0.7550

ไดคลอโรมีเทน 0.9228 95% เอทานอล -0.8389 เอทิลอะซิเตต -2.1812 เฮกเซน -1.3423 เมทานอล -1.9295

Page 52: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

42

จากตารางท่ี 9 เม่ือเปรียบเทียบเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัดแบบสดของกานพืชสมุนไพรแปะตําปงดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ ปรากฎวาเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH มีคาสูงสุดเทากับ 1.9295 % เม่ือสกัดดวยอะซีโตน สวนสารสกัดท่ีสกัดดวย 95% เอทานอล เอทิลอะซิเตต เฮกเซนและเมทานอล ไมสามารถตานอนุมูลิอสระได ตารางท่ี 10 คากิจกรรมการตานสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัดแบบสดของใบพืชสมุนไพรฮวานง็อก ดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ ท่ีความเขมขน 50 ppm

ตัวทําละลาย เปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH อะซีโตน คลอโรฟอรม

9.1443 2.4329

ไดคลอโรมีเทน 95% เอทานอล เอทิลอะซิเตต เฮกเซน เมทานอล

1.6778 7.2148 4.1946 1.0906 5.2852

จากตารางท่ี 10 เม่ือเปรียบเทียบเปอรเซ็นตการตานอนมูุลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบ

จากการสกัดแบบสดของใบพืชสมุนไพรฮวานง็อกดวยตัวทําละลายชนดิตางๆ พบวาสารสกัดจากอะซีโตนมีเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH สูงสุดท่ี 9.1443 % และสารสกดัจากเฮกเซนมีเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH ต่ําสุดคือ 1.0906 %

Page 53: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

43

ตารางท่ี 11 คากิจกรรมการตานสารอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัดใบพืชสมุนไพรสังกรณีแบบสด ดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ ท่ีความเขมขน 50 ppm

ตัวทําละลาย เปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH อะซีโตน คลอโรฟอรม

4.9128 6.7353

ไดคลอโรมีเทน 3.8035 95% เอทานอล 17.6704 เอทิลอะซิเตต -8.6562 เฮกเซน -2.1434 เมทานอล -5.1113 จากตารางท่ี 11 เม่ือเปรียบเทียบเปอรเซ็นตการตานอนมูุลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบจากการสกัดแบบสดของใบพืชสมุนไพรสังกรณีดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ จะเหน็วาเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH มีคาสูงสุดเทากับ 17.6704 % เม่ือสกัดสารดวย 95 % เอทานอล สวนสารสกัดจากเอทิลอะซิเตต เฮกเซน และเมทานอล พบวาไมสามารถตานอนุมูลอิสระได

Page 54: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

44

สรุปผลการทดลอง

1. จากการสกดัสารจากพืชสมุนไพรท้ัง 3 ชนิด ดวยตัวทําละลายชนิดตางๆ พบวาคลอโรฟอรมสามารถสกัดสารจากใบแปะตําปงอบแหงไดดีท่ีสุด ไดน้าํหนักสารสกดัหยาบเทากับ 2.1132 กรัม สวนเมทานอลเปนตัวทําละลายท่ีใชสกัดสารจากใบแปะตําปงสดและใบฮวานง็อกไดดีท่ีสุด ไดน้ําหนักสารสกัดหยาบเทากับ 0.2442 กรัมและ 0.8000 กรัม ตามลําดับ และสารสกัดหยาบท่ีสกัดดวยอะซีโตนสกัดสารจากกานแปะตําปงสดและใบสังกรณีไดดีท่ีสุด ไดน้ําหนักสารสกัดหยาบเทากับ 0.1478 กรัมและ 0.4913 กรัม ตามลําดับ สวนเฮกเซนสกัดสารไดนอยท่ีสุด แสดงวาเฮกเซนเปนตัวทําละลายที่ไมดใีนการสกัดสารจากพืชสมุนไพรท้ัง 3 ชนิด

2. เม่ือนําสารสกัดหยาบท่ีสกัดจากพืชสมุนไพรมาวเิคราะหโดยวิธีโครมาโทกราฟแบบแผนเคลือบ (Thin layer chromatography, TLC) พบวาตัวทําละลายท่ีสามารถแยกสารสกัดไดดีคือ คลอโรฟอรม: เอทิลอะซีเตต (7: 3) และเม่ือเปรียบเทียบสารสกัดหยาบท่ีสกัดในตัวทําละลายท้ัง 7 ตัว พบวาเฮกเซนสกัดสารไดไมดี เนื่องจากแยกกลุมสารไดนอยท่ีสุด และเม่ือเปรียบเทียบการสกัดแยกสวนของใบและกาน สกัดแบบสดและแบบแหง จะเห็นวาการสกัดแบบแหงแยกไดกลุมสารนอยกวา เนื่องจากอุณหภูมิท่ีใชอบใบพืชสมุนไพรอาจจะมีผลทําใหสารบางตัวสลายตัวไป สวนการสกัดแยกสวนของใบและกานไดผลไมแตกตางกัน

3. เม่ือนําพืชสมุนไพรมาทดสอบหากลุมสาร พบวาพืชสมุนไพรท้ัง 3 ชนิด ท้ังสวนใบ และกาน มีกลุมสารแคโรทีนอยด สารแอลคาลอยด และสารฟโนลิกเปนองคประกอบ ยกเวนใบและกานสมุนไพรแปะตําปงท่ีอบแหง ไมมีกลุมสารแอลคาลอยดเปนองคประกอบ

4. จากการทดสอบการยับยั้งการเจริญเติบโตของเช้ือแบคทีเรียจากพืชสมุนไพรท่ีสกัดดวย 95 % เอทานอล พบวาสารสกัดจากใบและกานพืชสมุนไพรแปะตําปงแบบสด สามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียไดท้ังเช้ือ B. subtilis และ S. aureus สวนสารสกัดจากใบและกานสมุนไพร ฮวานง็อกแบบสด สามารถยับยั้งไดเฉพาะเช้ือ S. aureus แตจากผลการทดลองไมสามารถสรุปไดวาสารสกัดสามารถออกฤทธ์ิยับยั้ง B. subtilis หรือ S. aureus ไดดกีวากัน อาจเนื่องมาจากเช้ือท่ีเกล่ียในจานเล้ียงเช้ือไมสมํ่าเสมอ อีกท้ังแผนกระดาษชุบสารสกัดมีขนาดเล็กและมีปริมาณเช้ือในจานเล้ียงเช้ือมากเกินไป ทําใหมองเห็นบริเวณ clear zone ไมชัดเจน

Page 55: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

45

5. จากผลการทดสอบการเปนสารตานอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH assay ท่ีความเขมขน ของสารสกัด 50 ppm นําไปคํานวณคาเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ พบวาสารสกัดจากใบและกานสมุนไพรแปะตําปง และสารสกัดจากใบสมุนไพรฮวานง็อกแบบสดท่ีสกัดดวยอะซีโตน มีคาเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH สูงสุด เทากับ 4.6979 %, 1.9295 % และ 9.1443 % ตามลําดับ สวนสารสกัดจากใบสมุนไพรแปะตําปงแบบแหงท่ีสกัดดวยไดคลอโรมีเทน มีคาเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH สูงสุด เทากับ 8.9765 % และสารสกัดใบสมุนไพรสังกรณท่ีีสกัดดวย 95 % เอทานอล มีคาเปอรเซ็นตการตานอนมูุลอิสระ DPPH สูงสุด เทากับ 17.6704 % สวนสารสกัดจากใบแปะตําปงแบบแหงท่ีสกัดดวยคลอโรฟอรม มีคาเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH ต่ําสุด เทากับ 1.5939 % และสารสกดัจากใบฮวานง็อกแบบสดท่ีสกัดดวยเฮกเซน มีคาเปอรเซ็นตการตานอนุมูลอิสระ DPPH ต่ําสุด เทากับ 1.0906 %

6. เม่ือนําผลการทดสอบการเปนสารตานอนมูุลอิสระโดยวธีิ DPPH assay ของพืช สมุนไพรท้ัง 3 ชนิด มาเปรียบเทียบผลการตานอนุมูลอิสระ ปรากฎวา ใบสังกณใีหผลการตานอนุมูลอิสระไดดีกวาใบฮวานง็อกและใบแปะตําปง ตามลําดับ และเม่ือเปรียบเทียบผลการตานอนุมูลอิสระของการสกัดแบบสดและแบบแหงของพืชสมุนไพรแปะตําปง พบวา การสกัดแบบแหงใหผลการตานอนุมูลอิสระไดดีกวาการสกดัแบบสด

Page 56: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

46

เอกสารอางอิง

พิยดา แสงหิรัญ. 2548. การใชสารสกัดจากพืชสมุนไพรเพื่อยับยัง้การเจริญของ Propionibacterium

acnes. ปญหาพิเศษปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. Anonymous. 2006. จุลสาร 1. www.rsu.ac.th. แหลงท่ีมา: http://www.rsu.ac.th/medtech

/BooK/book1/page05.htm. 14 มีนาคม 2550

Anonymous. 2006.ไมดีแปะตําปงสุดยอดสมุนไพร. www.komchadluek.net. แหลงท่ีมา: http:// www.komchadluek.net/2006/07/27/x_agi_b001.php. 9 มีนาคม 2550

Anonymous. 2006. โรคเริม. www.elib-online.com. แหลงท่ีมา: http://www.elib- online.com /doctors49/std_herpes002.html. 9 มีนาคม 2550

Anonymous. 2006. ศูนยขาวเพื่อประชาชน. www.thainews.prd.go.th. แหลงท่ีมา: http://thainews.prd.go.th. 11 มีนาคม 2550

Anonymous. 2006. สังกรณี. www.wangtakrai.com. แหลงท่ีมา: http:// www.wangtakrai.com

/panmai/detail.php?id=3199. 11 มีนาคม 2550 Anonymous. 2006. Hoan Ngoc (ฮวานง็อก) วานลิงหรือพญาวานรสมนุไพรทางเลือกสําหรับ

โรคเบาหวานและมะเร็ง. www.sanook.com. แหลงท่ีมา:http://blog.sanook.com/ DesktopModules/MIH/Blog/BlogView.aspx?tabID=0&alias=medplant&ItemID=15058&mid=189449. 12 มีนาคม 2550

B. Shana, Y. Zhong Caia, J. D. Brooksb and H. Corke. 2007. The in vitro antibacterial activity of dietary spice and medicinal herb extracts. International Journal of Food Microbiology 117(1) : 112-119.

I. M. S. Eldeena and J. Van Staden. 2007. In vitro pharmacological investigation of extracts from

Page 57: ป ญหาพิเศษ...The percentage of crued extracts were 7.04, 0.81 and 2.67 respectively. Additionally, acetone was a good solvent for extraction of fresh Gynura divaricata

47

some trees used in Sudanese traditional medicine. South African Journal of Botany. South Africa

L. Jagan Mohan Rao, K. Ramalakshmi, B. B. Borse and B. Raghavan. 2005. Antioxidant and

radical-scavenging carbazole alkaloids from the oleoresin of curry leaf (Merraya koenigii Spreng.). Food Chemistry 100(2007) : 742-747.

N. Kartala, M. Sokmena, B. Tepeb, D. Dafererac, M. Polissiouc and A. Sokmenb. 2005. Investigation of the antioxidant properties of Ferula orientalis L. using a suitable extraction procedure. Food Chemistry 100(2) : 584-589.

S. Dordevica, S. Petrovicc, S. Dobricb, M. Milenkovicd, D. Vucicevicd, S. Zizice and J. Kukicc. 2007. Antimicrobial, anti-inflammatory, anti-ulcer and antioxidant activities of Carlina acanthifolia root essential oil. Journal of Ethnopharmacology 109(3) : 458-463.

X. Duan, Y. Jiang, X. Su, Z. Zhang and J. Shi. Antioxidant properties of anthocyanins extracted

from litchi (Litchi chinenesis Sonn.) fruit pericarp tissues in relation to their role in the pericarp browning. 2005. Food Chemistry 101(2007) : 1365-1371.