5
1 ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Visionary Leader) ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ2555 ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ: จิตนาการคือวิสัยทัศน ดร.ดนัย เทียนพุฒ ผูอํานวยการดี.เอ็น.ที .เน็ต จําไดวาตอนทํางานที่บริษัท Strategic Resources Inter’l (ประมาณ 15 ปที่แลว) เมื่อ บริษัทแมจาก Texas สหรัฐอเมริกา มาอบรมเกี่ยวกับวิสัยทัศน กลยุทธและแรงขับทางกลยุทธ (Strategic Driving Forces) ถือเปนเรื่องใหมในยุคนั้น แลวยังตองรับผิดชอบแปลเอกสารทั้งหมดใหเปนภาษาไทย เพื่อขายโปรแกรมสัมมนาใหกับองคกรธุรกิจในประเทศไทย เรื่องราวดังกลาวกลายเปน แรงขับอยางดีตอผูเขียนตองศึกษา ทําความเขาใจในเรื่อง วิสัยทัศนและกลยุทธอยางไมเคยเกิดขึ้นมากอน แมจะมีประสบการณมาจากธุรกิจธนาคารและธุรกิจ หางสรรพสินคา แตเครื่องมือในการสรางวิสัยทัศนและกลยุทธ ยังมีไมแพรหลายมากนัก มีหนังสืออยูเลมหนึ่ง The Strategist CEO (1988) เขียนโดย Michel Robert ซึ่งเปนคนทีเริ่มใชคําวา Strategic Thinking และความโดงดังของเขาคือ การเปนที่ปรึกษาทางกลยุทธใหกับรัฐบาล ประเทศสิงคโปร ผูเขียนไดเห็นเอกสารการบรรยายขณะที่ไปดูงานสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติของสิงคโปร (ที่เห็นตอนนั้นก็ตั้งแตป 1995 แลวครับ) อิทธิพลทางความคิดของ Robert ในเรื่อง Strategic Thinking Process ทําใหผูเขียนได ตกผลึกในเรื่องของวิสัยทัศน (Vision) ซึ่ง Robert เรียกวา โปรไฟลเชิงกลยุทธ (Strategic profile) อีกทั้งได อางจากบทความของ Henry Mintzberg ใน Harvard Business Review ที่สังเกตพบวา กลยุทธเปนแนวคิดขององคกรวาจะจัดการอยางไรกับสภาพแวดลอมในขณะหนึ่ง ถาองคกรปรารถนาตองการสราง กลยุทธเชิงบูรณาการ....กลยุทธก็จะขึ้นอยูกับคนๆ หนึ่ง ที่จะวางแนวคิดเชิงกลยุทธ เพื่อใหมีการสังเคราะห วิสัยทัศน (Vision)” ขององคกรกอนวาจะตอบสนอง ตอสภาพแวดลอมอยางไร กลยุทธตางๆ นั้นไมเคยสรางขึ้นไดอยางชัดเจน แมวาวิสัยทัศนไดทําหนาที่อยางเต็ม ศักยภาพ นั่นคือกลยุทธไมเคยเกิดขึ้นอยางชัดเจนและสิ่งที่คงอยูก็ยังเปนวิสัยทัศนสวนตัวของ CEO(Robert, 1988: The Strategist CEO: 21)

ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

จินตนาการคือสิ่งสำคัญของผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ

Citation preview

Page 1: ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ

1  

ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Visionary Leader)                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 

ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ: จตินาการคือวิสัยทัศน

ดร.ดนัย เทยีนพฒุ ผูอํานวยการดี.เอ็น.ท.ีเน็ต

จําไดวาตอนทาํงานที่บริษัท Strategic Resources Inter’l (ประมาณ 15 ปที่แลว) เมือ่

บริษัทแมจาก Texas สหรัฐอเมริกา มาอบรมเก่ียวกับวสัิยทัศน กลยทุธและแรงขับทางกลยทุธ (Strategic

Driving Forces) ถือเปนเร่ืองใหมในยุคนัน้ แลวยงัตองรับผิดชอบแปลเอกสารทัง้หมดใหเปนภาษาไทย

เพื่อขายโปรแกรมสัมมนาใหกับองคกรธุรกิจในประเทศไทย

เร่ืองราวดังกลาวกลายเปน แรงขับอยางดีตอผูเขียนตองศึกษา ทาํความเขาใจในเร่ือง

วิสัยทัศนและกลยุทธอยางไมเคยเกิดข้ึนมากอน แมจะมีประสบการณมาจากธุรกจิธนาคารและธุรกิจ

หางสรรพสินคา แตเคร่ืองมอืในการสรางวิสัยทัศนและกลยุทธ ยังมีไมแพรหลายมากนกั

มีหนงัสืออยูเลมหนึง่ The Strategist CEO (1988) เขียนโดย Michel Robert ซึง่เปนคนท่ี

เร่ิมใชคําวา Strategic Thinking และความโดงดังของเขาคือ การเปนทีป่รึกษาทางกลยุทธใหกับรัฐบาล

ประเทศสิงคโปร ผูเขียนไดเห็นเอกสารการบรรยายขณะท่ีไปดูงานสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติของสิงคโปร

(ที่เหน็ตอนนั้นก็ต้ังแตป 1995 แลวครับ)

อิทธิพลทางความคิดของ Robert ในเร่ือง Strategic Thinking Process ทําใหผูเขียนได

ตกผลึกในเร่ืองของวิสัยทัศน (Vision) ซึ่ง Robert เรียกวา โปรไฟลเชิงกลยุทธ (Strategic profile) อีกทั้งได

อางจากบทความของ Henry Mintzberg ใน Harvard Business Review ที่สังเกตพบวา

“กลยุทธเปนแนวคิดขององคกรวาจะจัดการอยางไรกับสภาพแวดลอมในขณะหนึ่ง

ถาองคกรปรารถนาตองการสราง กลยทุธเชิงบูรณาการ....กลยทุธก็จะข้ึนอยูกับคนๆ หนึ่ง

ที่จะวางแนวคิดเชิงกลยทุธ เพื่อใหมกีารสงัเคราะห “วิสัยทัศน (Vision)” ขององคกรกอนวาจะตอบสนอง

ตอสภาพแวดลอมอยางไร

กลยุทธตางๆ นั้นไมเคยสรางข้ึนไดอยางชดัเจน แมวาวสัิยทัศนไดทาํหนาที่อยางเต็ม

ศักยภาพ นัน่คือกลยุทธไมเคยเกิดข้ึนอยางชัดเจนและส่ิงที่คงอยูกย็ังเปนวิสัยทัศนสวนตัวของ CEO“

(Robert, 1988: The Strategist CEO: 21)

Page 2: ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ

2  

ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Visionary Leader)                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 

วิสัยทัศนนี้ก็จะกลายเปน “โปรไฟลเชิงกลยุทธ (Strategic Profile)” สําหรับบริษทั ดังนัน้

โปรไฟลก็จะกลายเปนเปาหมาย ซึง่นาํทางพฤติกรรมขององคกร นัน่คือ กลยทุธและทิศทางสําหรับ

ชวงเวลาที่แนนอนชวงหนึ่ง

โปรไฟลเชิงกลยุทธเปนส่ิงที่ผูบริหารระดับสูงใชทดสอบการตัดสินใจประจําวนัและที่

ดําเนนิการอยู หากเหมาะสมก็ดําเนนิการไมเหมาะสมกป็ฏิเสธ

การคิดเชิงกลยุทธ (Strategic Thinking) จึงเปนรูปแบบการคิดที่อยูภายในสมองของ

CEO ที่ปรับแตงและทําความชัดเจนโปรไฟลเชิงกลยทุธในอนาคตขององคกร

ดังนัน้การคิดเชิงกลยทุธจึงเปน กรอบความคิดสําหรับทัง้แผนกลยุทธและแผนดําเนนิการ

รูปที่ 1 การคดิเชิงกลยทุธ

*ปรับมาจาก Robert, M. (2006). The New Strategic Thinking. p.52

พอผูเขียนพัฒนาเรื่อง การสรางวิสัยทัศน ภารกิจและกลยุทธ

Page 3: ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ

3  

ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Visionary Leader)                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 

ทําใหนกึถึงคําวา “จินตนาการ (Imagination)” ในสมองของ CEO (ตามรูปขางตน) ที่

มองเหน็วิสัยทศันในอนาคตของธุรกิจ ซึ่งอยากใหบริษทั “มองเห็นวาเปนแบบไหน” ในอนาคต และ

บอยคร้ังที่ “มองเหน็” นัน้มองแตกตางไปจากปจจุบัน

ดังนัน้ส่ิงที่ทานอธิการบดี มสด. รศ.ดร.ศิโรจน ผลพนัธนิ พูดถึง การจัดการความรู (KM)

ในอนาคตเปนเร่ืองของ “จนิตนาการจัดการความคิด” บนฐานความรูที่มีอยู (ในลอมกรอบ : จินตนาการคือ

วิสัยทัศนของผูนํา)

จินตนาการคือ วิสัยทัศนของผูนํา ในการเปดประชุมวิชาการ การวิจัยดานการจัดการความรูระดับชาติ คร้ังที่ 5 วันที่ 9 สิงหาคม 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต (มสด.) รศ.ดร.ศิโรจน ผลพันธิน อธิการบดี ไดถายทอดประสบการณต้ังแตเร่ิมจัดต้ัง หลักสูตรการจัดการความรู ทานอธิการบดี ไดยกตัวอยางวา ....ตอนที่ทานเรียนจบดอกเตอรมาใหมๆ กลับมาถึงเมืองไทยทุกอยางเปนศูนยหมด เพราะไปตางประเทศมานานถึง 10 ป ถาไมพัฒนาตัวเองย่ิงไมรูอะไร...... ในเร่ืองหลักสูตร การจัดการความรู (KM-Knowledge Management) ทานบอกวาชวง 5 ปกอน KM เปนฐานความรูใชจัดการความคิดของคน หมายถึง การเอาความรูมาใสตัวคนหรือตัวเอง

Page 4: ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ

4  

ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Visionary Leader)                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 

และจากนี้ไป KM เปนเร่ืองของจินตนาการ จัดการความคิด จากฐานความรูที่มีอยู ซึ่งส่ิงสําคัญคือ วิธีการคิดใหม สําหรับจินตนาการมีได 2 แบบคือ

1) เปนจินตนาการบนความทรงจํา ใชความรูเกาหรือประสบการณเดิมทําใหไมมีการพัฒนา ไมเกิดส่ิงใหม 2) เปนจินตนาการบนฐานความรู จะทําใหเกิดส่ิงใหมแลวเอาไปทํา ดังเชน มสด.มีความเกงใน 4 อัตลักษณดังนี้ - ดานการศึกษาปฐมวัย - ดานอุตสาหกรรมอาหาร - ดานอุตสาหกรรมบริการ - ดานพยาบาลศาสตร อัตลักษณทั้ง 4 ดานเปนฐานความรูที่ มสด.มีอยู ทานไดใชจินตนาการคือ การคิดใหมเปด หลักสูตร

เลขานุการทางการแพทย ซึ่งตอนน้ีนักศึกษายังไมจบแตถูกจองตัวหมดทุกคน จินตนาการจึงเปนหัวใจสําคัญ และจินตนาการเปนวิสัยทัศนของผูนําองคกร ทานไดเนนวาใหทิ้งขอมูลเกา ใชขอมูลใหม หนังสือที่เกิน 3 ปแลวบริจาคใหที่อื่น เพราะความรูเปล่ียน-

แปลงเร็ว อยางไรก็ตามเม่ือสมองไปคิดจินตนาการเสร็จแลว ตอไปจะเปนอะไรก็เปนการเอาไปทํา ลงมือทํา การเรียนรู

ที่บูรณาการกับงาน (Work Integrated Learning) ก็ยอนกลับไปที่ แนวคิดของจอหน ดิวอี้ (John Dewey) คือ “การ- เรียนรูโดยการกระทํา (Learning by Doing)”

KM ในความหมายใหมคือ การจัดการส่ิงใหม (บนฐานความรูที่มีอยู) ดวยจินตนาการ

จินตนาการ สิ่งสําคัญของผูนําแหงวสิัยทศันเชงิกลยุทธ

เราไดรูวาผูนาํแหงวิสัยทัศนเชิงกลยทุธ (Strategic Visionary Leader) หรือ CEOของ

องคกรตองมีวสัิยทัศน และโดยสามารถจินตนาการภาพของบริษัททีอ่ยากเหน็ในอนาคตวาเปนอยางไร

แตคําวา จนิตนาการ (Imagination) เปนส่ิงที่มกัเขาใจผิดวาเหมือนความคิดสรางสรรค

โดยสรุปจินตนาการเสนอแนะผลลัพธของไอเดียจากความคิดที่อิสระ ขณะที่คิด

สรางสรรค เสนอแนะบางแงมุมที่เปนการสรางสรรค

Page 5: ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ

5  

ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Visionary Leader)                            ดร.ดนัย เทียนพุฒ : สงวนลิขสิทธิ์ 2555 

จินตนาการ 1. เปนความเชีย่วชาญพิเศษในการกําหนดรูปแบบและไอเดียในจิตใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งของส่ิง

ตางๆ ที่ไมเคยเห็นมากอนหรือไมเคยมีประสบการณโดยตรงมากอน 2. เปนสวนของจิตใจที่ไอเดีย ความคิดและรูปภาพ ถูกกอรางข้ึน

*Manu, A. (2007). The Imagination Challenge. p.9

ดังนัน้ ผูนําแหงวิสัยทัศนเชิงกลยุทธจะตองนาํดังนี ้

เปนผูนาํทีรูวาจะคนหาและเรียนรูไดอยางไรและมีวิธีการอยางไรในการจัดการและ

สรางแรงบันดาลใจใหคนอ่ืนๆ มีการคนหาและเรียนรู

เปนผูนาํที่รูถึงวิธีการที่จะใชในการวิเคราะหแยกแยะและตรวจสอบไอเดีย แลวแปลงรูป

ไปสูโอกาสสําหรับการเติบโต

เปนผูนาํที่เพาะบมและกระตุนจินตนาการของแตละบุคคลในองคกร จนสามารถแปลง

รูปผลของจินตนาการไปเปนนวัตกรรมทีม่ีประโยชนตอธุรกิจและสังคม

จินตนาการจึงเปนความสามารถพิเศษของผูนาํแหงวิสัยทัศนเชิงกลยทุธ อุปมาดังคํา

กลาว ของไอนสไตนทีว่า “Imagination is more important than knowledge... จินตนาการ

สําคัญกวาความรู”