24

2 ระบบเศรษฐกิจ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: 2 ระบบเศรษฐกิจ
Page 2: 2 ระบบเศรษฐกิจ

หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจ- หน่วยเศรษฐกิจ (หน่วยครัวเรือน/หน่วยธุรกิจ/หน่วยรัฐบาล)- กิจกรรมทางเศรษฐกิจ (การผลิต/การบริโภค/

การแลกเปลี่ยน/การกระจาย)- ความหมายของระบบเศรษฐกิจ- ประเภทของระบบเศรษฐกิจ (ลักษณะ/ข้อดี/ข้อเสีย) * แบบทุนนิยม * แบบสังคมนิยม (คอมมิวนิสต์/ประชาธิปไตย) * แบบผสม- ระบบเศรษฐกิจของไทย- กระบวนการไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ

Page 3: 2 ระบบเศรษฐกิจ
Page 4: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิระบบเศรษฐกจิ

หน่วยเศรษฐกิจ

หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ หน่วยรัฐบาล

เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต

เป็นผู้บริโภค

เป็นผู้ผลิต

เป็นผู้จ าหน่าย

เป็นผู้ผลิต

เป็นผู้บริโภค

เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต

Page 5: 2 ระบบเศรษฐกิจ

5

ผู้ผลิต หรือ หน่วยธุรกิจ•ผลิตสินค้าและบริการ•จ าหน่ายสินค้าและบริการ•งบประมาณมีจ ากัด•แสวงหาก าไรสูงสุดจากการผลิต

รัฐบาล•ผู้ผลิต ลงทุน•บริโภคสนิค้าและบริการ•เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต•เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชน

ผู้บริโภค หรือ ครัวเรือน•เจ้าของปัจจัยการผลิต•บริโภคสนิค้าและบริการ•งบประมาณมีจ ากัด•ได้รับความพึงพอใจสูงสุด

บุคคลหรือสถาบันที่ด าเนนิกิจกรรมทางเศรษฐกจิ

หน่วยเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิระบบเศรษฐกจิ

Page 6: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิระบบเศรษฐกจิ

Page 7: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ

การผลิต : ผลิตสินค้าและบริการเพื่อบ าบัดความต้องการ

การบริโภค : กินหรือใช้สินค้าเพื่อบ าบัดความต้องการ

การแลกเปลี่ยน : น าสินค้าที่ผลิตได้ไปแลกกับสินค้าที่ผลิตไม่ได้ เพ่ือน ามาบริโภค

การกระจาย : แจกจ่ายสินค้าไปยังผู้บริโภค และน ารายได้มาแบ่งสันปันส่วนให้กับเจ้าของปัจจยัการผลิต

ระบบเศรษฐกจิ

Page 8: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

ทรพัยากร (จ ากดั)

ความต้องการ (ไมจ่ ากดั

ขาดแคลน

ปญัหาพืน้ฐานทางเศรษฐกจิ

ผลติอะไร Whatผลติอยา่งไร Howเพือ่ใคร For

whom

ระบบเศรษฐกจิ

ทุนนิยม

สังคมนิยม

ผสม

ระบบเศรษฐกจิ

Page 9: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

หมายถึง ความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจต่าง ๆ

ที่รวมตัวกันด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายใต้กฎเกณฑ์

รูปแบบของการปกครอง สังคมประเพณี

และวัฒนธรรมอย่างมีแบบแผน

ระบบเศรษฐกจิ

Page 10: 2 ระบบเศรษฐกิจ

10

เศรษฐศาสตร์

ประเด็น ทุนนิยมสังคมนิยม

ผสมประชาธิปไตย คอมมิวนิสต์

บทบาทของเอกชน มีมาก มี ไม่มี มี (มาก/น้อย)

บทบาทของรัฐ ไม่มี มี เต็มที่ มี

กลไกราคา เต็มที่ มี ไม่มี มี

การแขง่ขัน มีมาก มี ไม่มี มี

คุณครกูลัยา คามวุฒิระบบเศรษฐกจิ

Page 11: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

ฐกิข้อดี ข้อเสีย

- เอกชนมีแรงจูงใจในการผลิต - เกิดการผูกขาดการผลิต

- มีสินค้าคุณภาพดีออกสู่ตลาด - ปัญหาความเหลื่อมล้ าทางรายได้

- ผู้บริโภคมีอิสระในการเลือกบริโภคและราคาเป็นธรรม (มีกลไกราคา)

- เอกชนไม่ผลิตสินค้าที่ไม่ได้ผลก าไร เช่น การป้องกันประเทศ

- เกิดการใช้ทรัพยากรที่สิ้นเปลือง

ระบบเศรษฐกจิ

Page 12: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

ข้อดี ข้อเสีย

1. ไม่มีช่องว่างระหว่างคนจนกับคนรวย มุ่งแก้ปัญหาความไม่เท่าเทียมกัน

1. ประชาชนขาดเสรีภาพในการด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

2. มีการจัดรัฐสวัสดิการให้ประชาชน 2. ประชาชนขาดแรงจูงใจในการท างาน

3. การวางแผนจากส่วนกลางอาจเกิด ความผิดพลาด

ระบบเศรษฐกจิ

Page 14: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

ข้อดี ข้อเสีย

1. เอกชนมีบทบาทในด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

1. ถ้ารัฐแทรกแซงมากเกินไป เอกชนขาดแรงจูงใจ

2. มีการจัดรัฐสวัสดิการให้ประชาชน 2. การบริหารภาครัฐอาจมีประสิทธิภาพ ไม่สู้เอกชน (ปัญหาทุจริต คอรัปชั่น)

3. รัฐสามารถปรับเปลี่ยนบทบาททาง เศรษฐกิจได้ คือ แปรรูปรัฐวิสาหกิจ เป็นบริษัทมหาชน เช่น การบินไทย ไปรษณีย์ไทย

ระบบเศรษฐกจิ

Page 15: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

แบบทุนนิยมแบบเปิด คอื

* ต้องพึ่งทุนและการค้ากับต่างประเทศ

* เปิดกว้างรับเทคโนโลยี และวัฒนธรรมจากตะวันตกเต็มที่

แต่ต้องรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก

ไม่ให้ถูกเอาเปรียบ

* ท าให้เศรษฐกิจเจริญก้าวหน้า มีเสถียรภาพ

ระบบเศรษฐกจิ

Page 16: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

O-net 54 เลือกตอบ 2 ตัวเลือก

การบริหารจัดการทรัพยากรโดยวิธีใดไม่เปิดโอกาสให้ประชาชน

แสดงออกถึงความต้องการของตนเอง

ก. การใช้ระบบตลาด

ข. การอาศัยกลไกราคา

ค. การตัดสินใจของรฐั

ง. การวางแผนจากส่วนกลาง

ระบบเศรษฐกจิ

Page 18: 2 ระบบเศรษฐกิจ

18

คุณครูกัลยา คามวุฒิ

ปจัจยัการผลติ ผลตอบแทน1) ที่ดิน (Land) ค่าเช่า (Rent)

2) แรงงาน (Laber)

2.1 แรงงานมีฝีมือ (Skilled Laber)

2.2 แรงงานกึ่งฝีมือ (Semi- Skilled Laber)

2.3 แรงงานไร้ฝีมือ (UnSkilled Laber)

ค่าจ้าง

(Wage and Salary)

3) ทุน (Capital) ดอกเบี้ย (Interest)

4) ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ก าไร (Profit)

เศรษฐศาสตร์ คุณครกูลัยา คามวุฒิระบบเศรษฐกจิ

Page 19: 2 ระบบเศรษฐกิจ

19

ผู้ผลิต หรือ หน่วยธุรกิจ•ผลิตสินค้าและบริการ•จ าหน่ายสินค้าและบริการ•งบประมาณมีจ ากัด•แสวงหาก าไรสูงสุดจากการผลิต

รัฐบาล•ผู้ผลิต ลงทุน•บริโภคสนิค้าและบริการ•เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต•เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชน

ผู้บริโภค หรือ ครัวเรือน•เจ้าของปัจจัยการผลิต•บริโภคสนิค้าและบริการ•งบประมาณมีจ ากัด•ได้รับความพึงพอใจสูงสุด

บุคคลหรือสถาบันที่ด าเนนิกิจกรรมทางเศรษฐกจิ

หน่วยเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิระบบเศรษฐกจิ

Page 20: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

การไหลเวยีนในระบบเศรษฐกจิแบบปิด ไม่มภีาครฐั

สินค้าและบรกิารรายจา่ย ซือ้สินค้าและบรกิาร

คา่เช่า คา่แรง ดอกเบีย้ ก าไร

ทีด่นิ แรงงาน ทุน การประกอบการ

เจ้าของปจัจยัการผลติ/ผู้บรโิภค

ผู้ผลติ/หน่วยธุรกจิ

ระบบเศรษฐกจิ

Page 21: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

การไหลเวยีนในระบบเศรษฐกจิแบบปิด มีภาครฐั

เจ้าของปจัจยัการผลติ/ผู้บรโิภค

ผู้ผลติ/หน่วยธุรกจิ

ภาษีบริการ/เงนิอุดหนนุสินค้า/บริการ

ค่าซื้อสินค้า/บริการ

บริการเงนิโอน

รฐับาล ภาษีค่าตอบแทนปัจจัยการผลิต

ปัจจัยการผลิต

ระบบเศรษฐกจิ

Page 22: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

การไหลเวยีนในระบบเศรษฐกจิแบบเปิด

เจ้าของปจัจยัการผลติ/ผู้บรโิภค

ผู้ผลติ/หน่วยธุรกจิ

สินค้าออก

รายรับจากการส่งสินค้าออกภาคการ

ตา่งประเทศ สินค้าเข้า

ค่าใช้จ่ายในการน าสินค้าเข้า

ระบบเศรษฐกจิ

Page 23: 2 ระบบเศรษฐกิจ

คุณครกูลัยา คามวุฒิ

เจ้าของปัจจัยการผลิต / บบทบาทในระบบเศรษฐกิจ

ชมคลิปวีดีโอเพิ่มเติม ที่ http://www.youtube.com/ : กรุงไทย – เงินก าลังจะหมุนไปขอขอบคุณ youtube.com

ระบบเศรษฐกจิ