12
หนังสือพิมพ์ข่�วประช�สัมพันธ์ ฉบับที่ ๑๘๗ วันจันทร์ที่ ๒๓ กุมภ�พันธ์ ๒๕๕๘ สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑ “มุ่งมั่นต่อหน้�ที่ ส�มัคคีสร้�งสรรค์ ร่วมใจบริก�ร ผลง�นคุณภ�พ” ค่�นิยม : สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑ เนื้อหาเด่นในฉบับ ศิลปหัตถกรมนักเรียน ก�รสอนอ่�นสำ�หรับ เด็กปฐมวัย ข่�วจ�กคุรุสภ�เขตฯ เกร็ดคว�มรู้ก�รบริห�ร ข่�วจ�กคุรุสภ�เขตฯ เกร็ดคว�มรู้ก�รบริห�ร ระเบียบกฎหม�ยน่�รูปัดฝุ่น ๒ ก�รปฏิรูปก�รศึกษ� ควร เป็นเช่นไร ยกระดับก�รเรียนรู้ ด้วย วงจร PDCA โพกัดคนเป็นข่�ว ๑๐ ๑๑ เทพมิตรวิช�ก�ร คว้า ๑๙ ทอง งานวิชาการระดับชาติ สุดยอดนักเรียน สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑ ประกวดแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๔ เทพมิตรวิชาการและสิ่งแวดล้อมไทย ๕๘ กลุ่มบริหารงานวิชาการโรงเรียนเทพมิตรศึกษา ได้จัดงาน “เทพมิตรวิชาการ และสิ่งแวดล้อมไทย” ประจำาปีการศึกษา ๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๑๐ - ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ โดยนายประทีป ทองด้วง รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ (รอง ผอ.สพป.สฎ.๑) ให้เกียรติไปเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ..... (อ่านต่อหน้า ๑๑) นายชุมพล ศรีสังข์ ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ (ผอ.สพป.สฎ.๑) เปิดเผยว่า สำานักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ ส่งนักเรียนเข้าร่วมประกวดและแข่งขันทักษะทางวิชาการระดับชาติ .............. (อ่านต่อหน้า ๒) นายสรพงศ์ ลิ้มสุวรรณ นักธุรกิจเจ้าของร้าน อาหาร ศาลาไทยในประเทศเยอรมัน เจ้าของ โรงแรมบ่อผุดรีสอร์ต อำาเภอเกาะสมุยและผูจัดการฝ่ายขายเบียร์สิงห์ ศิษย์เก่าโรงเรียนบ้าน บ่อผุด อำาเภอเกาะสมุย บริจาคเงินเป็นทุนการ ศึกษาของนักเรียนจำานวน ๓๐ ทุนๆละ ๓,๐๐๐ บาท รวม ๙๐,๐๐๐ บาท และร่วมบริจาคเงิน สร้างอาคารเอนกประสงค์ จำานวน ๑๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๐๐,๐๐๐ บาท สพป. สุราษฎร์ธานี เขต ๑ ขอขอบคุณเป็นอย่างสูง มอบทุนการศึกษา น.ร. นายสรพงศ์ ลิ้มสุวรรณ

หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ฉบับที่ ๑๘๗ วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

Citation preview

Page 1: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑ ED.SURAT.1

หนังสือพิมพ์ข่�วประช�สัมพันธ์ ฉบับที่ ๑๘๗ วันจันทร์ที่ ๒๓ กุมภ�พันธ์ ๒๕๕๘

สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑

“มุ่งมั่นต่อหน้�ที่ ส�มัคคีสร้�งสรรค์ ร่วมใจบริก�ร ผลง�นคุณภ�พ”ค่�นิยม : สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑

เนื้อหาเด่นในฉบับ

ศิลปหัตถกรมนักเรียน

ก�รสอนอ่�นสำ�หรับเด็กปฐมวัย

ข่�วจ�กคุรุสภ�เขตฯ เกร็ดคว�มรู้ก�รบริห�ร

ข่�วจ�กคุรุสภ�เขตฯ เกร็ดคว�มรู้ก�รบริห�ร

ระเบียบกฎหม�ยน่�รู้ ปัดฝุ่น ๒ก�รปฏิรูปก�รศึกษ� ควรเป็นเช่นไร

๙ ยกระดับก�รเรียนรู้ ด้วยวงจร PDCA

โพกัดคนเป็นข่�ว๑๐๑๑ เทพมิตรวิช�ก�ร

คว้า ๑๙ ทอง งานวิชาการระดับชาติสุดยอดนักเรียน สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

ประกวดแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๔

เทพมิตรวิชาการและสิ่งแวดล้อมไทย ๕๘กลุ่มบริหารงานวิชาการโรงเรียนเทพมิตรศึกษา ได้จัดงาน “เทพมิตรวิชาการ

และสิ่งแวดล้อมไทย” ประจำาปีการศึกษา ๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๑๐ - ๑๑ กุมภาพันธ์

๒๕๕๘ โดยนายประทีป ทองด้วง รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ (รอง ผอ.สพป.สฎ.๑) ให้เกียรติไปเป็นประธาน

ในพิธีเปิดงานเมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ..... (อ่านต่อหน้า ๑๑)

นายชุมพล ศรีสังข์ ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ (ผอ.สพป.สฎ.๑) เปิดเผยว่า สำานักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ ส่งนักเรียนเข้าร่วมประกวดและแข่งขันทักษะทางวิชาการระดับชาติ .............. (อ่านต่อหน้า ๒)

นายสรพงศ์ ลิ้มสุวรรณ นักธุรกิจเจ้าของร้าน

อาหาร ศาลาไทยในประเทศเยอรมัน เจ้าของ

โรงแรมบ่อผุดรีสอร์ต อำาเภอเกาะสมุยและผู้

จัดการฝ่ายขายเบียร์สิงห์ ศิษย์เก่าโรงเรียนบ้าน

บ่อผุด อำาเภอเกาะสมุย บริจาคเงินเป็นทุนการ

ศึกษาของนักเรียนจำานวน ๓๐ ทุนๆละ ๓,๐๐๐

บาท รวม ๙๐,๐๐๐ บาท และร่วมบริจาคเงิน

สร้างอาคารเอนกประสงค์ จำานวน ๑๐,๐๐๐

บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๐๐,๐๐๐ บาท สพป.

สุราษฎร์ธานี เขต ๑ ขอขอบคุณเป็นอย่างสูง

มอบทุนการศึกษา น.ร.นายสรพงศ์ ลิ้มสุวรรณ

Page 2: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

หนังสือพิมพ์ข่�วประช�สัมพันธ์ ฉบับประจำ�วันจันทร์ที่ ๒๓ กุมภ�พันธ์ ๒๕๕๘ED.SURAT.1๒

งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๔ ณ เมืองทองธานีระหว่างวันที่ ๑๗ - ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ ส่ง

นักเรียนเข้าร่วมประกวดและแข่งขันทักษะทางวิชาการ งานศิลปหัตถกรรม

นักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๔ ตัวแทนภาคใต้ จำานวน ๑๘ โรงเรียน (รายชื่อ

โรงเรียน หน้า ๓) ๓๒ กิจกรรม จำานวนนักเรียน ๑๑๒ คน ณ อิมเพ็ค ชาเลน

เจอร์ ๑ - ๓ ผลการแข่งขัน ได้ ๑๙ เหรียญทอง ๑๐ เหรียญเงิน ๓ เหรียญ

ทองแดง และ ๑ เข้าร่วม รวม ๓๒ เหรียญ ลำาดับที่ ๑๙ ของประเทศ (สพป.)

ข่าว ปชส.บ้านนอก

๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

Page 3: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑ ED.SURAT.1 ๓

ก�รสอนอ่�นสำ�หรับเด็กปฐมวัยสุทธิพงศ์ ทองสร้�ง

ศน.สพป.สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑ การอ่านเป็นทักษะที่จำาเป็นสำาหรับมนุษย์ และเป็นทักษะที่ ๓ รองจากการฟัง และการพูด ถ้าเด็กได้อ่านมาก จะทำาให้มีคลังคำาอยู่ในสมองได้มาก และสามารถรู้จักคำามาก ครูจึงต้องฝึกฝนให้เด็กได้อ่านตั้งแต่ระดับปฐมวัย ตามระดับความสามารถ การสอนอ่านสำาหรับเด็กปฐมวัย เป็นการเตรียมความพร้อม และเสริมสร้างทักษะพื้นฐาน ซึ่งครูปฐมวัยสามารถสอนอ่านได้หลายวิธี

การเลือกหนังสือให้เด็กอ่าน มีหลัก ดังนี้ ๑. มีภาพช่วยให้เด็กสนใจและติดตามเรื่องราวได้ ๒. ลักษณะของเรื่องที่น่าสนใจ สนุก มีอารมณ์ขันไม่

เจาะจง สอนสิ่งต่าง ๆ ๓. การดำาเนินเรื่องราวรวดเร็ว เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ๔. ใช้คำาซ้ำา คำาที่เด็กคุ้นเคย และมีประสบการณ์ในการ

พูดมาก่อน

ขั้นตอนการสอนอ่านโดยใช้หนังสือ มีขั้นตอน ดังนี้ ๑. ขั้นการเตรียมตัวก่อนอ่าน ๑.๑ แนะนำาหนังสือ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ผู้วาดภาพ/ถ่ายภาพ ๑.๒ พูดคุยเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ๒. ขั้นการสอนอ่าน ๒.๑ การอ่านให้ฟัง ๒.๒ การอ่านร่วมกัน ๒.๓ การอ่านแบบชี้แนะเป็นกลุ่มย่อยตามระดับความสามารถ ๓. ขั้นการอ่านอิสระ อ่านเป็นรายบุคคลตามระดับความสามารถ ๔. ขั้นประเมินผล ๔.๑ ประเมินโดยใช้เกมส์, แบบฝึกย่อย ๔.๒ ประเมินโดยใช้คำาถาม อภิปราย พูดคุย

สรุปจาก จรรยา เรืองมาลัย

แนวคิดการสอนอ่านตามระดับความสามารถสำาหรับเด็กปฐมวัย

รายชื่ อ โรงเรียนตัวแทนสำา นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ เข้าร่วมแข่งขันทางวิชาการ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๔ ณ เมืองทองธานี วันที่ ๑๗ - ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘๑. โรงเรียนวัดสมหวัง กิจกรรมโครงานคุณธรรม ป.๔-๖ นาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ ม.๑-๓ การแข่งขัน

หุ่นยนต์บังคับมือ ม.๑ - ๓ การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทนักเรียนออทิสติก ป.๑ - ๖ ,ม.๑ - ๓

๒. โรงเรียนวัดเขาพระนิ่ม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนประกวดหนังสือเล่มเล็ก ม.๑ - ๓ การแข่งขัน

คณิตศาสตร์ประจำาวันประเภทนักเรียนที่มีความพกพร่องทางการเรียนรู้ ป.๑ - ๖ การแข่งขันวาดภาพระบายสีประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ม.๑ - ๓

๓. โรงเรียนบ้านอ่างทอง (วันครู ๒๕๐๒) การแข่งขันเขียนภาพไทยประเพณี ม.1-ม.3 การแข่งขันเดี่ยวขลุ่ยเพียงออ ม.๑ - ๓ การแข่งขัน Multi Skills Competition ม.๑ - ๓

๔. โรงเรียนบ้านโพหวาย การแข่งขันรำาวงมาตรฐาน ม.๑ - ๓ การแข่งขันการวาดภาพด้วยโปรแกรม Paint ประเภทนักเรียนที่มีความ

บกพร่องทางร่างกายฯ ไม่กำาหนดช่วงชั้น๕. โรงเรียนธิดาแม่พระ การแข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ชาย ป.๑ - ๖ การ

แข่งขันขับร้องเพลงไทยลูกกรุง ชาย ป.๑ - ๖ ๖. โรงเรียนบ้านปากดอนสัก การแข่งขันแกะสลักผักผลไม้ ป.๔ - ๖ การสร้าง

ภาพด้วยการฉีก ตัด ปะ กระดาษ ปฐมวัย๗. โรงเรียนชุมชนบ้านนางกำา การแข่งขันการเล่านิทาน ประเภทนักเรียนที่มี

ความบกพร่องทางสติปัญญา ม.๑ - ๓ การแข่งขันการเล่านิทาน ประเภทนักเรียนที่มีความบกพร่องทางร่างกายฯ ม.๑ - ๓

๘. โรงเรียนอุ่นรัก 2 ภาษา การแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ป.๑ - ๓ การแข่งขัน Multi Skills Competition ป.๔ - ๖

๙. โรงเรียนมานิตานุเคราะห์ การแข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษา ป.๑ - ๖ การแข่งขันวงปี่พาทย์ไม้นวมผสม เครื่องสายเครื่องเดี่ยว ป.๑ - ม.๓

๑๐. โรงเรียนบ้านศิลางาม การประกวดเล่านิทานคุณธรรม ม.๑ - ๓๑๑. โรงเรียนบ้านซอย 2 การแข่งขันการจัดทำาหนังสือเล่มเล็ก ประเภทนักเรียน

ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ป.๔ - ๖ ๑๒. โรงเรียนบ้านบ่อผุด การแข่งขันเดี่ยวซอด้วง ป.๑ - ๖ ๑๓. โรงเรียนบ้านห้วยโศก การแข่งขันการวาดภาพระบายสี ประเภทนักเรียน

ออทิสติก ม.๑ - ๓๑๔. โรงเรียนอนุบาลวัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ การแข่งขันประดิษฐ์พานพุ่ม

สักการะ ป.๔ - ๖ ๑๕. โรงเรียนบ้านคลองสระ การแข่งขันนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ม.๑ - ๓๑๖. โรงเรียนเทพมิตรศึกษา การแข่งขันแอโรบิก ป.๑ - ๖ ๑๗. โรงเรียนบ้านแม่โมกข์ การประกวดมารยาทงามอย่างไทย ประเภท

นักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ป.๑ - ๖ ๑๘. โรงเรียนบ้านบางสำาโรง การแข่งขันเครื่องร่อน ประเภทร่อนไกล ป.๔ - ๖

Page 4: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

หนังสือพิมพ์ข่�วประช�สัมพันธ์ ฉบับประจำ�วันจันทร์ที่ ๒๓ กุมภ�พันธ์ ๒๕๕๘ED.SURAT.1๔

รูปของ “นวัตกรรม (Innovation)” และสามารถ “นำาเสนอ”ในรูป

แบบต่างๆ ได้ด้วย

๒. กลุ่มทักษะ หรือ Skill ในวิชาต่างๆ... Skill หมายถึง ความ

ชำานาญ ความคล่องแคล่ว ความว่องไว ซึ่งจะเกิดขึ้นได้ ก็ด้วย “การฝึกฝน

หรือ Practice” เท่านั้น

วิชาที่เกี่ยวกับภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ก็มีการเรียน

การสอนที่แตกต่างกัน

เช่น วิชาภาษาอังกฤษ คุณครูผู้สอน มีความจำาเป็นที่จะต้องให้ “ผู้

เรียน” ได้เรียนรู้ไปตาม “วิธีธรรมชาติ” คือ ฟัง พูด อ่าน เขียน หรือ เขียน-

อ่าน เลียนแบบเด็กหัดพูดใหม่ๆ คือฟัง-พูด ซ้ำาๆๆๆๆ บ่อยๆตลอดเวลา

เมื่อฟังและพูดกันจนรู้เรื่องแล้ว จึงมาอ่าน และเขียน ซ้ำาๆๆๆๆกันอยู่

อย่างนี้ จนสามารถ “เขียนตามคำาบอก (Dictation)”ตามสำาเนียงเจ้าของ

ภาษา ในการนี้มีผู้ช่วยตัวสำาคัญคือ “เครื่องเล่น MP3.” และเสียงอ่าน-

เสียงพูด ของเจ้าของภาษา “ฝึกกันให้ถึงกึ๋น” ฝึกฟังฝึกพูดกันให้เต็มที่ ชนิด

ที่ฟังแล้วเข้าใจได้ทันทีตามธรรมชาติของภาษา..ไม่ต้องแปล..การเรียน

ภาษา อังกฤษก็เกิดผลสัมฤทธิ์ภายในเวลาไม่เกิน หนึ่งปีการศึกษา..หลังจาก

ฟังพูดอ่านเขียนได้แล้ว นั่นแหละจึงสมควรเริ่มต้นเรียนไวยาการณ์ และ

วรรณคดีซึ่งเป็นความงดงามของภาษา...

การเรียนภาษาต่างประเทศกับภาษาไทยนั้น มีความแตกต่างกัน

เพราะว่า “เด็กไทยนั้น พูดภาษาไทยมาตั้งแต่เกิด” ดังนั้น เด็กไทย จึง

สามารถ เรียน เขียน-อ่าน หรือ อ่าน-เขียน ได้เลย และต้องทำาซ้ำาๆ

“ฝึกฝน Practice” เชื่อได้เลยนะครับว่า เด็กไทย ที่อ่านหนังสือไม่ออกและ

เขียนหนังสือไม่ได้นั้น ไม่ใช่เพราะเด็กโง่ หรือ ครูสอนไม่เก่ง แต่เป็นเพราะ

“เด็กขาดการฝึกฝน หรือ ฝึกฝนไม่พอ”เท่านั้นเอง..

C คือ Check หรือ การตรวจสอบ เพื่อติดตามความคืบหน้า

และดูผลสำาเร็จของงานเมื่อเทียบกับแผนที่วางไว้แล้วล่วงหน้าว่า “มีเป้า

หมายอย่างไร แค่ไหน” เป้าหมายนี้ต้องมีตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูป

ธรรม เข้าใจได้โดยคนทั่วไป เช่น เรียนขับรถ ก็สามารถขับรถได้

เรียนภาษาอังกฤษ ก็พูดภาษาอังกฤษ อ่านเขียน ได้คล่องแคล่ว

ตามคุณวุฒิที่เรียนมา ส่วนจะเก่งหรือไม่เก่งก็อยู่ที่การฝึกฝนเพิ่ม

เติมในภายหลัง หากต้องการ การตรวจสอบนี้ คือ “การวัดผลเชิง

ประจักษ์ (Empirical Evaluation)” ซึงบุคลากรทุกคนในองค์กร

เป็นผู้ตรวจสอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คุณครูผู้สอนจะต้องตรวจสอบ

และ “ประเมินตนเอง (Self-Assessment)” ตลอดเวลา เพื่อให้

รู้ถึงข้อด้อยที่ควรปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาข้อดีให้เกิดประโยชน์ต่อ

การเรียนรู้ยิ่งขึ้น..

A-Act หรือ Action จากขั้นตอนการตรวจสอบ ก็อาจ

พบความบกพร่องก็แก้ไขให้ถูกต้อง หากการปฏิบัติเป็นที่น่าพอใจ

ก็จัดให้เป็นมาตรฐานเพื่อเป็นแนวทางให้ปฏิบัติต่อไป ผู้อำานวย

การเป็นผู้ตรวจสอบในฐานะผู้ร่วมรับผิดชอบกับผู้สอน หากพบข้อ

บกพร่องอย่างใดก็ขอให้แก้ไขให้ถูกต้อง หรือ Corrective Action

Request หรือ CAR ตามวิธีของมาตรฐาน ISO ก็จะดีไม่น้อย..

หลังจาการปรับปรุงแก้ไขให้เป็นมาตรฐานแล้ว ก็ย้อนกลับขึ้นไป

“วางแผนเพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้นไปเรื่อยๆอย่างไม่หยุดยั้งที่

จะดำาเนิน ตามแนวทาง PDCA นี้ องค์กรแห่งนี้ก็จะมีแต่ความเจ

ริญยิ่งๆขึ้นไป เป็นแนวหน้าแห่งยุคสมัยของการเรียนรู้ในศตวรรษ

ที่ ๒๑ และตลอดไป

ในวงจรการประกันคุณภาพ PDCAโดยรวมนั้น อาจมี

วงจรประกันคุณภาพ PDCA เล็กๆของรายวิชาในระดับชั้นเรียน

ของตน เพื่อทำาการสำารวจตรวจสอบการดำาเนินงานย่อยๆลงไปอี

ก็ยิ่งจะดี เช่น PDCA วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้น ม.๑..หรือ PDCA

วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ม.๒… เป็นต้น...

นี้เป็นตัวอย่าง การนำาวงจรประกันคุณภาพไปใช้ในการ

จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่ง หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คุณครูทุก

ท่าน และผู้บริหารสถานศึกษา สามารถนำาไปใช้ดำาเนินงานได้ทันที

ครับ....

“วงจร PDCA หรือ PDCA Cycleต่อมาจากหน้า ๙

ภาพกิจกรรม

สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ ร่วมกับชมรมครูเกาะสมุยและมูลนิธิทีปภาวัน จัดกิจกรรมเสริมสร้างศีล

ธรรม คุณธรรม จริยธรรม สำาหรับผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดอำาเภอเกาะสมุย เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ณ ค่าย

ปฏิบัติธรรมเวียงธรรมอำาเภอเกาะสมุย โดยนายชุมพล ศรีสังข์ ผอ.สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑ ให้เกียรติเดินทางไปเป็นประธานในพิธีเปิด

Page 5: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑ ED.SURAT.1 ๕

๔. ชอบคิดแบบชนะ-ชนะ (Think Win-Win)

การคิดและทำาแบบ win-win นี้ จะต้องเกิดอยู่บนพื้นฐาน

ของทัศนคติที่ดีและต้องการให้ได้ประโยชน์เท่าเทียม กันทั้งสอง

ฝ่ายในระยะยาว ในบางครั้งฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจจะต้องเสียเปรียบ

ก่อน แต่ในที่สุดแล้ว เมื่อดำาเนินการตามแผนทั้งหมดแล้ว ทั้งสอง

ฝ่ายจะต้องได้ประโยชน์ทั้งคู่เท่าเทียมกัน

๕. เข้าใจผู้อื่นก่อน ก่อนจะให้ผู้อื่นเข้าใจเรา (Seek first

to understand then to be understood) นิสัยนี้เป็นการ

ที่เราพยายามเข้าใจคนอื่นก่อน เพราะการพยายามเข้าใจคนอื่น

นั้น ง่ายกว่าการที่จะทำาให้คนอื่นเขามาเข้าใจเรา หลักการที่จะ

ทำาให้เราเข้าใจคนอื่นได้ง่ายนั้นจะต้องเริ่มต้นด้วยการฟัง คือฟัง

อย่างพยายามทำาความเข้าใจ เมื่อเราเข้าใจเขา เราก็จะรู้ว่าเขาคิด

อย่างไร มีพื้นฐานอย่างไร เม่ือเป็นเช่นนั้นแล้ว ต่อมาเราจะพูดเพื่อ

ให้เขาเข้าใจในส่วนของเราก็จะเป็นเรื่องง่ายขึ้น

๖. ประสานงานให้เกิดพลังการทำางานเชิงบวก (Synergize

เมื่อใดก็ตามที่คนเราที่ร่วมงานกัน มีโอกาสได้ทำางานด้วยกัน

ก็จะต้องยอมรับในความแตกต่างของคนอื่น และพยายามมองว่า

ความแตกต่างนั้นน่าจะมีประโยชน์มากกว่าโทษ และนำาข้อดีของ

ความแตกต่างนั้นมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด โดยการแลกเปลี่ยน

ความคิดเห็นและเรียนรู้ด้วยกันเพื่อให้เกิดการพัฒนาการทำางาน

๗. ฝึกฝนตนเองให้พร้อมเสมอหรือลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ

(Sharpen the saw)

เมื่อคนเรามีความรู้ในระดับหนึ่งแล้ว ก็ยังไม่เพียงพอ หาก

เมื่อใดที่หยุดคิดและพัฒนาตนเอง ก็เหมือนกับตายไปแล้วครึ่งหนึ่ง

นั่นเอง เรายังต้องพยายามฝึกฝนพัฒนาตัวเราเองเสมอ ด้วยวิธี

การง่าย ๆ คือ

ก) ดูแลสุขภาพทางกายให้ดี – เมื่อแข็งแรง จะคิดอะไร

ทำาอะไรก็ง่ายไปหมด

ข) บำารุงความคิด – โดยการอ่านหนังสือ ฟังสัมมนา

ดูรายการสารคดี เป็นต้น

ค) พัฒนาจิตวิญญาณ – ทำาจิตใจให้ผ่องใส อาจจะนั่งสมาธิ

ฟังเพลงที่สงบ ทำาให้จิตใจไม่ฟุ้งซ่าน

ง) พัฒนาอารมณ์ – ให้เป็นคนดี เข้ากับคนอื่นได้ง่าย เข้าใจ

ความรู้สึกของคนอื่น โดยเฉพาะกับคนในครอบครัวใกล้ตัว

ข่�วจ�กคุรุสภ�เขตพื้นที่ก�รศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑

ด้วยสำานักงานเลขาธิการคุรุสภา ได้ดำาเนินงานโครงการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำาปี ๒๕๕๘ และโครงการหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจำาปี ๒๕๕๘ โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

๑. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาและสถานศึกษาได้มีการพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่องโดยใช้ “กระบวนการวิจัยเป็นฐาน” ในการพัฒนาทุกด้าน

๒. เพื่อเป็นการยกย่องผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และสถานศึกษาที่คิดค้น และพัฒนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมสถานศึกษาที่มีคุณภาพและคุณค่าทางวิชาการ ส่งผลให้เกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน คุณภาพการศึกษา และการพัฒนาวิชาชีพร่วมกัน

สำาหรับการส่งผลงานวิจัย และ นวัตกรรมสถานศึกษา นั้น ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา/สถานศึกษาทุกสังกัดสามารถส่งผลงานวิจัย และ นวัตกรรมสถานศึกษา ด้วยตนเองหรือทางไปรษณีย์ ดังนี้

๑. ส่งด้วยตนเองที่ สำานักพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ กลุ่มพัฒนาการประกอบวิชาชีพ ชั้น ๒ อาคาร ๒ สำานักงานเลขาธิการคุรุสภา กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ ๐๒ ๒๘๐ ๖๓๖๖

๒. ส่งทางไปรษณีย์ ที่ สำานักงานเลขาธิการคุรุสภา สำานักพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพ ๑๒๘/๑ ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐

๓. หมดเขตส่งผลงานวิจัย และ นวัตกรรมสถานศึกษา ภายในวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ในวันและเวลาราชการ สำาหรับการส่งผลงานทางไปรษณีย์ วันประทับตราไปรษณีย์ต้นทาง ต้องไม่เกินวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอียดในประกาศคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ เรื่อง การส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรร เพื่อนำาเสนอในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำาปี ๒๕๕๘ และ ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ เรื่อง การส่งผลงานเข้ารับการคัดสรรรางวัล “ หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจำาปี ๒๕๕๘ ได้ที่ www.ksp.or.th สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำานักพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ โทรศัพท์ ๐๒ ๒๘๐ ๖๓๖๖

อุปนิสัย ๗ ประก�ร สำ�หรับผู้นำ�ที่ทรงประสิทธิภ�พต่อจากฉบับที่แล้ว

เกร็ดความรู้การบริหารดร.ณันศภรณ์ นิลอรุณ

รองผู้อำานวยการ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

Page 6: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

หนังสือพิมพ์ข่�วประช�สัมพันธ์ ฉบับประจำ�วันจันทร์ที่ ๒๓ กุมภ�พันธ์ ๒๕๕๘ED.SURAT.1

กลุมง�นวินัยและนิติก�ร

ระเบียบกฎหม�ยน่�รู้

“ปัดฝุ่น ๒”ฉบับที่แล้ว คณะผู้เขียน ได้หยิบยกมติคณะรัฐมนตรีและแนวทาง

ปฏิบัติฉบับเก่าๆ ที่มีความสำาคัญมาปัดฝุ่นเผยแพร่ เพื่อให้เพื่อน

ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับทราบเพื่อยึดถือปฏิบัติได้

อย่างถูกต้องแล้วนั้น ฉบับนี้ก็ขอหยิบยกมติคณะรัฐมนตรีและแนวทาง

ปฏิบัติฉบับเก่าๆมาเผยแพร่เพิ่มเติมต่อจากฉบับที่แล้วอีกนิดหน่อยทั้งนี้

เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการของเพื่อนข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา

*มติคณะรัฐมนตรี ตามหนังสือกรมเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นว

๑๖๙/๒๔๙๖ ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๔๙๖ “หากมีกรณีเงินขาดบัญชี

ขึ้นแก่องค์การหรือหน่วยงานราชการใดแล้ว ก็ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีหน้า

ที่ควบคุมงานหรือส่วนราชการนั้นโดยตรงต้องรับผิดชอบตามลำาดับด้วย”

*มติคณะรัฐมนตรี ตามหนังสือสำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร

๐๒๐๑/ว.๙๗ ลงวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๒๓ “ในกรณีที่ข้าราชการ ลูกจ้าง

หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจกระทำาการอันเป็นความผิดทางกฎหมายอาญา

เกี่ยวกับเงินแผ่นดิน เมื่อได้มีการดำาเนินคดีอาญาและฟ้องร้องต่อศาล

แล้ว ห้ามถอนคำาร้องทุกข์หรือถอนฟ้องในคดีนั้น ทั้งนี้ไม่ว่าการกระทำาจะ

มีลักษณะเป็นความผิดต่อส่วนตัวหรือประการใดก็ตาม”

*มติคณะรัฐมนตรี ตามหนังสือสำานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร

๐๒๐๑/ว.๕๖ ลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๒๖ “การไปเป็นพยานตามหมาย

ศาล.......”

๑. กรณีที่ส่วนราชการหรือพนักงานอัยการเป็นโจทก์ฟ้องคดีหรือ

ส่วนราชการตกเป็นจำาเลยในคดีที่ถูกฟ้อง และส่วนราชการหรือพนักงาน

อัยการได้อ้างข้าราชการหรือลูกจ้างของทางราชการเป็นพยานใน

คดีนั้น หรือการไปเป็นพยานในฐานะผู้เชี่ยวชาญหรือในฐานะที่

เกี่ยวกับงานในหน้าที่ราชการตามคำาสั่งศาล ในกรณีเช่นนี้ถือได้ว่า

เป็นการไปปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์ของทางราชการโดยส่วนรวม

โดยตรง ให้ถือว่าเป็นการไปปฏิบัติหน้าที่ราชการ

๒. ในกรณีที่บุคคลภายนอกได้อ้างข้าราชการหรือลูกจ้างของ

ทางราชการเป็นพยานในคดีนอกเหนือจาก ๑. กรณีเช่นนี้ไม่น่าจะ

ถือว่าการไปเป็นพยานตามหมายเรียกของศาลเป็นการไปปฏิบัติ

หน้าที่ราชการ เพราะมิได้เป็นการไปเพื่อประโยชน์ของทางราชการ

โดยเฉพาะ แต่เป็นเรื่องเฉพาะตัวของข้าราชการหรือลูกจ้างผู้นั้น ที่

จะไปปฏิบัติหน้าที่ในฐานะพลเมืองของรัฐตามหมายเรียกของศาล

แต่สามารถขออนุญาตไปปฏิบัติหน้าที่เป็นพยานได้โดยไม่ถือเป็นวัน

ลา

*แนวทางปฏิบัติ ตามหนังสือสำานักงาน ก.ค. ที่ ศธ ๑๕๐๕/ว

๗ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๓๓เรื่อง

การให้ถ้อยคำาในการสอบสวน “ด้วยปรากฏว่าการพิจารณา

เรื่องดำาเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ และ

การร้องทุกข์ของข้าราชการครู ข้าราชการครูที่ถูกกล่าวหาหรือ

พยานได้ให้ถ้อยคำาอันเป็นเท็จหรือให้ถ้อยคำาหลายครั้งไม่ตรงกัน

โดยมีเจตนาปิดบังความจริง ทำาให้การสอบสวนพิจารณาไม่ได้ความ

จริงและยุติธรรม เสียหายแก่ราชการ การให้ถ้อยคำากลับไปกลับ

มาโดยเจตนาช่วยเหลือกันนี้เข้าข่ายเป็นความผิดวินัย บางกรณี

อาจเป็นความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรง ก.ค.จึงมีมติให้กำาชับให้

ข้าราชการครูในสังกัดระมัดระวังในเรื่องนี้และเมื่อมีการสอบสวน

หรือดำาเนินการทางวินัยไม่ว่าเป็นเรื่องร้ายแรงหรือไม่ก็ตาม ให้ผู้

บังคับบัญชาหรือผู้ทำาหน้าที่สอบสวนแจ้งให้ข้าราชการครูที่มาเป็นผู้

ถูกกล่าวหาหรือพยานทราบเรื่องนี้ด้วย หากปรากฏว่ามีข้าราชการ

กระทำาผิดในเรื่องดังกล่าวก็ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาดำาเนินการ

ทางวินัยตามควรแก่กรณี”

ภิญโญ ไม้ทองงาม (น.บ.,น.ม.,ศษ.ม.)

อัครเดช คงทรัพย์ (น.บ.,นบ.ท.)

กลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน สพป.สฎ.๑ , ๒ ,๓ กำาหนดจัดการอบรมตามโครงการจัดการศึกษาแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ให้กับผู้บริหาร

สถานศึกษาโรงเรียนเอกชนและครูโรงเรียนเอกชน จำานวน ๕๗๒ คน เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมลิลลี่ โรงแรมนิภา

การ์เด้น สุราษฎร์ธานี

ภาพกิจกรรม

Page 7: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑ ED.SURAT.1 ๗

นักการศึกษาไทยมีหลายระดับ ความคิดก็ต่างกัน ระดับมหาวิทยาลัยคิดอีกแบบหน่ึงระดับกระทรวงศึกษาธิการคิดอีกแบบหนึ่งระดับครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียนคิดอีกคนละแบบพอนำานโยบายไปสู่การปฏิบัติก็ไม่เหมือนกัน เพราะไม่ได้คิดร่วมกัน เมื่อแรกรับนโยบาย คนในกระทรวงศึกษาธิการบางท่านบอกว่าต้องเพิ่มเนื้อหาในหลักสูตร เป็นวิชาประวัติศาสตร์ไทย หน้าท่ีพลเมือง ศีลธรรมและอื่นๆ ที่กำาหนดไว้ในนโยบาย เพิ่มคาบการเรียนการสอนเข้าไปส่วนอาจารย์ในมหาวิทยาลัยบอกว่าเนื้อหาวิชาดังกล่าวในนโยบายมีอยู่แล้วในเนื้อหาสาระกลุ่มวิชาสังคมศึกษาไม่ต้องเพิ่มคาบการเรียนในหลักสูตรเพียงแต่จัดทำาหนังสือเรียนที่มีเน้ือหาสาระดังกล่าวเพิ่มเติมพอมาถึงครูผู้สอนอาจแปลไปอีกแบบหนึ่งหรือรอรับคำาสั่งอย่างเดียวไม่มีอำานาจกำาหนดนโยบายท่านอยากให้ทำาอะไรโปรดสั่งมาครูรับสอนได้หมดเหมือนดังเหตุการณ์ในอดีตที่เคยเกิดมาแล้วคือเมื่อผู้ใหญ่ที่มีอำานาจ สั่งให้ครูจัดการเรียนการสอนครูก็จัดให้เด็กได้เรียนจนจบเนื้อหาตามหลักสูตรแต่ผู้เรียนรับเอาเนื้อหาที่ใส่ไว้ในหลักสูตรทั้งหมดไม่ได้ เหมือนแก้วเล็กๆที่บรรจุน้ำาเต็มแล้วแม้ว่าท่านทั้งหลายจะพยายามเทน้ำาใหม่ใส่เข้าไปน้ำานั้นก็คงล้นออกเสียทิ้งไปเปล่าๆ เสียทั้งแรงเสียทั้งเวลาและงบประมาณมหาศาลอย่างที่เป็นอยู่ คำาถามก็คือเด็กจะเก่งได้อย่างไร

งานธุรการชั้นก็เรื่องหนึ่งที่รอการแก้ไข เพราะครูต้องเสียเวลากับการรายงานข้อมูลสารสนเทศซ้ำาซ้อนเป็นจำานวนมาก ในหลายๆเรื่อง เช่นข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ซึ่งมีรายละเอียดซ้ำาซ้อนกับข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย แต่ยังต้องให้ครูกรอกรายละเอียดข้อมูลนักเรียนประมาณ ๑๐ ล้านคนใหม่ท้ังหมด ทั้งที่มีอยู่ในฐานข้อมูลของกระทรวงมหาดไทย ทุกรายการอยู่แล้ว โปรแกรมเมอร์สามารถดึงข้อมูลเหล่านั้นมาได้ไม่ยากเลย แต่ผู้บริหารระดับกระทรวงคิดกันไม่ได้หรือไม่ได้คิดก็ไม่ทราบ ทำาให้ครูต้องเสียเวลาสอนเด็กไปกับงานธุรการอย่างมากมาย

อีกเรื่องหนึ่ง ที่เป็นปัญหาวิกฤติของคนไทย และครูเป็นจำาเลยของสังคมคือ ครูไทย สอนภาษาไทยให้แก่เด็กไทย อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ซึ่งเป็นปัญหาที่แก้ไม่ยากเลยถ้าจะแก้กันจริงๆ แต่ที่เป็นปัญหาเพราะผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้องปล่อยปละละเลยกันทุกระดับ

จึงขอกราบวิงวอน ผู้หลักผู้ใหญ่ผู้เกี่ยวข้องในการปฏิรูปครั้งนี้ อย่าให้ประวัติศาสตร์ซ้ำารอย อย่าไปเน้นปฏิรูปโครงสร้างเป็นสำาคัญ แต่ขอให้ปฏิรูปทั้งระบบรวมทั้งการวางระบบพัฒนาสวัสดิการและสวัสดิภาพครูอย่างมีประสิทธิภาพ รัฐต้องจัดที่พักให้ครูกระจายทุกพื้นที่เหมือนแฟลตของตำารวจ หรือของทหาร มีบริการรถรับ-ส่ง จากบ้านพักไปยังโรงเรียนภายในอำาเภอเหมือนหน่วยงานราชการอื่นๆ โดยเฉพาะด้านการผลิตครูต้องหาวิธีการคัดเลือกคนเก่งมาเป็นครูให้ได้ ถ้าได้ครูและบุคลากรที่เก่งและดีมีคุณธรรม ปัญหาด้านอื่นก็จะแก้ได้ไม่ยาก ผลผลิตทางการศึกษาก็คงเป็นที่น่าพอใจของสังคมอย่างแน่นอน..... ..โปรดติดตามตอนต่อไป

การปฏิรูปการศึกษาควรเป็นเช่นไรข่าวการปฺฏิรูปการศึกษาเป็นที่สนใจของคนทั่วไป ทุกคนกำาลัง

เฝ้ามองว่ารัฐบาลและนักการศึกษาจะมีแนวทางที่จะแก้ปัญหาผลผลิตการศึกษาไทยตกต่ำาได้อย่างไร ด้านโครงสร้างก็ยังไม่ชัดเจนเลย จึงต้องคุยกันเรื่องหลักการรวมๆ ของการปฏิรูปการศีกษาก่อน

การปฏิรูปการศึกษาที่ถูกต้อง ต้องปฏิรูปทั้งระบบไม่ใช่ปฏิรูปเฉพาะหลักสูตรบางรายวิชา ต้องเปลี่ยนแปลงระบบการสอนของครูเปลี่ยนแปลงระบบการเรียนในชั้นเรียนของนักเรียนเปลี่ยนแปลงระบบการได้ฝึกปฏิบัติ จริ ง ในภาคสนามหรือสถานปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงระบบการวัดผลที่ไม่สะท้อนให้เห็นความรู้ความสามารถของผู้เรียนจริงและยังสร้างโอกาสหรือเปิดให้เด็กทุจริตในการสอบได้ คือลอกข้อสอบกันได้ง่ายขึ้น

ด้านการผลิตครูก็ต้องยกระบบใหม่ทั้งหมด ต้องคัดเลือกคนเก่งมาเป็นครู ปัจจุบันคนที่สอบเข้าเรียนที่ไหนไม่ได้เข้ามาเรียนครู คนที่เก่งจริงจบสายตรงมาเป็นครูผู้สอนไม่ได้เพราะไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ทั้งที่ครูระดับอุดมศึกษาไม่ต้องมีใบอนุญาตก็ไม่เห็นเป็นไร ทำาไมในระดับขั้นพื้นฐานจะยกเว้นให้คนเก่งจริงๆเข้าสอนบ้างไม่ได้

เรื่องของหลักสูตรในช่วงแรก พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คสช. กำาหนดเนื้อหารายวิชาบางส่วนของหลักสูตรเท่านั้น ไม่ใช่หลักสูตรทั้งหมดในความเป็นจริงยังมีอีกหลายเน้ือหาวิชาที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตจริงที่ไม่ได้กำาหนดไว้ในเนื้อหาวิชาตามหลักสูตรเช่น ความรู้ด้านการเงินการบัญชีเบื้องต้นซึ่งเด็กทุกคนต้องใช้เงินทุกวันต้องวางแผนการเงินเป็น ความรู้กฎหมายภาษี เพราะทุกคนต้องเสียภาษีทั้งทางตรงและทางอ้อม และรัฐต้องใช้ภาษีเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาประเทศ ทักษะพื้นฐานทางวิชาช่างต่างๆ พื้นฐานทางวิชาเกษตรกรรมพื้นฐานทางวิชาการค้าการพาณิชย์ พื้นฐานทางการเป็นผู้ประกอบการเบื้องต้น และที่สำาคัญคือทักษะชีวิต ซึ่งสถานศึกษาส่วนใหญ่ก็ยังไม่ได้สอนเรื่องเหล่านี้อย่างจริงจัง ฯลฯ

เนื้อหาวิชาปัจจุบันที่บรรจุไว้ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือการศึกษาในระดับอุดมศึกษาบางรายวิชาไม่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตในสังคมปัจจุบันไม่สัมพันธ์กับความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไม่สัมพันธ์กับความเปลี่ยนแปลงของคนในยุคใหม่ และความเป็นสากลสมัยก่อนมีกรมวิชาการที่มาดูแลเรื่องหลักสูตรปัจจุบันนี้ไม่มีแล้ว ที่น่าแปลกเรื่องหลักสูตรเป็นเรื่องของกระทรวงซึ่งไม่มีผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรมาดูแลมีหลายรายวิชาที่เนื้อหาไม่มีประโยชน์กับชีวิตปัจจุบันของคนในสังคมใช้เวลาเรียนเสียไปโดยเปล่าประโยชน์เด็กไม่น่าสนใจเรียน เนื้อหาบางวิชาก็เป็นประวัติศาสตร์ไปแล้วเพราะล้าสมัยไม่ทันเหตุการณ์ แต่ยังยัดเยียดให้เด็กต้องฝืนเรียนกันอยู่ กลายเป็นขยะในสมองเด็ก

การปฏิรูปการศึกษาควรเป็นเช่นไร สุชาติ เหล่ากอรองผอ.โรงเรียนวมินทร์วิทยา(ฮัวเหมิง)

Page 8: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

หนังสือพิมพ์ข่�วประช�สัมพันธ์ ฉบับประจำ�วันจันทร์ที่ ๒๓ กุมภ�พันธ์ ๒๕๕๘ED.SURAT.1

ฉบับนี้ได้เก็บคำ�กลอนคำ�คมจ�กหล�ยๆที่ม�ฝ�กคุณผู้อ่�นเกี่ยวกับชีวิตอ�รมณ์คว�มรู้สึก.... “คนโง่เอ�ใจไว้ที่ป�กคนฉล�ดเอ�ป�กไว้ที่ใจ”

เกี่ยวกับอ�รมณ์คว�มโกรธ “โกรธเข�เร�รู้อยู่ว่�ร้อนจะนั่งนอนเป็นทุกข์ไม่สุกใสแล้วยังดื้อด้�นโกรธจะโทษใครน่�แค้นใจจริงหน�ไม่น่�ชม”

อีกบทหนึ่งบอกไว้ว่� “เกิดเป็นคนต้องอดทนให้คนด่�จะทำ�ดีทำ�บ้�ถูกด่�หมดทำ�ซื่อซื่อถูกด่�ว่�ไม่คดทำ�เลี้ยวลดถูกด่�ว่�ไม่ตรง”

ก�รรู้จักปล่อยว�งสันโดษเรียบง่�ยเข้�ใจในสัจจธรรมแห่งชีวิต “ตำ�แหน่งอำ�น�จว�สน�เหมือนคว�มฝันรูปโฉมผิวพรรณเหมือนดอกไม้ทุกอย่�งย่อมเปลี่ยนแปรไปไม่อ�จรักษ�ไว้เป็นของตัวชั่วนิรันดร์”

คุณลักษณะและบทบาทของครูผู้สอนต่อการจัดการ

เรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย(ต่อจากฉบับที่แล้ว )

๘. มีความรู้ ความเข้าใจด้านจิตวิทยา เข้าใจลักษณะธรรมชาติ และความ

ต้องการของผู้เรียนเป็นอย่างดี คำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มีวิธีการที่

จะกระตุ้นหรือจูงใจให้ผู้เรียนสนใจในการเรียนภาษาไทย การเสริมกำาลังใจ การ

ให้รางวัลและการลงโทษ

๙. รู้แหล่งวิทยาการที่ดี ทั้งที่เป็นบุคคล สถาบัน เอกสาร และที่เป็น

ธรรมชาติ และนำาเอาแหล่งวิทยาการเหล่านั้นมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการสอน

๑๐. มีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส อารมณ์ดี เป็นกันเองกับผู้เรียน ช่วยทำาให้

บรรยากาศในการเรียนการสอนดีขึ้น ผู้เรียนกล้าคิด กล้าถาม กล้าแสดงความ

คิดวิพากษ์วิจารณ์ต่าง ๆ

๑๑. ขยันขันแข็ง เสียสละ อดทนต่อการทำางานหนัก ทั้งในด้านการเตรียม

การสอน การผลิตสื่อการสอนและการสอนทำาให้ผู้เรียนเห็นตัวอย่างที่ดีในความ

พยายามและทำางานหนักของครู

๑๒. มีจิตใจกว้างขวางเป็นนักประชาธิปไตย มีเหตุผล ยอมรับฟังความคิด

เห็นของผู้เรียนเป็นอย่างดี สิ่งสำาคัญคือ ครูให้โอกาส และจัดกิจกรรมให้นักเรียน

ได้แสดงความคิดเห็นมากที่สุด ยอมรับฟังความคิดเห็นเหล่านั้นด้วยใจเป็นธรรม

๑๓. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ชอบคิด ชอบทำากิจกรรมใหม่ ๆ เพื่อช่วย

ให้การเรียนการสอนภาษาไทย มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

๑๔. มีบุคลิกภาพดี การแต่งกายสะอาดเรียบร้อยตามสมัยนิยม มีท่วงที

ท่าทางดี มีความสามารถในการพูดและวางตนดี

๑๕. มีความสามารถในการแสดงออกซึ่งความคิดและอารมณ์ โดยเฉพาะ

อย่างยิ่งในการสอนวรรณคดี เพื่อจะได้ช่วยให้นักเรียนเกิดอารมณ์ร่วมกับกวี

และเข้าใจบทเรียนได้ลึกซึ้ง

๑๖. มีความเป็นตัวของตัวเอง เคารพในหลักการ มีความเชื่อมั่นในตนเอง

ไม่มีอคติ ปราศจากความลำาเอียงใด ๆ

๑๗. มีมนุษยสัมพันธ์ดี เข้ากับครู นักเรียน ผู้ปกครอง ตลอดจนประชาชน

ในชุมชนนั้นเป็นอย่างดี

๑๘. มีจิตใจเข้มแข็ง ไม่ย่อท้อต่องานหนักและการดูหมิ่นจากบุคคลอื่น ใน

ขณะเดียวกันก็มีความสามารถในการเสนอความคิดที่มีคุณค่าต่อบุคคลอื่น ทั้ง

ในวงการครูและวงการอื่น เพื่อจะได้ช่วยกันทะนุบำารุงและสืบสานวัฒนธรรม

ด้านภาษาให้ยืนยงสืบไป

พบกับศึกษ�นิเทศก ์ภาษาไทยอรุณศรี จงจิตต์

Page 9: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑ ED.SURAT.1

ก�รควบคุม “คุณภ�พและยกระดับก�รเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยวงจร PDCA”พรพันธุ์ศักดิ์ พาหะมาก

ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

“วงจร PDCA หรือ PDCA Cycle”

ตามแนวทางของ ท่าน ศาสตราจารย์ Dr. William Edwards Dem-

ing คือแนวทาง “การปฏิบัติ” เพื่อยกระดับและควบคุมคุณภาพการเรียนรู้ใน

ศตวรรษที่ ๒๑ ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานและสามารถ “พัฒนาต่อยอด (Fur-

ther Develop)” ให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป...ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน ซึ่งต้องปฏิบัติ

อย่างต่อเนื่อง ได้แก่

P – Plan วางแผน ผู้บริหารสถานศึกษา จะต้องเป็น “ผู้นำา

กิจกรรม” โดยการกำาหนดวัตถุประสงค์ และตั้งเป้าหมาย กำาหนดขั้นตอนวิธี

การ และระยะเวลา การจัดสรรทรัพยากรที่จำาเป็นทั้งในด้านบุคคล เครื่องมือ

งบประมาณ

แผนงานประกันคุณภาพนี้ชื่อว่า “การประกันคุณภาพการเรียนรู้ของ

ศตวรรษที่ ๒๑” บอกชื่อสถานศึกษา บอกวัตถุประสงค์ของสถานศึกษาใน

แผนแม่บท ตั้งเป้าหมายที่เป็นรูปธรรม บอกตัวชี้วัด...สำาคัญที่สุดคือ บอก

วัตถุประสงค์รายวิชา ตั้งเป้าหมายรายวิชาที่เป็นรูปธรรม บอกตัวชี้วัดที่ทุกคน

สามารถ “ตรวจสอบได้”...

แผนงานนี้มี ๘ .ขั้นตอน คือ

๑. การเตรียมครู

๒. การสำารวจชุมชน และหาแรงบันดาลใจ

๓. การระดมความคิด

๔. การจำาแนกแยกแยะข้อมูลที่ถูกต้อง

๕. การออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน

๖. ลงมือปฏิบัติงาน

๗. สรุป ข้อมูล....และ

๘. ต่อยอดองค์ความรู้

ระยะเวลาและการนัดหมาย ในการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติงาน “การ

เรียนการสอนจริง” ควรเป็นช่วงเวลาปิดภาคเรียน กำาหนดวันสรุปข้อมูลให้มี

เวลาพอเหมาะแก่การชี้แจงของคุณครู...และการต่อยอด องค์ความรู้ควรทำาใน

รอบใหม่ของการเริ่มต้นวงจร PDCA ซึ่งเป็นช่วงปิดภาคเรียนภาคปลาย

การจัดสรรทรัพยากรที่จำาเป็นคือ บุคคล และเครื่องมือ อุปกรณ์การ

เรียนรู้ต่างๆ ตลอดจนงบประมาณ และกำาหนดนัดหมายต่างๆนั้น ควรได้มี

การปรึกษาหารือในที่ประชุม

D- Do ปฏิบัติ โดยการทำาความเข้าใจ และลงมือปฏิบัติตามแผน ที่ว่า

เด็กเปลี่ยนวิธีเรียน เป็น Learning by Doing ครูเปลี่ยนวิธีสอนเป็น Teach

Less...Learn Moreนั้นทำาอย่างไร รายวิชาต่างๆสอนอย่างไร เรียนอย่างไร

วิชาทางสังคมศาสตร์ สอนอย่างไร วิชาเพื่อการพัฒนา เช่นวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ สอนอย่างไร วิชาภาษาไทย ภาษาต่างประเทศสอนอย่างไร ทักษะ

ชีวิต หรือ Life Skill ต้องสอนอย่างไร ระเบียบวินัยและการแก้ปัญหาระเบียบ

วินัย สอนอย่างไร ใช้ Approach Concept ของการเรียนรู้

Learning Approach กลุ่มใดเข้าไปใช้ได้บ้าง หรือต้องใช้แบบผสม

ผสานกัน..สิ่งเหล่านี้คือ “แนวคิด หรือ Idea ในการออกแบบการ

เรียนการสอน (Instructional Design)” ของคุณครู และในการ

เรียนรู้ของศตวรรษที่ ๒๑.เป็นการเรียนรู้แบบองค์รวม คุณครูต้อง

ฉลาดที่ “จะเอาข้อดีของของวิชาหนึ่ง ไปบูรณาการ หรือ Integrat-

ed กับอีกวิชาหนึ่ง เพื่อทำาให้เกิดการเรียนรู้ที่ดียิ่งขึ้น”

หัวใจของการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑ คือ “การเรียนรู้

ด้วยตนเอง คือ Learning by Doing” นั่นเอง Do หรือ Doing

คือการลงมือทำาเอง เป็นแม่แบบ แจกลูกแจกหลานออกไปเป็นรูป

แบบการเรียนมากมาย เช่น PBL หรือ การเรียนรู้โดยใช้โครงการ

หรือ ปัญหาเป็นพื้นฐานการเรียนรู้ (Problem or Project Based

Learning),..การเรียนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้ Activity

Learning,...การเรียนรู้โดยการสำารวจ (Exploring Learning)…

การเรียนรู้ด้วยการช่วยเหลือเกื้อกูล และ การเรียนรู้ร่วมกัน (Co-

operative and Collaborative Learning)..ฯ.และทั้งหลายแหล่

ที่คุณครูสามารถออกแบบเอง จากตระกูลการเรียนรู้ใหญ่ๆ ทั้ง ๓

ตระกูลคือ Behaviorism, Cognitivism, และ Constructivism

แล้วแต่กรณี และความเหมาะสม...

ในรายวิชาที่ต่างกัน ก็ย่อมมี “วิธีเรียน และ วิธีสอน Learn-

ing and Teaching”ที่แตกต่างกันด้วย ขอยกตัวอย่างกว้างๆ สัก

๒ กลุ่ม เช่น

๑. กลุ่มวิชาการ กิจกรรมการเรียน ก็คือการสำารวจหรือการ

หาข้อมูล The Exploration Learning…หมายความว่า ผู้เรียน

มี “ภารกิจ (Mission)” ในการรวบรวมข้อมูล จัดระเบียบข้อมูล

ตีความหมายของข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และการประเมินค่าข้อมูล

ที่ได้รับ Learner gathers, organizes, interprets, analyz-

es, evaluates data..ตามแบบการเรียนของ Constructivist

Learning นั้น..ผู้เรียนจะเกิดความรู้และความจำาชนิดถาวร (Per-

manent Knowledge and Memory) เกิดความเข้าใจ (Under-

standing) และสำาคัญที่สุด การเรียนโดยวิธีนี้ จะทำาให้เกิดการคิด

วิเคราะห์ (Critical Thinking) และ เรียนรู้กระบวนการทำางาน

(Process) ด้วยตนเองโดยธรรมชาติ...แล้วนำาเอา “ข้อมูล หรือ

Data” ที่รวบรวมได้เหล่านี้ มาเข้า “กระบวนการกลุ่มย่อย (Sub-

group Processes)” ๓ - ๕ คน เพื่อ “ระดมความคิด (Brainst

orming)”โดยใช้กระบวนการเรียนแบบ “ช่วยเหลือเกื้อกูล และการ

เรียนร่วมกัน (Cooperative and Collaborative Learning)”

จนสามารถ “เปิดเผยความรู้ (Revealed knowledge)” ออกมาใน

Page 10: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

หนังสือพิมพ์ข่�วประช�สัมพันธ์ ฉบับประจำ�วันจันทร์ที่ ๒๓ กุมภ�พันธ์ ๒๕๕๘ED.SURAT.1๑๐

โดย....รองแวว

เขาว่าความเงียบและความสงบมักมีความน่ากลัวซ่อนอยู่

บรรยากาศเหล่านี้อยู่ในองค์กรใดไม่ค่อยกระตุ้นการทำางาน ยกเว้นสถาบัน

ศาสนา คอลัมน์นี้คงทำาลายความเงียบได้บ้างนะครับ เริ่มด้วยขอขอบคุณ

ผอ.วีระพล สาระคง แห่ง ร.ร.บ้านเกาะพลวย อำาเภอดอนสัก ที่ให้การ

ต้อนรับคณะเครือข่ายดอนสักปากแพรกที่ลงไปเยี่ยมครอบครัวนักเรียน

ยากจนทำาให้เรารู้ว่า ร.ร.เกาะพลวย ไม่ได้เป็นโรงเรียนนอกสายตาที่ไม่

ค่อยมีใครกล้าไปอยู่ วันนี้ได้ชื่อว่า “กรีนสคูลกรีนไอแลนด์” แห่งเดียวของ

ประเทศไทยที่รัฐบาลสนับสนุนงบประมาณหลายร้อยล้าน พัฒนาพลังงาน

ลมและพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้เป็นพลังงานไฟฟ้า ใช้กันทุกครัวเรือน รวม

ทั้งโรงเรียนด้วย ใครอยากดูไปเยี่ยมได้นะครับ. ท่าน ผอ. รับเต็มที่ทั้งอาหาร

ทะเลและรีสอร์ทแสนสบาย ทีมงานขอขอบคุณมาอีกครั้ง จะลืม ผอ. ท่าน

เจ้าเกาะอีกคนหนึ่งไปไม่ได้ คือ ผอ.วิโรจน์ ทองถึง แห่ง ร.ร. บ้านเกาะเต่า

ที่รวมน้ำาใจคณะครู รวมใจกันอยู่ไม่ถ่ายโอนไป อบจ.สฎ. ตามคำาขอถ่ายโอน

ที่พ้นการลงมติไปแล้ว หายใจทั่วท้องอีกครา ต้องยกมือให้กำาลังใจท่าน ผอ.

และคณะนะครับ ขึ้นจากเกาะคงลัดเลาะมาทางน้ำาแวะชื่นชม ผอ. ร.ร.วัด

นทีคมเขต ผอ.ปุญญรัศมิ์ ชัยบุญ ขอชื่นชมว่า มีงานพัฒนาตลอดเวลา ตั้งแต่

ย้ายเปลี่ยนตำาแหน่ง โรงเรียนรับสายตามมวลประชามากขึ้นนะครับ เพราะ

ไปสะพานศรีสุราษฎร์ ขอเป็นกำาลังใจด้วยนะครับ มาดี ไปดี และยินดีกับ

ผอ.วิชัย มาศศรี ที่ย้ายจาก ร.ร. บ้านดินแดงสามัคคี ไป ร.ร. บ้านน้ำาฉา

คิดว่าคงอยู่ดีมีสุขนะครับ สำาหรับนักพัฒนา. ใครขับรถผ่าน ร.ร.วัดสุนทร

นิวาส อย่าลืมแวะเยี่ยม ท่าน ผอ.วิสิทธิ์ จิตต์เลขา นะครับ ตั้งแต่ได้

รับงบประมาณถนนลาดยางผ่านโรงเรียนหลายสิบล้าน ลงทุนปัก

เสาคอนกรีต รอบโรงเรียนป้องกันความปลอดภัยแก่นักเรียน ยังไม่

หมดไฟแห่งการพัฒนาเลยนะครับ อย่าให้เสียชื่อโรงเรียนใกล้ห้าง

เซ็นทรัลนะนี่ ฝันให้ไกลไปให้ถึงสำาหรับเพ่ือนครู ผู้มีความฝันเข้าสู่

ตำาแหน่งผู้บริหาร ทั้งสายทั่วไป และสายประสบการณ์ เสียดายแทนผู้

รักษาการณ์แห่งโรงเรียนบ้านเกาะนางเภา คุณครูอุไร เวลาราชการ

ขาดไปไม่กี่เดือนเอาไว้รอบหน้านะน้อง พี่ ๆ เอาใจช่วยเพราะน้อง

อึดจริง ๆ ท่านอื่นขอให้โชคดีนะครับ ขอให้ปฏิบัติตามคำาชี้แจงของ

ข้อสอบ คือ ให้เลือกคำาตอบที่ถูกที่สุด แล้วท่านจะได้เป็น ผอ./รอง ผอ.

สถานศึกษาดังความตั้งใจ นะคร๊าบ.

ภาพกิจกรรม

ค่ายส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลป และ นันทนาการ ของ เครือข่ายปากแพรก สถานที่จัด รร.วัดคีรีวง โดยเชิญวิทยากรจากมหาวิทยาลัย

ราชภัฏสุราษฎร์ธานี จำานวน ๔๕ คน เป็นวิทยากร และ นายก อบต. ปากแพรก นายปราโมทย์ เพชรรัตน์ เป็นประธานในพิธีเปิด มี

นักเรียนในเครือข่าย ๑๑ โรงเรียน ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู เข้าร่วมโครงการ จำานวนทั้งสิ้น ๑๙๗ คน

Page 11: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

สำ�นักง�นเขตพื้นที่ก�รศึกษ�ประถมศึกษ�สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑ ED.SURAT.1

ที่ปรึกษ� น�ยชุมพล ศรีสังข์ บรรณ�ธิก�รบริห�ร น�ยประทีป ทองด้วง น�ยผัน หอมเกตุ น�ยสัญญ�นนท์ พรหมมณี น�ยมณีโชติ แพเรืองบรรณ�ธิก�ร น�ยสมช�ย สำ�อ�งค์ก�ยผู้ช่วยบรรณ�ธิก�ร น�งส�วพิมพ์ม�ด� เรืองนุ้ย

ประจำ�กองบรรณ�ธิก�ร น�ยธน�วุฒิ รักษ์หนู น�ยสุมนต์ ศิริธรรม ดร.ณันศภรณ์ นิลอรุณ น�ยมนต์ชัย วุฒิพงศ์ น�ยไพจิตร รักษ�สรณ์ น�ยพรพันธุ์ศักดิ์ พ�หะม�ก น�ยสุภ�รัตน์ แก้วโรย น�งอ�รย� จันทวี

น�งเพลินชม ละม้�ยน�งทัศนีย์ รุ่งเรืองน�งอรุณศรี จงจิตต์น�ยภิญโญ ไม้ทองง�มน�ยอัครเดช คงทรัพย์น�ยเจด็จ หนูแกล้วส.ต.ต.ยุทธน� บุญยะตุล�นนท์น�งส�วพิมพ์ม�ด� เรืองนุ้ย

น�ยชุมพล ศรีทองกุลน�งอรนุช ปิติสุขกร�ฟฟิค/รูปเล่ม/ศิลปกรรม น�ยสมช�ย สำ�อ�งค์ก�ยภ�พถ่�ย กลุ่มง�นประช�สัมพันธ์ เครือข่�ยประช�สัมพันธ์

เจ้�ของ สพป.สุร�ษฎร์ธ�นี เขต ๑ ถ.ดอนนนก ต.มะข�มเตี้ย อ.เมืองฯ จ.สุร�ษฎร์ธ�นี ๘๔๐๐๐ โทร ๐๗๗ ๒๗๓๒๙๘ www.surat1.go.th

๑๑

กลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนเทพมิตรศึกษา ได้จัดงาน “เทพมิตร

วิชาการและสิ่งแวดล้อมไทย” ประจำาปีการศึกษา ๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๑๐ - ๑๑

กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดงานดังนี้

๑. เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ผลงาน ความสามารถด้านวิชาการของครู

และนักเรียนตลอด ปีการศึกษา ๒๕๕๗

๒. เพื่อให้นักเรียนและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ ทั้งด้านวิชาการ วัฒนธรรม

ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

๓. เพื่อส่งเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียน ชุมชน ผู้

บริหาร ครู และนักเรียน

๔. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงปัญหาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง

แวดล้อม

การจัดงานวิชาการเป็นการเปิดเวทีให้กับคณะครูและนักเรียนได้แสดง

ผลงานในรอบปีที่ผ่านมามาจัดนิทรรศการแสดงผลการของนักเรียนและ

นิทรรศการจากหน่วยงานภายนอก พร้อมทั้งได้มีการจัดการเรียนรู้ภายในซุ้ม

ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยแบ่งความรู้ออกเป็นช่วงชั้นตามศักยภาพ

ของนักเรียน และการจัดงานครั้งนี้้รับสนับสนุนจากคณะครู นักเรียน และ

ผู้ปกครองโรงเรียนเทพมิตรศึกษา ตลอดถึงหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งของรัฐและ

เอกชนและจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านการอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณี และ

ผลผลิตที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น อีกทั้งเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดี

ระหว่างโรงเรียน ผู้บริหาร ครู และนักเรียนที่เข้าร่วมงาน นอกจากนี้ ได้

ตระหนักถึงปัญหาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่กำาลังเสื่อมโทรม

และหมดไป ช่วยปลุกกระแสเด็กๆ และเยาวชน หันมาสนใจและร่วมแรง

ร่วมใจกันเพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมกันอย่างจริงจัง

Page 12: หนังสือพิมพ์ข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.สุราษฎร์ธานี เขต ๑

หนังสือพิมพ์ข่�วประช�สัมพันธ์ ฉบับประจำ�วันจันทร์ที่ ๒๓ กุมภ�พันธ์ ๒๕๕๘ED.SURAT.1๑๒

ด.ญ ณัฐธิดา. พงษ์พานิช นักเรียนโรงเรียน

บ้านบ่อผุด ได้รางวัลที่ ๓ ชิงถ้วยพระราชทาน

แข่งขันซอด้วง อายุ ๑๒ ปี. และร่วมแข่งขันซอ

ด้วง ในงานศิลปหัตถกรรม ระดับชาติ

นางผานิตย์ มีสุนทร รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับพระราชทานมอบหมายจากองค์ประธานโครงการ TO BE NUMBER ONE ให้ทำาหน้าท่ีเป็นประธานในพิธีประกาศผลและมอบรางวัล

พระราชทาน การจัดประกวดผลงานจังหวัดและชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับภาคใต้ ประจำาปี ๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ณ ห้องประกายเพชร โรงแรมไดมอนด์ พลาซ่า

จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการนี้ นางณันศภรณ์ นิลอรุณ รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๑ ร่วมพิธีประกาศผลและมอบรางวัลดังกล่าว

นายชุมพล ศรีสังข์ ผู้อำานวยการสำานักงานเขต

พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต

๑ ตรวจความเรียบร้อย สนามสอบรองผู้อำานวย

การโรงเรียนและผู้อำานวยการโรงเรียน เมื่อวัน

ที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ณ โรงเรียนอนุบาล

สุราษฎร์ธานี

นายสัญญานนท์ พรหมมณี รองผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

สุราษฎร์ธานี เขต ๑ และหน่อยตรวจสอบภายใน ตรวจนิเทศด้านการเงินและพัสดุ ณ โรง

เรียนบุณฑริการาม อำาเภอเกาะสมุย