21
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ ราง คูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual) กระบวนการดานวางโครงการ กรมชลประทาน กลุมพิจารณา สวนวิศวกรรมบริหาร สํานักชลประทานที11 (วันที่จัดทํา) 15 ..53

ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ราง

คูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual)

กระบวนการดานวางโครงการ กรมชลประทาน

กลุมพิจารณา สวนวิศวกรรมบริหาร สํานกัชลประทานที่ 11 (วันท่ีจัดทํา) 15 ก.พ.53

Page 2: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ
Page 3: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

สารบัญ

หนา 1. วัตถุประสงคของการจัดทําคูมือ

2. ขอบเขต

3. คําจํากัดความ

4. หนาท่ีความรับผิดชอบ

5. Work Flow กระบวนการ

6. ข้ันตอนการปฏิบัติงาน

7. มาตรฐานงาน

8. ระบบติดตามประเมินผล

9. เอกสารอางอิง

10. แบบฟอรมท่ีใช

ภาคผนวก

1) ตัวอยางแบบฟอรม

2) รายช่ือผูจัดทํา

Page 4: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

1

คูมือการปฏิบตัิงาน

กระบวนการดานวางโครงการ

1. วัตถุประสงค

เพื่อใหสวนราชการมีการจัดคูมือการปฏิบัติงานท่ีชัดเจนอยางปนลายลักษณอักษรท่ีแสดงถึงรายละเอียดข้ันตอนการปฏิบัติงานของกิจกรรม/กระบานการตางๆของหนวยงานและสรางมาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีมุงไปสูการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองคกรอยางมีประสิทธิภาพเกิดผลงานท่ีไดมาตรฐานเปนไปตามเปาหมายและบรรลุขอกําหนดท่ีสําคัญของกระบวนการ

1.1

เพื่อเปนหลักฐานแสดงวิธีการทํางานท่ีสามารถถายทอดใหกับผูท่ีเขามาปฏิบัติงานใหมพัฒนาใหการทํางานเปนมืออาชีพและใชประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรรวมทั้งแสดงหรือเผยแพรใหกับบุคคลภายนอกหรือผูใชบริการใหสามารถเขาใจและใชประโยชนจากกระบนการท่ีมีอยูเพื่อขอรับการบริการท่ีตรงกับความตองการ

1.2

เพื่อพิจารณาความเหมาะสมเบ้ืองตนของโครงการสําหรับใชในการสํารวจและออกแบบรายละเอียด

1.3

2. ขอบเขต

คูมือการปฏิบัติงานนี้ครอบคลุมข้ันตอนดานวางโครงการโดยเร่ิมต้ังแตกลุมพิจารณาโครงการจะรวบรวมขอมูลจากโครงการท่ีเกี่ยวของพรอมกับดูงานสนามของพ้ืนท่ีท่ีจะมีการกอสราง เม่ือส้ินสุดขบวนการคือกลุมพิจารณาโครงการจะเปนผูจัดทํารายงานความเหมาะสมเบ้ืองตนเสนอผูอํานวยการสวนวิศวกรรมบริหารเห็นชอบ จากน้ันสงเอกสารดังกลาวใหฝายสํารวจภูมิประเทศและกลุมออกแบบสําหรับประกอบการทํางานตอไป

3. คําจํากัดความ

มาตรฐานคือส่ิงท่ีเอาเปนเกณฑสําหรับเทียบกําหนดท้ังในดานปริมาณและคุณภาพ(พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542)

มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เปนผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่งซ่ึงถือวาเปนเกณฑท่ีนาพอใจหรืออยูในระดับท่ีผูปฏิบัติงานสวนใหญทําไดโดยจะมีกรอบในการพิจารณากําหนดมาตรฐานหลายๆดาน อาทิ ดานปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา คาใชจายหรือพฤติกรรมของผูปฏิบัติงาน

Page 5: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

2

4. หนาท่ีความรับผิดชอบ

หนาท่ีความรับผิดชอบของกระบวนการดานวางโครงการมีดังนี ้

1. ขอมูลเบ้ืองตน ผูรับผิดชอบ ผูอํานวยการโครงการเจาของงาน

2. การรวบรวมขอมูล การวิเคราะห การกําหนดรูปแบบและการออกแบบเบื้องตน ผูรับผิดชอบ วิศวกรชลประทานชํานาญการ กลุมพิจารณาโครงการ

3.การชี้แจงประชาชนรับทราบขอมูล ผูรับผิดชอบ ผูอํานวยการโครงการเจาของงาน

4.การจัดทํารายงาน ผูรับผิดชอบ วิศวกรชลประทานชํานาญการ กลุมพิจารณาโครงการ

5. กระบวนการ (Work Flow)

ลําดับท่ี ผังกระบวนการ ระยะเวลา (วัน)

รายละเอียดงาน ผูรับผิดชอบงาน

1 1 หาขอมูลที่เก่ียวของ โครงการฯ เร่ิมโครงการ

2 1 รวบรวมขอมูล โครงการฯ การรวบรวมขอมูล

3 2 ตรวจสภาพพ้ืนที่ เพ่ือกําหนดที่ต้ัง และรูปแบบของโครงการ

กลุมพิจารณา โครงการและเจาของโครงการฯ

ตรวจสภาพพื้นท่ี เพื่อกําหนดท่ีตั้ง และรูปแบบของโครงการ

4 3 วิเคราะหขอมูล ความถ่ีนํ้าทวม ปริมาณน้ําทวมสูงสุด ความตองการใชนํ้า

กลุมพิจารณา โครงการ

วิเคราะหขอมูล ความถี่นํ้าทวม ปริมาณนํ้าทวมสูงสุด ความตองการใชนํ้า

5 2 ออกแบบเบื้องตน กลุมพิจารณา โครงการ (กพค.)

6 5 จัดประชุมช้ีแจงโครงการกับผูมีสวนไดสวนเสีย

เจาของโครงการฯ ที่รับผิดชอบ

7 2 วิเคราะหขอมูลดานวิศวกรรม คาลงทุน

กลุมพิจารณา โครงการ

8 1 กําหนดขอบเขตสํารวจ กลุมพิจารณาโครงการ

9 5 จัดทําเอกสารรายงานฯ กลุมพิจารณาโครงการ

10 1 เสนอผูบังคับบัญชาอนุมัติ สวนวิศวกรรมฯ

โครงการฯเจาของเร่ืองชี้แจงประชาชนรับทราบ

สรุปวิเคราะหดานวิศวกรรม,คาลงทุน,ผลประโยชน,ขอเสนอแนะ

กําหนดขอบเขตการสํารวจ

สิ้นสุดขบวนงาน

จัดทํารายงาน

ออกแบบเบื้องตน

NO

YES

Page 6: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

3

6. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนท่ี 1 การรวบรวมขอมูล

กลุมพิจารณาโครงการจะขอเร่ืองเดิมจากเจาของโครงการ ท่ีกลาวถึงความเปนมาของโครงการ ท้ังท่ีเปนเร่ืองท่ีมีการรองขอจากพ้ืนท่ี เชน จากองคการบริหารสวนตําบล หรือหลักการและเหตุผลท่ีแสดงถึงปญหาของพ้ืนท่ี ท่ีมีความจําเปนจะตองมีโครงการ

ขั้นตอนท่ี 2 การตรวจสภาพพื้นท่ี การกําหนดท่ีตั้งและกําหนดรูปแบบโครงการ

กลุมพิจารณาโครงการจะหาขอมูลจากสนามกับโครงการเจาของงานเพ่ือตรวจสอบรายละเอียดในเบื้องตนของสภาพพื้นท่ีของบริเวณท่ีจะมีการกอสราง เชน ระดับพื้นดินโดยเฉล่ีย อาคาร รวมท้ังสภาพพื้นท่ีโดยรวมท่ีเกี่ยวของ และมิติตางของทางน้ําท่ีจะกอสรางอาคารหัวงาน และขอมูลอุตตุและอุทกวิทยา เชน ขนาดความกวาง, ความลึกของทางนํ้า, ปริมาณนํ้าสูงสุด, ระดับน้ํา, ปริมาณฝนท่ีตกในพื้นท่ี เปนตนเพื่อกําหนดท่ีตั้งของโครงการจากนั้นจะกําหนดรูปแบบของโครงการ

โดยท่ัวไปแลวลักษณะของโครงการประกอบดวย - อาคารบังคับน้ํา เชน ทอระบายน้ํา, ประตูระบายนํ้า, ประตูเรือสัญจร

- สถานีสูบน้ําทางเดียวหรือสองทาง

- กําแพงกันน้ํา (Flood Wall) หรือ คันดิน

อาคารบังคับน้ํา

- ทอระบายน้ํา เปนรูปแบบท่ีเหมาะสมกับทางน้ําท่ีมีขนาดไมกวางมากและไมมีเรือสัญจรไปมา และตองการไวเปนทางขาม โดยขนาดของทอไมควรจะเกิน 2 -2.50 x 2.50 เมตร หากอาคารใหญกวานี้ควรพิจารณาเปนประตูระบายนํ้าจะเหมาะสมกวา

- ประตูระบายนํ้า, ประตูเรือสัญจร เปนรูปแบบท่ีใชการทางน้ําท่ีมีเรือสัญจรไปมา โดยขนาดและจํานวนชองประตูก็พิจารณาใหเหมาะสมกับปริมาณนํ้าท่ีผานทางน้ํานั้น ๆ

สถานีสูบน้ํา

มี 2 รูปแบบคือ สถานีสูบน้ําทางเดียวและสองทาง โดยสถานีสูบน้ําทางเดียวจะใชกับพื้นท่ีตองการระบายนํ้าออกจากพื้นท่ีหรือสูบน้ําเขาชวยเหลือพื้นท่ีในฤดูแลง เพียงอยางใดอยางหน่ึงเทานั้น หากพ้ืนท่ีมีความจําเปนท้ัง 2 กรณี ก็พิจารณาเปนสูบน้ําสองทาง

กําแพงกันน้ํา (Flood Wall) หรือคันดิน

เปนรูปแบบของอาคารที่ใชปองกันน้ําทวมเขาพื้นท่ีโดยคันดินจะใชในกรณีท่ีบริเวณท่ีจะกอสรางมีพื้นที่เพียงพอสําหรับทําคันดิน เพราะคันดินจะใชพื้นท่ีมากเพื่อใหเกิดความมั่นคง สวนกําแพงกันน้ําจะใชในกรณีท่ีพื้นที่ท่ีจะกอสรางไมมีหรือมีนอย

Page 7: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

4

ขั้นตอนท่ี 3 การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลประกอบดวย

การวิเคราะหความถ่ีของนํ้าทวม (Flood Frequency Analysis) 1.1 1.2 การคํานวณหาปริมาณนํ้าทวมสูงสุด (Flood Peak) 1.3 การคํานวณหาความตองการใชน้ํา

การวิเคราะหความถ่ีของนํ้าทวม (Flood Frequency Analysis)

เร่ืองของปริมาณนํ้าทวมเปนส่ิงท่ียากจะบอกไดวาในอนาคตจะเกิด น้ําทวมเปนปริมาณเทาไร การวิเคราะหความถ่ีของน้ําทวมจะพอมาใชเปนคําตอบในการประเมินปริมาณนํ้าทวมในอนาคตได ซ่ึงประโยชนท่ีไดรับจากการวิเคราะหจะนํามาใชในการออกแบบอาคารชลประทานตาง ๆ ในพ้ืนท่ีปองกันน้ําทวม

ในการวิเคราะหมีหลายวิธีดวยกัน เชน Log Normal, Log Pearson Type III เปนตน แตในท่ีนี้จะกลาวถึงวิธีของกัมเบล Gumbel

ฟงกช่ันการแจกแจงแบบกัมเบล (Gumbel) บางคร้ังเรียกวา Double Exponential Function หรือแบบ Type I General Extreme Value

สมการของกัมเบล

Cumulative Distribution Function ของกัมเบลคือ

F (x) = exp ⎥⎦⎤

⎢⎣⎡

∝−

− ))(

exp( 0xx

Inversed Function ของกัมเบลคือ

x = x0 - ∝ ln [ ] )(ln xF−

F(x) = 1- tr1 , tr = รอบปการเกิดซํ้า

x = x0 - ∝ ln ⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ −− )11ln(

tr

( x จะเปนขอมูลของปริมาณนํ้าหรือระดับน้ําหรือปริมาณนํ้าฝน)

สําหรับการประเมินคา Parameter ใชวิธีของ Moment

∴ x0 = xSx 45.0−

= 0.7797 Sx ∝

Sx = )(11

XXN

N

II −∑

=

2

Page 8: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

5

X = ∑=

N

IIX

N 1

1

N = จํานวนขอมูล

ปริมาณนํ้าทวมสูงสุด (Flood Peak)

การหาปริมาณนํ้าทวมสูงสุดมีอยูดวยกันหลายวิธี แตวิธีท่ีจะนํามาใชจะใชวิธีของ Rational ซ่ึงเปนวิธีท่ีงายแตก็มีขีดจํากัดของการใชเหมือนกัน เชน ควรใชกับพื้นท่ีลุมน้ําไมเกิน 13 ตร.กม.

สมการของ Rational Q = 0.278 CIA Q = ปริมาณการไหลสูงสุด, ม.3/วินาที C = สัมประสิทธ์ิของนํ้าทา I = ความเขมของฝน, มม./ชม. A = พื้นที่รับน้ํา, กม.2 สําหรับสัมประสิทธ์ิของนํ้าทา, C ท่ีมีลักษณะพื้นผิวหลายอยางจะมีการหาคาเฉล่ีย ดังนี้

C = ∑∑

I

II

AAC

สําหรับคา C ท่ีใหไวในตารางใชเฉพาะฝนท่ีมีรอบปของการเกิดซํ้า 5 ถึง 10 ป เทานั้น ถานําไปใชกับฝนท่ีรอบปมากกวานี้จะมีการปรับคาโดยการคูณ Cf เขาไปในสมการ Q = 0.278 CIACf [ C คูณ Cf ตองไมเกิน 1 ]

รอบปการเกิดซํ้า (ป) Cf

2-5 1.0

25 1.1

50 1.2

100 1.25

ความเขมของฝน (i) สําหรับสมการ Rational จะไดจากชวงเวลาท่ีเกิดน้ําทวมสูงสุดกับรอบปของการเกิดซํ้า ตามความสําคัญของอาคารท่ีออกแบบดังนี้

Page 9: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

6

ประเภทอาคาร รอบปการเกิดซํ้า (ป)

ทอลอดถนนหรือทางน้ําธรรมชาติท่ีตัดผานคลองชลประทาน 25

ระบบระบายน้ําในเมือง 15-20

ระบบระบายน้ําในพื้นท่ีเกษตรกรรม 5-10

อาคารผันน้ําขณะกอสรางเข่ือนขนาดเล็ก 10-25

อาคารระบานํ้าลนขนาดเล็ก 20-100

สําหรับการวิเคราะหโดยใชกราฟความเขม-ชวงเวลา-รอบปของการเกิดซํ้าเกิดจากการใชขอมูลฝนท่ีมีคาสูงสุดของสถานีมาคํานวณ โดยมีสมมติฐานวาสถานีนั้นอยูตรงจุดท่ีฝนตกหนักสุด ดังนั้นคาท่ีไดจากกราฟถือวาเปนคาฝนเฉพาะสถานีและนําไปใชกับพื้นท่ีไมเกิน 10 ตร.ไมล ถาหากนําไปใชกับพื้นท่ีมากกวานี้คาปริมาณการไหลสูงสุดจะสูงเกินจริง ดังนั้นจําเปนตองมีคาตัว Factor ลดปริมาณฝน ซ่ึง Factor นี้เรียกวา Areal Rainfall Reduction Factor (ARF)

ARF = p

c

RR

= cR ความลึกของฝนในชวงเวลาท่ีกําหนดของพื้นที่ลุมน้ําใด ๆ

PR = ความลึกของฝนเฉพาะจุด (10 ตร.ไมล) ในชวงเวลาเทากัน ใชสมการของ Leclerc and Shaoke (1972) ARF = 1-exp(-1.1 t0.25) + exp (-1.1 t0.25-0.01A)

= t ชวงเวลาการตกของฝนเปนชั่วโมง A = พื้นที่เปน ตร.ไมล

ความตองการใชน้ํา

ความตองการใชน้ําประกอบดวย - ความตองการใชน้ําของพืช - ความจองการใชน้ําเพื่ออุปโภค-บริโภค - ความตองการใชน้ําเพื่อการอุตสาหกรรม

โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ความตองการใชน้ําของพืช

- ใชขอมูลของกลุมงานวิจัยการใชน้ําชลประทาน - ในกรณีท่ีมีแผนการปลูกพืชและขอมูลการสงน้ําจะใชขอมูลความตองการใชน้ําจาก Crop

Coefficient (Kc) ของพื้นท่ีนั้น ๆ

Page 10: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

7

2. ความตองการใชน้ําเพื่อการอุปโภค-บริโภค กําหนดใหใช = 200 ลิตร/คน/วัน

3. ความตองการใชน้ําเพื่อการอุคสาหกรรม กําหนดใหใช = 10 ลบ.ม./ไร/วัน

ขั้นตอนท่ี 4 การออกแบบเบ้ืองตน

ทอระบายน้ํา

การคํานวณปริมาณนํ้าผาน ทรบ.

การพิจารณาเปน ทรบ. จะพิจารณาจาก 1. ขนาดคลองตองไมใหญมาก (ใชการคํานวณมาประกอบ) 2. ตองการทางขาม 3. ตองไมเปนคลองท่ีมีเรือผานไป-มา

สวนหลักการวาจะใช ทรบ.ขนาดเทาไร ก็ใชหลักการพิจารณาจากผลการคํานวณเหมือน ปตร. กลาวคือ ตรวจสอบ ระดับน้ําดานหนาอาคารท่ียกระดับข้ึนวามีผลกระทบกับพื้นท่ีดานหนาหรือไม ถามีก็เลือกขนาดทอใหใหญข้ึน จนระดับน้ําดานหนาไมมีผลกระทบกับพื้นท่ีหรือมีแตนอยมาก

การวิเคราะหทางดานชลศาสตร C.L.ถนน

ระดับตล่ิง ระดับตล่ิง

∇ 1EL ∇ 2EL

1y 2y Datumline

จากสมการ Bernoulli’s equation

11

21

2Z

gvp

++γϖ

= hLZg

vp+++ 2

22

2

2γϖ

,021 ==γϖλϖpp

11 yZ = ; 22 yZ =

∴ 11

2

2y

gv

+ = 22

2

2y

gv

+ + hL

สําหรับในรูป จะประกอบดวย Entrance Loss, Friction Loss, และ Exit Loss ซ่ึงจะรวมในรูปของ

hL

Page 11: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

8

gpvK

2.

2

ดังนั้น = hLgpvK

2.

2

∴ = hL ⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛+−⎟⎟

⎞⎜⎜⎝

⎛+ 2

22

11

2

22y

gvy

gv

= ( )212

21

2

22yy

gv

gv

−+⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛−

สมมติให = 0 ⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛−

gv

gv

222

21

2

∴ = = hL )( 21 yy − hΔ = gpvK

2.

2

= PV hgxk

Δ21

k1 = C

∴ = C PV hgΔ2

Q = = PPVA PCA hgΔ2

คา C อยูในชวง 0.6 – 0.8

ปกติใช C = 0.6

ประตูระบายนํ้า การคํานวณปริมาณนํ้าผาน ปตร.

พิจารณากรณีเปดบานผันน้ําหมด ในการพิจารณาโครงการตองมีการตรวจสอบวาในชวงท่ีระดบัน้ําในคลองหรือลําน้ําท่ีจะมีการกอสรางอาคารท่ีระดับ F.S.L. (Full Supply Level) น้ําท่ีอยูดานหนาอาคารจะยกระดับข้ึนไปเทาไร และระดับท่ีเออข้ึนไปดานเหนือน้ําจะกระทบกับพื้นท่ีนั้นหรือไม ถากระทบก็ใหพิจารณาออกแบบใหขยายชองเปดของอาคารใหมากข้ึน แลวตรวจสอบระดับน้ําท่ีเออใหมอีก ทําเชนนี้ไปเร่ือย ๆ จนกวาระดับน้ําท่ีเออหรือยกตัวข้ึนดานหนาอาคารจะไมมีผลกระทบกับพื้นท่ีหรือมีแตนอยมาก

Page 12: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

9

การวิเคราะหทางดานชลศาสตร 1

ฏDaDatumline 1y 2y

จากสมการ Bernoulli equation

2

∇ ... LSF

1

11

21

2Z

gvp

++γϖ

= 12

22

2Z

gvp

++γϖ

,0,0 21 ==γϖλϖpp Assume 0 hL

∴ ; 11 yZ = 22 yZ =

∴ 11

2

2y

gv

+ = 22

2

2y

gv

+

2v = ⎥⎦

⎤⎢⎣

⎡+−

gvyyg2

)(2 12

21

ให = 21 yy − hΔ

2v = ⎥⎦

⎤⎢⎣

⎡+Δ )

2(2 1

2

gvhg

จาก Q = AV

∴ Q = )2

1(22

2 gvhgCA +Δ

โดยกําหนดใหคา C ประมาณ 0.6 – 0.8 ปกติใช 0.8

สถานีสูบน้ํา

การคํานวณ Pump

ในการออกแบบสถานีสูบน้ํา การกําหนดจุดท่ีตั้งและจํานวนเคร่ืองสูบน้ําเปนส่ิงท่ีมีความสําคัญ กลาวคือ จุดท่ีตั้งเคร่ืองสูบน้ําตองต้ังอยูตรงจุดท่ีเปนศูนยรวมของน้ําท่ีจะสามารถเอานํ้าออกจากพ้ืนท่ีไดสะดวก

Page 13: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

10

สําหรับการคํานวณปริมาณน้ําท่ีตองสูบโดยเคร่ืองสูบน้ํานั้น จะพิจารณาจากความเขมของฝน (Intensity) ท่ีมี Return Period 5 ป โดยจํานวนเคร่ืองสูบน้ําท่ีออกแบบตองใหสัมพันธกับปริมาณนํ้าท่ีไหลเขาสถานีสูบน้ํา

จากสมการ = 0.0195 CT 385.077.0 −SL

= CT ระยะเวลารวมน้ํา (Time of Concentration, นาที)

L = ระยะทางท่ีน้ําจากจุดไกลสุดไหลมาสูทางออก, เมตร

S = ความลาดเทของลุมน้ํา, (m/m), ผลตางของระดับจากจุดไกลสุดมาท่ี จุดทางออก / L

เม่ือไดเวลา ก็นําคาท่ีไดไปอานจากกราฟความสัมพันธความเขม – ชวงเวลา-รอบปการเกิดซํ้าของฝน ก็จะไดคาความเขมของฝน ซ่ึงมีหนวยเปน มม./ชม. (I)

CT

จากคา I ท่ีไดก็นําไปใชในสูตรความสัมพันธ

Q = CIA

ซ่ึงคา Q ท่ีไดก็นําไปใชในการกําหนดขนาดของเคร่ืองสูบน้ํา

สําหรับกราฟความสัมพันธ ความเขม-ชวงเวลา-รอบปการเกิดซํ้าจะมีใหเปนรายพื้นท่ีถาในพ้ืนท่ีใดไมมีก็ใชขอมูลของพื้นท่ีท่ีใกลเคียงได

การออกแบบประตูเรือสัญจร

พิจารณาจากขอมูลของเรือท่ีผานเขา-ออกมาเปนเกณฑในการกําหนดขนาดของประตูเรือสัญจร โดยในเบ้ืองตนกําหนดไวดังนี ้

- ความกวางของทางเขา, อางพักเรือ พิจารณาจากความกวางของเรือบวกระยะเผ่ืออีกขางละ 0.75 เมตร

- ความยาวขออางพักเรือพิจารณาจากเรือเขาพักในอางไดคราวละ 3 ลํา บวกระยะเผ่ือหัวทายอีกขางละ 1. 00 เมตร เปนอยางตํ่า

กําหนดระดับ Flood Wall และคันดินปองกันน้ําทวม

- กําหนดจากระดับน้ําสูงสุด + ระยะเผ่ือของคล่ืน ( Hw ) โดยระยะเผ่ือของคล่ืนประเมินจาก

Hw = 0.00086 V11F0.45

V = ความเร็วลมใช 30 ม./วินาที

ระยะทางจากจุดท่ีพิจารณาถึงจุดไกลสุดท่ีเปนท่ีโลง, ม. 2 เทาของ ความกวางลําน้ํา

F = ≈

Page 14: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

11

ขั้นตอนท่ี 5 การชี้แจงใหประชาชนรับทราบขอมูล

ในข้ันตอนของการดําเนินงานในสวนนี้ โดยในเบ้ืองตนเม่ือมีการพิจารณาวางโครงการในเบ้ืองตนเรียบรอยแลว ก็ใหเจาของงานของโครงการที่เกี่ยวของนําเอาผลดังกลาวไปช้ีแจงใหชุมชนในทองถ่ินทราบหากมีขอคัดคานหรือไมเห็นดวยในประเด็นไหนก็รวบรวมขอมูลและเสนอใหมีการปรับแก เม่ือมีการปรับแกแลวก็นําไปช้ีแจงอีก จนกวาจะเปนท่ียอมรับดวยกันทุกฝาย

ขั้นตอนท่ี 6 การสรุปผลการพิจารณา

- ดานวิศวกรรม กลาวถึงการสรุปผลจากการพิจารณาโครงการโดยจะแสดงรายละเอียดของตําแหนงท่ีตั้งอาคาร รูปแบบอาคารท่ีกําหนดขนาดและมิติท่ีจําเปน เชน ปตร.ขนาด 2-6.00 เมตร ระดับหลังตอมอ, ระดับธรณี, PUMP ขนาด 2-3.00 ม.3/วินาที เปนตน รวมถึงคากอสรางดวย

นอกจากนี้หากมีขอมูลเพื่อใชประเมินโครงการในเชิงเศรษฐศาสตรจะหาคา Benefit - Cost Ratio, Intenol Rate of Return นําเสนอในรายงานโดยใชหลักการวิเคราะหดังนี้

การประเมินโครงการในเชิงเศรษฐศาสตร

โดยหลักการแลวคาการลงทุนและผลตอบแทนที่ไดตองเปล่ียนคาทางการเงินใหเปนคาทางเศรษฐกิจ โดยใช Factor ปรับคา ซ่ึง Factor นี้ เรียกวา Conversion Factor ซ่ึงจะไดขอมูลจาก World Bank ดังตัวอยางในตาราง

การวิเคราะหอัตราสวนผลประโยชนตอคาลงทุน

ตัวเลขท่ีจะบอกถึงความเหมาะสมและคุมคาการลงทุนในเบ้ืองตนจะพิจารณาจากคาตาง ๆ ดังนี้

1. มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value, NPV)

มูลคาปจจุบันเปนตัวเลขผลรวมของกระแสเงินสดสุทธิ (Net Cash Flow) ของปในอนาคตท่ีนานเทากับอายุโครงการ และจํานวนเงินเหลานั้นเปล่ียนใหมาเปนมูลคาในปจจุบัน โดยใชตัวคูณลดมูลคา (Discount Factor) ซ่ึงไดกําหนดอัตราดอกเบ้ียท่ีเหมาะสม สมการสําหรับมูลคาปจจุบันคือ

P = niF

)1( +

โดย = มูลคาปจจุบัน P

= F มูลคาท่ีจะเปนในอนาคต

i = อัตราดอกเบ้ียตอป

คาตัวเลขของ เรียกวา คัวคูณลดมูลคาและจะมีคานอยกวา 1.0 กระแสเงินสดของแตละปจะถูกคูณดวยตัวคูณลดมูลคา และผลที่ไดเม่ือนํามารวมเขาดวยกันตามจํานวนปของอายุโครงการก็จะไดเปนมูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) ของโครงการ

ni)1/(1 +

Page 15: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

12

NPV = ∑= +

−N

tttt

icB

1 )1()(

= ∑= +

N

tt

t

iB

1 )1( - ∑

= +

N

tt

t

ic

1 )1()(

โดย = ผลประโยชนท่ีไดรับจากโครงการในปท่ี t tB

tc = คาใชจายในปท่ี รวมท้ังคาลงทุนดวย t

i = อัตราดอกเบ้ียตอป

n = อายุของโครงการ (ป)

คา NPV เปนบวก หมายความวาโครงการนั้นสามารถจายคืนคาลงทุน คาดําเนินการและคาบํารุงรักษา (O & M COST) ตลอดอายุโครงการได NPV ยิ่งสูงมาก โครงการก็ยิ่งจะมีประสิทธิผลมาก

2. อัตราสวนผลประโยชนตอคาลงทุน (Benefit – Cost Ratio)

BCR = ⎥⎦

⎤⎢⎣

⎡+∑

=

−N

t

tt iB

1)1( ⎥

⎤⎢⎣

⎡+∑

=

−N

t

tt ic

1)1(

คา BCR จะใชเปนเกณฑในการตัดสินใจการลงทุน

BCR > 1.0 โครงการนาลงทุน

คา BCR = 1.0 คา NPV จะเปนศูนย

3. อัตราผลตอบแทน ( Internal Rate of Return, IRR)

อัตราดอกเบ้ียท่ีทําใหมูลคาปจจุบันสุทธิ (NPV) เปนศูนยเรียกวา อัตราผลตอบแทน (IRR)

โครงการท่ีดีในแงของการเงินเพื่อการลงทุนจะตองมีคา IRR สูงกวาอัตราดอกเบ้ีย

คา IRR หาไดโดยการสมมติคาอัตราดอกเบ้ีย 2 คาท่ีคาดวาจะทําให NPV เทากับศูนยหรือใกลเคียงศูนย เม่ือคํานวณคา NPV ออกมา แลวยังไมเทากับศูนยก็อาจใชวิธีการ Plot กราฟระหวาง NPV กับอัตราดอกเบ้ียท้ัง 2 คา ท่ีคํานวณได จากน้ันก็จะหาคาท่ี NPV = 0 ไดจากกราฟก็ทําใหทราบคาอัตราดอกเบ้ียท่ีทําให NPV = 0 นั้น ก็คือทราบคา IRR

ขอเสนอแนะ

หากมีขอมูลท่ีจะแนะนําใหผูท่ีจะนําผลอันนี้ไปไวตอไป เชน การออกแบบรายละเอียดจะมีการกลาวไวในสวนนี้

ขั้นตอนท่ี 7 กําหนดขอบเขตการสํารวจ

หลังจากมีการกําหนดตําแหนงท่ีตั้งอาคารแลว จะกําหนดขอบเขตการสํารวจ เพื่อจะนาํผลทีไ่ดไปออกแบบข้ันรายละเอียดตอไป โดยการกําหนดของ Site Plan เชน 200 x 200 เมตร, 500 x 500

Page 16: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

13

ขั้นตอนท่ี 8การจัดทํารายงาน

กลุมพิจารณาโครงการจะจัดทํารายงานเพ่ือเสนอใหสวนวิศวกรรมบริหารตรวจสอบและสงเอกสารดังกลาวใหฝายสํารวจภูมิประเทศและกลุมออกแบบใชประกอบการทํางานในกระบวนการตอไป

7. มาตรฐานงาน

มาตรฐานในเชิงคุณภาพ

ขอมูลเบ้ืองตนเปนขอมูลท่ีไดจากโครงการท่ีเกี่ยวของ สําหรับกลุมพิจารณาโครงการจะหาขอมูลเพิ่มเติมจากผลการศึกษาท่ีมีในพื้นท่ีมาใชประกอบการพิจารณากับขอมูลท่ีไดรับจากโครงการ

สําหรับความผิดพลาดของขอมูลนั้นหากไมไดรับขอมูลเบ้ืองตนจากโครงการที่เกี่ยวของ กลุมพิจารณาโครงการจะใชการตรวจสอบในเบ้ืองตนเองจาก www.google.co.th เพราะการดูงานในสนามไมสามารถบอกมิติตางๆไดถูกตอง

8. ระบบติดตามประเมินผล

สําหรับกระบวนการดานวางโครงการนั้นเปนจุดเร่ิมตนของงานดานสํารวจ ออกแบบและการเจาะทางดานธรณีวิทยา ดังนั้นการตรวจสอบผลการพิจารณาเบ้ืองตน สามารถตรวจสอบจากผลการออกแบบ เพราะในขั้นตอนการออกแบบจะมีผลสํารวจภูมิประเทศ หากการออกแบบสอดคลองกับผลการพิจารณาโครงการเบ้ืองตน ซ่ึงก็ประเมินในเบ้ืองตนไดวากระบวนงานดานวางโครงการไดผล

9. เอกสารอางอิง

-

10. แบบฟอรมท่ีใช

เปนแบบฟอรมสําหรับการจัดทํารายงานพิจารณาโครงการเบ้ืองตนท่ีใหทางโครงการท่ีเกี่ยวของจัดทําตามรายละเอียดของแบบฟอรม ซ่ึงแบบฟอรมดังกลาวกลุมพิจารณาโครงการไดใชเปนสวนหนึ่งของเอกสารประกอบการฝกอบรมใหกับโครงการตางๆของสํานักชลประทานท่ี 11

Page 17: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

14

ภาคผนวก

Page 18: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

15

ภาคผนวก 1

ตัวอยางแบบฟอรม

แบบฟอรมการพิจารณาโครงการเบื้องตน

งานกอสราง ทรบ. ......................................................

ปตร. .......................................................

สถานีสูบน้ํา ............................................

เขื่อนปองกันตลิ่ง ...................................

โครงการ .............................................................................

สํานักชลประทานที่ 11

กม. .............................................

ตําบล .............................อําเภอ.........................จังหวัด........................

Page 19: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

16

1. เร่ืองเดิม (แนบเร่ืองรองขอ)

ตามหนังสือท่ี ..............................................................................ลว............................................ ของ.....................................................................เร่ือง................................................................................ ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

2. วัตถุประสงคของโครงการ

1. เพื่อ...........................................................................................................................................

2. เพื่อ...........................................................................................................................................

3. เพื่อ...........................................................................................................................................

3. สภาพท่ัวไป (แนบแผนท่ี)

ระดับดินธรรมชาติ = .................................................................... ม.(รทก.) ระดับน้ําสูงสุด = .................................................................... ม.(รทก.) ระดับน้ําตํ่าสุด = .................................................................... ม.(รทก.)

สัดสวนของคลองหรือลําน้ําธรรมชาติ

ความกวาง = .................................................................... ม. ความลึก = .................................................................... ม. ลาด SLOPE ดานขาง (SS) = ................................................... (SIDE SLOPE) ลาด SLOPE กนคลอง = ................................................... ปริมาณนํ้าสูงสุด (Max.CR) = ................................................... ลบ.ม./วินาที

4. สภาพปญหา (บอกปญหาท่ีทําใหเกิดความเดือดรอน)

.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 20: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

17

5. วิธีการแกไขปญหา

.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

6. สรุปผลการพิจารณาโครงการเบื้องตน

6.1 รายละเอียดดานวิศวกรรม

ท่ีตั้ง หมูท่ี ..............................ต ..............................อ.............................จ............................

ระวางแผนท่ีหมายเลข .........................................พิกัด..........................................................

ประเภทโครงการ เข่ือนปองกันตล่ิง (ระดับสันเข่ือน ...................ม. (รทก.)

ทรบ. ขนาด.....................................................................

ปตร. ขนาด ....................................................................

สถานีสูบน้ํา ขนาด ......................................................... (เชน 3-1.0 ลบ.ม./วินาที)

ทางเดียว

สองทาง

พื้นที่รับน้ํา ...............................................................ไร

ฝนเฉล่ียตลอดป ...................................................มม. ช่ือสถานี ............................

6.2 การประมาณราคาคากอสราง

งบประมาณท่ีใช ...........................................................................ลานบาท

6.3 ผลประโยชนท่ีจะไดรับ

ชวยเหลือพื้นท่ีไดประมาณ ...........................................................ไร

Page 21: ร างkmcenter.rid.go.th/kmc11/file/file_main-m/main_m_290753-1.pdf · มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Performance Standard)เป นผลการปฏ

18

ภาคผนวก 2

รายช่ือผูจัดทํา 1. นายสมหมาย มวงใหม

2. นายศราวุธ สากล

3. นายชวกร ร้ิวตระกูลไพบูลย