288
หนวยงานที่รับผิดชอบ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยมหิดล German Technical Cooperation ISBN 978-974-11-0836-7 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย คพ.01-008

01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

หนวยงานที่รับผิดชอบกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

มหาวิทยาลัยมหิดลGerman Technical Cooperation

ISBN 978-974-11-0836-7

รายงานการศึกษา

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

คพ.01-008

Page 2: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศกึษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรบัประเทศไทย

รายงานฉบับสมบูรณ

ISBN 978-974-11-0836-7 หนวยงานที่รับผิดชอบ

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรพัยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยมหิดล

German Technical Cooperation

Page 3: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

กิตติกรรมประกาศ

ตามที่ สํานักงานความรวมมือทางวิชาการเยอรมัน (German Technical Cooperation (GTZ)) และกรมควบคุมมลพิษที่ไดมอบความไววางใจใหคณะผูศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดลดําเนินงานโครงการการศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย และการดําเนินโครงการไดสําเร็จลุลวงไปดวยดี ตลอดจนคณะกรรมการที่ไดใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในระหวางการดําเนินการศกึษา รวมทั้งใหความชวยเหลือและประสานงานกับหนวยงานอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของเปนอยางดียิ่ง คณะผูศึกษาของมหาวิทยาลัยมหิดลขอขอบคุณเปนอยางยิ่งมา ณ โอกาสนี้

คณะผูศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดลขอขอบคุณ บริษัทผูรับเหมากอสราง บริษัทผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป บริษัทผูใหบริการงานรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง บริษัทผูใหบริการสถานที่กองเก็บเศษวัสดุ และบริษัทรับซื้อของเกา (ซ่ึงขอปกปดชื่อของบริษัทดังกลาว) ที่ไดใหความอนุเคราะหรายละเอียดตางๆในการดําเนินงาน พรอมทั้งขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ ตลอดจนอํานวยความสะดวกในการสํารวจสถานที่กอสรางและรื้อถอน ซ่ึงลวนเปนประโยชนอยางยิ่งในการพัฒนาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย นอกจากนี้ คณะผูศึกษาของมหาวิทยาลัยมหิดลขอขอบคุณ สํานักสิ่งแวดลอม และ สํานักการโยธา กรุงเทพมหานคร สํานักวางแผน และสํานักบริหารบํารุงทาง กรมทางหลวง และ กรมทางหลวงชนบท ที่สละเวลาใหคณะผูศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดล เจาหนาที่จากกรมควบคุมมลพิษ และ GTZ เขาพบเพื่อสัมภาษณความคิดเห็นและนโยบายที่เกี่ยวของ พรอมทั้งใหขอมูลในดานทีเ่ปนประโยชนกับการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

Page 4: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บุคลากรในโครงการ

โครงการศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

คณะผูศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล 1. ดร. อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย นักวิชาการดานวิศวกรรมสิ่งแวดลอมและ

ผูประสานงานโครงการ

2. ผศ. ดร. ธัชวีร ลีละวัฒน นักวิชาการดานวิศวกรรมโยธา

3. รศ. อุษณีย อุยะเสถียร นักวิชาการดานวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม

4. นางสาว ศยามล สายยศ ผูชวยนักวิจัย

5. นางสาว นิสา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต ผูชวยนักวิจัย

6. นาย พงศกร พงศสุริยนันท ผูชวยนักวิจัย

ท่ีปรึกษาโครงการ

1 Mr. Werner Kossmann Princial Advisor, German Technical

Cooperation (GTZ)

2 Mr. John Ulrich Fimpel Expert, German Technical Cooperation (GTZ)

3 นางสุณี ปยะพันธุพงศ ผูอํานวยการสํานักจัดการกากของเสียและ

สารอันตราย

4 นางสาวนภวสั บัวสรวง ผูอํานวยการสวนลดและใชประโยชนของเสีย

5 นายไชยา บญุชิต นักวิชาการสิ่งแวดลอม 6ว

6 นางสาวจิราภรณ นวลทอง นักวิชาการสิ่งแวดลอม

7 นางสาวชุติมา จงภักด ี Assistant, German Technical

Cooperation (GTZ)

Page 5: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

สารบัญ

หนา บทสรุปสําหรบัผูบริหาร บทนํา

1. นิยามของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน (Construction and Demolition Waste, C&DW)

2. ขอบเขตของการศึกษาโครงการ

i I I I

บทท่ี 1 เหตุผลและความสําคัญในการนาํของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหม

1.1 ลําดับขั้นตอนในการจดัการของเสีย 1.2 ปริมาณการใชมวลรวมสําหรับงานกอสรางในประเทศไทย 1.3 ปริมาณสํารองมวลรวมสําหรับอุตสาหกรรมกอสรางในประเทศไทย 1.4 ผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการระเบิด/ขุดหนิ เปรียบเทยีบกับกระบวนการนํา

ของเสียจากการกอสรางละรื้อถอนกลับมาใช 1.5 ประโยชนจากการใชซํ้าหรือนํากลับมาใชใหม

1-1 1-1 1-1 1-5 1-6 1-9

บทท่ี 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน 2.1 แหลงกําเนิดของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนในประเทศไทย 2.2 ชนิดของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน 2.3 ลักษณะสมบัตขิองของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน 2.4 แนวทางการนาํไปใช

2-1 2-1 2-2 2-4 2-33

บทท่ี 3 การประเมินปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน 3.1 วิธีการตางๆ ที่ใชในการประเมินปริมาณและองคประกอบของของเสียจาก

การกอสรางและรื้อถอนของตางประเทศ 3.2 วิธีการประเมนิปริมาณและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและ

การรื้อถอนในการศึกษานี ้3.3 ผลการประเมินปริมาณและองคประกอบ

3-1 3-1 3-4 3-6

Page 6: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สารบัญ (ตอ)

หนา บทท่ี 4 กฎหมายที่เก่ียวของกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนในประเทศไทย

4.1 กฎหมายทีเ่กีย่วของกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของกรุงเทพมหานคร

4.2 กฎหมายทีเ่กีย่วของกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม (อุตสาหกรรมวัสดุกอสราง)

4.3 กฎหมายทีเ่กีย่วของกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนอื่นๆ 4.4 กฎหมายที่ควรเพิ่มเติม 4.5 กฎหมายที่ควรแกไข

4-1 4-1 4-4 4-5 4-5 4-6

บทท่ี 5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง 5.1 ประเภทของของเสียและเศษวัสดุกอสรางทีเ่กิดขึ้นจากโครงการกอสราง 5.2 การคัดแยกและการจัดเก็บเศษวัสดุกอสราง 5.3 การนําไปใชซํ้า 5.4 การขนสง 5.5 การกําจัด 5.6 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-1 5-1 5-8 5-18 5-19 5-25 5-25

บทท่ี 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลติวัสดุกอสรางสําเร็จรูป 6.1 โรงงานที่ผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป 6.2 ของเสียที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป 6.3 การคัดแยกและการจัดเก็บของเสีย 6.4 การนําไปใชซํ้า 6.5 การขนสง และนําไปกําจัด 6.6 ความคิดเหน็ของบริษัทผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-1 6-1 6-5 6-6 6-9 6-9 6-10

Page 7: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สารบัญ (ตอ)

หนา บทท่ี 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7.1 สภาพทั่วไปในการดําเนินการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางในประเทศไทย 7.2 เครื่องมือที่ใชในการดําเนินการรื้อถอน 7.3 ขั้นตอนการดําเนินการรื้อถอน 7.4 การคิดคาบริการในการรื้อถอน 7.5 ของเสียที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง 7.6 การคัดแยกและจัดเก็บเศษวสัดุจากการรื้อถอน 7.7 การใชซํ้า การรีไซเคิล และการกําจัด 7.8 ความคิดเหน็จากผูใหสัมภาษณบริษัทร้ือถอน 7.9 สภาพทั่วไปในการดําเนินการในสถานที่กองเก็บ 7.10 สภาพทั่วไปของการรับซื้อเศษวัสดุจากการรื้อถอน

7-1 7-1 7-5 7-8 7-15 7-16 7-17 7-19 7-22 7-29 7-35

บทท่ี 8 การจัดการของเสยีจากการกอสรางและรื้อถอนของหนวยงานที่เก่ียวของ 8.1 สํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร 8.2 กรุงเทพมหานคร สํานักโยธา 8.3 กรมทางหลวงชนบท 8.4 สํานักบริหารบํารุงทาง กรมทางหลวง 8.5 สํานักวางแผน กรมทางหลวง

8-1 8-1 8-4 8-5 8-8 8-10

บทท่ี 9 ของเสียท่ีมีแนวโนมวาเปนของเสียอันตรายจากการกอสรางและรื้อถอน 9.1 ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เปนอันตรายและทีม่ีแนวโนมวาเปน

อันตราย 9.2 ของเสียที่มีแนวโนมวาเปนของเสียอันตรายในสถานที่กอสราง 9.3 ของเสียที่มีแนวโนมวาเปนของเสียอันตรายในสถานที่ร้ือถอน

9-1 9-1 9-4 9-5

บทท่ี 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

10.1 กฏหมายควบคุม 10.2 คุณภาพและปริมาณของวัตถุดิบ 10.3 สภาวะการลงทุน 10.4 การควบคุมคณุภาพ

10-1 10-1 10-4 10-5 10-5

Page 8: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สารบัญ (ตอ)

หนา 10.5 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม 10.6 กลไกทางการตลาด 10.7 มาตรฐานและขอกําหนด 10.8 ระดับความเชือ่มั่น

บทท่ี 11 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11.1 ปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน 11.2 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหา 11.3 แนวทางปฎิบตัิในการจดัการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนแยกตาม

ขั้นตอนการจดัการของเสีย

10-6 10-6 10-7 10-18 11-1 11-1 11-2 11-4

เอกสารอางอิง ภาคผนวก ก ปริมาณของเสียที่เกิดจากสถานที่กอสรางและการจดัการของบริษัท

ผูรับเหมากอสราง ก-1

ภาคผนวก ข ปริมาณของเสียและการจดัการของเสียที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุ กอสรางสําเร็จรูปและโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ

ข-1

ภาคผนวก ค กรณีศึกษา การศึกษาขั้นตอนการดําเนินการรื้อถอนบานชั้นเดียว ขนาดเล็ก Mr. Daniel Glauser จาก University of Applied Sciences, Northern Switzerland

ค-1

ภาคผนวก ง ความคิดเหน็และขอเสนอแนะดานการจดัการของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนจากผูเขารวมสัมนาเชิงปฏิบัติการ “ การจัดการเศษส่ิงกอสรางสําหรับประเทศไทย”

ง-1

Page 9: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

สารบัญตาราง

หนา ตารางที่ 2.1 น้ําหนกัต่ําสุดสําหรับการใชทดสอบในแตละตัวอยาง ตารางที่ 2.2 ตะแกรงที่ใชสําหรับการแยกกอนดนิเหนยีวและขนาดอนุภาคที่แตกหกั

งาย ตารางที่ 3.1 ของเสียที่ประเมินไดจากการกอสรางอาคารที่อยูอาศัย (บาน 2 ช้ัน)

332 ตารางเมตร ตารางที่ 3.2 จํานวนรายและพื้นที่อาคารที่ไดรับอนุญาตใหปลูกสรางในเขต

กรุงเทพมหานครป 2543-2548 จําแนกตามประเภทอาคาร ตารางที่ 3.3 ของเสียที่ประเมินไดจากการรื้อถอนอาคารที่อยูอาศัย (บาน 2 ช้ัน)

332 ตารางเมตร ตารางที่ 3.4 ของเสียที่ประเมินไดจากการกอสรางอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย

(สถาบันการศึกษา) ขนาด 20,050 ตร.ม. ตารางที่ 3.5 ของเสียที่ประเมินไดจากการรื้อถอนอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย

(สถาบันการศึกษา) ขนาด 20,050 ตร.ม. ตารางที่ 4.1 การใชประโยชนที่ดินสําหรับการซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ ตารางที่ 5.1 การคัดแยกและจัดเก็บเศษวัสดุที่เหลือจากการกอสราง ตารางที่ 5.2 การขนยายเศษวัสดุที่เหลือจากการกอสรางออกจากสถานที่กอสราง ตารางที่ 5.3 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง เศษวสัดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้นเปน

ของเสียหรือไม ตารางที่ 5.4 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ทานมีความคิดเหน็อยางไรในการ

จัดการเศษซากวัสดุกอสรางในปจจุบนันี้ ทั้งจากสถานทีก่อสราง ร้ือถอน และโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

ตารางที่ 5.5 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง การดาํเนินงานตามสถานที่กอสรางตางๆ และเศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้น มีปญหาตอส่ิงแวดลอมหรือไมถาไมมี เพราะอะไรหรือ ถามี มีจากสวนใด และมีขอเสนอแนะในการแกไขอยางไร

ตารางที่ 5.6 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง การคดัแยกประเภท ขยะ และเศษวัสดุกอสรางออกเปนประเภทตางๆ โดยมี วัตถุประสงคของการคัดแยกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิลสามารถเปนไปไดหรือไมและ คิดวาเหมาะสม

2-21 2-21 3-7 3-8 3-9 3-10 3-11 4-3 5-11 5-21 5-26 5-28 5-30 5-32

Page 10: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สารบัญตาราง (ตอ)

หนา หรือไมในการปฏิบัติงาน ตารางที่ 5.7 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ืองการจดัตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษ

ซากวัสดุกอสราง ตารางที่ 5.8 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ความตองการใหหนวยงานของรัฐ

เขามาชวยเหลือในการดําเนนิการเกีย่วกับ การจัดการเศษสิ่งกอสรางหรือไมอยางไร

ตารางที่ 5.9 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ขอมลูที่ตองการใหมีในคูมือแนวทางการจัดการเศษวัสดกุอสรางสําหรับประเทศไทย

ตารางที่ 6.1 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง เศษวสัดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้นเปนของเสียหรือไม

ตารางที่ 6.2 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ทานมีความคิดเหน็อยางไรในการจัดการเศษซากวัสดุกอสรางในปจจุบนันี้ ทั้งจากสถานทีก่อสราง ร้ือถอน และโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

ตารางที่ 6.3 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง การดาํเนินงานตามสถานที่กอสรางตางๆ และเศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้น มีปญหาตอส่ิงแวดลอมหรือไมถาไมมี เพราะอะไรหรือ ถามี มีจากสวนใด และมีขอเสนอแนะในการแกไขอยางไร

ตารางที่ 6.4 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง การคดัแยกประเภท ขยะ และเศษวัสดุกอสรางออกเปนประเภทตางๆ โดยมี วัตถุประสงคของการคัดแยกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิลสามารถเปนไปไดหรือไมและ คิดวาเหมาะสมหรือไมในการปฏิบัติงาน

ตารางที่ 6.5 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ืองการจดัตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดกุอสราง

ตารางที่ 6.6 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ความตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในการดําเนนิการเกีย่วกับ การจัดการเศษสิ่งกอสรางหรือไมอยางไร

ตารางที่ 6.7 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ขอมลูที่ตองการใหมีในคูมือแนวทางการจัดการเศษวัสดกุอสรางสําหรับประเทศไทย

ตารางที่ 7.1 เศษวัสดจุากการรื้อถอนที่นําไปใชซํ้าหรือนําไปรีไซเคิลได

5-34 5-37 5-39 6-12 6-14 6-15 6-17 6-19 6-20 6-21 7-19

Page 11: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สารบัญตาราง (ตอ)

หนา ตารางที่ 7.2 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง เศษวสัดุจากการรื้อถอนที่นําไปใช

ซํ้าหรือนําไปรีไซเคิลไดของเสียหรือไม ตารางที่ 7.3 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ทานมีความคิดเหน็อยางไรในการ

จัดการเศษซากวัสดุกอสรางในปจจุบนันี้ ทั้งจากสถานทีก่อสราง ร้ือถอน และโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

ตารางที่ 7.4 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง การดาํเนินงานตามสถานที่กอสรางตางๆ และเศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้น มีปญหาตอส่ิงแวดลอมหรือไมถาไมมี เพราะอะไรหรือ ถามี มีจากสวนใด และมีขอเสนอแนะในการแกไขอยางไร

ตารางที่ 7.5 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง การคดัแยกประเภท ขยะ และเศษวัสดุกอสรางออกเปนประเภทตางๆ โดยมี วัตถุประสงคของการคัดแยกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิลสามารถเปนไปไดหรือไมและ คิดวาเหมาะสมหรือไมในการปฏบิัติงาน

ตารางที่ 7.6 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ืองการจดัตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุกอสราง

ตารางที่ 7.7 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ความตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในการดําเนนิการเกีย่วกับ การจัดการเศษสิ่งกอสรางหรือไมอยางไร

ตารางที่ 7.8 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ขอมลูที่ตองการใหมีในคูมือแนวทางการจัดการเศษวัสดกุอสรางสําหรับประเทศไทย

ตารางที่ 7.9 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง เศษวสัดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้นเปนของเสียหรือไม

ตารางที่ 7.10 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ทานมีความคิดเหน็อยางไรในการจัดการเศษซากวัสดุกอสรางในปจจุบนันี ้

ตารางที่ 7.11 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง การดําเนินงานตามสถานที่กอสราง ตางๆ และเศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้น มีปญหาตอส่ิงแวดลอมหรือไม

ตารางที่ 7.12 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง การคดัแยกประเภท ขยะ และเศษวัสดุกอสรางออกเปนประเภทตางๆ โดยมี วัตถุประสงคของการคัดแยก

7-22 7-23 7-24 7-25 7-27 7-28 7-28 7-32 7-32 7-32 7-33

Page 12: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สารบัญตาราง (ตอ)

หนา เพื่อนํากลับไปรี ไซเคิลสามารถเปนไปไดหรือไมและ คิดวาเหมาะสมหรือไมในการปฏิบัติงาน

ตารางที่ 7.13 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ืองการจัดตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุกอสราง

ตารางที่ 7.14 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ความตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในการดําเนนิการเกีย่วกับ การจัดการเศษสิ่งกอสรางหรือไมอยางไร

ตารางที่ 7.15 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง ขอมูลที่ตองการใหมีในคูมือแนวทางการจัดการเศษวัสดุกอสรางสําหรับประเทศไทย

ตารางที่ 7.16 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง ขอคิดเห็นอื่นๆ ตารางที่ 7.17 แสดงราคาและรายการสินคาประเภทวัสดุกอสรางใชแลว ตารางที่ 8.1 งานกอสรางทางของกรมทางหลวงชนบททั้งหมดในป พ.ศ. 2549 ตาม

ประเภทพืน้ผิวจราจร ตารางที่ 9.1 องคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีแนวโนมวาเปน

อันตราย ตารางที่ 10.1 ขนาดคละของรองพื้นทางวัสดุมวลรวม

ตารางที่ 10.2 การนําวัสดุที่เหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนมาใชในงานถนน

ตารางที่ 10.3 การจําแนกประเภทของมวลรวมหยาบทีใ่ชแลว

ตารางที่ 11.1 แนวทางปฏิบัติในการจดัการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

7-33 7-34 7-34 7-35 7-38 8-7 9-2 10-11

10-14

10-15

11-5

Page 13: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

สารบัญรูป

หนา รูปที่ 1.1 ปริมาณความตองการปูนซีเมนตในประเทศ รูปที่ 1.2 แนวทางการนําปูนซีเมนตไปใชงาน รูปที่ 1.3 ประเภทของงานคอนกรีตสําเร็จรูป รูปที่ 1.4 ปริมาณการใชมวลรวมสําหรับงานกอสรางในประเทศไทย รูปที่ 1.5 ปริมาณการใชหนิปูนสําหรับงานกอสรางในประเทศไทย รูปที่ 1.6 ปริมาณสํารองหินปูนสําหรับอตุสาหกรรมกอสรางในประเทศไทย รูปที่ 2.1 แผนผังสถานที่กองเก็บที่ใชในการตรวจสอบลักษณะสมบัติของของเสีย

จากการกอสรางและรื้อถอน รูปที่ 2.2 ของเสยีจากการกอสรางและรื้อถอนไดจากองคประกอบโครงสรางและ

ผลิตภัณฑคอนกรีตและผานการคัดแยกแหลงที่มา (สถานที่กองเก็บที่ 1) โดยที่ ก. เสาเข็มที่ถูกตัดออก ข. แผนพื้น ค. เสาเข็มหัก

รูปที่ 2.3 ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไดจากของเสียจากการกอ การฉาบ และจากบล็อกคอนกรีตที่บดละเอียด และผานการคัดแยกแหลงที่มา (สถานที่กองเก็บที่ 1)โดยที่ ก. เศษปนูกอและปนูฉาบ ข. เศษจากบล็อกคอนกรีตระหวางกระบวนการผลิต

รูปที่ 2.4 ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 1 รูปที่ 2.5 ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 2 โดยที่

ก. ดินผสมกับเศษปูน ข. เศษบล็อกมวลเบาที่แตกหกั ค. องคประกอบและปริมาณที่แตกตางกันในแตละตําแหนง

รูปที่ 2.6 ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไดจากองคประกอบโครงสรางและผลิตภัณฑคอนกรีต ระหวางรอการบดยอย (สถานที่กองเก็บที่ 2) โดยที่ ก. เสาเข็มสี่เหล่ียมที่แตกหัก ข. เสารูปตัวไอที่แตกหรือมไดมาตรฐาน ค. แผนพื้นที่แตก

รูปที่ 2.7 โครงสรางคอนกรีตที่ยอยขนาดปนกับของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน (สถานที่กองเก็บที่ 2) โดยที่ ก. ฐานรากคอนกรีตและคอนกรีตขนาดใหญ ข. ผลิตภณัฑคอนกรีตสําเร็จรูปที่ยอยขนาด

รูปที่ 2.8 ขยะและวัสดุอันตรายปนกับของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน (สถานที่กองเก็บที่ 2)

1-2 1-3 1-3 1-4 1-5 1-6 2-5 2-6 2-7 2-7 2-9 2-10 2-11 2-11

Page 14: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สารบัญรูป (ตอ)

หนา รูปที่ 2.9 ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 3 โดยที่

ก. คอนกรีตและดินเปนองคประกอบหลัก ข. ขยะปนเปอน รูปที่ 2.10 ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนรวมกับคอนกรีตขนาดใหญที่

ไมไดยอยขนาด (สถานที่กองเก็บที่ 3) รูปที่ 2.11 พื้นที่โดยรวมของสถานที่กองเก็บที่ 4 รูปที่ 2.12 ขยะและวัสดุอันตรายปนกับของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน

จํานวนมาก (สถานที่กองเกบ็ที่ 4) โดยที่ ก. ขยะ กระปองสี ยางรถยนต ถุงปูน บรรจุภณัฑ กระเบื้อง พลาสติก อ่ืนๆ ข. บล็อกคอนกรีต แกว ไม โฟม เปนตน

รูปที่ 2.13 การเตรียมดินเพือ่นํามาผสมรวมกับของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีปริมาณการปนเปอนมาก (สถานที่กองเก็บที่ 4)

รูปที่ 2.14 การยอยขนาดคอนกรีตเพื่อนําเหล็กออกโดยใชแรงคน (สถานที่กองเก็บที่4)

รูปที่ 2.15 กองแอสฟลตที่ผานการคัดแยกชนิดของเสียจากการรื้อถอนถนน (สถานที่กองเก็บที่ 5)

รูปที่ 2.16 กองคอนกรีตที่ผานการคัดแยกชนิดของเสยีจากการรื้อถอนถนน (สถานที่กองเก็บที่ 5)

รูปที่ 2.17 กองบล็อกคอนกรีตปนกับดนิจากของเสียจากการรื้อถอนถนน (สถานที่กองเก็บที่ 5)

รูปที่ 2.18 การบดยอยขนาดชนิดของเสียประเภทแอสฟลต (สถานที่กองเก็บที่ 5) รูปที่ 2.19 พื้นที่โดยรวมของสถานที่กองเก็บที่ 6 รูปที่ 2.20 ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนมีองคประกอบแตละตําแหนง

แตกตางกันมาก (สถานที่กองเก็บที่ 6) โดยที่ ก. เศษปูน คอนกรีต ดิน อิฐ กระเบื้องไม และอ่ืนๆ ข. คอนกรีต ไม ถุง บรรจุภัณฑ กระเบื้องปูพื้น และอ่ืนๆ ค. คอนกรีต ไม ถุงปูน พลาสติก ดินยางรถยนต และอื่นๆ

รูปที่ 2.21 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 1

รูปที่ 2.22 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 2

2-12

2-12

2-13 2-13

2-14

2-14

2-15

2-15

2-15

2-16 2-16 2-17

2-23

2-23

Page 15: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สารบัญรูป (ตอ)

หนา รูปที่ 2.23 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กอง

เก็บที่ 3 รูปที่ 2.24 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กอง

เก็บที่ 4 รูปที่ 2.25 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากกองแอสฟลต

ณ สถานที่กองเก็บที่ 5 รูปที่ 2.26 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากกองคอนกรตี

ณ สถานที่กองเก็บที่ 5 รูปที่ 2.27 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กอง

เก็บที่ 6 รูปที่ 2.28 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากตัวอยาง

บริเวณที่มกีารลักลอบทิ้งตามขางถนน รูปที่ 2.29 ชวงของขนาดคละของมวลรวมหยาบที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและ

ร้ือถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มกีารทิ้งตามขางถนน

รูปที่ 2.30 ชวงของขนาดคละของมวลรวมละเอียดทีไ่ดจากของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหงและตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน

รูปที่ 2.31 คาความถวงจําเพาะของมวลรวมหยาบที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน

รูปที่ 2.32 คาการดูดซึมของมวลรวมหยาบที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน จากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตวัอยางจากบริเวณที่มกีารทิ้งตามขางถนน

รูปที่ 2.33 คาความถวงจําเพาะของมวลรวมละเอยีดที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน

รูปที่ 2.34 คาการดูดซึมของมวลรวมละเอียดที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตวัอยางจากบริเวณที่มกีารทิ้งตาม

2-24 2-24 2-25 2-26 2-26 2-27 2-28 2-28 2-29 2-30 2-31 2-31

Page 16: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สารบัญรูป (ตอ)

หนา ขางถนน

รูปที่ 2.35 รอยละของกอนดินเหนยีวและอนุภาคทีแ่ตกหักงายที่ไดจากของเสียจากการ กอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเกบ็ทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มกีารทิ้งตามขางถนน

รูปที่ 2.36 ความตานทานการเสียดทานของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเกบ็ทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน

รูปที่ 2.37 การนําเอาของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไปใชในงานถมที่ รูปที่ 5.1 เหล็กสูญเสียที่เกิดขึ้นจากงานกอสราง รูปที่ 5.2 เศษคอนกรีตทีเ่กิดจากการกอสราง รูปที่ 5.3 เศษคอนกรีตจากเสาเข็ม รูปที่ 5.4 เศษคอนกรีตผสมเสร็จที่เหลือจากรถขนสงถูกเททิ้งในพืน้ที่กอสราง รูปที่ 5.5 พื้นที่จัดเก็บวสัดุและอุปกรณกอสรางในสถานที่กอสราง รูปที่ 5.6 พื้นที่จัดเก็บเศษวัสดใุนสถานที่กอสราง รูปที่ 5.7 การจัดการเศษวสัดุกอสรางจากสถานที่กอสรางแบบที่ 1 รูปที่ 5.8 การจัดการเศษวสัดุกอสรางจากสถานที่กอสรางแบบที่ 2 รูปที่ 5.9 ไมแบบที่เก็บไวในสถานทีก่อสรางเพื่อรอนําไปใชซํ้า รูปที่ 6.1 การจัดการของเสียที่เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป รูปที่ 6.2 การจัดการของเสียที่เกิดจากโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ รูปที่ 6.3 บอรองรับเศษคอนกรีตผสมเสร็จและน้ําลางทําความสะอาดรถ รูปที่ 6.4 แบบหลอคอนกรีตผสมเสร็จที่ถูกสงกลับมายังบริษัท รูปที่ 7.1 การจัดการเศษวสัดุกอสรางจากการรื้อถอนแบบที่ 1 รูปที่ 7.2 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนแบบที่ 2 รูปที่ 7.3 แสดงภาพเครื่องมือที่ใชในการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง รูปที่ 7.4 การรื้อหลังคาโดยใชแรงงานคนเพื่อนํากระเบื้องไปใชซํ้า รูปที่ 7.5 การรื้อโครงหลังคาโดยใชแรงงานคนเพื่อนําไมหรือเหล็กไปใชซํ้า รูปที่ 7.6 การรื้อฝาเพดานโดยใชแรงงานคน รูปที่ 7.7 วงกบ ประตู หนาตาง ร้ือถอนโดยใชแรงงานคนเพื่อแยกสวนประกอบของ

วงกบที่เปนไมออกไปขายเปนวัสดุกอสราง รูปที่ 7.8 การรื้อกระจกหนาตาง

2-32 2-33 2-33 5-3 5-6 5-7 5-7 5-9 5-10 5-15 5-17 5-18 6-3 6-4 6-7 6-8 7-3 7-4 7-6 7-10 7-10 7-11 7-11 7-12

Page 17: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สารบัญรูป (ตอ)

หนา รูปที่ 7.9 การรื้อระบบไฟฟาในอาคาร รูปที่ 7.10 ลอมอาคารดวย ผาใบเพื่อปองกันฝุนจากการรื้อถอน รูปที่ 7.11 การจัดเก็บเศษวสัดุจากการรื้อถอนในบริเวณที่เก็บกองชัว่คราว รูปที่ 7.12 วัสดุจากการรื้อถอนที่นําไปใชซํ้าและนํากลบัไปใชใหมได รูปที่ 7.13 ขั้นตอนการดําเนินงานของผูประกอบการเกี่ยวกับสถานที่กองเก็บ

รูปที่ 7.14 การขนสงเศษวัสดุเขามาในสถานที่กองเก็บ รูปที่ 7.15 รถตักเศษวัสดุลงในรถบรรทุกเพื่อนําไปถมที ่รูปที่ 7.16 ไมที่ร้ือถอนจากบานเกานํามาขายเปนวัสดกุอสรางใชแลวโดยคดัตาม

ขนาด รูปที่ 7.17 ประตูและหนาตางที่ร้ือถอนจากบานเกานํามาขายเปนวัสดุกอสรางใชแลว รูปที่ 10.1 แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดิน ตามกฏกระทรวงใหใชบังคับผังเมือง

กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๔๙

7-12 7-15 7-18 7-21 7-29 7-30 7-31 7-36 7-37 10-3

Page 18: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

Study of the Guideline for

Construction and Demolition Waste Management in Thailand

1. Introduction

Currently, increasing population, advancing technology and social and

economic development are causing a rise in the amount of construction and

demolition waste generated. The natural resources are limited but the amounts of their

usages are increasing every year. In the year 2005, the demand of natural aggregate

for construction was 9.7 million tons which is 2.2 times greater than that demand for

the year 2001. If the trend of usage continues to increase, the expected lifetime of

reserved natural resources will be shorter and the natural aggregate will be depleted in

the near future, especially in the northeastern and central parts of Thailand.

Some parts of construction and demolition wastes (C&DWs) obtained from

new construction, renovation, rehabilitation and demolition are dumped illegally in

public and private vacant areas, which cause the major environmental problem

nowadays. The appropriate C&DW management from minimization at sources,

reuse, recycle and disposal is a best practice to conserve natural resources and to

alleviate the adverse environmental impacts.

2 Scope of Work

The study of the guideline for construction and demolition waste management

in Thailand aimed to study the existing situation of construction and demolition waste

management in Thailand and to provide the draft management guidelines of

construction and demolition waste in Thailand. The scopes of study were as follows:

2.1 Study, survey and collect information of the existing C&DW

management by means of interviewing construction, demolition, and construction

material companies in Bangkok and surrounding areas.

2.2 Study the composition and characteristics of C&DW.

2.3 Study the approaches for estimating C&DW quantity in Bangkok

Metropolitan Administration.

Page 19: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

ii

2.4 Compile the environmental adverse impact from inappropriate management

of C&DW in Thailand.

2.5 Propose the appropriate C&DW management for Thailand.

2.6 Potential uses of recycled C&DW.

2.7 Provide the draft management guidelines for C&DW in Thailand.

3. C&DW Composition Analysis

The investigation of six storage sites showed that compositions of C&DWs

obtained from one original source were different from those obtained from the other

sources. They were normally composed of soil, non-reinforced and reinforced

concretes, bricks, concrete blocks, lightweight concrete blocks, asphalts, and others.

It was found that C&DWs were well classified in some storage sites as separated piles

of concrete, asphalt and soil. However, mixed C&D wastes could be observed in

most storage sites. The main compositions of mixed C&D wastes namely, concrete,

soil and masonry were found. Their minor compositions mostly found from

architectural construction and refurbishment works contained papers, woods,

containers, reinforced wire, plastic, etc. Moreover, broken bricks and tiles, cement

plastering, cement bags, packaging and other rubbishes could easily be observed in

the same piles of mixed C&D wastes. The variation in compositions of C&DWs was

quite high, depending on original sources. Moreover, where the management of

demolition was not well enough, hazardous wastes could be contaminated in C&DW.

Mostly, high variation in gradation in the same pile or piles from different

storage sites could be observed. Sizes of C&D debris were mostly found to be larger

than 80 cm. Accordingly, the gradation of C&DWs could not meet the specified

standards limit for use in sub-base road construction, unless the C&DWs will be

crushed to meet the required standards.

The water absorption of C&DWs was significantly higher, but the specific

gravity of C&DWs was slightly lower, when compared to those natural aggregates.

High variations in these properties could be generally observed from different storage

sites. The C&DWs obtained from some storage sites were also found to exhibit

abrasion resistance lower than the specified standards limit for use in sub-base road

construction.

Page 20: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

iii

The findings may imply that although the C&DWs are presently used for bulk

and engineering fills, their compositions and quantities could cause the soil settlement

in the future. Hazardous substances contaminated in the C&DWs may be prone to

leaching of the soluble substances to groundwater or surface water. If the C&DWs

are required to be used in sub-base road construction, the crushing of C&DWs is a

need to reduce their size to meet the required standards for the application.

4. Current Practice of C&DW Management in Thailand

4.1 Current Practice of C&DW Management from Construction

Company

C&DWs from construction sites are mainly composed of concrete, steel, sand

and wood. The amounts of C&DW generated vary from site to site and depend on the

design by architectures, construction material management, storage, and expertise of

the workers on site. In general construction companies segregate only reusable and

recyclable C&D debris such steel left from the cut off and framework wood for reuse

and steel and aluminum scrap for recycle. The rest of C&DW after segregation, such

as concrete debris and the cutoff piles are mixed with other types of waste and

disposed as fill material. Transportations of C&DW are operated by construction

companies themselves or by hiring others to remove and dispose C&DW off-sites.

The reusable and recyclable C&DW are stored at construction sites or transferred and

kept at company warehouses. Most of construction sites have limited area for

construction material storage but not available for C&DW segregation. Some sites

need to rent vacant land nearby for site storages. Also site managers do not realize the

benefit of C&DW segregation and believe that the segregation wastes time and

money. Therefore, major problems of C&DW segregation are the limited available

areas and attitude of site managers toward C&DW segregation.

Page 21: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

iv

4.2 Current Practice of C&DW Management from Ready-Mixed

Concrete Plant

In this part, C&DWs could be obtained from the left over ready-mixed

agitators or rejected concrete due to agitating period over 2.5 hrs. There are 2 options

for the management of C&DWs. Firstly, they are poured into the steel mould and then

the concrete blocks are sold or given for use as fill material. Secondly, they are

drained into storage pond. The sludge is then dug, dried and ready for use as fill

material.

4.3 Current Practice of C&DW Management from Construction Material

Factories

C&DWs from construction material factories are from the off-spec products

and the products damaged during storage and transportation. These C&DWs are sold

or given for use as fill material without sorting. Some valuable parts such as steel

scrap are sold for recycle.

4.4 Current Practice of C&DW Management from Demolition Companies

Most of demolition companies in Thailand provide demolition service, C&DWs

transport and disposal services, and selling fill material. C&DWs from demolition

work can be classified into 3 types; reusable, recyclable, and mixed C&DWs. The

reusable C&DWs such as doors, windows are sold as second-hand construction

materials. The recyclable materials mainly found in C&DWs are steel scrap from

concrete debris, copper from electric wires and aluminum scrap from window frame

and fixtures. After removing reusable and recyclable parts from C&DWs, the typical

of mixed C&DW such as concrete debris, bricks and tiles could be observed. Some

demolition companies have storage sites for sorting C&DWs and storing fill material.

The main purpose of sorting C&DWs is for selling reusable and recyclable materials.

The hazardous or potentially hazardous materials such as asbestos are not in concern

and mixed with C&DWs.

Page 22: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

v

5 C&DW Management Policy from Related Government Organizations

5.1 Bangkok Metropolitan Administration

The illegal dumping of C&DWs in vacant land causes major problems such as

aesthetic, cleanliness and nuisance problems. Currently there is no C&DW recycling

facility or C&DW disposal site in Bangkok. Therefore the Department of

Environment, BMA, as the authority responsible for waste management under the

Public Cleansing Act B.E. 2535 (1992), sets the policy for C&DW management and

plans to set up C&DW processing facilities at On-Nuch and Nongkham transfer

stations. Then the collection, transportation and disposal fees will be set and this

would be used as the strategy to encourage the entrepreneurs to segregate their

C&DW.

5.2 Department of Rural Roads

Department of Rural Roads has authority in public roads of rural areas. The

duties of this department are construction of new roads, and maintenance of the

existing roads. Most of construction works are operated by contractors. The

Department of Rural Roads has mentioned the terms of condition related to C&DW

management in every contracts that “The contractors have to keep the construction

sites and facilities clean, safe and in good condition throughout the contract period.

After the construction has been completed, the contractors shall remove all

equipments, materials, wastes and temporary structures (if existed) and clear the

areas in order to get them clean, tidy and ready for usage.” However, the means of

keeping the areas complied with the terms of condition as mentioned above are not

specified and depend on the contractors. For road maintenance, the Department of

Rural Roads started using a new technology called “Pavement In-Place Recycling” in

2003. It is the on-site process to repair the road by reprocessing the existing road

construction materials and add new binding material. However, the “Pavement In-

Place Recycling” cannot apply to every type of road.

Page 23: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

vi

5.3 Department of Highways

Department of Highways has authority in public highways of each province as

network roads. As the construction of new highway requires to have environmental

impact assessment (EIA), C&DW management plan from road construction is

mentioned in every contract. The construction must follow the plan specified in EIA

that C&DW generated from the operation must be disposed properly. Department of

Highways has used “Pavement In-place Recycling” technology for road maintenance

for 10 years.

6 Estimation of C&DWs Generation

Building–related C&DWs in Bangkok in B.E. 2548 (2005) were estimated.

Four categories of waste were examined, namely residential construction,

nonresidential construction, residential demolition and nonresidential demolition.

The average generation rates of waste from residential construction and

nonresidential construction were 56.23 kg/m2 and 30.47 kg/m2, respectively. In the

year B.E. 2548, 1,675,675 m2 of residential building and 1,135,161 m2 of

nonresidential building were permitted for construction. Therefore, approximately

128,811.55 tons of building–related construction waste were generated in Bangkok in

B.E. 2548.

The average generation rates of waste from residential demolition and

nonresidential demolition were 984.66 kg/m2 and 1,803.94 kg/m2, respectively. Since

there is no record of permit for demolition, the average ratio of 10% from new

building permit record was used to estimate the areas of residential demolition and

nonresidential demolition. Therefore, approximately 369,772.57 tons of building–

related demolition waste was generated in Bangkok in B.E. 2548.

The total amount of waste from building–related construction and demolition

(excluding renovation) in Bangkok in B.E. 2548 was approximately 498,584.12 tons

per year or 0.20 kg per capita per day while the generation rate of municipal solid

waste was 1.25 kg capita per day.

Page 24: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

vii

7. Hazardous and Potentially Hazardous Materials in C&DWs

Hazardous and potentially hazardous materials that may be found in

construction and demolition sites include as follows:

- asbestos-based materials (e.g. asbestos-cement flat sheet, asbestos-cement

corrugated sheets)

- lead-based materials (e.g. lead-based paint)

- other materials used for construction (e.g. damp-proofing chemicals,

adhesives)

- mercury-containing electrical equipments (e.g. fluorescence lamps,

thermostats)

- CFCs (e.g. air conditioners and refrigerators)

- PCBs (e.g. ballasts, transformers)

- corrosive materials

- flammable materials

- toxic materials

Hazardous waste shall be separated from non-hazardous waste for proper

treatment and disposal.

8. Laws Related to C&DW in Thailand

8.1 Existing Laws Related to C&DW

8.1.1 Existing laws related to C&DW under Bangkok Metropolitan Administration (BMA)

1. BMA Ordinance on Service Charges B.E. 2543 (2000) sets charges

for collection, transportation and disposal of C&DW.

2. BMA Regulation on Criteria for Management of Solid Waste and

Night Soil from Buildings, Places and Public Service Places B.E. 2545 (2002) (issued

under the Public Health Act B.E. 2535 (1992), Section 20. According to this, the

property owners have to separate C&DWs from municipal solid waste and store them

in their own properties until collection by BMA on request.

3. BMA Ordinance on the Control of Contractors with the Permits to

Engage in the Business of Waste Management B.E. 2541 (1998) (issued under the

Public Health Act B.E. 2535 (1992), Sections 20, 54, 55 and 58. This ordinance sets

Page 25: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

viii

the criteria for contractors willing to be engaged in the business of waste

management.

4. BMA Notification on Setting Criteria for Construction of Building

and Infrastructure B.E. 2539 (1996), Section 4.6 establishes criteria for transfer of

C&DW in construction and demolition sites.

5. Ministerial Order on Town Planning of BMA B.E. 2549 (2006)

[issued under the Town Planning Act B.E. 2518 (1975)]. The areas to be designated as

sites for selling and storing material residues are set in BMA Town Plan.

8.1.2 Existing laws related to C&DW from Construction Material Industry

1. Notification of Ministry of Industry No.1 B.E. 2541 (1998) and B.E.

2547 (2004) on Disposal of Industrial Wastes (Non- hazardous).

2. Notification of Ministry of Industry on Disposal of Industrial Wastes

(Hazardous) B.E. 2548 (2005).

These notifications of Ministry of Industry designate duties and

responsibilities of waste generators, transporters and processors.

8.1.3 Other existing laws related to C&DW

1. Ministerial Order No.4 (B.E. 2526) (1983) [issued under the

Building Control Act B.E. 2522 (1979)], Section 29 establishes criteria to control

operational safety at demolition site.

8.2 Suggestion for Existing Laws Related to C&DW

8.2.1 Ministry of Public Health or local authorities should issue

criteria, standards and operational guidelines according to the Public Health Act B.E.

2535 (1992) requiring that all C&DW generators, transporters and processors shall

follow the issued criteria.

8.2.2 The Prime Minister Regulation on Procurement B.E. 2535 (1992)

should be amended by a clause of the requirements that public procurement have a

certain percentage of goods produced from recyclable and environmental friendly

materials.

Page 26: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

ix

9. The Overall Problems in C&DW Management in Thailand

The amounts of C&DW generated in Thailand tend to increase annually while

the local authorities do not pay attention to the proper management of C&DW. As the

result, C&DW are dumped illegally in vacant areas and some of them are used as fill

material without separation of hazardous materials. Some of them are disposed in

landfill together with municipal solid waste. Accordingly, the need for new landfills

increases. These current practices cause environmental impacts and non-sustainable

resources usages. These overall problems are due to the followings:

1. There is no clear rules and operational guidelines in the C&DW

management including waste minimization at source, waste segregation, reuse,

recycle, transportation and disposal,

2. Lack of operational staff who has skill and competent in effective and

proper waste minimization at source, waste segregation, reuse, recycle, transportation

and disposal,

3. Recycling of C&DW is limited only as fill material without awareness of

contamination of hazardous and potentially hazardous materials,

4. The existing laws do not cover C&DW management effectively, and

5. Lack of corporation among concerning parties, e.g. public sectors, private

sectors and professional organizations to participate in development of appropriate

C&DW management.

10. The Proposed Solutions for C&DW Problems in Thailand

- Administrative aspects

1. Provide the operational guidelines for C&DW management from cradle-to-

grave. These include waste minimization from planning, design and construction,

waste management from demolition, and hazardous materials segregation from

C&DWs.

2. Prepare the suitable areas for C&DW recycling facilities by designation in

the Town Plan.

3. Set the recycling target for C&DW to reduce the waste for final disposal.

4. Monitor and evaluate C&DW problems continuously.

Page 27: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

x

5. Develop waste information center to promote reuse and recycling of

C&DWs.

- Investment aspects

1. Invest the construction of recycling center, by means of Public Private

Partnership (PPP), fully/ partially government support to Local Authority

Organizations (LAO), operated by LAO or private sectors.

2. Promote the investment to private sectors who run the business on the

management of C&DW by financial measures.

3. Support the feasibility study of C&DW recycling center both economic

aspect and technical aspect. The study should include composition and estimated

amount of C&DWs, recycling process, and suitable location.

- Legal aspects

1. Amend the laws by setting the tipping fee of C&DW at landfill to be higher

than that of municipal solid waste.

2. Propose C&DW management planning in construction and demolition

permit for large projects by identifying the type and expected amount of C&DW, the

segregation method of C&DW, and the destination sites for C&DW reuse, recycle,

and/or disposal.

3. Encourage LAO to establish the requirements for C&DW segregation at

source. The requirements should include the technical details relating to criteria,

methods and conditions of C&DW management.

4. Support recycling product by amending a clause of the requirements in

public procurement to the Prime Minister Regulation on Procurement B.E. 2535

(1992).

- Supportive aspects

1. Promote private sectors who run the business on C&DW recycling by

financial measures and tax exemption.

2. Promote the usages of recycle materials by professional organization and

authorized organization to set the guidelines and standards for the use of recycle

Page 28: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

xi

materials for bulk fill and construction works or set the guidelines for performance-

based specifications, issue the certificate of recycle materials by independent

laboratory, and demonstrate the use of recycle materials in various civil works.

3. Transfer appropriate technology and experience to the relevant public and

private officers regarding minimization of C&DWs and environmental impacts such

as dust and noise during construction and demolition including segregation and

crushing of C&DWs during recycle.

4. Support the study and research, and develop appropriate technology for

solving the C&DW problems and increasing efficiency of C&DW management.

5. Transfer information, news, and technology relevant to environmental

impacts to public regularly.

Page 29: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทนํา

1. นิยามของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน (Construction and Demolition Waste, C&DW)

ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน เปนของเสียที่เกิดจากการกอสราง การปรับปรุงใหม การปรับปรุงสภาพหรือการรื้อถอนอาคาร ถนน หรือ ส่ิงกอสรางอื่นๆ ที่คลายๆ กัน ขอแตกตางที่สําคัญของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนคือ ของเสียจากการกอสราง โดยสวนใหญแลวเกิดจากเศษวัสดุหรือผลิตภัณฑที่เหลือจากการใชในงานกอสรางเชน ช้ินสวนวัสดุที่เหลือจากการตัดวัสดุที่แตกหักเสียหาย หีบหอบรรจุภัณฑของวัสดุ วัสดุที่ใชแลวในระหวางการกอสราง และของเสียอ่ืนๆ ที่เกิดขึ้นจากกกิจกรรมการกอสรางในขณะที่ของเสียจากการรื้อถอนหมายถึง เศษวัสดุที่เกิดจากรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางตางๆ โดยสวนใหญแลวเศษวัสดุที่เกิดจากการรื้อถอนจะปะปนกันหลายชนิดทั้งสวนของ เศษคอนกรีต วัสดุกอ เหล็ก อิฐ ไม และวัสดุอ่ืนๆ รวมถึงสวนที่เปนสารอันตรายเชน แอสเบสตอส วัสดุที่ปนเปอนสารปรอท น้ํามันดิน นอกจากนี้ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนยังรวมถึงเศษวัสดุที่ เกิดขึ้นระหวางการกอสรางและรื้อถอนถนนซึ่งประกอบดวย หิน กรวด ดิน ทราย แอสฟลต และบิทูเมน

2. ขอบเขตของการศึกษาโครงการ

โครงการการศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทยนั้นมีขอบเขตการดําเนินการดังตอไปนี้

1.1 ศึกษา สํารวจ และรวบรวมขอมูลพื้นฐานดานการจัดการเศษสิ่งกอสรางของประเทศไทยในปจจุบัน โดยการสํารวจพื้นที่ที่เปนสถานที่กอสราง สถานที่ร้ือถอน สถานที่ที่ใชเปนพื้นที่สําหรับจัดเก็บเศษวัสดุกอสรางและการเก็บขอมูลจากการสอบถามและการสัมภาษณจากบริษัทผูรับเหมากอสราง บริษัทผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป และบริษัทผูรับร้ือถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง เพื่อรวบรวมขอมูลสภาพปจจุบันดานการจัดการของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอน ปริมาณของของเสียที่เกิดขึ้นจากการกอสราง การรื้อถอนและการผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปการใชซํ้าและการนํากลับไปใชใหมของของเสียดังกลาวที่เกิดขึ้น รวมถึงการเก็บรวบรวม การขนสงและการกําจัด เปนตน กลุมบริษัทที่ใหขอมูลในการศึกษาของโครงการนี้ไดคัดเลือกจากบริษัทที่อยูในพื้นที่เขตกรุงเทพและปริมณฑล พรอมทั้งยินดีที่จะเปดเผยขอมูลและใหคณะผูทําการศึกษาเขา

Page 30: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

II

พบเพื่อสัมภาษณ ภายใตเงื่อนไขที่การศึกษาครั้งนี้จะไมเปดเผยชื่อบริษัทที่ใหขอมูลและใหสัมภาษณ

1.2 ศึกษาแหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน โดยใชเทคนิคการทดสอบคุณสมบัติเศษสิ่งกอสรางในหองปฏิบัติการ เพื่อศึกษาแนวโนมการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับไปใชใหมเปนวัสดุทดแทนมวลรวม

1.3 ศึกษาและรวบรวมวิธีการตางๆ ในการประเมินปริมาณของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดขึ้นรวมทั้งศักยภาพของเศษสิ่งกอสรางที่สามารถนํากลับไปใชประโยชนในอนาคต โดยรวบรวมขอมูลจากการศึกษาและงานวิจัยจากตางประเทศ พรอมทั้งนําเสนอวิธีการประเมินปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนสําหรับประเทศไทย

1.4 ศึกษารวบรวมขอมูลผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการกําจัดไมถูกหลักวิชาการโดยรวบรวมขอมูลจากการศึกษาผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมและผลกระทบทางสุขภาพของประชาชนจากการกําจัดของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนอยางไมเหมาะสม

1.5 ศึกษาแนวโนมการนําของเสียที่ เกิดจากการกอสรางและรื้อถอนกลับไปใชประโยชน (Recycle) รวมถึงการศึกษาขอมูลปริมาณความตองการวัสดุกอสรางในประเทศไทยปริมาณของเสียที่สามารถนํากลับมาใชใหมและเกณฑมาตรฐานของวัสดุกอสรางในประเทศไทย

1.6 นําเสนอแนวทางการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เหมาะสมสําหรับประเทศไทย ทั้งทางดานกฎระเบียบ มาตรการดานตางๆ ที่เหมาะสมเพื่อใหผูที่เกี่ยวของนําไปใชเปนแนวทางในการดําเนินการ

Page 31: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 1

เหตุผลและความสําคัญในการนําของเสียจากการกอสรางและรือ้ถอนกลับมาใชใหม

ปจจุบันยังไมมีการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนอยางเปนระบบในประเทศไทย หากมีการจัดการที่ดีจะสามารถลดการผลิตของเสียประเภทนี้ที่แหลงกําเนิดไดมากขึ้น มีการนําของเสียมาใชประโยชนไดมากขึ้น ลดการทิ้งของเสียเหลานี้อยางผิดกฏหมาย และยืดอายุของหลุมฝงกลบขยะไดมากขึ้น ซ่ึงจะทําใหลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมลงไดมาก และใชทรัพยากรไดยั่งยืนขึ้น

1.1. ลําดับขั้นตอนในการจัดการของเสีย

ลําดับขั้นตอนการจัดการของเสียโดยทัว่ไปมีดังนี ้

1.1.1. การลดของเสียที่มีแหลงกําเนิด ไดแก การปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑที่ใชและการปรับปรุงกระบวนการกอสรางและรื้อถอน

1.1.2. การใชซํ้า (reuse) และการนาํกลับมาใชใหม (recycling of material) หรือการนําวัสดุกลับคืน (recovery of material)

1.1.3. การแปรสภาพใหไดผลิตภัณฑที่ใชประโยชนได (conversion product เชน ปุย) และการนําพลังงานกลับคืน (energy recovery)

1.1.4. การกําจัดของเสียที่ไมสามารถนํามาใชประโยชนไดดวยวธีิที่ปลอดภัย

1.2 ปริมาณการใชมวลรวมสําหรับงานกอสรางในประเทศไทย

มวลรวมจากธรรมชาติสวนใหญไดจากทรายและกรวดจากการดูดทรายและหินจากการทําเหมืองหิน ความตองการของมวลรวมจากธรรมชาติสวนใหญขึ้นกับความตองการของอุตสาหกรรมกอสราง และมีความผันแปรคอนขางมากขึ้นกับการขยายตัวของสภาพเศรษฐกิจและการลงทุน และการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐบาล โดยเฉพาะอยางยิ่งรัฐบาลมีการลงทุนโครงการกอสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานขนาดใหญมากมาย อาทิเชน โครงการทางรถไฟและโครงการทางดวน เปนตน รวมทั้งการพัฒนาธุรกิจทางดานอสังหาริมทรัพยของทางภาคเอกชน ซ่ึงโครงการตางๆ เหลานี้จําเปนตองใชวัสดุกอสรางที่มีหินและทรายจากธรรมชาติเปนสวนประกอบหลัก

Page 32: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

1-2

ปริมาณการใชปูนซีเมนตเปนหนึ่งในดัชนีช้ีวัดการขยายตัวของอุตสาหกรรมกอสราง และอาจนํามาใชในการคํานวณปริมาณมวลรวมในประเทศ จากรูปที่ 1.1 แสดงใหเห็นวาในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ ป 2540-2544 ปริมาณการใชปูนซีเมนตมีการลดลงอยางตอเนื่องจากประมาณ 37 ลานตันในป 2539 ลดลงเหลือประมาณ 18 ลานตันในป 2542-2544 หรือปริมาณการใชปูนซีเมนตประมาณ290 กิโลกรัมตอคนตอป หลังจากป 2547 ภาวะเศรษฐกิจฟนตัวกอปรกับมีการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐบาลสงผลใหปริมาณการใชปูนซีเมนตมีปริมาณสูงขึ้นทุกป โดยคาดวาหลังจากป 2551 นาจะมีอัตราการใชปูนซีเมนตใกลเคียงกับชวงที่มีภาวะเศรษฐกิจฟองสบูในป 2538-2540 ซ่ึงมีอัตราการใชปูนซีเมนต 552-617 กิโลกรัมตอคนตอป (www.dpim.go.th/dt/doc/d25.pdf)

010203040506070

2538 2540 2542 2544 2546 2548 2550 2552ป

ปริมาณซ

ีเมนต (

ลานตัน

)

การสงออกการใชในประเทศการผลิต

ปริมาณคาดการ

รูปท่ี 1.1 ปริมาณความตองการปูนซีเมนตในประเทศ

(ที่มา : สํานักงานเหมืองแรและสัมปทาน กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (2548))

ปริมาณปูนซีเมนตที่ใชในประเทศ สามารถจําแนกตามประเภทการใชงานไดดังรูปที่ 1.2โดยแบงออกเปนงานคอนกรีตสําเร็จรูป งานหลอโครงสราง และงานฉาบและอื่นๆ สําหรับงานที่มีแนวโนมที่จะมีปริมาณการใชเพิ่มขึ้นคือ คอนกรีตสําเร็จรูป เนื่องจากสะดวกตอการใชงานและงายตอการควบคุมคุณภาพ คอนกรีตสําเร็จรูปจําแนกไดตามรูปที่ 1.3

Page 33: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 1 เหตุผลและความสําคัญในการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหม

1-3

58%

24%18%

0

4

8

12

16

20

งานคอนกรีตสําเร็จรูป งานโครงสราง งานฉาบและอื่นๆ

การนําไปใชงาน

ปริมาณก

ารใชปู

นซีเมน

ต (ลาน

ตัน) ป 2546

รูปท่ี 1.2 แนวทางการนําปูนซีเมนตไปใชงาน

(ที่มา : กรมอุตสาหกรรมพืน้ฐานและการเหมืองแร (2546))

พืน้สําเร็จรูป5.085%

เสาเข็ม1.758%

เสารั้วสําเร็จรูป0.003%

ทอสําเร็จรูป0.867%

ซีเมนตบล็อก66.676%

คอนกรีตผสมเสร็จ25.610%

ป 2546

รูปท่ี 1.3 ประเภทของงานคอนกรีตสําเร็จรูป

(ที่มา : กรมอุตสาหกรรมพืน้ฐานและการเหมืองแร (2546))

เมื่อเทียบปริมาณการใชปูนซีเมนตกับปริมาณมวลรวมที่ตองใชสําหรับงานคอนกรีตสําเร็จรูป จะพบวาจะตองใชหินประมาณ 7.4 ลานตัน ในขณะที่งานโครงสราง ถาใชการคํานวณโดยเปรียบเทียบกับสวนผสมของปูนซีเมนตใน คอนกรีต ในอัตราสวนปูนซีเมนต 1 สวน ทราย

Page 34: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

1-4

2 สวน และ หิน 4 สวน อาจตองใชหินถึง 25.6 ลานตัน

สําหรับปริมาณการใชมวลรวมหยาบจากธรรมชาติภายในประเทศสําหรับงานกอสราง ทั้งการนําไปใชในงานคอนกรีตและงานถนน และอื่นๆ จะใชหินปูนเปนสวนใหญ ในขณะที่หินแกรนิต หินบะซอลต และหินกรวด จะมีใชบางแหง ปริมาณการใชมวลรวมสําหรับงานกอสรางในประเทศไทยสําหรับ หินปูน หินบะซอลต และหินแกรนิต แสดงในรูปที่ 1.4 ซ่ึงจะเห็นไดวาปริมาณการใชมวลรวมเพื่อการกอสรางมีแนวโนมเชนเดียวกับปริมาณการใชปูนซีเมนต การใชมวลรวมหยาบในป 2548 พบวามีปริมาณมากถึง 2.2 เทาของปริมาณการใชมวลรวมในป 2544

0

20

40

60

80

100

120

2539 2541 2543 2545 2547 2549ป

ปริมาณก

ารใช (

ลานตัน

)

หินปูนหินแกรนิตหินบะซอลต

รูปท่ี 1.4 ปริมาณการใชมวลรวมสําหรับงานกอสรางในประเทศไทย

(ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี (2545) และ http://www.dpim.go.th/)

สวนปริมาณการใชมวลรวมสําหรับอุตสาหกรรมกอสรางในแตละภาคสะทอนถึงสมดุลระหวางความพอเพียงของวัสดุที่มีซ่ึงขึ้นกับสภาพภูมิศาสตร อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การขนสงตลอดจนขอจํากัดทางดานสิ่งแวดลอม เมื่อเปรียบเทียบปริมาณการใชหินปูนสําหรับงานกอสรางในแตละภาค (ตามรูปที่ 1.5) จะพบวา ภาคกลางมีปริมาณการใชหินปูนเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 180 ในชวงระยะเวลาเพียง 4 ป (ป 2544 ถึง ป 2548) ในขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีปริมาณการใชเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 106 สวนภาคเหนือและภาคใตมีปริมาณการใชเพิ่มขึ้นรอยละ 53 และ 54 ตามลําดับ

Page 35: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 1 เหตุผลและความสําคัญในการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหม

1-5

010203040506070

2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548ป

ปริมาณก

ารใชห

ินปูน (

ลานตัน

) ภาคกลางภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคใต

รูปท่ี 1.5 ปริมาณการใชหินปูนสําหรับงานกอสรางในประเทศไทย

(ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี (2545) และ http://www.dpim.go.th/)

สวนปริมาณทรายในประเทศไทยนั้น นํามาใชสําหรับอุตสาหกรรมกอสรางถึงรอยละ 80 ขณะที่นํามาใชในงานอุตสาหกรรมอื่นรอยละ 15 และที่เหลือนําไปใชประโยชนอยางอื่น (สิน สินสกุล, 2540) สวนปริมาณทรายที่นํามาใชตอปยังไมมีการเก็บรวบรวมขอมูล แตอาจประมาณจากปริมาณปูนซีเมนตที่ใชในแตละปได โดยปริมาณทรายที่ใชในป 2546 สําหรับงานคอนกรีตและงานที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑซีเมนตนาจะประมาณไดสูงถึง 76 ลานตัน ซ่ึงไมรวมปริมาณทรายที่ใชสําหรับงานถม

1.3 ปริมาณสํารองมวลรวมสําหรับอุตสาหกรรมกอสรางในประเทศไทย

ปริมาณสํารองมวลรวมจากธรรมชาติสําหรับอุตสาหกรรมกอสรางนั้นยากที่จะประมาณใหถูกตอง ขึ้นกับสมมุติฐานที่ตั้งขึ้นวาความเปนไปไดแคไหนที่จะนําเอามวลรวมจากธรรมชาติออกมา ปริมาณสํารองมวลรวมหยาบจากธรรมชาติ (เฉพาะหินปูน) ที่ไดรับสัมปทานมีประมาณ เกินกวา 3,000 ลานตัน (รวบรวมขอมูลจาก http://www.dpim.go.th/) อยางไรก็ตามพบวาปริมาณสํารองสวนใหญอยูในบริเวณที่ปริมาณความตองการของตลาดมวลรวมไมสูงนัก หรืออยูบริเวณที่มีความตองการของตลาดมวลรวมคอนขางจํากัด (รูปที่ 1.6) สวนปริมาณสํารองมวลรวมละเอียดจาก

Page 36: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

1-6

ธรรมชาติ (ทราย) เนื่องจากยังไมมีการเก็บรวบรวมขอมูล ทําใหยากตอการคํานวณปริมาณสํารองทั้งหมด

เนื่องจากมวลรวมมีน้ําหนักมากดังนั้นคาขนสงอาจมีมูลคาสูงเกินกวารอยละ 50 ของราคาขายสุดทาย การขนสงโดยทางถนนเปนวิธีการหลักที่นิยมใชในการขนยายมวลรวม เนื่องจากความยืดหยุนจากวิธีการและโครงสรางราคาที่แปรผันตามระยะทาง ทําใหเกิดขอจํากัดเกี่ยวกับราคาคาขนสงที่มีผลตอราคามวลรวม ซ่ึงปกติระยะทางขนสงมวลรวมไมเกิน 50-100 กิโลเมตร ดังนั้นจึงเปนการยากที่จะนําปริมาณสํารองมวลรวมจากพื้นที่ซ่ึงมีปริมาณสํารองอยูมาก แตอยูหางไกลและมีปริมาณความตองการของตลาดมวลรวมไมสูงนักมาใชในพื้นที่ซ่ึงมีปริมาณความตองการของตลาดมวลรวมสูง

เมื่อเปรียบเทียบปริมาณสํารองมวลรวมหยาบจากธรรมชาติ (เฉพาะหินปูน) ในแตละภาคเทียบกับปริมาณการใชมวลรวมสําหรับอุตสาหกรรมกอสรางในแตละปโดยใชฐานป 2548 จะพบวา ปริมาณสํารองมวลรวมสําหรับอุตสาหกรรมกอสรางในแตละภาคโดยประมาณแสดงดังรูปที่1.6

30%

9% 46%15%

ภาคกลางภาคเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคใต

ระยะเวลา ~35 ประยะเวลา ~40 ป

ระยะเวลา ~30 ป

ระยะเวลา ~75 ป

รูปท่ี 1.6 ปริมาณสํารองหินปูนสําหรับอุตสาหกรรมกอสรางในประเทศไทย

(ที่มา : รวบรวมขอมูลจาก http://www.dpim.go.th/)

Page 37: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 1 เหตุผลและความสําคัญในการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหม

1-7

1.4 ผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการระเบิด/ขุดหนิ เปรียบเทียบกับกระบวนการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใช

1.4.1 ผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการระเบิด/ขุดหิน

ฝุน ฝุนเกิดจากการระเบิดหิน การยอยขนาดหิน และการขนสงวัสดุ มีผลตอระบบนิเวศและการเกษตร ซ่ึงจะมีผลมากหรือนอยขึ้นอยูกับปจจัยที่เกี่ยวของไดแก ความเขมขนของฝุน ลักษณะของพืช สภาพทางอุตุนิยมวิทยา ขนาดของฝุน สภาพทางเคมีของฝุน เชน ฝุนที่เปนดาง เปนกลางหรือเปนกรด นอกจากนั้นยังกอใหเกิดความเดือดรอนรําคาญ ซ่ึงสวนมากเกิดจากฝุนขนาดใหญ และยังกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพ ซ่ึงเกิดจากฝุนขนาดเล็กกวา 10 มิลลิเมตร (PM 10)

เสียงและการสั่นสะเทือน เสียงและการสั่นสะเทือนเกิดจากการระเบิดหิน การยอยขนาดหินและการขนสงวัสดุ

มลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศโดยทั่วไปเกิดจากการระเบิดหิน การยอยขนาดหิน และการขนสงวัสดุ นอกจากนั้นแลว ถามีการเผาไหมที่ไมดีของระเบิดชนิด ANFO สามารถกอใหเกิดไนโตรเจนไดออกไซด ไนโตรเจนมอนอกไซด และคารบอนมอนอกไซด

ผลกระทบตอระบบนิเวศ ผลกระทบตอระบบนิเวศอาจเกิดในบริเวณที่มีการระเบิดและขุดแรหรือหิน หรืออาจเกิดในบริเวณใกลเคียง เชน มีการสูบน้ําออกจากพื้นที่ชุมน้ําบริเวณใกลเคียง น้ําผิวดินถูกปนเปอน พื้นที่ที่ใชหากินถูกทําลาย และผลกระทบจากฝุนและเสียง

ผลกระทบทางทัศนียภาพและภูมิทัศน ผลกระทบทางภูมิทัศนเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหรือการทําลายองคประกอบของภูมิทัศน เชน ตนไม ความลาดชัน และขอบเขตชุมชนของพืช เปนตน และผลจากการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศนกอใหเกิดผลกระทบทางทัศนียภาพ

ผลกระทบตอมรดกทางวัฒนธรรม (Cultural heritage) ผลกระทบตอโบราณสถานและโบราณวัตถุ ที่เกิดจากการระเบิดและขุดแรและหิน อาจเกิดโดยตรงในบริเวณที่มีการระเบิดและขุดแรและหิน และอาจเกิดกับพื้นที่นอกบริเวณที่มีการระเบิดและขุดแรและหิน เชน แผนดินทรุดจากการขุดแรและหินใตดิน ทําใหมีผลตอส่ิงกอสรางทางประวัติศาสตร ฝุนที่เกิดจากการระเบิดและบดหิน มีผลอยางยิ่งตอส่ิงกอสรางทางประวัติศาสตร โดยเฉพาะอยางยิ่งถาฝุนนั้นเปนกรดหรือเปนดางมาก

Page 38: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

1-8

ผลกระทบตอทรัพยากรน้ํา การขุดแรและหินมีโอกาสกอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพ ระดับและรูปแบบการไหลของน้ําใตดินและน้ําผิวดิน ผลกระทบเหลานี้สามารถแพรไปไดไกลกวาผลกระทบสิ่งแวดลอมอื่นเพราะน้ํามีการไหล

ผลกระทบตอการจราจรและการขนสง หินและแรที่ขุดมาสวนมาก ขนสงโดยรถบรรทุก ซ่ึงจะทําใหการจราจรหนาแนน เกิดมลพิษทางอากาศ ฝุน เสียง และการสั่นสะเทือน

ลดปริมาณทรัพยากรธรรมชาติที่สะสมไวใชในอนาคต หากยังคงใชมวลรวมจากธรรมชาติ จะทําใหตองขุดแรและหินมาใชในปริมาณมาก ทําใหทรัพยากรที่สะสมไวลดปริมาณลงและอาจทําใหเกิดภาวะขาดวัสดุกอสรางในอนาคตซึ่งจะทําใหราคาวัสดุสูงขึ้น

เพิ่มการใชงานพื้นที่ฝงกลบขยะ หากไมมีการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมารีไซเคิลใช จะทําใหตองใชพื้นที่ฝงกลบเพิ่มมากขึ้น ซ่ึงจะทําใหเกิดผลกระทบตอการใชที่ดินและมลพิษทางอากาศที่เกิดจากการขนสงของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไปฝงกลบ

1.4.2 ผลกระทบสิ่งแวดลอมท่ีเกิดจากกระบวนการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใช

ฝุน ฝุนเกิดจากการบดยอยและการขนสงวัสดุ

เสียง เสียงเกิดจากการบดยอยและการขนสงวัสดุ

มลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศเกิดจากการบดยอยและการขนสงวัสดุ นอกจากนั้นยังเกิดจากเครื่องยนตที่มีการเผาไหม

มลพิษในน้ําผิวดินและน้ําใตดิน อาจเกิดผลกระทบตอคุณภาพของน้ําผิวดินและน้ําใตดินไดจากเชื้อเพลิงและสารหลอล่ืนที่ใชในโรงงานและเครื่องจักร

ผลกระทบทางดานสุนทรียภาพ ผลกระทบทางดานสุนทรียภาพหรือความงาม อาจเกิดขึ้นไดโดยเฉพาะอยางยิ่งกับสถานที่ตั้งที่เปนพื้นที่สีเขียวหรือพื้นที่ในเมือง

ผลกระทบตอระบบนิเวศ ผลกระทบตอระบบนิเวศอาจเกิดขึ้นไดถาสถานที่ตั้งเปนพื้นที่สีเขียว

Page 39: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 1 เหตุผลและความสําคัญในการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหม

1-9

ผลกระทบตอการจราจรและการขนสง ผลกระทบตอการจราจรและการขนสงจากการนาํของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชจะนอยกวาผลกระทบจากการขนสงมวลรวมจากธรรมชาติ

1.5 ประโยชนจากการใชซํ้าหรือนํากลับมาใชใหม

ประโยชนของการใชซํ้าหรือการนํากลับมาใชใหม มีดังนี้

1. ลดการทิ้งที่ผิดกฏหมาย การนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชจะชวยลดการทิ้งที่ผิดกฎหมาย เพราะการนําเศษวัสดุเหลานี้กลับมาใชจะเพิ่มรายไดใหแกผูที่จะทิ้ง

2. ลดการใชพื้นที่ฝงกลบ การนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชประโยชนจะชวยลดปริมาณของเสียที่จะตองฝงกลบ ทําใหหลุมฝงกลบมีอายุการใชงานไดนานขึ้น

3. ลดอัตราการใชทรัพยากรธรรมชาติ การนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชจะชวยทําใหลดการใชวัสดุปฐมภูมิลง ทําใหสามารถอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติไวใชไดนานๆ

4. ลดการใชพลังงานและลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก พลังงานที่ใชในการผลิตวัสดุทุติยภูมินอยกวาพลังงานที่ใชในการผลิตวัสดุปฐมภูมิ ซ่ึงทําใหลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกได

5. ลดการทําลายสิ่งแวดลอม การทิ้งของเสียโดยผิดกฏหมาย การฝงกลบและการเผาของเสีย การนําทรัพยากรมาใชมากเกินไปจะกอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมที่เกิดจากมลพิษทางน้ํ า ดิน และอากาศ การนํ าของ เสี ยก ลับมาใช ใหมทํ า ใหลดการใชทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงจะทําใหประชาชนที่อยูในพื้นที่ที่มีทรัพยากรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

6. ประหยัดคาใชจาย ถามีการรีไซเคิลที่สถานที่กอสรางหรือร้ือถอนสําหรับโครงการกอสรางขนาดใหญ จะทําใหลดคาใชจายในการขนสงและกําจัดของเสียตลอดจนคาใชจายในการซื้อวัสดุใหมๆ ลงไดมาก

Page 40: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

1-10

7. ทําใหเกิดการพัฒนาทางดาอุตสาหกรรม เชน การวิจัยและพัฒนาใชของเสียบางชนิดมาเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมบางประเภท ทําใหมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่สะอาดขึ้น

8. เพิ่มรายไดและสรางงานใหม การนําของเสียกลับมาใชใหมจะเพิ่มรายไดใหแกบุคลากรในอุตสาหกรรมการนํากลับมาใชใหมและชวยสรางงาน

Page 41: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2

แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2.1 แหลงกําเนิดของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนในประเทศไทย

แหลงกําเนิดของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดขึ้นในประเทศไทยสามารถจําแนกแหลงกําเนิดไดเปน 4 ประเภท ดังตอไปนี้

2.1.1. ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดจากสถานที่กอสรางอาคารและสิ่งปลูกสรางตางๆ ซ่ึงในที่นี้รวมถึงสถานที่กอสรางใหมจากพื้นที่วางเปลาหรือไมเคยมีส่ิงปลูกสรางใดๆ มากอน และสถานที่กอสรางจากพื้นที่ที่เดิมเคยมีส่ิงปลูกสรางใดๆ มากอนและไดมีการรื้อถอนออกไปกอนหนานี้แลว ของเสียที่เกิดขึ้นจะเกิดจากการปรับปรุงพื้นที่ เชน การโคนตนไมในพื้นที่เดิม การขุดดินในพื้นที่ออกเพื่อสรางฐานรากของอาคารและสิ่งปลูกสราง และของเสียที่เกิดขึ้นในระหวางการกอสรางซึ่งสวนใหญเกิดจากสวนที่เหลือทิ้งจากวัสดุกอสรางใหม และสวนที่เสียหายในระหวางการดําเนินการ ของเสียจากบรรจุภัณฑ วัสดุที่ใชแลวตางๆ

2.1.2. ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดจากสถานที่ที่มีการรื้อถอน ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือซอมแซมอาคาร หรือส่ิงปลูกสรางตางๆ ของเสียที่เกิดขึ้นจากแหลงกําเนิดประเภทนี้ จะมีลักษณะแตกตางกันไปขึ้นกับลักษณะของการปรับปรุงหรือร้ือถอนสิ่งปลูกสราง เชน การปรับปรุงอาคาร การตกแตงภายใน ของเสียที่เกิดขึ้นโดยสวนใหญจะเปนเฟอรนิเจอรเกาที่ใชแลว และของเสียที่เกิดจากบรรจุภัณฑของวัสดุที่นําเขามาใหม สําหรับอาคารที่มีการร้ือถอนเพียงบางสวนเพื่อปรับปรุงลักษณะการใชงานของอาคาร หรือการปรับปรุงระบบไฟฟา ระบบปรับอากาศ ระบบสุขาภิบาลภายในอาคาร ของเสียที่เกิดขึ้นนั้นจะมีลักษณะขึ้นกับระบบที่ปรับปรุง เชน ทอพีวีซี แผนฉนวนหุมทอ ทอแอร เครื่องสุขภัณฑ กระเบื้องพื้น และผนัง สําหรับการรื้อถอนอาคารหรือส่ิงปลูกสรางทั้งหลัง ของเสียที่เกิดขึ้นจะมีทุกประเภท เชน เศษคอนกรีต เศษเหล็กในคอนกรีต กระเบื้อง ไม อิฐ ซ่ึงโดยสวนใหญจะปะปนกัน ทั้งนี้ขึ้นกับการรื้อถอนวาเปนการรื้อถอนแบบคัดแยกหรือไม

2.1.3. ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปของเสียที่เกิดจากแหลงกําเนิดประเภทนี้มักจะมีลักษณะที่คอนขางคงที่ไมมีการปะปนกันของวัสดุแตละประเภท ของเสียที่เกิดขึ้นสามารถจําแนกไดเปนของเสียที่เกิดจากของเหลือทิ้งจากวัตถุดิบที่ใชในกระบวนการผลิต ของเสียที่เกิดจากผลิตภัณฑที่ไมไดมาตรฐานและของเสียที่เกิดจาก

Page 42: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-2

ผลิตภัณฑที่ไดผลิตเสร็จสิ้นแลวแตเกิดการแตกหักเสียหายในระหวางการบรรจุ การเก็บในคลังสินคาและการขนสง

2.1.4. ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดจาก การกอสราง ซอมแซม และร้ือถนนสะพาน ทางดวน ของเสียที่เกิดจากแหลงกําเนิดประเภทนี้จะมีองคประกอบที่คอนขางคงที่ เชน หินกรวด แอสฟลต หินคลุก ดินและเศษคอนกรีต

2.2 ชนิดของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

วัสดุเหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนสามารถแบงตามองคประกอบไดดังตอไปนี้

ดิน การขุดดินในที่นี้หมายถึง การขุดในเชิงวิศวกรรมซึ่งไดทั้งจากการกอสรางและรื้อถอน ดิน

ที่ขุดจากการเตรียมพื้นที่กอสราง เชน ดินที่ขุดเปนหลุมสําหรับอาคารหรือขุดถนนจะใหสวนผสมของหนาดิน ดินเหนียว ทราย กรวด และหิน เปนตน ลักษณะของวัสดุที่ไดมีความแปรปรวนในแตละพื้นที่ และขึ้นกับลักษณะทางธรณีวิทยา ดินสวนนี้หลังจากขุดออกมาสวนใหญจะถูกนําไปกองเก็บและนําไปใชซํ้าในสถานที่กอสรางเดิมหรือขนยายออกไปเพื่อนําไปใชซํ้าในสถานที่กอสรางอื่น

ในขณะที่ถามีการขุดดินในบริเวณที่ที่ดินเดิมเคยมีส่ิงกอสรางอยูกอนแลวอาจมีสวนผสมของ อิฐ คอนกรีต แกว กระเบื้อง และอื่นๆ ปนมาในเนื้อดินที่ขุด นอกจากนี้ดินที่ขุดออกมามีโอกาสที่จะปนเปอนสารที่เปนอันตรายได อาทิเชน โลหะหนัก น้ํามัน และสารจําพวก พีเอเอช ซ่ึงสวนใหญจะพบในดินที่ขุดจากงานปรับปรุงสภาพถนน

คอนกรีต เนื่องจากโครงสรางสวนใหญในประเทศไทยจะใชคอนกรีตเปนหลัก ดังนั้นของเสียจาก

การกอสรางและรื้อถอนจะพบคอนกรีตเปนปริมาณมาก คอนกรีตสวนใหญไดมาจากโครงสรางหรือถนนคอนกรีตที่ทุบทําลาย หรือจากโครงสรางที่มีการปรับปรุงสภาพ หรือจากผลิตภัณฑคอนกรีตที่ใชไมไดเนื่องจากไมผานการควบคุมคุณภาพ ของเสียประเภทคอนกรีตนี้เปนวัสดุที่มีลักษณะสมบัติที่ดีมาก เหมาะแกการนําไปผานกระบวนการทํามวลรวมทดแทนมวลรวมจากธรรมชาติ โดยทั่วไปของเสียประเภทคอนกรีตนี้จะอยูใน 2 รูปแบบคือ

• คอนกรีตเสริมเหล็กไดมาจากสวนประกอบโครงสราง เชน เสา คาน และพี้น เปนตน และจากงานถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและทางเทา

• คอนกรีตไมเสริมเหล็กไดมาจากงานคอนกรีตหลา งานฐานราก หรือจากการทุบคอนกรีตที่เหลือทิ้งจากคอนกรีตผสมเสร็จ

Page 43: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-3

วัสดุกอ เนื่องจากลักษณะงานการกอสรางสวนใหญจะใชโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก ในขณะที่

ผนังจะใชวัสดุกอ อาทิเชน อิฐมอญ และคอนกรีตบล็อก เปนตน ดังนั้นของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนจํานวนมากจะมีวัสดุกอเปนองคประกอบ อิฐมอญและคอนกรีตบล็อกที่ไดจากการรื้อถอนสวนใหญจะติดกับมอรตาร และซีเมนต และสวนใหญจะพบองคประกอบคอนกรีตติดมาดวย เชนทับหลัง และเสาเอ็น เปนตน

นอกจากนี้วัสดุกอประเภทคอนกรีตมวลเบาเริ่มมีการใชงานแพรหลายขึ้น ทําใหมีการพบคอนกรีตมวลเบาในของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมากขึ้น โดยเฉพาะงานปรับปรุงสภาพและงานกอสรางใหม

ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนเปนปริมาณของเสียที่พบมากที่สุด เนื่องจากระบบ

จัดการ และกระบวนการจัดการระหวางการกอสรางหรือการรื้อถอนและการกองเก็บ ซ่ึงอาจเกิดจากการจงใจหรือไมจงใจทําใหเปนของเสียประเภทนี้

ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนอาจประกอบดวยของเสียจําพวกดิน คอนกรีต และวัสดุกอ ผสมรวมกับวัสดุที่ไมพึงประสงคจําพวกกระดาษ ไม กระปอง เหล็ก พลาสติก เปนตน วัสดุที่ไมพึงประสงคนี้สวนใหญพบวามีปริมาณมากในงานกอสรางชวงงานสถาปตยกรรมและงานปรับปรุงสภาพ ซ่ึงอาจพบทั้งเศษกระเบื้อง เศษอิฐที่ไมไดใช เศษปูนกอและปูนฉาบ ถุงปูน บรรจุภัณฑ และขยะตางๆ ปนอยูในกองเดียวกัน นอกจากนี้อาจพบมากในงานรื้อถอนที่ไมมีการจัดการที่ดีพอ ซ่ึงอาจพบวัสดุที่เปนอันตรายปนเปอนมาดวย

แอสฟลต เนื่องจากถนนหลักสวนใหญในประเทศไทยเปนถนนแอสฟลต (กรมทางหลวง, 2549) ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนถนนจึงประกอบดวยแอสฟลตในปริมาณมาก ในขณะที่อาจมีสวนประกอบของ หิน กรวด ดิน และทราย จากวัสดุพื้นทางและวัสดุรองพ้ืนทางผสมรวมกับแอสฟลต แอสฟลตอาจไดมาจากแหลงที่มาตอไปนี้

• งานการกอสรางถนนใหม หรืองานปรับปรุงสภาพถนนเดิม • แอสฟลตที่ผสมเกินหรือคุณภาพที่ไมไดตามมาตรฐาน • งานรื้อถอน วัสดุกันซึมบนดาดฟาอาคาร • งานขุดเจาะสําหรับงานปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค และ • งานซอมแซมถนนสายรองบางสวน

Page 44: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-4

สวนใหญงานสองแบบแรกถามีการจัดการที่ดีจะพบวามีการคัดแยกวัสดุดีมาก และมีการปนเปอนนอยมาก เหมาะแกการนํากลับไปใชใหมโดยไมตองผานกระบวนการมากนัก สวนงานในลักษณะสามแบบหลัง พบวามีการผสมรวมกับวัสดุอ่ืนคอนขางมากอาทิเชน ดิน คอนกรีต และวัสดุไมพึงประสงคอ่ืนๆ

วัสดุอ่ืนๆ ของเสียประเภทอื่นๆ อาทิเชน เหล็ก จะถูกนําไปถลุงและนํากลับมาใชใหมในขณะทีว่งกบไม กระเบื้องหลังคา กระจก แผนยิปซั่ม สวนตกแตงภายใน และงานตกแตงสถาปตยกรรมภายนอกจะนําไปใชซํ้าอีกที รายละเอยีดเพิ่มเติมแสดงในหัวขอที่ 7-7

2.3 ลักษณะสมบัติของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

การตรวจสอบลักษณะสมบัติของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ไดทําการเก็บตัวอยางตามสถานที่กองเก็บและซื้อขายวัสดุของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจํานวน 6 แหง โดยตําแหนงที่เก็บแสดงในรูปที่ 2.1 ลักษณะสมบัติของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจําแนกดวยสายตาเบื้องตน มีดังตอไปนี้

สถานที่กองเก็บแหงท่ี 1 สถานที่กองเก็บที่ 1 เปนสถานที่ซ่ึงมีปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไมมากนัก

มีการจัดการแยกประเภทของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนออกจากกันอยางชัดเจน ไดแก ผลิตภัณฑคอนกรีต แผนพื้นคอนกรีต โครงสรางคอนกรีตและทอ ของเสียจากกระบวนการผลิตบล็อกคอนกรีต ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนและเศษกระเบื้อง แตอยางไรก็ตามสถานที่กองเก็บนี้ไมมีเครื่องมือที่ชวยทําใหขนาดของของเสียเล็กลง ดังนั้นโครงสรางคอนกรีตและผลิตภัณฑคอนกรีตสวนใหญจะมีขนาดคอนขางใหญ (เกินกวา 1 เมตร) และซากคอนกรีตสวนใหญมีเหล็กติดอยู ของเสียจากการกอสรางสวนใหญนําไปใชสําหรับงานถมที่ งานปรับระดับ และงานทํานบกั้น นอกจากนี้สถานที่กองเก็บแหงนี้มีการขายวัสดุจากธรรมชาติ จําพวก หิน ทราย และดินดวย ตัวอยางการกองเก็บแสดงในรูปที่ 2.2-2.4

Page 45: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-5

รูปที่ 2.1 แผนผังสถานที่กองเก็บที่ใชในการตรวจสอบลักษณะสมบัติของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-5

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

Page 46: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-6

ก. เสาเข็มที่ถูกตัดออก

ข. แผนพื้น

ค. เสาเข็มหัก

รูปท่ี 2.2 ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไดจากองคประกอบโครงสรางและผลิตภัณฑ

คอนกรีตและผานการคัดแยกแหลงที่มา (สถานที่กองเกบ็ที่ 1) โดยที่ ก. เสาเข็มที่ถูกตัดออก ข. แผนพืน้ ค. เสาเข็มหัก

Page 47: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-7

ก. เศษปูนกอและปูนฉาบ

ข. เศษจากบลอ็กคอนกรีตระหวางกระบวนการผลิต

รูปท่ี 2.3 ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไดจากของเสียจากการกอ การฉาบ และจากบล็อก

คอนกรีตที่บดละเอียด และผานการคัดแยกแหลงที่มา (สถานที่กองเก็บที่ 1) โดยที่ ก. เศษปูนกอและปูนฉาบ ข. เศษจากบล็อกคอนกรีตระหวางกระบวนการผลิต

รูปท่ี 2.4 ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 1

Page 48: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-8

สถานที่กองเก็บแหงท่ี 2

สถานที่กองเก็บแหงที่ 2 เปนสถานที่ซ่ึงมีปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมาก มีการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนเขามาและนําออกไปคอนขางบอย สวนใหญพบวาเปนของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน พบวามีการนําเอาของเสียประเภทคอนกรีตที่มีการทําใหขนาดเล็กลงมากองรวมกับของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน สวนผลิตภัณฑคอนกรีตที่มีขนาดใหญ หรือโครงสรางที่มีขนาดใหญจะแยกกองไว เพื่อจะนําเครื่องมือมาตัดใหคอนกรีตมีขนาดเล็กลงกอนนําไปกองรวมกับของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน นอกจากนี้ยังพบวาในแตละกองมีความแปรปรวนคอนขางสูงมาก มีองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนและขนาดแตกตางกันอยางเห็นไดชัด ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนสวนใหญจะถูกนําไปใชสําหรับงานถมที่ ตัวอยางของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 2 แสดงในรูปที่ 2.5-2.8

สถานที่กองเก็บแหงท่ี 3 สถานที่กองเก็บที่ 3 เปนสถานที่ซ่ึงมีปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไมมากนัก ของเสียทั้งหมดเปนของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน ของเสียจากโครงสรางคอนกรีตที่มีขนาดใหญจะถูกนําไปกองรวมกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน พบวาในแตละกองมีความแปรปรวนคอนปานกลาง มีองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนและขนาดแตกตางกันอยางเห็นไดชัด สวนใหญมีดินเปนองคประกอบรวมกับคอนกรีต และมีเศษพลาสติกและขยะปะปนมาในกองดวย ตัวอยางของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 3 แสดงในรูปที่ 2.9-2.10

สถานที่กองเก็บแหงท่ี 4 สถานที่กองเก็บที่ 4 เปนสถานที่ ซ่ึงมีปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนคอนขางมาก ของเสียทั้งหมดเปนของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน จากการตรวจสอบดวยสายตาพบวา ของเสียจากสถานที่กองเก็บนี้มีวัตถุไมพึงประสงคและปริมาณการปนเปอนสูงที่สุดจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหงที่ทําการสํารวจ นอกจากนี้ยังพบวามีวัสดุที่เปนอันตราย ทั้งยางรถยนต สายไฟ กระปองสี ขวดแกว พลาสติก ไม หลอดไฟ กระเบื้องหลังคา และอ่ืนๆ นอกจากนี้ยังพบวา ในแตละกองมีความแปรปรวนสูงมาก มีองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนแตกตางกันอยางเห็นไดชัด ของเสียสวนใหญมีขนาดไมใหญมากนัก และมีการยอยขนาดลงโดยใชรถตักและแรงคน ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนสวนใหญจะนําผสมกับหนาดิน และนําไปใชสําหรับงานถมที่ ตัวอยางของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 4 ดังรูปที่ 2.11-2.14

Page 49: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-9

ก. ดินผสมกับเศษปูน

ข. เศษบล็อกมวลเบาที่แตกหกั

ค. องคประกอบและปริมาณที่แตกตางกันในแตละตําแหนง

รูปท่ี 2.5 ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 2 โดยที่

ก. ดินผสมกับเศษปูน ข. เศษบล็อกมวลเบาที่แตกหกั ค. องคประกอบและปริมาณที่แตกตางกันในแตละตําแหนง

Page 50: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-10

ก. เสาเข็มสี่เหล่ียมที่แตกหัก

ข. เสารูปตัวไอที่แตกหรือม ไดมาตรฐาน

ค. แผนพื้นที่แตก

รูปท่ี 2.6 ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไดจากองคประกอบโครงสรางและผลิตภัณฑ

คอนกรีต ระหวางรอการบดยอย (สถานทีก่องเก็บที่ 2) โดยที ่ก. เสาเข็มสี่เหล่ียมที่แตกหัก ข. เสารูปตัวไอที่แตกหรือไมไดมาตรฐาน ค. แผนพื้นทีแ่ตก

Page 51: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-11

ก. ฐานรากคอนกรีตและคอนกรีตขนาดใหญ

ข. ผลิตภัณฑคอนกรีตสําเร็จรูปที่ยอยขนาด

รูปท่ี 2.7 โครงสรางคอนกรีตที่ยอยขนาดปนกับของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน

(สถานที่กองเก็บที่ 2) โดยท่ี ก. ฐานรากคอนกรีตและคอนกรีตขนาดใหญ ข. ผลิตภัณฑคอนกรีตสําเร็จรูปที่ยอยขนาด

รูปท่ี 2.8 ขยะและวัสดุอันตรายปนกับของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน

(สถานที่กองเก็บที่ 2)

Page 52: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-12

ก. คอนกรีตและดินเปนองคประกอบหลัก

ข. ขยะปนเปอน

รูปท่ี 2.9 ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 3 โดยที่

ก. คอนกรีตและดินเปนองคประกอบหลัก ข. ขยะปนเปอน

รูปท่ี 2.10 ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนรวมกับคอนกรีตขนาดใหญที่ไมไดยอยขนาด

(สถานที่กองเก็บที่ 3)

Page 53: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-13

รูปท่ี 2.11 พื้นที่โดยรวมของสถานที่กองเกบ็ที่ 4

ก. ขยะ กระปองสี ยางรถยนต ถุงปูน บรรจุภณัฑ กระเบือ้ง พลาสติก อ่ืนๆ

ข. บล็อก คอนกรีต แกว ไม โฟม เปนตน

รูปท่ี 2.12 ขยะและวัสดุอันตรายปนกับของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนจํานวนมาก

(สถานที่กองเก็บที่ 4) โดยท่ี ก. ขยะ กระปองสี ยางรถยนต ถุงปูน บรรจุภณัฑ กระเบือ้ง พลาสติก อ่ืนๆ ข. บล็อกคอนกรีต แกว ไม โฟม เปนตน

Page 54: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-14

รูปท่ี 2.13 การเตรียมดินเพือ่นํามาผสมรวมกับของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีปริมาณการปนเปอนมาก (สถานที่กองเก็บที่ 4)

รูปท่ี 2.14 การยอยขนาดคอนกรีตเพื่อนําเหล็กออกโดยใชแรงคน (สถานที่กองเก็บที่ 4)

สถานที่กองเก็บแหงท่ี 5 สถานที่กองเก็บที่ 5 เปนสถานที่กองเก็บชั่วคราวสําหรับงานซอมบํารุงผิวทางถนนแอสฟลต สถานที่กองเก็บแหงนี้มีการจําแนกประเภทของของเสียอยางชัดเจน โดยแบงเปนแอสฟลต คอนกรีตและคอนกรีตปูทางเทา และดิน ขนาดของเสียสวนใหญจะมีขนาดใหญ และกอนขนสงจะมีการยอยใหขนาดเล็กลงดวยหัวของรถตัก ของเสียทั้งหมดสวนใหญจะถูกนําไปใชสําหรับงานถมที่ตัวอยางของเสียจากงานซอมบํารุงผิวทางถนนแอสฟลตจากสถานที่กองเก็บที่ 5 แสดงในรูปที่ 2.15-2.18

Page 55: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-15

รูปท่ี 2.15 กองแอสฟลตที่ผานการคัดแยกชนิดของเสียจากการรื้อถอนถนน (สถานทีก่องเก็บที่ 5)

รูปท่ี 2.16 กองคอนกรีตที่ผานการคัดแยกชนิดของเสียจากการรื้อถอนถนน (สถานที่กองเก็บที่ 5)

รูปท่ี 2.17 กองบล็อกคอนกรีตปนกับดินจากของเสียจากการรื้อถอนถนน (สถานที่กองเก็บที่ 5)

Page 56: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-16

รูปท่ี 2.18 การบดยอยขนาดชนิดของเสียประเภทแอสฟลต (สถานที่กองเก็บที่ 5)

สถานที่กองเก็บแหงท่ี 6 สถานที่กองเก็บที่ 6 เปนสถานที่ซ่ึงของเสียสวนใหญไดมาจากงานซอมถนน ทางเทา และระบบสาธารณูปโภค ของเสียสวนใหญเปนของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอน สวนใหญประกอบดวย ดิน คอนกรีต บล็อกคอนกรีต คอนกรีตปูทางเทา นอกจากนี้ยังพบวัสดุไมพึงประสงคเชน เศษกระเบื้อง พลาสติก กระดาษ และอื่นๆ พบวาในแตละกองมีความแปรปรวนคอนขางอยูในระดับปานกลาง มีองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนและขนาดแตกตางกันอยางเห็นไดชัด ตัวอยางของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 6 แสดงในรูปที่ 2.19-2.20

รูปท่ี 2.19 พื้นที่โดยรวมของสถานที่กองเกบ็ที่ 6

Page 57: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-17

ก. เศษปูน คอนกรีต ดิน อิฐ กระเบื้องไม และอ่ืนๆ

ข. คอนกรีต ไม ถุง บรรจุภัณฑ กระเบื้องปูพื้น และอืน่ๆ

ค. คอนกรีต ไม ถุงปูน พลาสติก ดินยางรถยนต และอืน่ๆ

รูปท่ี 2.20 ของเสียผสมจากการกอสรางและรื้อถอนมีองคประกอบแตละตําแหนงแตกตางกันมาก (สถานที่กองเก็บที่ 6) โดยที ่ก. เศษปูน คอนกรีต ดิน อิฐ กระเบื้องไม และอ่ืนๆ ข. คอนกรีต ไม ถุง บรรจุภัณฑ กระเบื้องปูพื้น และอื่นๆ ค. คอนกรีต ไม ถุงปูน พลาสติก ดิน ยางรถยนต และอื่นๆ

Page 58: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-18

2.3.1 มาตรฐานวิธีการทดสอบ

มาตรฐานและวิธีการทดสอบที่ใชในการหาลักษณะสมบัติของของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนมีดังตอไปนี ้

องคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน วิธีการทดสอบนี้ดัดแปลงมาจากมาตรฐาน BS 8500-2 (2002) เพื่อใชหาองคประกอบและปริมาณวัสดุที่ผสมอยูในของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน วิธีการเก็บตัวอยางทําตาม ASTM D 75 และลดขนาดตัวอยางลงตาม ASTM C 702 หลังจากนั้นทําการอบตัวอยางที่อุณหภูมิ 40±5°C จนกระทั่งน้ําหนักตัวอยางทดสอบคงที่ ทําการรอนตัวอยางทดสอบผานตะแกรงขนาด 63 มม. และตะแกรงขนาด 9.5 มม. สวนที่คางบนตะแกรง 63 มม. และสวนที่ผานตะแกรง 9.5 มม. จะไมนํามาทดสอบ ในขณะที่สวนตัวอยางที่อยูระหวางตะแกรง 63 มม. และ 9.5 มม. จะถูกนํามาลดขนาดอีกที เพื่อใหสามารถทําการทดสอบซ้ําได โดยปริมาณตัวอยางที่นํามาใชตองมีไมนอยกวา 500 ช้ินหรือมีน้ําหนักไมนอยกวา 50 กิโลกรัมสําหรับขนาดอนุภาคในตัวอยางใหญสุด 63 มม. หลังจากนั้นทําการช่ังน้ําหนักตัวอยางทดสอบและบันทึกคา (Mtotal) อนุภาคในแตละตัวอยางจะวางแผลงบนถาดหนากวางขนาดใหญ และทําการคัดแยกอนุภาคตางๆ ดวยมือ โดยแบงออกเปนกลุมตางๆ ดังตอไปนี้ คอนกรีต มวลรวมน้ําหนักปกติ วัสดุกอ วัสดุบล็อกมวลเบา แอสฟลต และวัสดุอ่ืนๆ หลังจากที่แยกแตละกลุมตามที่กําหนดแลว จะนํามาชั่งน้ําหนักและบันทึกคา (Msubscript) แลวนํามาคํานวณองคประกอบโดยมวลคิดเปนรอยละ (Psubscript) ตามแตละกลุมที่ทําการแยก ดังสมการตอไปนี้

Total

SubcriptSubscript M

MP

100=

การหาขนาดคละของมวลรวมหยาบและมวลรวมละเอียด การทดสอบนี้ทําตามมาตรฐาน ASTM C 136 และ AASHTO T27 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อหาขนาดคละของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน วิธีการเตรียมตัวอยางทําตาม ASTM D 75 และลดขนาดตัวอยางลงตาม ASTM C 702 หลังจากนั้นทําการอบตัวอยางที่อุณหภูมิ 110±5°C จนกระทั่งมีน้ําหนักคงที่ ขนาดตัวอยางทดสอบมวลรวมละเอียดที่ใชประมาณ 300 กรัม ในขณะที่มวลรวมหยาบใช 35 กิโลกรัมสําหรับขนาดอนุภาคใหญสุด 63 มม.

Page 59: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-19

การทดสอบทําโดยชั่งน้ําหนักตัวอยางทดสอบและนําตัวอยางทดสอบรอนผานตะแกรง ขนาดตะแกรงมาตรฐานที่ใชรอนหาขนาดคละมวลรวมหยาบคือ ตะแกรงขนาด 4.75 มม. 9.5 มม. 12.5 มม 19.0 มม. 25.0 มม. 37.5 มม. 50 มม. 63 มม. 75 มม. และ 90 มม. สวนขนาดตะแกรงมาตรฐานที่ใชรอนหาขนาดคละมวลรวมละเอียดคือ ตะแกรงขนาด 4.75 มม. 2.36 มม. 1.18 มม. 600 ไมโครเมตร 300 ไมโครเมตร 150 ไมโครเมตร และ 75 ไมโครเมตร รอนตัวอยางทดสอบจนกระทั่งไมมีเศษเหลือในแตละตะแกรงผานเกินกวารอยละ 1 ภายใน 1 นาที หลังจากนั้นทําการชั่งน้ําหนักที่คางบนแตละตะแกรง และคํานวณน้ําหนักรอยละที่ผานตะแกรง รอยละที่คางบนตะแกรงของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

การหาความถวงจําเพาะและปริมาณการดดูซึมของมวลรวมหยาบ การทดสอบนี้ทําตามมาตรฐาน ASTM C 127 และ AASHTO T85 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อหาคาความถวงจําเพาะและคาการดูดซึมของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน การเตรียมตัวอยางทําตาม ASTM D 75 และลดขนาดตัวอยางลงตาม ASTM C 702 หลังจากนั้นรอนตัวอยางทดสอบผานตะแกรงเบอร 4 และนําสวนที่คางบนตะแกรงมาลางน้ํา และนําไปอบที่อุณหภูมิ 110±5°C จนกระทั่งมีน้ําหนักคงที่ ขนาดตัวอยางทดสอบมวลรวมหยาบที่ใชประมาณ 8 กิโลกรัมสําหรับขนาดอนุภาคใหญสุด 50 มม. การทดสอบทําโดยแชตัวอยางทดสอบลงในน้ําเปนระยะเวลา 15-19 ช่ัวโมง หลังจากนั้นเทน้ําออก และเช็ดตัวอยางทดสอบดวยผาแหงจนกระทั่งผิวของอนุภาคไมมีน้ําติดอยู ทําการชั่งน้ําหนักสภาพตัวอยางที่อ่ิมตัวผิวแหงนี้ และบันทึกคา (B) หลังจากนั้นนําตัวอยางในสภาพอิ่มตัวผิวแหงไปชั่งในน้ําและบันทึกคา (C) และนําตัวอยางที่ไดไปอบที่อุณหภูมิ 110±5°C จนกระทั่งมีน้ําหนักคงที่ และทําการชั่งน้ําหนัก (A) คาความถวงจําเพาะอบแหง (Oven-dried bulk specific gravity) ความถวงจําเพาะอิ่มตัวผิวแหง (Saturated-surface-dry bulk specific gravity) คาความถวงจําเพาะปรากฎ (Apparent specific gravity) คาการดูดซึม (Water absorption) คํานวณไดดังตอไปนี้

100,%

)(

)(

×−

=

−=

−=

−=

AABAbsorption

CAAspgrApparent

CBBSSDspgrBulk

CBAODspgrBulk

Page 60: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-20

การหาความถวงจําเพาะและคาการดูดซึมของมวลรวมละเอียด การทดสอบนี้ทําตามมาตรฐาน ASTM C 128 และ AASHTO T84 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อหาคาความถวงจําเพาะและคาการดูดซึมของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน การเตรียมตัวอยางทําตาม ASTM D 75 และลดขนาดตัวอยางลงตาม ASTM C 702 หลังจากนั้น รอนวัสดุทดสอบผานตะแกรงเบอร 4 และนําสวนที่ผานตะแกรงไปลางน้ํา และนําไปอบที่อุณหภูมิ 110±5°C จนกระทัง่มีน้ําหนักคงที่ ขนาดตัวอยางทดสอบมวลรวมละเอียดที่ใชประมาณ 1 กิโลกรัม การทดสอบทําโดยจุมตัวอยางทดสอบลงในน้ําเปนระยะเวลา 15-19 ช่ัวโมง หลังจากนั้นเทน้ําออก นําตัวอยางทดสอบไปแผลงบนภาชนะผิวเรียบ ใชลมรอนเปาเบาๆ จนกระทั่งตัวอยางทดสอบอยูในสภาวะเริ่มไหลเองได นําตัวอยางที่ไดใสลงในกรวยพอหลวมๆ และใชเหล็กกระทุง 25 คร้ังตรงๆ แลวคอยๆ ดึงกรวยขึ้นถาผิววัสดุยังคงมีความชื้น มวลรวมละเอียดจะคงรูปกรวยอยู เปาลมตอจนกระทั่งเมื่อดึงกรวยขึ้นตรงๆ วัสดุมวลรวมละเอียดเริ่มทะลาย แสดงถึงสภาพตัวอยางที่อ่ิมตัวผิวแหง ช่ังน้ําหนักตัวอยางที่อ่ิมตัวผิวแหง และบันทึกคา (S) หลังจากนั้นใสตัวอยางในสภาพอ่ิมตัวผิวแหงลงในขวดแกว แลวเติมน้ําถึงขีดที่กําหนด 500 ซีซี กล้ิงขวดบนพื้นราบใหฟองอากาศออกใหหมด ปรับระดับน้ําอีกทีใหถึงขีดที่กําหนด นําไปชั่งในน้ําและบันทึกคา (C) หลังจากนั้นนําตัวอยางที่ไดไปอบที่อุณหภูมิ 110±5°C จนกระทั่งมีน้ําหนักคงที่ (A) เติมน้ําในขวดทดสอบอีกทีจนถึงขีดบอกปริมาตร 500 ซีซี แลวนําไปชั่งน้ําหนัก (B) คาความถวงจําเพาะอบแหง (Oven-dried bulk specific gravity) ความถวงจําเพาะอิ่มตัวผิวแหง (Saturated-surface-dry bulk specific gravity) คาความถวงจําเพาะปรากฏ (Apparent specific gravity) คาการดูดซึม (Water absorption) คํานวณไดดังตอไปนี้

100,%

)(

)(

×−

=

−+=

−+=

−+=

AASAbsorption

CABAspgrApparent

CSBSSSDspgrBulk

CSBAODspgrBulk

การทดสอบหากอนดินเหนยีวและอนุภาคที่แตกหักงายในมวลรวม การทดสอบนี้ทําตามมาตรฐาน ASTM C 142 และ AASHTO T112 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อหาคาปริมาณดินเหนียวและอนุภาคที่แตกหักงายในของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน การเตรียมตัวอยางทําตาม ASTM D 75 และลดขนาดตัวอยางลงตาม ASTM C 702 และนําไปอบที่อุณหภูมิ

Page 61: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-21

10±5°C จนกระทั่งมีน้ําหนักคงที่ มวลรวมละเอียดที่ใชทดสอบตองมีขนาดอนุภาคหยาบกวา 1.18 มม. ประมาณ 25 กรัม ในขณะที่มวลรวมหยาบที่ใชแยกขนาดตามตะแกรงรอน 4.75 มม. 9.5 มม. 19 มม. และ 37.5 มม. ตัวอยางทดสอบตองมีน้ําหนักตามตารางที่ 2.1

ตารางที่ 2.1 น้ําหนกัต่ําสุดสําหรับการใชทดสอบในแตละตัวอยาง

ขนาดชวงตัวอยางที่ทดสอบ น้ําหนักตัวอยาง

(กก.)

4.75 มม. ถึง 9.5 มม. 1 9.5 มม. ถึง 19.0 มม. 2 19.0 มม. ถึง 37.5 มม. 3 เกินกวา 37.5 มม. 5

การทดสอบทําโดยชั่งน้ําหนักตามชวงตัวอยางที่ทดสอบและบันทึก (M) และนําตัวอยางมาแผกระจายในภาชนะใหบาง เทน้ําใหทวมเปนเวลา 24±4 ช่ัวโมง จากนั้นใชหัวแมมือและนิ้วช้ีคอยๆบีบหรือกล้ิงลงบนนิ้วมือ เพื่อทําใหเม็ดตัวอยางหลุดออกจากกัน ขนาดอนุภาคที่แตกโดยใชมือกดเรียกวา อนุภาคกอนดินเหนียวหรือวัสดุที่แตกหักงาย หลังจากนั้นนําตัวอยางไปรอนผานตะแกรง ดังตารางที่ 2.2 โดยวิธีลาง

ตารางที่ 2.2 ตะแกรงทีใ่ชสําหรับการแยกกอนดินเหนยีวและขนาดอนภุาคที่แตกหักงาย

ขนาดของกอนตัวอยางที่นํามาทดสอบ ขนาดตะแกรง สําหรับแยกสวนกอนดินเหนียวและวัสดุท่ีแตกหักงาย

1.18 มม. ถึง 4.75 มม. 850 ไมโครเมตร 4.75 มม. ถึง 9.5 มม. 2.36 มม. 9.5 มม. ถึง 19.0 มม. 4.75 มม. 19.0 มม. ถึง 37.5 มม. 4.75 มม. เกินกวา 37.5 มม. 4.75 มม.

นําตัวอยางที่คางบนตะแกรงไปอบที่อุณหภูมิ 110±5°C จนกระทั่งมีน้ําหนักคงที ่แลวนาํไปช่ังน้ําหนัก (R) ปริมาณรอยละของกอนดินเหนียวและขนาดเม็ดที่แตกหักงาย (P) คํานวณไดดังตอไปนี้

Page 62: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-22

( ) 100×⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ −

=M

RMP

การทดสอบหาความตานทางแรงเสียดทานของมวลรวม การทดสอบนี้ทําตามมาตรฐาน ASTM C535 เพื่อทดสอบความตานทางการเสียดสีของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน การเตรียมตัวอยางทําตาม ASTM D 75 และลดขนาดตัวอยางลงตาม ASTM C 702 หลังจากนั้นนําตัวอยางที่ไดไปลางน้ํา และนําไปอบที่อุณหภูมิ 110±5°C จนกระทั่งมีน้ําหนักคงที่ รอนตัวอยางผานตะแกรงขนาด 50 มม. 37.5 มม. และ 25 มม. เพื่อใหไดตัวอยางทดสอบที่ผานตะแกรง 50 มม. และคางบนตะแกรง 37.5 มม. จํานวน 5 กิโลกรัม และตัวอยางที่ผานตะแกรง 37.5 มม. และคางบนตะแกรง 25 มม. จํานวน 5 กิโลกรัม และนําตัวอยางที่ผานการคัดแยกไปชั่งน้ําหนัก (A) นําตัวอยางที่ไดใสลงในเครื่องทดสอบลอสแองเจลลิส เปดเครื่องใหหมุนดวยความเร็ว 30-33 รอบตอนาที จํานวน 1,000 รอบ หลังจากนั้นนําตัวอยางที่ผานการทดสอบลอสแองเจลลิสไปรอนผานตะแกรง 1.70 มม. ตัวอยางที่คางบนตะแกรงจะถูกนําไปลาง และนําไปอบที่อุณหภูมิ 110±5°C จนกระทั่งมีน้ําหนักคงที่ และนําไปชั่งน้ําหนัก (B) คาความตานทางแรงเสียดทานคํานวณไดจากรอยละการสูญเสียดังสมการตอไปนี้

100)(,% ×−

=A

BAlossAbrasion

2.3.2 ผลจากการทดสอบ ผลจากการทดสอบลักษณะสมบัติของของเสียจากสถานที่กองเก็บและซื้อขายวัสดุของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจํานวน 6 แหง ที่ไดอางมาแลวขางตน และสุมเก็บตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนตามขางถนน มีดังตอไปนี้

องคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน จากการศึกษาองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ขนาดอนุภาคที่อยูระหวาง 9.5 มม.ถึง 63 มม. พบวาแตละแหงมีองคประกอบโดยเฉลี่ยที่แตกตางกัน สถานที่กองเก็บที่ 1 ซ่ึงมีการจัดการแยกประเภทของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนออกจากกันอยางชัดเจนพบวาองคประกอบหลักคือ คอนกรีตมีถึงรอยละ 92.7 ในขณะที่องคประกอบรองคือ เศษไมมีประมาณรอยละ 7.1 สวนองคประกอบอื่นๆ พบวามีปริมาณนอยมาก ดังแสดงในรูปที่ 2.21

Page 63: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-23

รูปท่ี 2.21 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 1

สถานที่กองเก็บที่ 2 จากการจําแนกดวยสายตาเบื้องตนที่พบวามีองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนแตกตางกันอยางเห็นไดชัด และมีความแปรปรวนคอนขางสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งมีการนําเอาขยะจากการกอสรางมากองรวมกับเศษคอนกรีต เมื่อนํามาศึกษาองคประกอบตามมาตรฐานพบวามีความแปรปรวนระหวางตําแหนงที่เก็บสูง องคประกอบหลักโดยเฉลี่ยพบวาคือ คอนกรีตมีถึงรอยละ 81.5 ในขณะที่องคประกอบรองพบวาคือ อิฐมอญมีประมาณรอยละ 7.6 นอกจากนี้ยังพบวามีการปนเปอนจากองคประกอบอื่นๆ จํานวนมาก อาทิเชน เศษกระเบือ้ง กอนดนิ พลาสติก เศษแกว เศษเหล็ก บล็อกมวลเบา และอื่นๆ เปนตน ดังแสดงในรูปที่ 2.22

รูปท่ี 2.22 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 2

สถานที่กองเก็บที่ 3 จากการจําแนกดวยสายตาเบื้องตนที่พบวาสวนใหญมีดินเปนองคประกอบรวมกับคอนกรีต และมีการปนเปอนจากเศษพลาสติกและขยะในกองดวย เมื่อนํามา

Page 64: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-24

ศึกษาองคประกอบตามมาตรฐานพบวามีองคประกอบหลักคือ คอนกรีตโดยเฉลี่ยรอยละ 67.5ในขณะที่องคประกอบรองคือ กอนดินโดยเฉลี่ยรอยละ 25.0 สวนอิฐมอญพบวามีปริมาณเพียงรอยละ 2.5 และพบวามีปริมาณเศษกระบื้อง ไม พลาสติกและแกว จํานวนมาก ดังแสดงในรูปที่ 2.23 สถานที่กองเก็บที่ 4 ซ่ึงพบวาเปนของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีปริมาณการปนเปอนสูงมาก มีการนําเอาเศษขยะจากการกอสรางทั้งที่เปนวัสดุเฉื่อยและวัสดุอันตรายกองรวมกัน ผลจากการศึกษาองคประกอบตามมาตรฐานดังแสดงในรูปที่ 2.24 พบวาองคประกอบหลักคือ คอนกรีตมีประมาณรอยละ 69.0 สวนองคประกอบรองคือ อิฐมอญมีรอยละ 14.6 นอกจากนี้พบวามีปริมาณการปนเปอนจากขยะสูงมากที่สุดจากสถานที่กองเก็บที่ทําการศึกษาทั้งหมด อาทิเชน เศษกระดาษ สายไฟ พลาสติก แกว เศษกระเบื้องหลังคา วัสดุฉนวน หญา และอื่นๆ เปนตน

รูปท่ี 2.23 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 3

รูปท่ี 2.24 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 4

Page 65: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-25

สถานที่กองเก็บที่ 5 เปนสถานที่กองเก็บชั่วคราวสําหรับงานปรับปรุงสภาพถนนเดิม มีการจําแนกประเภทของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนอยางชัดเจน โดยแบงเปนกองแอสฟลต และกองคอนกรีต ผลจากการศึกษาองคประกอบโดยแยกเปนกองแอสฟลตและกองคอนกรีตแสดงในรูปที่ 2.25 และ 2.26 ตามลําดับ จากการศึกษาพบวาแตละกองที่แยกมีปริมาณการปนเปอนนอยมาก สําหรับกองแอสฟลต (รูปที่ 2.25) พบวามีองคประกอบหลักคือแอสฟลตโดยเฉลี่ยถึงรอยละ 75.9 ในขณะที่องคประกอบรองคือ หินที่ไมโดนเคลือบดวยแอสฟลตมีถึงรอยละ 21.1 นอกจากนั้นพบวามีปริมาณกอนดินและเศษคอนกรีตคอนขางนอยรอยละ 1.8 และ 1.3 ตามลําดับ และไมพบปริมาณการปนเปอนจากองคประกอบอื่นๆ สวนผลการศึกษาองคประกอบจากกองคอนกรีตพบวาองคประกอบหลักคือคอนกรีตโดยเฉลี่ยมีปริมาณรอยละ 69.6 ในขณะที่องคประกอบรองคือแอสฟลตและกอนดิน มีปริมาณรอยละ 17.4 และ 12.6 ตามลําดับ และพบเศษหญาและเศษไมปริมาณนอยมาก

รูปท่ี 2.25 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากกองแอสฟลต ณ สถานที่กองเก็บที่ 5

Page 66: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-26

รูปท่ี 2.26 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากกองคอนกรตี

ณ สถานที่กองเก็บที่ 5 สถานที่กองเก็บที่ 6 เปนสถานที่กองเก็บของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนสวนใหญไดมาจากงานซอมถนน ทางเทา และระบบสาธารณูปโภค จากการศึกษาองคประกอบดังแสดงในรูปที่ 2.27 พบวามีปริมาณการปนเปอนปานกลาง องคประกอบหลักคือคอนกรีตโดยเฉลี่ยรอยละ 71.6 สวนองคประกอบรองคือกอนดินมีปริมาณรอยละ 19.2 สวนอิฐมอญพบวามีปริมาณคอนขางนอย และพบวามีเศษกระเบื้อง ไม และพลาสติกในปริมาณพอสมควร

รูปท่ี 2.27 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บที่ 6

นอกจากนี้ไดมีการสุมเก็บตัวอยางของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีการลักลอบทิ้งตามขางถนน จากการตรวจสอบดวยสายตาเบื้องตนพบวาสวนใหญเปนคอนกรีต และมีขยะจากการ

Page 67: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-27

กอสรางและรื้อถอนปนอยูในกองพอสมควร เมื่อทําการตรวจสอบองคประกอบตามมาตรฐานแสดงในรูปที่ 2.28 พบวาองคประกอบหลักโดยรวมคือ คอนกรีตถึงรอยละ 88.0 ในขณะที่องคประกอบรองคือ กอนดินรอยละ 8.6 นอกจากนี้ยังพบวามีเศษบล็อกมวลเบา เศษกระเบื้อง พลาสติก กระดาษ แกว หญาแหง และอื่นๆ ในปริมาณพอสมควร

รูปท่ี 2.28 ปริมาณองคประกอบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากตัวอยางบริเวณที่มกีาร

ลักลอบทิ้งตามขางถนน

ขนาดคละของมวลรวมหยาบและมวลรวมละเอียด ชวงของขนาดคละของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหงและตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนตามขางถนน สําหรับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีขนาดต่ํากวา 80 เซนติเมตร มีดังรูปที่ 2.29 สําหรับมวลรวมหยาบ และรูปที่ 2.30 สําหรับมวลรวมละเอียด

พลาสติก แกว

Page 68: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-28

0

20

40

60

80

100

0 20 40 60 80

ขนาดตะแกรง มิลลิเมตร

รอยล

ะที่ผา

นตะแ

กรง

ชวงขนาดคละของมวลรวมหยาบจากตัวอยางที่ทําการทดสอบทั้งหมด

รูปท่ี 2.29 ชวงของขนาดคละของมวลรวมหยาบที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจาก สถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน

0

20

40

60

80

100

0 1 2 3 4 5ขนาดตะแกรง มลิลิเมตร

รอยล

ะที่ผาน

ตะแกรง

ชวงขนาดคละของมวลรวมละเอียดจากตวัอยางที่ทําการทดสอบทั้งหมด

รูปท่ี 2.30 ชวงของขนาดคละของมวลรวมละเอียดทีไ่ดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

สถานที่กองเกบ็ทั้ง 6 แหงและตัวอยางจากบริเวณที่มกีารทิ้งตามขางถนน ผลจากการศึกษาพบวาขนาดคละของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนโดยรวมมีความแปรปรวนคอนขางมากทั้งจากแหลงสถานที่กองเก็บเดียวกัน และจากสถานที่กองเก็บที่แตกตางกัน

ชวงขนาดคละของมวลรวมหยาบจากตัวอยางที่ทําการทดสอบทั้งหมด

ชวงขนาดคละของมวลรวมละเอียดจากตัวอยางที่ทําการทดสอบทั้งหมด

Page 69: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-29

โดยเฉพาะอยางยิ่งมวลรวมหยาบจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนพบวามีชวงขนาดคละคอนขางกวางมาก และสวนใหญจะพบขนาดของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่ใหญเกินกวา 80 เซนติเมตร เนื่องจากสวนใหญไมไดผานกระบวนการบดยอยใดๆ

ความถวงจําเพาะและปริมาณการดูดซึม คาความถวงจําเพาะอิ่มตัวผิวแหงของมวลรวมหยาบที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนนแสดงในรูปที่ 2.31 ผลจากการศึกษาพบวาคาความถวงจําเพาะของมวลรวมหยาบที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนแตละแหลงจะพบวามีคาความถวงจําเพาะโดยเฉลี่ยใกลเคียงกันและมีคาโดยเฉลี่ยประมาณ 2.43 ซ่ึงมีคาต่ํากวาคาความถวงจําเพาะของมวลรวมจากธรรมชาติประมาณรอยละ 9 ถึง 13

1.01.52.02.53.03.54.0

1 2 3 4 5 6 ลักลอบทิ้ง

สถานที่กองเก็บ

ความถว

งจําเพา

ะอิ่มตั

วผิวแหง

รูปท่ี 2.31 คาความถวงจําเพาะของมวลรวมหยาบที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจาก

สถานที่กองเกบ็ทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน คาการดูดซึมของมวลรวมหยาบที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน แสดงในรูปที่ 2.32 ผลจากการศึกษาพบวาคาการดูดซึมมีความแปรปรวนจากแหลงเดียวกัน (จากตําแหนงที่ทําการเก็บตัวอยางแตกตางกัน) และจากแหลงที่แตกตางกันคอนขางมากโดยเฉพาะอยางยิ่งจากสถานที่กองเก็บที่ 2 ที่ซ่ึงแตละตําแหนงที่ทําการเก็บตัวอยางมีองคประกอบที่แตกตางกันอยางชัดเจนพบวามีความ

Page 70: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-30

แปรปรวนสูงมาก สําหรับสถานที่กองเก็บที่ 5 เนื่องจากตําแหนงที่ทําการเก็บตัวอยางมีองคประกอบที่แตกตางกันคือ คอนกรีตและแอสฟลต ซ่ึงพบวาบริเวณตําแหนงที่ทําการเก็บซึ่งมีแอสฟลตเปนองคประกอบหลักจะมีคาการดูดซึมคอนขางต่ํา ในขณะที่บริเวณตําแหนงที่ทําการเก็บซึ่งมีคอนกรีตเปนองคประกอบหลักจะมีคาการดูดซึมคอนขางสูงปานกลาง ทําใหความแปรปรวนจากสถานที่กองเก็บนี้มีคามากผิดปกติ

0

3

6

9

12

15

1 2 3 4 5 6 ลักลอบทิ้ง

สถานที่กองเก็บ

คาการดู

ดซึม %

รูปท่ี 2.32 คาการดูดซึมของมวลรวมหยาบที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่

กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน คาความถวงจําเพาะอิ่มตัวผิวแหงของมวลรวมละเอียดที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนนแสดงในรูปที่ 2.33 ผลจากการศึกษาพบวา คาความถวงจําเพาะของมวลรวมละเอียดที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีคาใกลเคียงกัน และมีคาต่ํากวาคาความถวงจําเพาะของมวลรวมจากธรรมชาติประมาณรอยละ 10 สวนคาการดูดซึมของมวลรวมละเอียดที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน แสดงในรูปที่ 2.34 ผลจากการศึกษาพบวาคาการดูดซึมของมวลรวมละเอียดที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีคาสูงกวาคาการดูดซึมของมวลรวมหยาบที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน นอกจากนี้ยังพบวาความแปรปรวนของคาการดูดซึมทั้งจากแหลงสถานที่กองเก็บเดียวกับแตตําแหนงที่ทําการ

Page 71: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-31

เก็บตัวอยางแตกตางกัน และจากสถานที่กองเก็บที่แตกตางกันสะทอนถึงตําแหนงที่ทําการเก็บมีองคประกอบที่แตกตางกันอยางเห็นไดชัด

1.01.52.02.53.03.54.0

1 2 3 4 5 6 ลักลอบทิ้ง

สถานที่กองเก็บ

ความถว

งจําเพา

ะอิ่มตั

วผิวแหง

รูปท่ี 2.33 คาความถวงจําเพาะของมวลรวมละเอียดทีไ่ดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอสถานที่กองเกบ็ทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน

0

3

6

9

12

15

1 2 3 4 5 6 ลักลอบทิ้ง

สถานที่กองเก็บ

คาการดู

ดซึม %

รูปท่ี 2.34 คาการดูดซึมของมวลรวมละเอยีดที่ไดจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจาก

สถานที่กองเกบ็ทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนน

Page 72: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-32

กอนดินเหนียวและอนุภาคที่แตกหักงายในมวลรวม สําหรับปริมาณรอยละของดินเหนียวและอนุภาคที่แตกหักงายของของเสียจากการกอสรางและร้ือถอน จากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนนแสดงในรูปที่ 2.35 ผลจากการศึกษาพบวา ปริมาณดินเหนียวและอนุภาคที่แตกหักงายของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีคาคอนขางสูง นอกจากนี้ยังพบวาความแปรปรวนของปริมาณดินเหนียวและอนุภาคที่แตกหักงายทั้งจากแหลงสถานที่กองเก็บเดียวกับแตตําแหนงที่ทําการเก็บตัวอยางแตกตางกัน และจากสถานที่กองเก็บที่แตกตางกันแตกตางกันอยางเห็นไดชัด

0

1

2

3

4

5

1 2 3 4 5 6 ลักลอบทิ้ง

สถานที่กองเก็บ

กอนดิ

นเหนีย

ว, %

รูปท่ี 2.35 รอยละของกอนดินเหนียวและอนุภาคที่แตกหักงายทีไ่ดจากของเสียจากการกอสรางและ ร้ือถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มกีารทิ้งตามขางถนน

ความตานทางแรงเสียดทานของมวลรวม ความตานทางการเสียดทานของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน จากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มีการทิ้งตามขางถนนแสดงในรูปที่ 2.36 ผลจากการศึกษาพบวาน้ําหนักที่หายไปเนื่องจากการเสียดสีของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีคาคอนขางสูงกวาน้ํ าหนักที่หายไปเนื่องจากการเสียดสีของมวลรวมจากธรรมชาติคอนขางมาก เนื่องจากองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีความแปรปรวนทางองคประกอบคอนขางมาก และสวนใหญทนการตานทางแรงเสียดสีไดนอยอาทิเชน มอรตารจากปูนกอ

Page 73: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 2 แหลงกําเนิดและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2-33

0

20

40

60

80

100

1 2 3 4 5 6 ลักลอบทิ้ง

สถานที่กองเก็บ

น้ําหน

ักที่หายไป

%

มวลรวมจากธรรมชาติ

มวลรวมที่นํากลบัมาใชใหม เฉพาะคอนกรตี

รูปท่ี 2.36 ความตานทานการเสียดทานของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บทั้ง 6 แหง และตัวอยางจากบริเวณที่มกีารทิ้งตามขางถนน

2.4 แนวทางการนาํไปใช

สวนใหญของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนในปจจุบันจะถูกนําไปใชในการถมที่ และปรับสภาพที่ดิน (ดังรูปที่ 2.37) เนื่องจากงานสวนใหญไมมีขอกําหนดหรือมาตรฐานรองรับวัสดุสําหรับใชในการถมที่ ดังนั้นของเสียสวนใหญจึงถูกยอยขนาดเพียงพอสําหรับการขนสง ในขณะที่ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนอีกจํานวนมากจะถูกนําไปทิ้งอยางผิดกฏหมายตามขางถนนและพื้นที่วางเปลา

รูปท่ี 2.37 การนําเอาของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไปใชในงานถมที่

Page 74: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

2-34

เมื่อเปรียบเทียบผลจากการทดสอบที่ไดกับมาตรฐานและขอกําหนดสําหรับการนําไปใชงานประเภทตางๆ (อางอิงในบทที่ 10) พบวาถึงแมวาปจจุบันจะมีการนําเอาของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไปใชในงานถม เนื่องจากสวนใหญไมมีมาตรฐานกําหนด แตปริมาณและชนิดขององคประกอบในของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนบางสวนมีโอกาสทําใหเกิดการทรุดตัวไดในอนาคตโดยเฉพาะอยางยิ่งถาตองนําไปใชในงานถมทางวิศวกรรม นอกจากนี้ยังพบวามีการปนเปอนจากสารที่เปนอันตรายและมีแนวโนมวาจะเกิดอันตรายอาจทําใหเกิดการชะลางลงสูน้ําใตดิน หรือสงผลตอผูปฏิบัติงานหรือผูอยูอาศัยไดถามีปริมาณการปนเปอนมากเพียงพอ นอกจากนี้เนื่องจากขนาดอนุภาคสวนใหญของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไมไดผานการบดยอยขนาด ทําใหการอัดแนนเปนไปไดยาก และเกิดโพรงบริเวณที่มีการถมขึ้น ซ่ึงเปนอีกปจจัยที่ทําใหเกิดการทรุดตัวในภายหลังได ในขณะที่ถาตองนําไปใชในงานถนนสําหรับทําวัสดุรองพื้นทางจะพบวาลักษณะสมบัติของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ไมสามารถผานตามเกณฑมาตรฐานได โดยหลักสวนใหญพบวาของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีขนาดอนุภาคของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีขนาดใหญกวาเกณฑที่กําหนด มีองคประกอบของดินเหนียวและมีวัสดุไมพึงประสงคคอนขางมากซ่ึงไมไดตามเกณฑที่มาตรฐานกําหนด นอกจากนี้ยังพบวาคาความตานทานแรงเสียดทานมีคาใกลเคียงกับเกณฑตามที่มาตรฐานกําหนด นอกจากนี้คุณลักษณะของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนและความแปรปรวนจากแหลงกําเนิด ทําใหการนําไปใชในงานคอนกรีตเปนไปไดยาก และของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีองคประกอบที่ไมพึงประสงค เชน สารอินทรียสาร เปนตน ทําใหคอนกรีตสามารถเสื่อมสภาพได ดังนั้นถาตองการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในงานถมทางวิศวกรรมหรือวัสดุรองพื้นทางสําหรับถนนสายรองโดยไมสงผลกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑหรือส่ิงแวดลอม อาจจําเปนตองมีกระบวนการคัดแยก และบดยอย เพื่อใหไดขนาดคละที่เหมาะสม และจําเปนตองกําจัดวัสดุที่ไมพึงประสงคออก ในขณะที่ถาตองการนําของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนมาใชในงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเชน วัสดุรองพื้นทางของถนนสายหลัก หรือวัสดุพื้นทางหรืองานคอนกรีต อาจจําเปนตองมีการคัดแยกองคประกอบตั้งแตแหลงกําเนิดอาทิเชน แยกโครงสรางคอนกรีตออกจากวัสดุกอและวัสดุปนเปอนอื่นๆ เพื่อใหไดคุณภาพตามเกณฑที่กําหนด

Page 75: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 3

การประเมินปริมาณของเสียจากการกอสรางและรือ้ถอน

การประเมินปริมาณและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่ผลิตออกมาในพื้นที่หนึ่งๆ เปนสิ่งที่สําคัญเพื่อใชในการวางแผนการนําวัสดุจากของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนกลับมาใชใหม โดยใหความสําคัญกับองคประกอบของวัสดุหลักๆ จากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ในอดีตที่ผานมามีการศึกษาปริมาณและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไมมากนัก เนื่องจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากแตละแหลงกําเนิดมีขนาดใหญและมีปริมาณมาก จึงทําใหการตรวจวัดปริมาณและองคประกอบจากแหลงกําเนิดโดยตรงเชนเดียวกับการตรวจวัดปริมาณและองคประกอบของขยะจากชุมชนเปนไปไดยาก และผลที่ไดจากการศึกษาพบวา องคประกอบของวัสดุจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดจากอาคารแตกตางกันมาก ซ่ึงขึ้นกับแหลงกําเนิดวาเปนการรื้อถอนหรือการกอสรางและเปนอาคารที่อยูอาศัยหรืออาคารพาณิชย นอกจากนั้นยังขึ้นอยูกับรูปแบบของอาคารในแตละภูมิภาคและเทคนิคในการกอสราง ดังนั้นจึงตองทําการประเมินปริมาณและองคประกอบของวัสดุจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของแตละพื้นที่หรือภูมิภาค

3.1 วิธีการตางๆ ท่ีใชในการประเมินปริมาณและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนของตางประเทศ

Franklin Associates (1998) ไดประเมินของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดขึ้นจากอาคารใหกับ US EPA และ Cochran et al. (2007) ไดประเมินของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดจากอาคารใหกับรัฐฟลอริดาโดยคํานวณจากสมการ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดขึ้นในภูมิภาคหนึ่ง = กิจกรรมการกอสราง ร้ือถอน หรือดัดแปลงในภูมิภาค × ของเสียที่เกิดขึ้นจากแตละกิจกรรม Franklin Associates (1998) ไดประเมินของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน จากการกอสรางอาคารที่อยูอาศัย การกอสรางอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย การรื้อถอนอาคารที่อยูอาศัย การรื้อถอนอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย การดัดแปลงอาคารที่อยูอาศัย และการดัดแปลงอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย โดยไมรวมของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนสิ่งกอสรางที่ไมใชอาคารเชน ถนน สะพาน

Page 76: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

3-2

และทาเรือ เปนตน โดยใชขอมูลของเสียที่เกิดขึ้นตอหนวยพื้นที่อาคารจากขอมูลที่ไดมีการศึกษามาแลว จากหลายๆ หนวยงานในสหรัฐอเมริกา และไดประเมินพื้นที่อาคารที่กอสรางใหมจาก ขอมูลคาใชจายทั้งหมดในการกอสรางใหมและคาใชจายในการกอสรางตอหนวยพื้นที่อาคาร โดยใชขอมูลจาก US. Census Bureau และ Department of Commerce Current Construction Reports Cochran et al. (2007) ไดประเมินปริมาณ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน จากอาคารของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา โดยแยกออกเปน 6 สวนเชนเดียวกับ Franklin Associates (1998) และใชขอมูลจากผูอ่ืนที่ไดทําการศึกษามาแลว โดยไดทําการประเมิน ของเสียจากการกอสรางและร้ือถอน จากแตละกิจกรรมดังนี้ จากการกอสราง

∑ ×==

ιβ

1)(

nnn

cC

b

aC

C = ปริมาณ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน จากการกอสราง, ตันตอป ca = คาใชจายในการกอสรางทั้งหมด, เหรียญสหรัฐตอป

b = คาใชจายเฉลีย่ตอพื้นที่กอสราง, เหรียญสหรัฐตอตร.ม. nC = น้ําหนกั ของของเสียตอพื้นทีก่ารกอสรางอาคารตามประเภทโครงของ

อาคาร (เชน โครงที่เปนคอนกรีต โครงไม เปนตน) nβ = เปอรเซ็นตของการกอสรางทั้งหมดที่ใชประเภทโครงอาคาร n

โดยมี ประเภทโครงของอาคาร, n ตั้งแต 1 ถึง i จากการรื้อถอน

∑ ××==

i

nnn

df

g

aD1

)()(φ

α

D = ปริมาณ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน จากการรื้อถอน, ตันตอป da = คาใชจายในการรื้อถอนทั้งหมด, เหรียญสหรัฐตอป

g = คาใชจายเฉลี่ยตอพื้นที่ร้ือถอน, เหรียญสหรัฐตอตร.ม. α = เปอรเซ็นตของอาคารที่ร้ือถอนที่เปนที่อยูอาศัยหรือที่ไมใชที่อยูอาศัย nf = น้ําหนักของของเสียตอพื้นที่ร้ือถอนตามรูปแบบของอาคาร (เชน บาน

เดี่ยวที่มีช้ันใตดิน บานเดี่ยวที่ใชคอนกรีตและโครงไม บานเดี่ยวที่ใชแผนคอนกรีตและ โครงบล็อกคอนกรีต เปนตน

Page 77: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 3 การประเมินปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

3-3

nφ = เปอรเซ็นตของอาคารในแตละรูปแบบ โดยมีประเภทโครงของอาคาร, n ตั้งแต 1 ถึง i

จากการดัดแปลง (Renovation) เนื่องจากการดัดแปลงมีหลายประเภทจึงยากที่จะพัฒนาวิธีการประเมินปริมาณและองคประกอบออกมาเปนสมการเดียวได จะตองแยกคํานวณทีละประเภทแบงออกเปนการตอเติม การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนหลังคา การเปลี่ยนทางในบริเวณบาน ซ่ึงการแบงนี้แตกตางจากการศึกษาของ Franklin Associates (1998) และมีสมการที่ใชในการคํานวณปริมาณ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนจากการดัดแปลงแตละประเภทดังนี้

การตอเติม

∑ ××==

i

nnnCqM

1)( β

M = ปริมาณของเสียจากการตอเติม q = พื้นที่ของการตอเติม, ตร.ม. nC = ของเสียที่เกิดขึ้นตอหนวยพื้นที่ตามประเภทโครงของอาคาร, กก. /ตร.ม. nβ = เปอรเซ็นตการตอเติมที่ใชในโครงอาคาร n

โดยมีประเภทของโครงอาคาร, n ตั้งแต 1 ถึง i การเปล่ียนแปลง

N = s× t

N = ปริมาณของเสียจากการเปลี่ยนแปลง s = คาเฉลี่ยของพื้นที่ของการเปลี่ยนแปลง, ตร. ม. t = คาเฉลี่ยของเสียที่เกิดขึ้นตอหนวยพื้นที่, กก. ตร. ม.

การเปล่ียนหลังคา

∑×==

×i

nnnwvO

1)( ω

O = ปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนหลังคา v = พื้นที่หลังคาที่เปลี่ยนตอป, ตร.ม. /ป nw = น้ําหนักของของเสียตอพื้นที่หลังคา ตามประเภทของหลังคา, กก./ตร.ม. nω = เปอรเซ็นตของประเภทหลังคา

Page 78: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

3-4

โดยมีประเภทของหลังคา, n ตั้งแต 1 ถึง i

การเปล่ียนทางในบริเวณบาน

P = y × z

P = ปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนทางในบริเวณบาน, ตัน y = จํานวนของการเปลี่ยนทางในรอบป, คร้ัง/ป z = ปริมาณของเสียประเภทคอนกรีตที่เกิดขึ้นเฉลี่ยตอการเปลี่ยนทาง 1 คร้ัง,

ตัน/ คร้ัง Wang et al. (2004) ไดประเมินปริมาณและองคประกอบของ ของเสียจากการกอสรางและร้ือถอน ที่เกิดขึ้นในรัฐแมสซาชูเซตส โดยประเมินเฉพาะวัสดุ 4 ประเภทคือ dry wall, asphalt shinglesไมและพรม จากการกอสรางอาคารที่อยูอาศัย การกอสรางอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย การรื้อถอนอาคารที่อยูอาศัย และการรื้อถอนอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย โดยคํานวณปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน จากจํานวนอาคารที่ไดรับอนุญาตสําหรับแตละประเภท×พื้นที่เฉลี่ยของอาคารแตละประเภท × น้ําหนักของวัสดุตอพื้นที่ในตัวแทนของอาคารแตละประเภท (ซ่ึงไดขอมูลมาจากบริษัทที่เชี่ยวชาญในการคิดราคาคากอสราง) สําหรับกิจกรรมการรื้อถอนคิดวา 100 % ของวัสดุทุกชนิดที่ใชกอสรางอาคารเปนของเสีย สําหรับกิจกรรมการกอสรางคิดวา 10% ของวัสดุทุกชนิดที่ใชกอสรางอาคารเปนของเสีย

3.2 วิธีการประเมินปริมาณและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและการรื้อถอนในการศึกษานี ้

ในการศึกษานี้ไดประเมินปริมาณและองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนเฉพาะจากพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยประเมินจากการกอสรางและการรื้อถอนอาคารเทานั้น พื้นที่อาคารที่ใชในการคํานวณปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ไดจากพื้นที่อาคารที่ไดรับอนุญาตใหกอสรางจากเวบไซตของกรุงเทพมหานคร (www.bma.go.th) สําหรับพื้นที่อาคารที่ร้ือถอนในกรุงเทพมหานครไมสามารถหาขอมูลได เนื่องจากอาคารที่ตองขออนุญาตรื้อถอนบังคับใชเฉพาะกับอาคารที่มีสวนสูงเกินกวา 15 เมตร ซ่ึงอยูหางจากอาคารอื่นหรือที่สาธารณะนอยกวาความสูงของอาคาร และอาคารที่อยูหางจากอาคารอื่นหรือที่สาธารณะนอยกวา 2 เมตรเทานั้น และจากสถิติการรื้อถอนอาคารที่อยูอาศัยของรัฐคอนเนตทิคัตในป 1997, 1998, 1999 และ 2000 มีคา 12.8%, 20.5%, 18.8% และ 19.1% ของการกอสรางอาคารที่อยูอาศัยใหมตามลําดับ (Wang et al.,

Page 79: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 3 การประเมินปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

3-5

2004) จากขอมูลพื้นที่อาคารที่อยูอาศัยที่ร้ือถอน ของสหรัฐอเมริกาในป 1996 (342 ลานตารางฟุต) มีคา 11.4% ของพื้นที่อาคารที่อยูอาศัยที่กอสรางใหม (2,997 ลานตารางฟุต) และขอมูลพื้นที่อาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยที่ร้ือถอนของสหรัฐอเมริกาในป 1996 (582 ลานตารางฟุต) มีคา 26.5% ของพื้นที่อาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยที่กอสรางใหม (2,198 ลานตารางฟุต) (Franklin Associates, 1998) ประกอบกับขอมูลพื้นที่อาคารที่อยูอาศัยที่ดัดแปลงของกรุงเทพมหานครป 2548 มีคา 16.7 % ของพื้นที่อาคารที่อยูอาศัยที่ขออนุญาตกอสราง และพ้ืนที่อาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยที่ดัดแปลงของกรุงเทพมหานครป 2548 มีคา 15.2% ของพื้นที่อาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยที่ขออนุญาตกอสราง จึงกําหนดใหพื้นที่ของอาคารที่อยูอาศัยในกรุงเทพมหานครที่ร้ือถอนมีคา 10% ของพื้นที่อาคารที่อยูอาศัยที่ของอนุญาตกอสราง และพื้นที่ของอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยในกรุงเทพมหานครที่ร้ือถอนมีคา 10% ของพื้นที่อาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยที่ขออนุญาตกอสราง เปนคาที่ใชในการประเมินในการศึกษานี้ สวนอัตราการผลิตของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนตอหนวยพื้นที่อาคารไดจากการคํานวณจากแบบรายละเอียดกอสราง โดยแบงอาคารออกเปน 2 ประเภท คือ อาคารที่อยูอาศัยและอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย อาคารที่อยูอาศัย ไดเลือกบานเดี่ยว 2 ช้ัน พื้นที่ 332 ตารางเมตร เปนตวัแทนของอาคารที่อยูอาศัย โดยคํานวณวัสดหุลักที่ใชในการกอสรางเฉพาะจากงานโครงสรางและงานสถาปตยกรรมเทานั้น ของเสียจากการกอสรางคิดจากเปอรเซ็นตของวัสดุหลักที่ใชในแตละรายการ ซ่ึงไดจากการสอบถามวิศวกรบริษัทรับเหมากอสราง (เชน 5-7% ของคอนกรีต 7-20% ของเหล็กเสน 3-5% ของเหล็กรูปพรรณ 3-5% ของผนังอฐิ 1.5-3% ของฝายิบซั่มบอรด 1.5-3% ของไม 5-10% ของพื้นกระเบื้องเซรามิก และ 5-10% ของกระเบือ้งหลังคา เปนตน) สวนของเสียจากการรื้อถอนคํานวณจาก 100% ของวัสดุหลักที่ใช แตไมรวมชิ้นสวนของอาคารที่สามารถถอดไปใชซํ้า เชน ประต ูหนาตาง และชองแสง เปนตน อาคารท่ีไมใชท่ีอยูอาศัย ไดเลือกอาคารสถาบันการศึกษา 5 ช้ัน พื้นที่ 20,050 ตารางเมตร เปนตัวแทนของอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย โดยคํานวณวัสดุหลักที่ใชในการกอสรางเฉพาะจากงานโครงสรางและงานสถาปตยกรรมเทานั้น ของเสียจากการกอสรางคิดจากเปอรเซ็นตของวัสดุหลักที่ใชในแตละรายการ ซ่ึงไดจากการสอบถามวิศวกรผูควบคุมงานกอสรางอาคารดังกลาว (เชน 5-10%ของเหล็กเสน 2-3% ของเหล็กรูปพรรณ 3-5% ของผนังอิฐมวลเบา 1.5-3% ของฝาและผนังยิบซั่มบอรด 1.5-3% ของผนังกระเบื้องเซรามิก และ 3-5% ของพื้นกระเบื้องเซรามิก เปนตน) สวนของเสียจากการรื้อถอนคํานวณจาก 100% ของวัสดุหลักที่ใช แตไมรวมช้ินสวนของอาคารที่สามารถถอดไปใชซํ้า เชน ประตู หนาตาง และชองแสง เปนตน

Page 80: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

3-6

3.3 ผลการประเมินปริมาณและองคประกอบ

3.3.1 อาคารที่อยูอาศัย ของเสียจากการกอสราง จากการคํานวณวัสดุที่ใชในการกอสรางอาคาร ไดอัตราการผลิตของเสียจากการกอสรางมีคาอยูในชวง 45.28-67.18 กก./ตร.ม. มีคาเฉลี่ย 56.23 กก./ตร.ม. และมีองคประกอบหลักคือ คอนกรีต 74.9-79.4 % อิฐ12.8-14.4% เหล็ก 4.0-5.6 % กระเบื้องเซรามิก 2.2-3.0% และกระเบื้องหลังคา 1.3-1.7% รายละเอียดแสดงในตารางที่ 3.1 และอาคารที่อยูอาศัยที่ไดรับอนุญาตใหกอสรางในกรุงเทพมหานครป 2548 มีพื้นที่ 1,675,675 ตร.ม. ดังแสดงในตารางที่ 3.2 ดังนั้นของเสียจากการกอสรางอาคารที่อยูอาศัยในกรุงเทพมหานครป 2548 มีปริมาณประมาณ 94,223.20 ตัน ของเสียจากการรื้อถอน จากการคํานวณวัสดุหลักที่ใชในการกอสรางอาคาร ไดอัตราการผลิตของเสียจากการรื้อถอน 984.66 กก./ตร.ม. มีองคประกอบหลักคือ คอนกรีต 73.0% อิฐ19.6 % เหล็ก 3.2 % กระเบื้องเซรามิก 2.1% และกระเบื้องหลังคา 1.2 % รายละเอียดแสดงในตารางที่ 3.3 สําหรับพื้นที่อาคารที่ร้ือถอนในกรุงเทพมหานครไมสามารถหาขอมูลได จึงกําหนดใหพื้นที่ของอาคารที่อยูอาศัยในกรุงเทพมหานครที่ร้ือถอนมีคา 10% ของพื้นที่อาคารที่อยูอาศัยที่ขออนุญาตกอสราง เปนคาที่ใชในการประเมินในการศึกษานี้ ดังนั้นในป 2548 จึงมีพื้นที่อาคารที่อยูอาศัยที่ทําการรื้อถอน 167,567 ตรม. ซ่ึงคํานวนของเสียจากการรื้อถอนไดประมาณ 164,996.52 ตัน

3.3.2 อาคารที่ไมใชท่ีอยูอาศัย ของเสียจากการกอสราง จากการคํานวณวัสดุที่ใชในการกอสรางอาคาร ไดอัตราการผลิตของเสียจากการกอสรางมีคาอยูในชวง 27.75-33.17 กก./ตร.ม. มีคาเฉลี่ย 30.47 กก./ตร.ม. และมีองคประกอบหลักคือ คอนกรีต 53.1-60.8% เหล็ก 19.7-23.8% อิฐมวลเบา 10.0-13.9% และไม 6.8-8.1% รายละเอียดแสดงในตารางที่ 3.4 และอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยที่ไดรับอนุญาตใหกอสรางในกรุงเทพมหานคร ป 2548 มีพื้นที่ 1,135,161 ตร.ม. ดังแสดงในตารางที่ 3.2 ดังนั้นของเสียจากการกอสรางอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยในกรุงเทพมหานคร ป 2548 มีปริมาณประมาณ 34,588.35 ตัน ของเสียจากการรื้อถอน จากการคํานวณวสัดุหลักที่ใชในการกอสรางอาคาร ไดอัตราการผลิตของเสียจากการรื้อถอน 1,803.94 กก./ตร.ม. มีองคประกอบหลักคือ คอนกรีต 88.6% อิฐมวลเบา 5.1% เหล็ก 4.9% และหนิแกรนิต 0.8% รายละเอียดแสดงในตารางที่ 3.5 สําหรับพื้นที่อาคารที่ร้ือถอนในกรุงเทพมหานครไมสามารถหาขอมูลได จึงกําหนดใหพืน้ทีข่องอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยในกรุงเทพมหานครที่ร้ือถอนมีคา 10% ของพื้นที่อาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยที่ขออนุญาตกอสราง เปนคาที่ใชในการประเมินในการศึกษานี้ ดังนัน้ในป 2548 จงึมีพื้นที่อาคารที่ไมใชที่อยูอาศัยที่ทําการรื้อถอน 113,516 ตร.ม. ซ่ึงคํานวนของเสียจากการรื้อถอนไดประมาณ 204,776.05 ตัน

Page 81: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 3 การประเมินปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

3-7

ดังนั้นปริมาณ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนอาคาร (ไมรวมดัดแปลงอาคาร) ในกรุงเทพมหานครป 2548 ที่ประเมินไดรวมทั้งสิ้นประมาณ 498,584.12 ตันตอป (ประมาณ 128,811.55 ตันตอป จากการกอสราง และ369,772.57 ตันตอป จากการรื้อถอน) ซ่ึงมีคาสมมูลกับ 0.20 กิโลกรัมตอคนตอวัน (จํานวนประชากรป 2548 มี 6,668,963 คน) ในขณะที่อัตราการผลิตขยะมูลฝอยทั่วไปในกรุงเทพมหานครป 2548 มีคา 1.25 กิโลกรัมตอคนตอวัน ตารางที่ 3.1 ของเสียที่ประเมินไดจากการกอสรางอาคารที่อยูอาศัย (บาน 2 ช้ัน) 332 ตารางเมตร

คาต่ําสดุ คาสูงสดุ คาเฉล่ีย ประเภทของวสัดุ น้ําหนัก

(กก.) % น้ําหนัก (กก.) % น้ําหนัก

(กก.) %

คอนกรีต 11,932.30 79.38 16,705.22 74.91 14,318.76 76.70 อิฐ 1,922.94 12.79 3,204.90 14.37 2,563.92 13.73 เหล็ก 601.71 4.00 1,242.16 5.57 921.93 4.94 กระเบื้องเซรามิก 338.42 2.25 676.84 3.03 507.63 2.72 กระเบื้องหลังคา 190.50 1.27 381.01 1.71 285.76 1.53 ยิบซั่มบอรด 40.64 0.27 81.28 0.36 60.96 0.33 ไม 5.89 0.04 11.79 0.05 8.84 0.05 รวม 15,032.40 100.00 22,303.20 100.00 18,667.80 100.00 อัตราการผลิตของเสีย กก./ตร.ม.

45.28

67.18

56.23

Page 82: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

3-8

ตารางที่ 3.2 จาํนวนรายและพื้นที่อาคารที่ไดรับอนุญาตใหปลูกสรางในเขตกรุงเทพมหานคร ป 2543-2548 จําแนกตามประเภทอาคาร

ป พ.ศ. 2543 2544* 2545 2546 2547 2548 หนวย 196 225 225 568 1,350 839 รวม พ้ืนที่ 496,523 567,935 567,485 2,039,623 8,891,519 2,810,836 หนวย 87 68 68 309 854 571 1. พักอาศัย พ้ืนที่ 269,085 240,097 239,647 869,629 4,446,795 1,675,675 หนวย 109 157 157 259 496 268 2.รวมอาคารที่ไมใชท่ีพัก

อาศัย พ้ืนที่ 227,438 327,838 327,838 1,169,994 4,444,724 1,135,161 หนวย 32 59 59 130 209 105 2.1 พาณิชย พ้ืนที่ 52,146 96,725 96,725 740,035 2,751,974 555,976 หนวย 26 17 17 24 56 34 2.2 พาณิชย-พักอาศัย พ้ืนที่ 37,955 44,516 44,516 196,213 737,675 311,395 หนวย 1 1 1 2 3 1 2.3 อุตสาหกรรม พ้ืนที่ 3,774 1,230 1,230 7,844 20,397 204 หนวย 9 11 11 20 13 27 2.4 คลังสินคา พ้ืนที่ 17,751 38,098 38,098 39,591 24,524 73,147 หนวย 15 24 24 31 53 38 2.5 สถาบันการศึกษา พ้ืนที่ 94,550 104,603 104,603 95,910 385,408 117,604 หนวย 1 - - - - 1 2.6 ศาสนสถาน พ้ืนที่ 226 - - - - 860 หนวย 7 17 17 18 11 26 2.7 สถาบัน/องคการ

อิสระ พ้ืนที่ 13,204 18,572 18,572 19,779 178,248 23,233 หนวย 1 - - - 11 5 2.8 โรงพยาบาล/

สถานพยาบาล พ้ืนที่ 1,242 - - - 178,248 22,239 หนวย 3 4 4 7 34 8 2.9 อาคารที่จอดรถ พ้ืนที่ 3,515 5,482 5,482 44,374 115,610 22,275 หนวย 12 8 8 22 20 17 2.10 อ่ืนๆ พ้ืนที่ 1,931 1,918 1,918 19,942 50,143 4,708 หนวย 2 16 6 5 25 6 2.11 ไมระบุ พ้ืนที่ 1,144 16,694 16,694 6,306 130,952 3,520

แหลงขอมูล: กองวิชาการและวางแผน สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร * ใชขอมูลป พ.ศ. 2545

Page 83: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 3 การประเมินปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

3-9

ตารางที่ 3.3 ของเสียที่ประเมินไดจากการรื้อถอนอาคารที่อยูอาศัย (บาน 2 ช้ัน) 332 ตารางเมตร

ประเภทของวสัดุ น้ําหนัก (กก.) % คอนกรีต 238,645.90 73.01 อิฐ 64,098.00 19.61 เหล็ก 10,484.15 3.21 กระเบื้องเซรามิก 6,768.36 2.07 กระเบื้องหลังคา 3,810.10 1.17 ยิบซั่มบอรด 2,709.33 0.83 ไม 392.91 0.12 รวม 326,908.74 100.00 อัตราการผลิตของเสีย กก./ตร.ม. 984.66

Page 84: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

3-10

ตารางที่ 3.4 ของเสียที่ประเมินไดจากการกอสรางอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย (สถาบันการศึกษา) ขนาด 20,050 ตร.ม.

คาต่ําสดุ คาสูงสดุ คาเฉล่ีย ประเภทของวสัดุ น้ําหนัก

(กก.) % น้ําหนัก

(กก.) % น้ําหนัก

(กก.) %

คอนกรีต 338,382 60.82 353,391 53.11 345,886 56.62 เหล็ก 109,398 19.66 158,583 23.83 133,990 21.94 อิฐมวลเบา 55,612 10.00 92,686 13.93 74,149 12.14 ไม 45,013 8.09 45,026 6.77 45,020 7.37 หินแกรนิต 4,493 0.81 8,987 1.35 6,740 1.10 กระเบื้องเซรามิก 1,440 0.26 2,729 0.41 2,084 0.34 ยิบซั่มบอรด 987 0.18 1,975 0.30 1,481 0.24 กระเบื้องยาง 581 0.10 1,162 0.17 872 0.14 ไฟเบอรซีเมนตและอลูมิเนียม 424 0.08 848 0.13 636 0.11

รวม 556,330 100.00 665,387 100.00 610,858 100.00 อัตราการผลิตของเสีย กก./ตร.ม. 27.75 33.17 30.47

Page 85: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 3 การประเมินปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

3-11

ตารางที่ 3.5 ของเสียที่ประเมินไดจากการรื้อถอนอาคารที่ไมใชที่อยูอาศัย (สถาบันการศึกษา) ขนาด 20,050 ตารางเมตร

ประเภทของวสัดุ น้ําหนัก (กก.) % คอนกรีต 32,032,427 88.56 อิฐมวลเบา 1,853,730 5.13 เหล็ก 1,767,919 4.89 หินแกรนิต 299,544 0.83 กระเบื้องเซรามิก 81,019 0.22 ยิปซั่มบอรด 65,846 0.18 กระเบื้องยาง 38,695 0.11 ไฟเบอรซีเมนต 20,827 0.06 ไมและอลูมิเนยีม 7,455 0.02 รวม 36,169,166 100.00 อัตราการผลิตของเสีย กก./ตร.ม. 1,803.94

Page 86: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 4

กฎหมายที่เกี่ยวของกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนในประเทศไทย

4.1. กฎหมายที่เก่ียวของกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของกรุงเทพมหานคร

4.1.1 ขอบัญญัติกรุงเทพมหานครเรื่อง คาบริการ พ.ศ. 2543 กําหนดอัตราคาบริการเกี่ยวกับเศษวัสดุกอสราง ดังนี้ 1) คาตักวัสดุกอสรางขึ้นรถ 1.1) โดยแรงงาน ลูกบาศกเมตรละ 90 บาท 1.2) โดยเครื่องจักร ลูกบาศกเมตรละ 125 บาท 2) คาขนระยะทางไมเกิน 10 กิโลเมตร ลูกบาศกเมตรละ 100 บาท 3) คาขนระยะทางสวนที่เกิน 10 กิโลเมตร คิดเพิ่มกิโลเมตรละ 15 บาท (เศษของกิโลเมตรใหคิดเต็ม 1 กิโลเมตร) 4) คาบริการกําจัดเศษวัสดุกอสรางตันละ 500 บาท

4.1.2 ขอบังคับกรุงเทพมหานครวาดวยหลักเกณฑการจัดการขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกูลของอาคาร สถานที่ และสถานบริการสาธารณสุข พ.ศ. 2545 (โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535) ซ่ึงบทบัญญัติขอ 11 กําหนดให “เจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือสถานที่ที่ตองการใหมีการดําเนินการเก็บ ขน มูลฝอยที่เกิดจากการกอสราง ดัดแปลง ร้ือถอน หรือเคลื่อนยายอาคาร หรือส่ิงปลูกสรางอื่น หรือมูลฝอยท่ีเปนวัสดุเหลือใชจากการดําเนินการดังกลาว รวมทั้งมูลฝอยที่โดยสภาพไมอาจทิ้งรวมกับมูลฝอยอ่ืนไดเนื่องจากขนาดหรือปริมาณมาก จะตองรวบรวมมูลฝอยดังกลาวในบริเวณอาคารหรือสถานที่ของตน แลวแจงเจาหนาที่กรุงเทพมหานครหรือเจาหนาที่ของเอกชนผูไดรับอนุญาตเพื่อใหดําเนินการเก็บขน หามมิใหนํามลูฝอยตามขอนี้ไปรวมไวกบัมูลฝอยอ่ืนในที่รองรับมูลฝอยหรือจุดที่เจาหนาที่ของกรุงเทพมหานครหรือเอกชนผูไดรับอนุญาตกําหนด หรือนําไปใสไวในภาชนะรองรับมูลฝอยที่กรุงเทพมหานครหรือเอกชนผูไดรับอนุญาตจัดไวให” (บทลงโทษตาม พรบ.สาธารณสุข พ.ศ. 2535 มาตรา 73 วรรคสอง: ผูใดฝาฝนขอกําหนดทองถ่ินซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัตินี้นอกจากที่บัญญัติไวในวรรคหนึ่ง หรือในมาตรา 37หรือมาตรา 43 ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท)

Page 87: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

4-2

4.1.3 ขอบัญญัติกรุงเทพมหานครเรื่อง การควบคุมกิจการรับทําการเก็บขนหรือกําจัดสิ่งปฏิกูล หรือขยะมูลฝอย โดยทําเปนธุรกิจหรือโดยไดรับประโยชนตอบแทนดวยการคิดคาบริการ พ.ศ. 2541 (โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20, 54, 55 และ 58 แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535) เปนบทบัญญัติที่กําหนดแนวทางการใหเอกชนมาดําเนินการจัดการมูลฝอยและส่ิงปฏิกูลแทนกรุงเทพมหานคร ขณะนี้กรุงเทพมหานครกําลังดําเนินการจัดทํารางระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขในการอนุญาตใหดําเนินกิจการรับทําการเก็บขนและหรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอยโดยทําเปนธุรกิจ หรือโดยไดรับประโยชนตอบแทนดวยการคิดคาบริการ พ.ศ. .... ซ่ึงรางระเบียบกําหนดใหผูไดรับอนุญาตสามารถเรียกเก็บคาบริการจากผูใชบริการไดโดยตรง และการอนุญาตใหดําเนินกิจการอาจกําหนดตามประเภทมูลฝอยหรือกําหนดตามพื้นที่ 4.1.4 ประกาศกรุงเทพมหานครเรื่อง กําหนดหลักเกณฑในการกอสรางอาคารและสา-ธารณูปโภค พ.ศ. 2539 ขอ 4.6 ไดกลาวถึงการดําเนินการกับเศษวัสดุกอสรางที่เหลือใชในระหวางการดําเนินการกอสราง ดัดแปลง ร้ือถอนหรือเคลื่อนยายอาคารไวดังนี้ “4.6.1 เศษวัสดุจะตองปกคลุมดวยผาคลุมหรือปดมิดชิดทั้งดานบนและดานขางทั้ง 3 ดาน 4.6.2 ตองจัดใหมีปลองชั่วคราวหรือวิธีการอื่นที่เหมาะสมที่ปดมิดสําหรับทิ้งหรือลําเลียงเศษวัสดุ 4.6.3 ตองขนยายเศษวัสดุ ขยะ และสิ่งปฎิกูล ออกจากสถานที่กอสรางอยางนอยทุก 2 วัน หากยังไมพรอมที่จะขนยายตองจัดใหมีที่พักรวมที่มีขนาดเพียงพอ อยูในตําแหนงที่สะดวกตอการจัดเก็บ และตองมีมาตรการทําความสะอาดอยางตอเนื่องตลอดเวลา ปองกันไมใหเกิดฝุนละอองหรือส่ิงสกปรกเปรอะเปอน 4.6.4 ปลองปลอยที่ใชทิ้งเศษวัสดุ ตองสูงจากระดับพื้นหรือภาชนะรองรับไมเกิน 1 เมตร” 4.1.5 กฎกระทรวง ใหใชบงัคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 (โดยอาศยัอํานาจตามความในมาตรา 5 แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 และมาตรา 26 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ซ่ึงแกไขเพิม่เติมโดยพระราชบญัญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 กําหนดการใชประโยชนที่ดนิ สําหรับการซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุไวดังนี้

Page 88: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนในประเทศไทย

4-3

ตารางที่ 4.1 การใชประโยชนที่ดินสําหรับการซื้อขายหรอืเก็บเศษวัสด ุประเภทที่ดิน การใชประโยชนท่ีดินหลัก ใชประโยชนเพื่อกิจการอื่น ก. 1 เพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับ

เกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ และการอนุรักษและรักษาสภาพแวดลอม

ไมเกินรอยละ 5 ของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ และไมหามใชทีด่ินประเภทนี้เพื่อการซื้อขายหรือเก็บเศษวัสด ุ

ก.3 เพื่อเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

ไมเกินรอยละ 5 ของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ และไมหามใชทีด่ินประเภทนี้เพื่อการซื้อขายหรือเก็บเศษวัสด ุ

ย. 2 เพื่อการอยูอาศัยประเภทบานเดี่ยวหรือบานแฝด สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

ไมเกินรอยละ 10 ของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ และหามใชทีด่ินประเภทนี้เพื่อการซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ เวนแตที่ตั้งอยูบนถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไมนอยกวา 10 เมตร ยาวตอเนื่องกันโดยตลอดจนไปเชือ่มตอกับถนนสาธารณะอื่นที่มีขนาดเขตทางไมนอยกวา 10 เมตร

ย. 3 เพื่อการอยูอาศัยประเภทบานเดี่ยว บานแฝด บานแถว หองแถว หรือตึกแถว สถาบนัราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

ไมเกินรอยละ 10 ของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ และหามใชทีด่ินประเภทนี้เพื่อการซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ เวนแตที่ตั้งอยูบนถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไมนอยกวา 10 เมตร ยาวตอเนื่องกันโดยตลอดจนไปเชือ่มตอกับถนนสาธารณะอื่นที่มีขนาดเขตทางไมนอยกวา 10 เมตร

ย. 4 เพื่อการอยูอาศัยซ่ึงไมใชอาคารขนาดใหญ อาคารสูง หรืออาคารขนาดใหญพิเศษ สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

ไมเกินรอยละ 10 ของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ และหามใชทีด่ินประเภทนี้เพื่อการซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ เวนแตที่ตั้งอยูบนถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไมนอยกวา 10 เมตร ยาวตอเนื่องกันโดยตลอดจนไปเชือ่มตอกับถนนสาธารณะอื่นที่มีขนาดเขตทางไมนอยกวา 10 เมตร

อ. 1 เพื่ออุตสาหกรรม การสาธารณูปโภค ไมเกินรอยละ 10 ของที่ดินประเภทนี้ใน

Page 89: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

4-4

ประเภทที่ดิน การใชประโยชนท่ีดินหลัก ใชประโยชนเพื่อกิจการอื่น และสาธารณปูการ แตละบริเวณ และไมหามใชที่ดินประเภท

นี้เพื่อการซื้อขายหรือเก็บเศษวัสด ุอ. 2 เพื่อนิคมอุตสาหกรรม การ

สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ไมเกินรอยละ 10 ของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ และไมหามใชที่ดินประเภทนี้เพื่อการซื้อขายหรือเก็บเศษวัสด ุ

อ. 3 เพื่อคลังสินคา อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการบรรจุสินคาในภาชนะโดยไมมีการผลิต อุตสาหกรรมเกีย่วกับการประกอบชิ้นสวนตางๆโดยไมมีการผลิต และอุตสาหกรรมบริการชุมชน ที่ประกอบกิจการโดยไมกอเหตุรําคาญตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข หรือไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอมตามกฏหมายวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

ไมเกินรอยละ 10 ของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ และไมหามใชที่ดินประเภทนี้เพื่อการซื้อขายหรือเก็บเศษวัสด ุ

4.2 กฎหมายที่เก่ียวของกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม (อุตสาหกรรมวัสดุกอสราง)

4.2.1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เร่ืองการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว เปนประกาศที่หามผูประกอบกิจการโรงงานที่ตั้งอยูภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานีสมุทรสาคร นครปฐม ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง ปราจีนบุรี นครราชสีมา ลําพูน สระบุรี และพระนครศรีอยุธยา ที่มีเศษปูน ทราย และวัสดุที่มีองคประกอบของดิน ทราย หรือหิน เชน กระเบื้องอิฐ ยิปซ่ัม คอนกรีต และที่มีลักษณะและคุณสมบัติอ่ืนๆ ตามขอ 1 ภาคผนวกที่ 1 (บัญชีส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว) ทายประกาศนี้ มิใหนําสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวออกนอกบริเวณโรงงาน เวนแตจะไดรับอนุญาตใหนําออกไปเพื่อทําการทําลายฤทธิ์ กําจัดทิ้ง หรือฝงดวยวิธีการและสถานที่ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในภาคผนวกที่ 2 ทายประกาศนี้ และไดบังคับใชกับจังหวัดที่

Page 90: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนในประเทศไทย

4-5

เหลืออีก 62 จังหวัด ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ืองการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (เพิ่มเติม) พ.ศ. 2547 สําหรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวตามขอ 1 หากถูกปนเปอนหรือผสม หรือปะปนอยูดวยกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2548 เร่ืองการกําจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ลงวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2548 จนมีลักษณะและคุณสมบัติเปนของเสียอันตราย ตามที่กําหนดไวในภาคผนวกที่ 2 ของประกาศดังกลาว จะตองจัดการดวยวิธีการและสถานที่ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด อนึ่งในการรวบรวมและขนสงผูรวบรวมและขนสงจะตองปฏิบัติตามกฎกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง ระบบเอกสารกํากับการขนสงของเสียอันตรายพ.ศ. 2547 และตองปฎิบัติตามมติคณะกรรมการวัตถุอันตรายเรื่อง การขนสงวัตถุอันตรายทางบกพ.ศ. 2545 (ซ่ึงอยูในความรับผิดชอบของกรมโรงงานอุตสาหรรม)

4.3. กฎหมายที่เก่ียวของกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนอื่นๆ

4.3.1 กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2526) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคารพ.ศ. 2522 มีเฉพาะขอ 29 เทานั้นที่กลาวถึงวัสดุที่ร้ือถอน และมีวัตถุประสงคเพื่อควบคุมการปฏิบัติงานใหมีความปลอดภัยเทานั้น มีขอความวา “การขนถายวัสดุที่ร้ือถอนลงจากที่สูงมาสูที่ต่ําผูดําเนินการตองกระทําโดยใชรางหรือสายพานเลื่อนที่มีความลาดเหมาะสมและปลอดภัยจากการตกหลน สําหรับการขนวัสดุโดยลิฟทสงของ หรือปนจั่น หรือโยน หรือทิ้ง เปนตน ผูดําเนินการจะกระทําไดตอเมื่อจัดใหมีการปองกันภยันตรายตอสุขภาพ ชีวิต รางกาย หรือทรัพยสินแลว หามผูดําเนินการกองวัสดุร้ือถอนไวบนพื้นหรือสวนของอาคารที่สูงกวาพื้นดิน”

4.4 กฎหมายที่ควรเพิ่มเติม

4.4.1 ตามมาตรา 20 (5) แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ใหราชการสวนทองถ่ินมีอํานาจออกขอกําหนดของทองถ่ิน เกี่ยวกับ “หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการเก็บ ขน และกําจัดสิ่งปฏิกูล หรือ มูลฝอย เพื่อใหผูรับใบอนุญาตตามมาตรา 19 ปฏิบัติ ตลอดจนกําหนดอัตราคาบริการขั้นสูง ตามลักษณะการใหบริการที่ผูรับใบอนุญาตตามมาตรา 19 จะพึงเรียกเก็บได”นั้น ราชการสวนทองถ่ินควรออกขอกําหนดในลักษณะที่มีรายละเอียดในทางเทคนิค เกี่ยวกับหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการเก็บ ขน และกําจัดของเสียอันตราย และมูลฝอย ที่เกิดจากการกอสราง ดัดแปลง ร้ือถอน หรือ เคลื่อนยายอาคารทั้งสิ่งปลูกสราง เพื่อเปนกรอบใหผูรับใบอนุญาตรับทราบวาวิธีการอยางไรที่ปฏิบัติไดหรือปฏิบัติไมได ในกรณีที่สวนราชการทองถ่ินไมออกขอกําหนด กระทรวงสาธารณสุขสามารถออกกฎกระทรวง โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6

Page 91: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

4-6

แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เพื่อกําหนดกรอบแนวทางการดําเนินงานในการจัดการ ในลักษณะเดียวกับที่ออกกฎกระทรวงเรื่องการกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2535 4.4.2 สําหรับราชการสวนทองถ่ินบางแหงที่ยังไมไดออกขอกําหนดเกี่ยวกับ “วิธีการเก็บขน และกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย หรือใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือสถานที่ใดๆ ปฏิบัติใหถูกตองดวยสุขลักษณะตามสภาพหรือลักษณะการใชอาคารสถานที่นั้นๆ ตามมาตรา 20 (3) แหงพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ควรเรงรัดใหมีการออกขอกําหนดในการแยกของเสียที่แหลงกําเนิด และประชาสัมพันธใหประชาชนเขาใจและปฏิบัติตามดวย ในการออกขอกําหนดนี้ควรครอบคลุมถึงของเสียอันตราย และมูลฝอยที่เกิดจากการกอสราง ดัดแปลง ร้ือถอน หรือเคลื่อนยายอาคาร หรือ ส่ิงปลูกสรางดวย

4.5. กฎหมายที่ควรแกไข

4.5.1 ในการซื้อการจาง ที่ใชงบประมาณของรัฐ ควรสนับสนุนใหมีการใชผลิตภัณฑที่ผลิตมาจากวัสดุรีไซเคิลและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยการเพิ่มเติมขอความในเรื่องนี้เขาไปในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) 2538 (ฉบับที่ 3) 2539 และ (ฉบับที่ 4) 2541

Page 92: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 5

การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรบัเหมากอสราง

ในการศึกษาดานการจัดการของเสียจากการกอสรางในโครงการนี้ คณะผูศึกษาไดรวบรวมขอมูลจากการสํ ารวจสถานที่ก อสร าง และสัมภาษณบ ริษัท ผู รับ เหมากอสร างในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรวมทั้งบริษัทผูรับเหมาขนาดใหญและผูรับเหมาขนาดเล็กทั้งหมด 13 แหง คณะผูศึกษาไดประสานงานกับกรมควบคุมมลพิษในการติดตอบริษัทผูรับเหมากอสรางเพื่อขอความรวมมือในการอนุเคราะหขอมูล การสํารวจสถานที่กอสราง และการใหขอคิดเห็นที่เกี่ยวกับการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย โดยในการศึกษาครั้งนี้คณะผูศึกษาจะไมเปดเผยชื่อบริษัทที่ใหขอมูล แตจะใชรหัส CC1-CC13 แทนชื่อบริษัทผูรับเหมาแตละแหง ทั้งนี้เพื่อใหบริษัทผูรับเหมากอสรางสามารถเปดเผยขอมูลดานการจัดการเศษสิ่งกอสรางที่ตรงตามความเปนจริงในปจจุบัน และเปนขอมูลที่สําคัญในการศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทยตอไป ในบทนี้จะนําเสนอผลจากการศึกษาการจัดการเศษสิ่งกอสรางในสถานที่กอสราง ซ่ึงประกอบดวย ประเภทของของเสียและเศษวัสดุกอสรางที่เกิดขึ้นในโครงการกอสรางทั่วไป การจัดการของเสียและเศษวัสดุที่เกิดขึ้น ไดแก การคัดแยกและจัดเก็บเศษวัสดุกอสราง การใชซํ้าและการรีไซเคิล การขนสงและการกําจัด รวมทั้งความคิดเห็นของผูให สัมภาษณจากบริษัทผูรับเหมากอสราง ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

5.1 ประเภทของของเสียและเศษวัสดุกอสรางทีเ่กิดขึ้นจากโครงการกอสราง

เศษวัสดุกอสรางที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการกอสรางของโครงการตางๆ นั้นจะมีหลายประเภทซึ่งเกิดจากการตัดวัสดุ วัสดุที่เหลือจากการประเมินปริมาณวัสดุเบื้องตนซึ่งโดยปกติแลวการประเมินปริมาณวัสดุจะมีเปอรเซ็นตของวัสดุที่ตองเผ่ือไวสําหรับการสูญเสีย วัสดุที่เสียหายจากการจัดเก็บไมเหมาะสมและเสียหายจนไมสามารถนํามาใชงานได นอกจากนี้ยังมีสวนของเศษวัสดุที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาดในการดําเนินงาน ประเภทของของเสียและเศษวัสดุที่เกิดขึ้นจากโครงการกอสรางตางๆ มีรายละเอียดดังตอไปนี้คือ

Page 93: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-2

เหล็ก จากการประเมินปริมาณของเหล็กที่สูญเสียในการกอสรางโดยประสบการณของผูจัดการ โครงการกอสราง ไดประเมินวาเหล็กสูญเสียของโครงการจะเกิดขึ้นระหวาง 5-20 เปอรเซ็นต โดยเฉลี่ย 5 เปอรเซ็นตซ่ึงปริมาณสูญเสียที่มากกวา 15 เปอรเซ็นต นั้นเปนที่ไมยอมรับเนื่องจากมีผลตอคาใชจายในการดําเนินโครงการ ลักษณะของเหล็กที่สูญเสียกลายเปนเศษวัสดุกอสราง จะแยกประเภทลักษณะการสูญเสียไดดังนี้คือ

• เหล็กที่เหลือจากการตัดไปใชงานแลวกลายเปนเศษเหล็ก ซ่ึงปริมาณสูญเสียของเศษเหล็กจากงานแตละงานขึ้นกับลักษณะของโครงการวา อาคาร หรือส่ิงปลูกสรางในโครงการนั้นเปนลักษณะใด หากเปนโครงการที่ลักษณะโครงสรางอาคารคลายคลึงกันทั้งโครงการเชนอาคารจอดรถ ปริมาณเหล็กที่สูญเสียจากการตัดจะมีปริมาณนอยสําหรับโครงการที่มีลักษณะโครงสรางอาคารแตละหลังแตกตางกันไป จะทําใหเหล็กที่ใชในการกอสรางแตละอาคารมีความแตกตางกัน ดังนั้นปริมาณเหล็กสูญเสียที่เกิดขึ้นจากการตัดเหล็กใหเหมาะสมกับลักษณะโครงสรางอาคารที่ตางๆ กันก็จะมีปริมาณที่สูงขึ้นดวย

• เหล็กที่สูญเสียจากการจัดเก็บไมเหมาะสมจนเกิดสนิมในปริมาณที่มากเกินกวาที่จะนํามาใชงานได

• เหล็กสูญเสียทีเ่กิดจากความผิดพลาดในการตัดเหล็กผิดแบบ เหล็กสูญเสียจากงานกอสรางแสดงดังรูปที ่5.1

Page 94: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-3

รูปท่ี 5.1 เหล็กสูญเสียที่เกิดขึ้นจากงานกอสราง

Page 95: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-4

คอนกรีต คอนกรีตสูญเสียที่โดยทั่วไปบริษัทผูรับเหมาประมาณไวอยูระหวาง 3-5เปอรเซ็นตโดยผูรับเหมาจะประเมินปริมาณในสวนคอนกรีตที่ตองสูญเสียนี้ไวแลวเชน ตองการใชคอนกรีต 100 ลูกบาศกเมตรจะตองเพิ่มปริมาณคอนกรีตไปอีก 3-5 เปอรเซ็นตในตนทุน แตถาโครงการขนาดใหญมากขึ้น เปอรเซ็นตการสูญเสียตรงนี้ก็จะลดลงเนื่องจาก เมื่อคิดโดยรวมเทียบกับมวลทั้งหมดแลวจะทําใหเปอรเซ็นตเฉลี่ยตรงนี้ต่ําลง สวนของคอนกรีตที่เปนของเสียจากงานกอสรางไดแก

• คอนกรีตที่เปนหัวของเสาเข็ม • คอนกรีตผสมเสร็จที่เหลือคางในปม สําหรับการปมคอนกรีตสําเร็จรูปขึ้นไปบนอาคารสูง

จะมีสวนที่คอนกรีตคางทอและปมอยู • คอนกรีตที่เหลือจากการตกหลน ในการเทคอนกรีตระหวางปฏิบัติงาน • คอนกรีตที่หลอผิดพลาดและตองสกัดทิ้งเพื่อดําเนินงานในขั้นตอนตอไป

รูปที่ 5.2 แสดงถึงเศษคอนกรีตที่เกิดขึ้นจากงานกอสราง รูปที่ 5.3 เศษคอนกรีตที่เกิดขึ้นจากการตัดหัวเสาเข็ม และรูปที่ 5.4 เศษคอนกรีตผสมเสร็จที่เหลือและถูกทิ้งอยูในสถานที่กอสราง ทราย ทรายที่ใชในงานกอสรางจะนํามาผสมปูนซีเมนตเพื่อใชในงานกออิฐหรืองานฉาบ และใชในงานผสมคอนกรีต ทรายสวนที่สูญเสียเนื่องจากการปนเปอนกับดินในขณะที่กองอยู โดยเฉพาะทรายที่นํามาใชในงานฉาบ คนงานจะตักเอาแตสวนบนมาผานตะแกรงรอน และสวนที่อยูดานลางของกองจะปนกับดินนํามาใชงานไมได นอกจากนี้ยังมีสวนของทรายที่ตกหลนซึ่งไมสามารถนํามาใชงานไดโดยจะมีปริมาณสูญเสีย 20-30 เปอรเซ็นต อยางไรก็ตามโครงการขนาดใหญจะใชคอนกรีตผสมเสร็จแทนการใชทรายผสมคอนกรีตในสถานที่กอสรางเปนสวนใหญ ดิน ดินที่จะตองนําไปกําจัดนอกสถานที่กอสรางมาจากการขุดดินในพื้นที่กอสรางเพื่อกอสรางฐานรากและชั้นใตดิน โดยทั่วไปแลวดินนั้นอาจจะไมนับวาเปนเศษวัสดุกอสรางหรือของเสียที่เกิดขึ้นจากการกอสราง แตอยางไรก็ตามดินที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการกอสรางนั้นก็ตองนําออกจากพื้นที่กอสรางเพื่อไปกําจัดหรือถมที่ ไม เศษไมที่เกิดขึ้นจากการกอสรางนั้นมาจากการใชงานในสวนของไมแบบและไมค้ํายัน ซ่ึงไมแบบนั้นสามารถใชซํ้าไดหลายครั้งจนกวาจะใชซํ้าไมไดแลวจึงนําไปกําจัด หรือในการใชงานแตละครั้งจะตองมีการตัดใหไดขนาดที่เหมาะสม จนกระทั่งขนาดของไมส้ันลงเรื่อยๆ ในการใชซํ้าครั้งตอๆ ไปจนเปนเศษไมที่ไมเหมาะสมจะนํามาใชงานไดจึงตองทิ้ง นอกจากไมแบบประเภทไมอัด

Page 96: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-5

แลวในงานกอสรางยังใชไมอัดดํา (ไมอัดเคลือบอีพอกซ่ี) ซ่ึงมีความคงทนและใชงานซ้ําไดหลายคร้ังกวาไมอัดทั่วไป นอกเหนือจากไมอัดและไมอัดดําแลว อาจใชวัสดุประเภทอื่นทําแบบในการหลอคอนกรีตเชน เหล็ก อลูมิเนียมหรือกระดาษ แทนการใชไมทําใหการสูญเสียไมลดลง กระดาษ เศษกระดาษที่เกิดขึ้นจากสถานที่กอสรางโดยสวนใหญแลวมาจากบรรจุภัณฑ กระดาษบรรจุภัณฑที่คัดแยกเก็บไวสามารถนําไปขายใหรานรับซื้อของเกาได หรือจะถูกกําจัดไปพรอมกับขยะทั่วไปหากมีปริมาณไมมากนักและไมมีการปนเปอนสารอันตรายใดๆ สถานที่กอสรางบางแหงไมไดมีการคัดแยกประเภทขยะบรรจุภัณฑไวแตจะทิ้งปะปนกับเศษคอนกรีต เศษดิน เศษทราย ที่กองรอไวเพื่อจะนําไปกําจัด นอกจากของเสียประเภทกระดาษที่มาจากบรรจุภัณฑแลว ยังมีของเสียกระดาษที่เกิดจากการใชแบบที่ทําจากกระดาษซึ่งสามารถใชไดเพียงครั้งเดียวและนําไปกําจัด ซ่ึงแบบกระดาษชนิดนี้เหมาะสมหรับการกอสราง ซ่ึงเหมาะสมมากกวาในการใชแบบกระดาษถึงแมวาราคาจะสูงกวาก็ตาม รายละเอียดของขอมูลปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นจากสถานที่กอสราง และการจัดการของเสียประเภทตางๆ ที่ไดจากการสัมภาษณบริษัทผูรับเหมากอสรางทั้งหมด 13 แหงไดแสดงไวในภาคผนวก ก

Page 97: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-6

รูปท่ี 5.2 เศษคอนกรีตที่เกิดจากการกอสราง

Page 98: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-7

รูปท่ี 5.3 เศษคอนกรีตจากเสาเข็ม

รูปท่ี 5.4 เศษคอนกรีตผสมเสร็จที่เหลือจากรถขนสงถูกเททิ้งในพื้นทีก่อสราง

Page 99: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-8

5.2 การคัดแยกและการจัดเก็บเศษวัสดุกอสราง

จากแบบสอบถามและการสัมภาษณบริษัทผูรับเหมากอสรางดานการคัดแยกและการจัดเก็บเศษวัสดุกอสรางและของเสียที่เกิดขึ้นจากทั้งหมด 13 บริษัท และมีผูตอบคําถามในหัวขอการคัดแยกและจัดเก็บเศษวัสดุกอสรางทั้งหมด 12 บริษัท ในจํานวนนี้มี 10 บริษัทที่คัดแยกเศษวัสดุกอสรางเปนปกติอยูแลว โดยพิจารณาวาเศษวัสดุนั้นยังนํากลับมาใชประโยชนไดหรือไม หรือมีมูลคาหรือไม และมีจํานวน 9 บริษัทที่มีโกดังสวนกลางของบริษัทในการเก็บรวบรวมวัสดุกอสรางและเศษวัสดุกอสรางที่เหลือจากสถานที่กอสรางแตละแหง เศษวัสดุกอสรางที่มีการคัดแยกเปนสวนใหญ ไดแก เศษไม เศษคอนกรีต เศษเหล็ก และเศษเสาเข็ม มีเพียงบางบริษัทที่มีการคัดแยกเศษถุงปูน เศษวัสดุจากงานระบบตางๆ เชน เศษทอ เศษอลูมิเนียม และเศษกระจก โดยสวนใหญแลวบริษัทผูรับเหมากอสรางจะคัดแยกเศษวัสดุกอสรางเพื่อชวยในการลดคาใชจายและเพื่อความสะดวกในการจัดการเศษวัสดุ ซ่ึงบางสวนสามารถนํากลับมาใชซํ้า นํากลับมาใชใหม หรือยังมีมูลคาเพียงพอที่จะนําไปขายไดโดยแยกเปนประเภท

• เศษวัสดุที่สามารถนํามาใชซํ้าหรือรีไซเคิลไดและยังมีมูลคา จะถูกนํามาเก็บไวเพื่อรอการนําไปใชงานตอไป โดยการจัดเก็บจะขึ้นกับบริษัทผูรับเหมากอสรางวามีสถานที่จัดเก็บในโครงการกอสรางหรือมีการนําไปจัดเก็บในโกดังสวนกลางของบริษัทที่มีโครงการกอสรางหลายแหง และแตละแหงจะนําเศษวัสดุมารวมไวที่โกดัง และสามารถคัดเลือกเศษวัสดุที่เก็บไวใชงานไดตามความเหมาะสมของแตละโครงการ หรือถาเศษวัสดุไมสามารถนํามาใชซํ้าไดก็อาจนําไปรีไซเคิล

• เศษวัสดุที่มีมูลคาต่ํา ที่ไมสามารถนําไปใชซํ้าหรือรีไซเคิลไดจะถูกรวบรวมไวสําหรับใชในการถมที่ หรือเศษวัสดุบางสวนที่ไมสามารถนําไปใชถมที่ไดหรือไมคุมคาใชจายในการขนสงไปถมที่ ก็จะตองนําไปกําจัด

รายละเอียดของขอมูลดานการคัดแยกและจัดเก็บเศษวัสดุกอสรางที่ไดจากการสัมภาษณ บริษัทผูรับเหมากอสรางแสดงดังตารางที่ 5.1

สําหรับปญหาและอุปสรรคในการคัดแยกและการจัดเก็บนั้นโดยสวนใหญจะเกิดปญหาดานพื้นที่ที่ใชในการจัดเก็บมีไมเพียงพอ โดยเฉพาะสถานที่กอสรางในเขตธุรกิจ หรือเขตชุมชนหนาแนน และสถานที่กอสรางที่ใชพื้นที่ปลูกสรางตัวอาคารเต็มพื้นที่ จนกระทั่งไมมีพื้นที่วางเพื่อใชสําหรับจัดเก็บเศษวัสดุ ผูจัดการโครงการกอสรางบางแหงจะขอเชาพื้นที่วางในบริเวณใกลเคียงสําหรับใชเปนพื้นที่ในการจัดเก็บวัสดุกอสราง และเศษวัสดุกอสราง นอกจากปญหาขอจํากัดในดานพื้นที่แลวนั้น ปญหาสําคัญอีกประการหนึ่งในการคัดแยกและการจัดเก็บคือ ผูดําเนินการ

Page 100: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-9

กอสรางสวนใหญยังคงมีความเห็นวา หากเศษวัสดุกอสรางที่คัดแยกและจัดเก็บนั้นไมมีมูลคาเพียงพอ การใชแรงงานคนมาเสียเวลาในการคัดแยกและจัดเก็บนั้นจะไมคุมคา รูปที่ 5.5 พื้นที่จัดเก็บวัสดุและอุปกรณกอสรางในสถานที่กอสรางรูปที่ 5.6 พื้นที่จัดเก็บเศษวัสดุในสถานที่กอสราง

รูปท่ี 5.5 พื้นที่จัดเก็บวัสดุและอุปกรณกอสรางในสถานที่กอสราง

Page 101: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-10

รูปท่ี 5.6 พื้นที่จัดเก็บเศษวสัดุในสถานทีก่อสราง

Page 102: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-11

ตารางที่ 5.1 การคัดแยกและจัดเก็บเศษวัสดุที่เหลือจากการกอสราง

บริษัท ไมมีการคัดแยก

มีการคัดแยก ประเภทวัสดุที่คัดแยก

มีโกดังกลางของบริษัท

ขอดี/ประโยชนที่ไดรับ ขอเสีย/อุปสรรค/ความยากลําบาก หมายเหตุ

CC1 X

สถานที่ไมเพียงพอในการ

จัดเก็บ ปญหาความยุงยากในระเบยีบ กฎเกณฑ

CC2 X

เศษไม เศษปูน เศษหวัเข็ม เศษเหลก็

X

จะดวูาเปนวัสดุที่ไมสามารถนํากลับมาใชได หรือวาเปนวัสดุที่ตองคัดทิ้ง

CC3 X เศษเหล็ก X

CC4 X คอนกรีต เหล็กเสน ไมแบบ เศษเสาเข็ม

X

CC5 X เศษปูน เศษเหล็กเสน เศษไมแบบ เศษเสาเข็ม X

Page 103: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-12

บริษัท ไมมีการคัดแยก

มีการคัดแยก ประเภทวัสดุที่คัดแยก

มีโกดังกลางของบริษัท

ขอดี/ประโยชนที่ไดรับ ขอเสีย/อุปสรรค/ความยากลําบาก หมายเหตุ

เศษถุงปูน และงานระบบ

CC6 ไมระบุขอมูล

CC7 X เศษไม เศษเหล็ก เศษปูนซีเมนต X

CC8 X

X

เพื่อลดคาใชจาย และงายตอการจัดการ

เรื่องของเวลา และการเพิ่มงาน

แยกเปนวัสดุทีน่ํากลับมาใชได และของที่ใชไมได

CC9 X เศษไม เศษเหล็ก เศษปูน X

เพื่อสามารถคัดเลือกนํากลับมาใชได และสามารถขายได

เรื่องของการใชแรงงานคนมากพอสมควรในการเก็บแยกและคาขนสง

CC10

X

X

ไมมีการแยกประเภทเศษวสัดุ แตจะมีการแยก

Page 104: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-13

บริษัท ไมมีการคัดแยก

มีการคัดแยก ประเภทวัสดุที่คัดแยก

มีโกดังกลางของบริษัท

ขอดี/ประโยชนที่ไดรับ ขอเสีย/อุปสรรค/ความยากลําบาก หมายเหตุ

ในรูปแบบของเศษจากการรื้อถอนและเศษจากการกอสราง

CC11 X ไม เศษปูน X ใชได กับใชไมได

CC12 X ไม เศษปูน เศษเหล็ก นําไปขายได CC13 X

เศษเหล็ก อลูมเินียม กระดาษ

X นําไปขายได เวลา และคาแรง

Page 105: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-14

จากการสัมภาษณบริษัทผูรับเหมาทั้ง 13 บริษัทถึงลักษณะของการบริหารจัดการในดานการจัดเก็บวัสดุกอสรางและเศษวัสดุกอสรางของบริษัทผูรับเหมาสามารถสรุปการจัดการไดเปน 2 ลักษณะ คือ

แบบที่ 1 บริษัทผูรับเหมากอสรางมีพื้นที่โกดังจัดเก็บวัสดุของบริษัทเปนสวนกลาง สําหรับจัดเก็บวัสดุกอสรางเอาไวเพื่อแจกจายไปยังสถานที่กอสรางโครงการตางๆ ของบริษัท และมีพื้นที่สําหรับจัดเก็บเศษวัสดุกอสรางที่เหลือจากโครงการตางๆ ของบริษัทมาไวรวมกันที่โกดัง ดังแสดงรายละเอียดในรูปที่ 5.7 โดยทั่วไปที่สถานที่กอสรางแตละโครงการจะมีพื้นที่จัดเก็บในสถานที่กอสราง สําหรับเก็บวัสดุกอสรางที่นํามาจากโกดังสวนกลาง และเก็บเศษวัสดุที่ยังสามารถนําไปใชซํ้าในโครงการได เศษวัสดุกอสรางสวนที่เหลือจากการใชงานและไมสามารถนําไปใชซํ้าในโครงการจะถูกรวบรวมสงกลับไปยังโกดังสวนกลางของบริษัท ซ่ึงเศษวัสดุกอสรางที่ไมสามารถใชงานไดในโครงการกอสรางแหงหนึ่ง อาจจะสามารถนําไปใชประโยชนสําหรับงานกอสรางในโครงการอื่นๆ ได

สวนของเศษเหล็กและโลหะที่ไมสามารถใชงานได แตยังมีมูลคาสามารถนําไปขายเปนวัสดุรีไซเคิลได จะถูกนํามารวบรวมไวที่โกดังของบริษัทและขายใหรานรับซื้อของเกาตอไป ทั้งนี้จะขึ้นกับนโยบายในการบริหารจัดการของแตละบริษัทวาจะใหโครงการกอสรางแตละโครงการจัดการขายเศษวัสดุใหกับผูรับซื้อของเกาเอง หรือจะขนเศษวัสดุทั้งหมดมาที่โกดังสวนกลางและบริษัทจะดําเนินการขายหรือประมูลเศษวัสดุตอไป สําหรับสวนของเศษวัสดุมูลคาต่ําที่ไมสามารถใชซํ้าไดและไมสามารถรีไซเคิลได จะถูกรวบรวมไปกําจัด อาจขายเปนวัสดุถมที่ หรือถาหากบริษัทมีที่วางเปลาที่ตองการจะถม จะนําเศษวัสดุเหลานี้ไปกําจัดในพื้นที่ดังกลาว ในกรณีที่ไมสามารถขายเปนวัสดุถมหรือไมสามารถนําไปถมที่วางเปลาของบรัษัทได ก็จะตองวาจางใหผูอ่ืนนําไปกําจัด แบบที่ 2 บริษัทผูรับเหมากอสรางไมมีพื้นที่โกดังจัดเก็บวัสดุของบริษัท วัสดุกอสรางและเศษวัสดุจะกองเก็บในพื้นที่โครงการกอสราง หรือการเชาที่วางเปลาในบริเวณใกลเคียงไวเปนสถานที่จัดเก็บ งานกอสรางแตละสวนอาจดําเนินการโดยผูรับเหมารายยอย ยกตัวอยางเชน บริษัทรับเหมากอสรางหลักดําเนินการเฉพาะงานโครงสรางและวาจางบริษัทผูรับเหมาชวงงานฐานราก ผูรับเหมาชวงงานสถาปตย และผูรับเหมาชวงงานระบบภายในอาคารดําเนินงานสวนอื่นๆ โดยกําหนดใหผูรับเหมาชวงงานสวนอื่นรับผิดชอบในสวนของการขนสงและการกําจัดเศษซากวัสดุกอสรางใหเรียบรอย เมื่อเสร็จสิ้นการดําเนินการงานตามสัญญารายละเอียดดังแสดงในรูปที่ 5.8

Page 106: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-15

รูปที่ 5.7 การจัดการเศษวัสดุกอสรางจากสถานที่กอสรางแบบที่ 1

5-15

บทที่ 5 แนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

Page 107: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-16

รูปที่ 5.7 การจัดการเศษวัสดุกอสรางจากสถานที่กอสรางแบบที่ 1(ตอ)

5-16

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

Page 108: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-17

รูปที่ 5.8 การจัดการเศษวัสดุกอสรางจากสถานที่กอสรางแบบที่ 2

5-17

บทที่ 5 แนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

Page 109: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-18

5.3 การนําไปใชซํ้า

จากการสอบถามบริษัทผูรับเหมากอสรางในดานการนําเศษวัสดุจากการกอสรางไปใชซํ้าพบวา เศษวัสดุที่เหลือจากการกอสรางและสามารถนําไปใชซํ้าไดโดยสวนใหญจะเปน ไมแบบ และ เหล็กเสน ดังรายละเอียดตอไปนี้ ไมแบบ โดยทั่วไปนั้นไมแบบจะถูกนํากลับมาใชงานซ้ําไดเกือบทั้งสิ้น ผูจัดการโครงการจะสั่งไมยาวมาใชงานและตัดใหเหมาะสมกับลักษณะงานที่ใช และไมที่ถูกใชแลวจะนํามาเก็บไวเพื่องานอื่นที่เหมาะสมตอไปในภายหลัง การใชไมซํ้าในสวนของงานอื่นๆ อาจจะตองตัดใหส้ันลงอีกเรื่อยๆจนกระทั่งขนาดสั้นลงเปนเศษไมที่ไมสามารถนํามาใชซํ้าไดอีกก็จะถูกนําไปกําจัด สําหรับไมแบบประเภทไมอัดที่ใชในงานกอสรางจะมีไมอัดแบบธรรมดาที่ปกติจะใชซํ้าได ประมาณ 3-4 คร้ัง สวนอีกประเภทหนึ่งไดแก ไมอัดประเภทที่เคลือบดวยอีพอกซ่ี (Epoxy) ซ่ึงเรียกโดยทั่วไปวาไมอัดดํา ไมอัดประเภทนี้จะสามารถใชงานซ้ําไดมากถึง 5-6 คร้ังและมีราคาแพงกวาไมอัดธรรมดามากกวาสองเทา การใชซํ้าของไมแบบนั้นจะใชไดหลายครั้งหรือไมนั้น สวนใหญจะขึ้นกับการบริหารจัดการของโครงการ ซ่ึงถามีการวางแผนการใชวัสดุที่ดีจะชวยลดตนทุนไดมากขึ้น รูปที่ 5.9 การจัดเก็บไมแบบในพื้นที่กอสรางเพื่อรอนํากลับไปใชซํ้า

รูปท่ี 5.9 ไมแบบที่เก็บไวในสถานที่กอสรางเพื่อรอนําไปใชซํ้า

Page 110: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-19

เหล็กเสน เศษเหล็กที่สามารถนําไปใชซํ้าไดคือ เหล็กเสนที่ตัดไปใชงานแลวเหลือเศษขนาดสั้นลงจะเก็บรวบรวมไวสําหรับใชในงานตอไปที่ตองการใชเหล็กเสนขนาดสั้นเชน การนําไปใชในการกอสรางที่พักของคนงานหรือสํานักงานในสถานที่กอสรางหรือการนําเศษเหล็กเสนไปเก็บรวบรวมไวในโกดังที่รวบรวมเศษวัสดุของโครงการเพื่อเก็บไวใชในโครงการกอสรางอื่นๆ ที่เหมาะสมตอไป

5.4 การขนสง

ลักษณะของการขนสงเศษวัสดุกอสรางจากการดําเนินงานของบริษัทผูรับเหมากอสรางจะมีทั้งในสวนของการขนสงที่บริษัทเปนผูดําเนินการเอง และการวาจางบริษัทรับขนสง โดยบริษัทผูรับเหมากอสรางจะพิจารณาความเหมาะสมในเรื่องของราคา ความคุมทุน ความรวดเร็วในการขนสง จากการสอบถามและสัมภาษณบริษัทผูรับเหมากอสรางในการศึกษาครั้งนี้สรุปไดดังรายละเอียดตอไปนี้ 5.4.1 การขนสงเศษวัสดุกอสรางโดยบริษัทผูรับเหมากอสรางเปนผูดาํเนนิการเอง บริษัทผูรับเหมากอสรางที่มีโกดังสําหรับเก็บวัสดุและเศษวัสดุกอสรางสวนกลางจะดําเนินการขนสงเอง โดยจะขนยายเศษวัสดุกอสรางสวนที่ยังสามารถนํากลับไปใชซํ้าไดจากสถานที่กอสราง เชน เหล็ก กระเบื้อง ไม ไปเก็บไวยังโกดังสวนกลาง และจะใชรถบรรทุกที่ขนสงเศษวัสดุกอสรางดังกลาวในการบรรทุกวัสดุกอสรางจากโกดังไปสงที่สถานที่กอสรางในเที่ยวกลับ ซ่ึงจะเปนการบริหารจัดการดานการขนสงของโครงการอยางคุมคา ประหยัดพลังงานและประหยัดเวลาของพนักงานขนสง สําหรับเศษวัสดุกอสรางที่ไมสามารถใชซํ้าไดและตองการกําจัดจะถูกนําไปกําจัดโดยอาจใชเปนวัสดุถม ในกรณีที่บริษัทผูรับเหมากอสรางมีพื้นที่วางเปลาสําหรับรองรับเศษวัสดุที่ตองการกําจัดก็จะดําเนินการเก็บขนไปกําจัดเอง 5.4.2 การขนสงเศษวัสดุกอสรางโดยผูอ่ืน โดยการวาจางหรือการใหเศษวัสดุกอสรางโดยไมคดิมูลคา บริษัทผูรับเหมากอสรางที่ไมมีโกดังเก็บวัสดุและเศษวัสดุสวนกลางของบริษัท หรือมีพื้นที่ในการจัดเก็บเศษวัสดุในสถานที่กอสรางคอนขางจํากัดนั้น จะขนยายเศษวัสดุออกจากพื้นที่กอสรางอยางรวดเร็วโดยสวนใหญจะวาจางบริษัทรับเก็บขนเศษวัสดุเพื่อนําไปกําจัด โดยราคาคาบริการจะรวมทั้งคาขนสงและคากําจัด การวาจางมีทั้งลักษณะการจางเหมาใหมาเก็บขนเปนรายเดือน หรือการวาจางในลักษณะคิดราคาตอเที่ยวของรถบรรทุกที่ใชเก็บขน บริษัทที่รับจางนําเศษ

Page 111: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-20

วัสดุกอสรางไปกําจัดนั้นสวนใหญจะเปนบริษัทที่รับบริการถมที่ดิน ซ่ึงจะนําเศษวัสดุกอสรางนี้ไปถมที่ดิน เปนการไดรับคาตอบแทนทั้งจากการขนสงเศษวัสดุกอสรางไปกําจัด และไดคาตอบแทนจากการบริการถมที่ดินดวยอีกตอหนึ่ง ขอมูลรายละเอียดการขนสงเศษวัสดุกอสรางไปกําจัดที่ได จากการสัมภาษณบริษัทผูรับเหมากอสรางตางๆ แสดงในตารางที่ 5.2

Page 112: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-21

ตารางที่ 5.2 การขนยายเศษวสัดุที่เหลือจากการกอสรางออกจากสถานที่กอสราง

บริษัท บริษัทขนสงเอง

จางคนอื่น คาใชจาย อุปสรรค/ความยากลําบาก หมายเหตุ

CC1 X X

- รถรับจาง 6 ลอ 300- 400 บาท/ เที่ยว - เรื่องสถานที่จัดเก็บเศษวัสดุมีไมเพยีงพอ อาจจะตองมกีารเชาที่ในการจัดเก็บ - ปญหาความยุงยากในระเบยีบ กฎเกณฑ ดานการขนสง จะใหผูรับเหมา (รื้อถอน) เปนคนจดัการ

หลุมฝงกลบที่จะขนเศษวัสดุไปกําจัดมี 2 ประเภท คือ 1. มีคาใชจาย เชน ออนนุช 2. ไมมีคาใชจายบรษิทัจะดําเนินการจะขนไปทิ้งเอง

CC2 X

- บริษัทจะตั้งราคาคาขนยายไวในขอเสนอของโครงการขนาดใหญประมาณ 50,000 บาท/เดือน ซึ่งรวมทั้ง คาน้ํามัน คาพนักงาน คาเสื่อมสภาพของรถ ซึ่งขนยายโดยรถบรรทุก 10 ลอของบริษัทโดยคาใชจายเฉลี่ยประมาณ 1,000-1,500 บาท/เที่ยว

ฝุนในสถานทีก่อสรางหรือ ฝุนที่ติดไปกับลอรถบรรทุก ซึ่งบริษัทไดคลุมปดดวยผาใบระหวางการขนยาย

CC3 X

คาขนสง 4,500- 6,000 บาท/เดือน ฝุนในสถานทีก่อสรางซึ่งบริษัทไดคลุมปดดวยผาใบระหวางการขนยาย

Page 113: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-22

บริษัท บริษัทขนสงเอง

จางคนอื่น คาใชจาย อุปสรรค/ความยากลําบาก หมายเหตุ

CC4 X

สําหรับคอนกรีตบริษัทจะยอยแลวขาย และขนสงโดยรถบรรทุก 4 ลอเล็ก (ความจุ 2-3 ลบ.ม.) ในราคา 600 บาท/เที่ยว

ทางบริษัทไมทราบเกี่ยวกับรายละเอียดของ ระเบียบ กฎเกณฑ หรือขอบังคับในปจจุบัน

CC5 X

ขนยายโดยรถบรรทุก 10 ลอ ขนยายประมาณ 1,000 บาท/เที่ยว

- ฝุน บริษัทไดคลุมปดดวยผาใบระหวางการขนยาย, - น้ําหนักบรรทุก คือ จะบรรทุกเศษปูนได 21 ตัน (รวมน้าํหนักรถ โดยรถจะหนกัประมาณ 10 ตัน)

รถขนยายจะเปนรถที่นําวัสดุมาสงที่สถานที่กอสรางซึ่งผูจัดการโครงการจะนาํของเสียจากการกอสรางบรรทุกกลับไปยังสถานที่ของบริษัท

CC6 ไมระบุขอมูล CC7 X ขนยายโดยรถบรรทุก 6 ลอเล็ก (ความจุ

4-5 ลบ.ม.) ในราคา 600 บาท/เที่ยว มีผูมารับซื้อของเสียจากการ

กอสรางที่สถานที่กอสรางแตไมทราบราคาขาย

CC8 X

บริษัทรูเรื่อง กฎหมายการขนสง แตไมเปนอุปสรรค เนื่องจากมีการดําเนินการตามที่กฎหมายกําหนดโดยใชผาใบคลุมเพื่อปองกันปญหาในเรื่องฝุน และเศษวัสดุตก

ไมทราบรายละเอียดของกฎเกณฑตางๆ ในการคัดแยกและการจดัเกบ็วัสดุกอสราง

Page 114: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-23

บริษัท บริษัทขนสงเอง

จางคนอื่น คาใชจาย อุปสรรค/ความยากลําบาก หมายเหตุ

หลนระหวางทางและยังมกีฎหมายของเทศกิจในสวนการทําเลอะเทอะบนถนน

CC9

X

รถรับจางบรรทุก 6 ลอเล็ก 500 บาท/เที่ยว (5-7 ลบ.ม.) รถบรรทุก 10 ลอ ราคา 3,500 บาท/เที่ยว (12-15 ลบ.ม.)

บริษัทรูเรื่อง กฎหมายของเทศกิจในสวนการทําเลอะเทอะบนถนน

CC10 ไมทราบรายละเอียดของ

กฎเกณฑตางๆ ในการคัดแยกและการจดัเกบ็วัสดุกอสราง

CC11 X

ขนสงโดยรถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 4 ลบ.ม. 500-700 บาท/ เที่ยว

บริษัทจางบริษัทรับจางเขามาขนยาย รับจางเอาเศษวัสดุออกไปทิ้งเพื่อเปนการ แกปญหาดานกฎเกณฑ ขอบังคับ การจางผูมารับซื้อบริษัทจะจายเปนจํานวนเทีย่วไปไมไดรับเหมาทั้งโครงการ ซึ่งผูรับเหมาไปนั้นจะไมแยกวาเปนเศษประเภทใด

Page 115: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-24

บริษัท บริษัทขนสงเอง

จางคนอื่น คาใชจาย อุปสรรค/ความยากลําบาก หมายเหตุ

CC12 X

X

ขนสงโดยรถบรรทุก 6 ลอขนาด 6 ลบ.ม.ราคา 500-700 บาท/เที่ยว

ไมมีกฎเกณฑ ขอบังคับใดเปนอุปสรรคในการขนยาย

CC13 X ขนสงโดยรถบรรทุก 6 ลอ ในราคา 600 บาท/ เที่ยว ในกรณีที่เหมาเปนรายวนัแตจะขนสงกี่รอบก็ได ราคาวนัละ 2,500 บาท

เวลาของรถที่วิ่งเขาออก ในเมือง นอกเมือง ในกรณีที่กอสรางในมหาวิทยาลัยมหดิล ศาลายา ขนวัสดุออกจากมหาวิทยาลัยกอน 5 โมง เย็นตองทําบัตรผาน

Page 116: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-25

5.5 การกําจัด

ปจจุบันนี้การกําจัดเศษวัสดุกอสรางหรือของเสียจากการกอสรางรื้อถอนในสถานที่กอสรางที่ไดมีการคัดแยกเศษวัสดุสวนที่ใชซํ้าได และสวนที่มีมูลคานําไปขายเปนวัสดุรีไซเคิลไดแลวจะเหลือเพียงสวนของเศษคอนกรีต เศษดิน ทราย และของเสียอ่ืนๆ ที่ปะปนกันซึ่งจะถูกนําไปกําจัด เนื่องจากเศษวัสดุดังกลาวมีองคประกอบเปนของเสียที่ไมยอยสลาย มีน้ําหนักและปริมาณมากจึงไมเหมาะสมที่จะกําจัดรวมไปกับขยะชุมชน ดังนั้นสวนใหญเศษวัสดุกอสรางจะถกูกาํจดัโดยนําไปใชถมที่วางเปลา

5.6 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

จากการที่คณะผูศึกษาไดเขาพบบริษัทผูรับเหมากอสราง เพื่อสอบถามถึงขอมูลดานการจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดขึ้นในสถานที่กอสรางแลว ยังไดสอบถามถึงความคิดเห็นในดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการเศษสิ่งกอสรงสําหรับประเทศไทย ดังในรายละเอียดที่แสดงในตารางที่ 5.3-5.9

Page 117: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-26

ตารางที่ 5.3 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง เศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้นเปนของเสีย หรือไม

เศษวัสดุกอสราง บริษัท

เปนของเสีย ไมเปน บางประเภทเปนของเสีย

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CC1 X บางสวนคิดวาเปนขยะ บางสวนกไ็มคิดวาเปนขยะ มีบางสวนรีไซเคิลได เชน สวนที่เปนบรรจุภณัฑ พลาสติก กระดาษ

CC2 X

ถือวาไมเปนขยะเพราะไมไดกอใหเกิดมลพิษตอส่ิงแวดลอม อยางเชนเศษส่ิงกอสรางพวกนี้ ไมเนาเปอย เพยีงแตตองการที่เก็บ ไมไดคิดวาเปนขยะ เพราะสามารถนําไปใชไดหมด อยางเชนเศษคอนกรีตยังเอาไปถมที่ได เหล็กนํามารีไซเคิลมาหลอมใหมได เพราะขยะที่เราเขาใจสวนใหญคือเราตองเอาไปกําจัดอยางเปนระบบ เพือ่ไมใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม

CC3 X เศษวัสดจุากการกอสรางไมถือวาเปนขยะ

CC4 X

ไมคิดวาเศษวสัดุกอสรางตางๆที่เกิดขึ้นนี้เปนของเสีย หรือเปนขยะ เพราะวาผูรับเหมาสามารถนําไปใชประโยชนได เชน เศษคอนกรีตสามารถนําไปถมที่ได

CC5 X ถือวาเปนขยะ เนื่องจากเสยีเวลาในการกําจัด แตไมถือวาเปนของเสีย

CC6 ไมแสดงความคิดเห็น

CC7 X ไมคิดวาเศษวสัดุกอสรางตางๆที่เกิดขึ้นนี้เปนของเสีย หรือเปนขยะ เพราะวาสามารถนําไปใชประโยชนได คือ สามารถนําไปถม

Page 118: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-27

เศษวัสดุกอสราง บริษัท

เปนของเสีย ไมเปน บางประเภทเปนของเสีย

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

ที่ได ในความคิด ขยะ จะมกีล่ินเหม็น มีลักษณะของความเปนกรด ดาง

CC8 X คิดวาเปนของเสีย 40% และไมเปนของเสีย 60% (สามารถนํามาใชซํ้า)

CC9 X มี 2 อยาง คือ เศษที่ใชไมได เชน เศษปูน เศษที่นํากลับมาใชได เชน เศษเหล็ก

CC10 X ไมใชขยะ คือ เศษสามารถนํามาถมที่ได

CC11 X

เศษวัสดจุากการกอสรางไมเปนขยะเพราะ สามารถนํามาใชงานไดในการนําไปถมที่ เหล็ก อลูมิเนียม กระจก สายไฟ (ทองแดงดานใน) ไมถือวาเปนเศษวสัดุกอสรางเพราะสามารถขายได

CC12 X เศษที่เกดิขึ้นถือวาเปนของมคีาเพราะสามารถนําไปเปลี่ยนเปนเงินได

CC13 X ตองแยก คือ เศษปูน อิฐ หนิ เปนขยะ แตถุงปูน เศษเหล็ก อลูมิเนียมขายได

Page 119: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-28

ตารางที่ 5.4 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง ทานมีความคิดเหน็อยางไรในการจดัการเศษซาก วัสดุกอสรางในปจจุบันนี้ ทั้งจากสถานที่กอสราง ร้ือถอน และโรงงานผลิตวัสด ุ กอสรางสําเร็จรูป บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CC1 ขึ้นอยูกับผูบริหารโครงการวามีมาตรการในการจัดการขยะที่เกิดขึ้นอยางไร CC2 ตางคนตางทํายังไมชัดเจน และยังไมมีสวนกลางมารับผิดชอบตรงนี้ โดยสวนตวัแลว

พยายามจัดการในสวนของตัวเองอยู สําหรับศูนยรีไซเคลิวัสดุกอสราง ถาความคิดเห็นในเชิงรายละเอียดยังไมมี จะตองดกูอนวาสรางขึน้มาวัตถุประสงคเพื่ออะไร การรีไซเคิลเศษวัสดุเปนไปไดเพราะทกุบริษัทก็ทําอยู ในสถานที่กอสรางก็พยายามนํากลับมาใชใหมากที่สุด แตละประเภทก็ขึน้กับมีวธีิการแตกตางกันไป แตเศษวัสดุ หมายถึงเศษซากที่ไมตองการ บริษัทจะพยายามไมใหเกดิเศษ จะมีเพยีงอิฐที่เปนเศษอีกประเภทหนึ่งที่ตองขนไปจะตีเกรดเปนวัสดุถมที ่

CC3 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ดีกวาในอดีต เนือ่งจาก สัญญา ของผูวาจาง CC4 การจัดการเศษซากวัสดุกอสรางในปจจุบนั ทั้งจากสถานที่กอสราง ร้ือถอน และ

โรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป ยังไมคอยดีนกั เนื่องจากยังไมคอยมีแนวคดิในการลดการใชวัสดุใหนอยทีสุ่ด

CC5 การจัดการเศษซากวัสดุกอสรางในปจจุบนั ทั้งจากสถานที่กอสราง ร้ือถอน และโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป ยังไมดพีอ เนื่องจากหาสถานที่กําจดัยาก ไมมีสถานที่ใหทิ้ง

CC6 ไมแสดงความคิดเห็น CC7 ยังไมทราบวาในปจจุบนัการจัดการเศษซากวัสดุกอสราง มีปลายทางที่ไหน และนํา

เศษสิ่งกอสรางไปทําอะไรบาง CC8 ไมแสดงความคิดเห็น CC9 ณ ปจจุบนั ยังไมมีเทคโนโลย ีที่จะนําเศษวสัดุกลับมาใช และมีปญหาในเรื่องของ

พื้นที่ที่จะนําเศษวัสดุไปถม CC10 การดําเนนิงานตามสถานที่กอสราง ตางๆ และเศษวัสดกุอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้นควร

จะทําใหดกีวาการนําไปถมที ่เชน ถุงปูนและกระดาษ ถูกรวมนําไปถมที่ นาจะมกีารแยกกอนนําไปถม

CC11 การจัดการเศษวัสดุกอสรางในปจจุบัน ยังไมเปนระบบการดําเนินการมี 2 ประเภท

Page 120: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-29

บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ คือ ทิ้งไปกับรถขยะของกรุงเทพมหานคร และ นําไปถมที ่คิดวาในอนาคตอาจมีวิธีการที่ดีกวาแหลงกองเก็บยังไมเปนทีเ่ปนทาง

CC12 การจัดการเศษวัสดุกอสรางในปจจุบันอยูทีว่ิธีถม แลวเอาดินกลบ คิดวาการจัดการในปจจุบันเกี่ยวกบัสิ่งกอสรางยังไมด ี

CC13 มองไมเห็นความสําคัญในการจัดการเศษวสัดุ

Page 121: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-30

ตารางที่ 5.5 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง การดําเนินงานตามสถานที่กอสรางตางๆ และเศษ วัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้น มีปญหาตอส่ิงแวดลอมหรือไม ถาไมมี เพราะอะไรหรือ ถามี มีจากสวนใด และมีขอเสนอแนะในการแกไขอยางไร

มีปญหาสิ่งแวดลอม บริษัท ประเภท

มลพิษ สถานที่ กอมลพิษ

ไมมีปญหา

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CC1 ฝุน สถานที่กอสราง

มีปญหาตอส่ิงแวดลอมคือ ฝุน นาจะมีมาตรการในการปองกันฝุนออกจากสถานที่กอสราง อาจแกไขไดโดยใชผาใบ

CC2 ฝุน, เสียง การทํางาน มีปญหาบางบางสวนในเรื่องของฝุน ตัววัสดุเองไมนามีปญหา เสียงก็มีปญหาจากการทํางาน เสยีง ฝุน เปนเรื่องทางวิศวกรรม

CC3 ไมแสดงความคิดเห็น CC4 ไมแสดงความคิดเห็น CC5 ฝุน เสียง เสียงจาก

ตอนทิ้งเศษปูนจากที่สูง

ฝุนละออง โดยแกไขโดยใชผาใบหรือ ตาขาย ปญหาเรื่องเสียงเกิดจากตอนที่ทิ้งเศษปูนจากที่สูง

CC6 ไมแสดงความคิดเห็น CC7 ฝุน เสียง การทํางาน การดําเนนิงานตามสถานที่กอสรางตางๆ

และเศษวัสดุกอสราง ที่เกิดขึ้น มีปญหาตอส่ิงแวดลอม คือ ฝุน ปองกันโดยใชผาใบปดรอบอาคาร และเสียง ปองกันโดยหลีกเลีย่งการทํางานนอกเวลา (กลางคืน)

CC8 น้ําเสีย ฝุน การทํางาน การดําเนนิงานตามสถานที่กอสราง ตางๆ และเศษวัสดุกอสรางที่เกิดขึ้นจะมีปญหาหรือไมมีปญหาตอส่ิงแวดลอมนั้น ขึ้นอยูกับการจัดการของโครงการนั้นๆ โดย

Page 122: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-31

มีปญหาสิ่งแวดลอม บริษัท ประเภท

มลพิษ สถานที่ กอมลพิษ

ไมมีปญหา

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

ปญหาที่มักพบคือ น้ําเสีย โดยจะมีบอกกัเก็บใน สถานที่กอสรางระหวางโครงการ พอโครงการเสร็จจะมีรถมาดูดออกไปนอกจากนี้ก็มปีญหาเรื่องฝุน

CC9 ฝุน มีปญหาตอส่ิงแวดลอมในเรือ่งของฝุน CC10 วัสดุที่เปน

เคมีภัณฑ น้ํามันทาแบบ และ ยางมะตอย

วัสดุที่เปนเคมภีัณฑ น้ํามันทาแบบ และยางมะตอย มปีญหาตอส่ิงแวดลอม ปญหาโดยมากเกิดจากเรื่องของจิตสํานึก และความรูในการปฏิบัติ

CC11 ฝุน ฝุน จะเปนปญหากับสิ่งแวดลอม ซ่ึงฝุนจะมาจากเศษหิน เศษปูน จากมวลเล็กๆ วิธีการแกไขโดยใชผาใบคลมุ ซ่ึงเปนเงื่อนไขของเขตอยูแลวในดานการปองกันปญหาสิ่งแวดลอม

CC12 ฝุน ฝุน เปนผลกระทบที่เกดิขึ้นกับส่ิงแวดลอมที่เกิดจากการกอสราง ร้ือถอน หรือ ผลิตวัสดุสําเร็จรูป

CC13 ไมมีปญหาตอส่ิงแวดลอม

ไมแสดงความคิดเห็น

Page 123: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-32

ตารางที่ 5.6 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง การคัดแยกประเภท ขยะ และเศษวสัดุกอสราง ออกเปนประเภทตางๆ โดยมี วัตถุประสงคของการคัดแยกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิล สามารถเปนไปไดหรือไมและ คิดวาเหมาะสมหรือไมในการปฏิบัติงาน

เปนไปได บริษัท

เหมาะสม ไมเหมาะสม เปนไปไมได

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CC1 X หากมีการคัดแยกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิล เปนแนวคิดทีด่ี

CC2 ไมแสดงความคิดเห็น

CC3 X ไมสามารถทําไดในการปฎบิัติการ มีความยากลําบากในการจัดการ

CC4 X

ในพื้นฐานแลวคิดวา ที่สถานที่กอสรางสามารถแยกได แตคนที่รับซื้อก็อาจเอาไปรวมกันอกี อาจจะไมเกดิประโยชนเทาใดนักจากการคัดแยก

CC5 X มีความเปนไปไดในการคัดแยก เพื่อสะดวกในการจัดเก็บ และเพือ่ความเหมาะสมในการปฏิบัติงาน

CC6 ไมแสดงความคิดเห็น

CC7 X มีความเปนไปไดในการคัดแยกเพื่อมา รีไซเคิล เชน เหล็ก

CC8

X

มีความเปนไปไดในการคัดแยกประเภท แตอาจจะเพิ่มงาน หากมีโครงการใหญๆ เนื่องจากอาจกระทบตองานในโครงการและคาใชจายในการคัดแยก (การดําเนนิโครงการจะคํานึงถึงคาใชจายและกําไรเปนอันดับแรก) แตถาเปนโครงการเล็กๆ จะงายกวาในการจัดการ โดยสรุปแลวคิดวาไมเหมาะสมในการปฏิบตัิงาน

Page 124: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-33

เปนไปได บริษัท

เหมาะสม ไมเหมาะสม เปนไปไมได

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CC9 X มีความเปนไปไดในการคัดแยกประเภท คิดวานาจะเหมาะสมในการนําวัสดุรีไซเคิลมาใชได

CC10 X

เปนไปไดยากในการคัดแยกประเภท เพราะเนื่องจากขึ้นอยูกับจิตสํานึกของผูทํางาน ในทางปฏิบัติ จะขึ้นอยูกับทางธุรกิจ ในเรื่องของความคุมคาในการจัดการ

CC11 X

การแยกประเภทเศษวัสดุเปนไปได เชน ไม เพราะสามารถนําไปคัดแยกและใชได แตมีความคิดเห็นวางานกอสรางไมใชการคัดแยก การคดัแยกคือ การแยกเพื่อนําวัสดุที่ทํามาใหขายได แตจะยากในการปฎิบัติงานเนื่องจากเรื่องคาใชจาย และ พื้นที่กอสรางเปนพื้นที่เล็กไมสามารถแยกประเภทได

CC12 X เปนไปไดที่เราจะมีการแยกประเภท แตไมรูขั้นตอนการปฏิบัติ แลวไมทราบวาจะคุมคาทางเศรษฐศาสตรหรือไม

CC13 X เสียคาแรงในการแยก

Page 125: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-34

ตารางที่ 5.7 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง การจัดตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุ กอสราง บริษัท เห็นดวย ไมเห็นดวย อ่ืนๆ ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CC1 X คิดวาไมคุมคาในการรีไซเคลิ และยังสงสัยอยูวาจะคุมคาที่จะลงทุนหรือไม

CC2

X

จริงๆ ในบานเรามีอยูแลวในวัฎจักรของผูรับเหมากอสรางคือ การรับเหมา ถมที่ จะมีพื้นที่ของบริษทั และจะพยายามสงไปยังที่ใกลที่สุดนี่คือ วัฎจักรของงานกอสรางในประเทศไทย การรื้อถอน ก็มีงานถมที่นําเศษวัสดุจากการรื้อถอนไปถมที่ ถือเปนรายไดอีกทางหนึ่ง กรณีการถมที่แลวแตการตกลงกันระหวางผูวาจางรื้อถอนและบริษัทผูร้ือถอน

CC3

X

เห็นดวย แตควรเปนการรวมมือกันของรัฐ และเอกชน แลวควรศึกษาชนิด และ ปริมาณของขยะ และเศษวัสดุแตละประเภทกอน

CC4

X

การจัดตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุกอสราง นาจะเปนเรื่องที่ดีหากสถานที่มีความสะดวกในการจดัการ เชน จัดตั้งในเขตนิคมอุตสาหกรรม จะทําใหสะดวกยิ่งขึ้น

CC5

X

เปนเรื่องที่ดีหากมีการจัดตัง้ สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุกอสราง โดยในพื้นที่ของ กทม. นาจะมีประมาณ 2-3 จุด โดยรัศมีระยะทางการบริการประมาณ 10-20 กิโลเมตร

CC6 ไมแสดงความคิดเห็น

Page 126: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-35

บริษัท เห็นดวย ไมเห็นดวย อ่ืนๆ ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CC7

X

การจัดตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุกอสราง เปนสิ่งที่ดี สําหรับทรัพยากรในประเทศ และหากมีสถานที่สําหรับ รีไซเคิลจะดูในเรื่องของตนทุนในการจัดการ โดยจะไมคํานึงในเรื่องระยะทางมากนัก

CC8

X

หากมีการจดัตัง้สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุส่ิงกอสราง และมีบริการรถมารับเศษสิ่งกอสราง ทางบริษัทคิดวาดี (เนื่องจากมีรายไดเขามาเหมือนเดิม)

CC9

X

การจัดตั้งสถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุส่ิงกอสรางไดหรือไมขึน้อยูกับวาจะนําเศษอิฐ เศษปนู มารีไซเคิลแลวจะคุมหรือไม และทางบริษทัยินดจีะนําเศษสิ่งกอสรางไปกําจัดยังสถานที่รีไซเคิล แตจะคํานึงเรื่องราคาวาคุมคาหรือไม

CC10

X

หากมีการจดัตัง้สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุกอสรางไดก็จะเปนเรื่องที่ดี แตตองคํานึงถึงเรื่องใชจายในการขนยายเศษวัสดุและ นโยบายของรัฐวาเปนอยางไร ใครจะเปนผูรับผิดชอบคาใชจายในการจัดการแตละสวนบาง และหากรัฐมกีารออกกฎหมายวาถาสามารถรีไซเคิลไดจะสามารถลดภาษีจากการรีไซเคลิเทาไร ซ่ึงจะมีความเปนไปไดในการจัดตัง้ (กลไกภาษ)ี

CC11

เปนไปไดในการจัดทําสถานที่ รับรีไซเคิลเศษวัสดกุอสราง แตตองคํานงึถึงสถานที่ตั้งดวย หากมีบริการมารับเศษวัสดุกอสรางไดก็จะดี ถามีสถานที่รับรีไซเคิลเกิดขึ้นจริง

Page 127: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-36

บริษัท เห็นดวย ไมเห็นดวย อ่ืนๆ ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ บริษัทอาจจะลงทุนในเรื่องรถ และคาใชจายในการขนสง ซ่ึงอาจจะชวยลดคาใชจายจากเดิมลงได ซ่ึงตอนนี้บริษัทไมสามารถหาที่กําจัดได กรณหีนวยรับรีไซเคิลเคลื่อนที่นั้น ตองเขาใจวาสิ่งที่เราตองการจะรีไซเคิลคืออะไร

CC12

การกอสรางสถานที่สําหรับรีไซเคิลนั้น โดยสวนตัวแลวมคีวามคิดเหน็วา ถานําเอาเศษวัสดุกอสรางไปถมที่จะคุมกวาหรือไม แตถาหากมีการการดําเนินการสรางศูนยรีไซเคิลจริงแลว ก็ควรดําเนนิการโดยเอกชนจะดกีวาเพราะนาจะรูเร่ืองเกีย่วกับวงการกอสรางไดดีกวา คาใชจายในการดําเนินงานนาจะถูกกวา มีความคลองตัวและรวดเรว็ในการดําเนนิงาน ถารัฐดาํเนินการเกรงวาขั้นตอนจะเยอะ ลาชา เอกชนนาจะดําเนินการไดดีกวา

CC13 X เห็นดวยในการจัดตั้ง แตคิดวาไมมีบริษัทไหนไปสงแตหากมีรถมารับจะไดรับความรวมมือและคดิคาใชจายตามที่เคยจายมา

Page 128: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-37

ตารางที่ 5.8 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง ความตองการใหหนวยงานของรัฐเขามา ชวยเหลือในการดําเนินการเกี่ยวกับ การจัดการเศษสิ่งกอสรางหรือไมอยางไร บริษัท ตองการ ไมตองการ อ่ืนๆ ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CC1

X

ตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยในเร่ือง สถานที่กําจัด

CC2

X

นึกภาพไมออกวาจะใหชวยในสวนไหนไดบาง คาใชจายสําหรับการขนสงไปกําจัดจะคุมกับที่บริษัทกําจัดเองหรือไม

CC3

X

รัฐควรศึกษาวงจรการดําเนนิงานใหดี ทุกโครงการคงคลายคลึงกันหมด ควรศึกษาวาควรเริ่มตรงไหนใหเหมาะสม ถาเริ่มที่สถานที่กอสรางจะตองทําอยางไร

CC4

X

ตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในการดําเนินการเกี่ยวกับ การจัดการเศษส่ิงกอสรางในเรื่องของสถานที่สําหรับทิ้งขยะจากการกอสราง

CC5

X

ตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในเรื่องการขนยายเศษวัสด ุ

CC6 ไมแสดงความคิดเห็น

CC7 X

ตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในเรื่องการจดัการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดขึ้น

CC8

X

ไมตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในเรือ่งการจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดขึ้น เนื่องจากในแตละหนวยงานจะมีทั้งดานบวกและ ดานลบ คอื อาจทําตามหนาที่บางและไมทําตามบาง โดยอาจจะกระทบกับสวนอื่นได (นอกจากสวนของ

Page 129: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

5-38

บริษัท ตองการ ไมตองการ อ่ืนๆ ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ เศษวัสด)ุ

CC9

X

รัฐเขามาชวยนาจะดี ในเรื่องของการทําใหเปนระบบ เชน มีการวจิัยในเรื่องการตั้งศนูยรีไซเคิล และการลดมลพิษตางๆ

CC10

X

ไมตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือ เนื่องจากวาไมคิดวาในปจจุบันจะเกิดปญหาจากเศษสิ่งกอสราง โดยอาจเปนเพราะกฏที่ยังไมชัดเจน

CC11 X รัฐตองมีความชัดเจนในเรื่องสถานที่จัดทิ้ง ถารัฐมีสถานที่ใหเอกชนนําเศษวัสดไุปทิ้ง

CC12 X ส่ิงที่คิดวารัฐควรเขามาชวยเหลือคือ การจัดหาพืน้ที่สําหรับทิ้ง

CC13 X เนื่องจากสามารถจัดการกับเศษตางๆ ไดอยูแลว

Page 130: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่5 การจัดการเศษสิ่งกอสราง ณ สถานที่กอสรางจากบริษัทผูรับเหมากอสราง

5-39

ตารางที่ 5.9 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง ขอมูลที่ตองการใหมีในคูมือแนวทางการจัดการ เศษวัสดุกอสรางสําหรับประเทศไทย

บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ CC1 ไมมีขอมูล CC2 ไมแสดงความคิดเห็น

CC3 ตองการขอมูลที่ห็นชัดเจนวาแตละชนิดมีการรีไซเคิลอยางไรแลวสามารถนําไปใชประโยชนอะไรไดบาง วิธีการเก็บ จะรวบรวมอยางไร จะทําอยางไรไดบาง

CC4 วิธีการแยกประเภทวัสดุ วิธีการใชวัสดุจากการรีไซเคิล แหลงที่ทําการรีไซเคิล CC5 ไมแสดงความคิดเห็น CC6 ไมแสดงความคิดเห็น CC7 วิธีการแยกประเภทวัสดุ วิธีการใชวัสดุจากการรีไซเคิล แหลงที่ทําการรีไซเคิล

CC8

ระเบียบหรือขั้นตอนในการกําจัดของเสียจากการกอสราง เชน เศษวัสุชนิดนี้ตองกําจัดอยางไร หรือบริษัทที่ผลิตวัสดุจะตองมีการระบุการกําจัดและการจัดการ ของเสียอยางชัดเจน ตองทําในรูปแบบที่ชัดเจน นําไปใชไดจริง และระบุบทลงโทษที่ชัดเจน

CC9 ขอมูลที่ครบวงจรในทุกๆเรื่อง คือ เร่ิมตนตั้งแตมีเศษวัสดุ, นําไปรีไซเคิล อยางไร ผลที่ไดจะเปนอยางไร คาใชจาย เกิดความคุมคาในการดําเนินการมั้ย ลดมลพิษส่ิงแวดลอมไดแคไหน อยางไร

CC10 ขอมูลของเศษวัสดุแตละสวนถาเหลือจะใชอะไรไดบาง, การจัดการไมดีจะเกิดโทษอยางไร ช้ีใหเห็นโทษ, ประโยชนจากการนําเศษมารีไซเคิล

CC11 ควรแนะนําเรื่องเศษวัสดุที่เกิดขึ้นสามารถเอาไปทําอะไรไดบาง ประโยชนของเศษ มูลคาของเศษจากการแยก อนาคตบริษัทกอสรางอาจจะแยกเศษวัสดุแตปจจุบันยังไมมีความชัดเจนในการแยกวาจะนําไปทําอะไรไดบาง

CC12 ไมแสดงความคิดเห็น CC13 เอาอะไรไปรีไซเคิลแลวทําอะไรไดบาง ขอดี ขอเสียในการจัดการเศษ การประเมิน

ทางดานเศรษฐศาสตรเพิ่มเติมดวย

Page 131: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6

การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

การศึกษาดานการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนในโครงการนี้ไดครอบคลุมถึงการรวบรวมขอมูลจากการสํารวจและสัมภาษณบริษัทผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปทั้งหมด 3 แหง ซ่ึงผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปหลายประเภท เชน แผนกระเบื้อง คาน แผนพื้นสําเร็จรูป ผนังสําเร็จรูป แผนพื้นอาคาร เสาสําเร็จรูป คานสําเร็จรูป อิฐมวลเบา บล็อกปูถนน ฯลฯ และบริษัทผูผลิตคอนกรีตผสมเสร็จอีก 2 แหงเชนเดียวกันกับการรวบรวมขอมูลและความคิดเห็นจากบริษัทผูรับเหมากอสรางที่ไมเปนที่เปดเผยของบริษัทผูรับเหมากอสรางที่ไมเปดเผยชื่อบริษัท ดังนั้นคณะผูทําการศึกษาจะใชรหัส CM1-CM5 แทนบริษัทการกลาวถึงบริษัททั้ง 5 แหงนี้ การจัดการของเสียที่เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปและโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จสามารถสรุปไดดังแสดงในรูปที่ 6.1 และ 6.2 ตามลําดับและรายละเอียดของของเสียที่เกิดขึ้นการคัดแยกและจัดเก็บ การนําไปใชซํ้า การขนสงและการกําจัด รวมถึงขอคิดเห็นของผูใหสัมภาษณจากบริษัทตางๆ มีรายละเอียดดังหัวขอตางๆ ตอไปนี้

6.1 โรงงานที่ผลิตวัสดุกอสรางสาํเร็จรูป

โรงงานผูผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ วัตถุดิบที่ใชในการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จจะประกอบดวย ปูนซีเมนต ทราย หิน เถาลอยจากถานหิน น้ํา และมีสวนผสมของสารเคมีที่ใชในการเพิ่มระยะเวลาในการแข็งตัวของคอนกรีตซึ่งโดยทั่วไปแลวคอนกรีตผสมเสร็จจะมีระยะเวลาที่สามารถรอกอนนําไปใชงานประมาณ 2.5 ช่ัวโมง ซ่ึงจะใหบริการลูกคาที่อยูในระยะทางในรัศมีไมเกิน 10 กิโลเมตรหรือใชเวลาในการเดินทางไมเกิน 30 นาที และมีระยะเวลาในการเทคอนกรีตประมาณ 2 ช่ัวโมง โรงงานผูผลิตวัสดุกอสรางสาํเร็จรูป วัตถุดิบที่ใชในการผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปในโรงงานตางๆ นั้นมีหลายชนิด ทั้งนี้ขึ้นกับชนิดของผลิตภัณฑและในโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปแตละโรงงานอาจมีการผลิตผลิตภัณฑ หลากหลายชนิด วัตถุดิบที่ใชในการผลิตโดยทั่วไปไดแก ปูนซีเมนต มวลรวม ทราย หิน คอนกรีต

Page 132: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

6-2

ผสมเสร็จ เถาลอย สี เสนใยโพลียูริเทน และสารเคมีอ่ืนๆ ตามสูตรการผลิตของวัสดุกอสรางสําเร็จรูป แตละชนิด โดยสวนใหญแลววัตถุดิบที่นํามาใชในการผลิตนั้นจะนํามาจากบริษัทในเครือบริษัทผูผลิตวัสดุกอสราง เชน สี เสนใย ปูนซีเมนต และวัสดุประเภทมวลรวมจะไดมาจากจังหวัดใกลเคียงเชน ทรายนํามาจากจังหวัดกาญจนบุรี หินนํามาจากราชบุรีและสุพรรณบุรี

Page 133: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-3

รูปท่ี 6.1 การจัดการของเสียที่เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

Page 134: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

6-4

โรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ ลูกคา

บอรองรับน้ําลางและเศษคอนกรีตผสมเสร็จ

Reject

หลอคอนกรีตลงในแบบ

ขุดตะกอนออกมาตาก C&DW ขาย / ใหฟรี / จางผูรับกําจัดโดยใชเปนวัสดุถม

รูปท่ี 6.2 การจัดการของเสียที่เกิดจากโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ

Page 135: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-5

ปริมาณการผลิตของแตละโรงงานนั้นจะมีการตั้งเปาหมายการผลิตโดยรวมหรือจากการประเมินของฝายแผนการตลาด ผลิตตามความตองการของลูกคาซึ่งมีรูปแบบการจัดซื้อที่คอนขางแนนอนและชัดเจน และมีการคาดการณการผลิตในอนาคตเพื่อดูกําลังการผลิตของวัสดุแตละโรงงาน

6.2 ของเสียท่ีเกิดจากโรงงานผลติวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

ของเสียท่ีเกิดจากโรงงานผูผลิตคอนกรตีผสมเสร็จ โดยทั่วไปแลวของเสียที่เกิดขึ้นจากโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ จะมาจากสวนของคอนกรีตผสมเสร็จที่เหลือคางอยูในรถซึ่งมีปริมาณไมมากนัก หรือสวนของคอนกรีตผสมเสร็จที่ถูกปฏิเสธจากลูกคาเนื่องจากระยะเวลาของคอนกรีตผสมเสร็จมีอายุเกินกวา 2.5 ช่ัวโมง ซ่ึงจะไมสามารถใชงานไดและตองนํามากําจัด ของเสียจากเศษปูนที่หลนออกมาจากการบรรจุและสวนของปูนซีเมนตที่คางอยูในไซโลและจะทําการลางทําความสะอาดไซโลซึ่งจะตองลางทําความสะอาดทุกๆ 3 เดือน สวนของน้ําลางรถขนสง การลางรถขนสงคอนกรีตผสมเสร็จ เนื่องจากรถทุกคันที่หลังจากไปสงคอนกรีตผสมเสร็จใหกับลูกคาแลวจะตองนํารถกลับมาลางที่โรงงานผลิตทุกครั้ง และน้ําลางรถที่มีสวนผสมของคอนกรีตผสมเสร็จอยูดวยจะถูกปลอยลงในบอน้ําที่ทางบริษัททําการขุดไวเพื่อรองรับน้ําลางสวนนี้โดยเฉพาะ ตะกอนของเศษคอนกรีตที่ถูกรวบรวมอยูในบอที่เปนที่รองรับเศษคอนกรีตจะถูกขุดลอกออกมาทุกๆระยะเวลา 3 เดือนโดยจะมีปริมาณตะกอนที่ตองนําไปกําจัดประมาณ 20 เที่ยวรถบรรทุก 10 ลอหรือประมาณ 360 ลูกบาศกเมตร และในชวงระยะเวลาประมาณ 3 เดือนนั้นจะผลิตคอนกรีตผสมเสร็จโดยประมาณ 6,000–7,000 ลูกบาศกเมตร สามารถประเมินปริมาณเศษตะกอนที่เกิดขึ้นไดประมาณ 5-6เปอรเซ็นต ของคอนกรีตผสมเสร็จที่ผลิต ของเสียท่ีเกิดจากโรงงานผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป ของเสียหรือเศษวัสดุที่เกิดขึ้นจากโรงงานผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปจะแบงไดเปน 2 ประเภท คือ

1. วัสดุที่เสียระหวางการผลิตไมไดขนาดหรือผลิตออกมาไมไดมาตรฐาน บางสวนสามารถนํากลับไปผสมในการผลิตใหมไดอีกครั้งหนึ่งเชน เหล็กนํากลับไปใชซํ้าได และคอนกรีตมวลเบาที่ยังไมขึ้นรูปก็นํากลับไปใชในกระบวนการผลิตได

2. วัสดุที่ขึ้นรูปเปนผลิตภัณฑโดยสมบูรณแลวแตเกิดความความเสียหายในระหวางการเก็บในโกดังสินคา หรือเกิดความเสียหายในระหวางการขนยาย การขนสง

โดยของเสียที่เกิดขึ้นจากทั้งสองสวนนี้ประมาณ 2-3 เปอรเซ็นตของผลิตภัณฑที่ผลิตได ทั้งหมด

Page 136: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

6-6

รายละเอียดของปริมาณของเสียที่ เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปและโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จและการจัดการของเสียประเภทตางๆ ที่เกิดขึ้น จากการสัมภาษณบริษัทผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปและโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จทั้ง 5 แหงแสดงในภาคผนวก ข

6.3 การคัดแยกและการจัดเก็บของเสีย

การคัดแยกและการจัดเก็บของเสียท่ีเกิดจากโรงงานผูผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ จากการสัมภาษณบริษัทผูผลิตคอนกรีตผสมเสร็จทั้ง 2 แหงพบวา บริษัทไมไดมีการคัดแยกประเภทของของเสียหรือเศษวัสดุจากการผลิต เนื่องจากของเสียที่เกิดจากโรงงานผลิตคอนกรีตผสมเสร็จจะมีเพียงน้ําเสียและเศษปูนซีเมนตที่เกิดจากการลางทําความสะอาดรถ และคอนกรีตผสมเสร็จที่ ถูกปฏิเสธจากลูกคา บริษัทผูผลิตคอนกรีตผสมเสร็จแหงหนึ่งไดขุดบอน้ําขนาดโดยประมาณ 8×28×2 ลูกบาศกเมตร เพื่อใชสําหรับรองรับน้ําเสียจากการลางรถคอนกรีตผสมเสร็จและรองรับคอนกรีตผสมเสร็จที่ถูกปฏิเสธจากลูกคา ดังแสดงในรูปที่ 6.3 เมื่อบอน้ําตื้นเขินจะมีการขุดลอกตะกอนขึ้นมาเพื่อนําตะกอนซึ่งประกอบดวยเศษปูนซีเมนตและมวลรวมมาตากไวบนพื้น ตะกอนที่ตากไวจะมีผูมาขอไปใชเปนวัสดุถมหรือตองนําไปกําจัดในภายหลัง สําหรับโรงงานบางแหงจะจัดทําแบบเหล็กสําหรับรองรับคอนกรีตผสมเสร็จที่ถูกปฏิเสธจากลูกคาและตองนํากลับมาที่โรงงานนั้น เมื่อเศษคอนกรีตในแบบแข็งตัวเปนแทงแลวจะถูกนําไปกําจัดหรือมีผูมาติดตอขอรับไปใชเปนวัสดุถม ดังแสดงในรูปที่ 6.4

Page 137: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-7

รูปท่ี 6.3 บอรองรับเศษคอนกรีตผสมเสร็จและน้ําลางทําความสะอาดรถ

Page 138: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

6-8

รูปท่ี 6.4 แบบหลอคอนกรีตผสมเสร็จที่ถูกสงกลับมายังบริษัท

การคัดแยกและการจัดเก็บของเสียท่ีเกิดจากโรงงานผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป จากการสัมภาษณบริษัทผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปทั้ง 3 แหงในดานการคัดแยกและการจัดเก็บเศษวัสดุหรือของเสียที่เกิดขึ้นจากการผลิตพบวา ทั้ง 3 บริษัทไมมีการคัดแยกเศษวัสดุหรือของเสียที่เกิดขึ้น เนื่องจากเห็นวาเปนการเสียเวลาในการคัดแยกเศษวัสดุและของเสียที่เกิดขึ้นเมื่อไมไดนําไปใชแลวก็จะทิ้งไป

Page 139: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-9

6.4 การนําไปใชซํ้า

การนําของเสยีท่ีเกิดจากโรงงานผูผลิตคอนกรีตผสมเสรจ็ไปใชซํ้า ผูผลิตคอนกรีตผสมเสร็จไมมีนโยบายการนําของเสียไปใชซํ้า ซ่ึงของเสียและเศษวัสดุที่เกิดขึ้นจะนําไปถมที่ ปูนซีเมนตและเถาลอยสวนที่เปนฝุนเกาะตัวอยูตามบริเวณสวนของการผลิต จะถูกสกัดออกมาและนําไปกําจัดตอไป และทางบริษัทคิดวาของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตอยูในระดับที่ยอมรับได จึงยังไมไดมีนโยบายที่จะปรับปรุงการผลิตเพื่อลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้น อยางไรก็ตามบริษัทผูผลิตคอนกรีตผสมเสร็จแหงหนึ่งไดใหขอมูลวา ทางบริษัทมีแผนในอนาคตที่จะจัดทําระบบบําบัดน้ําเสียที่เกิดจากการลางทําความสะอาดไซโลและรถขนสงคอนกรีตผสมเสร็จ โดยจะแยกสวนของปูนซีเมนตและน้ําออกจากกันและนําน้ําที่ผานการบําบัดกลับมาใชใหมเนื่องจากทางบริษัทเห็นวาปริมาณน้ําที่ใชสูงมากและคาใชจายในเรื่องน้ําสูงมาก การนําของเสยีท่ีเกิดจากโรงงานผูผลิตวัสดุกอสรางสําเรจ็รูปไปใชซํ้า เศษวัสดุที่เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปที่นําไปใชซํ้าในกระบวนการผลิตจะมีเพียงเศษเหล็กที่ เกิดจากกรณีที่ เหล็กที่ใชผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปและเกิดความผิดพลาดในกระบวนการผลิต แตคอนกรีตยังไมแข็งตัวก็จะสามารถนําเหล็กกลับมาใชไดใหม สําหรับเศษวัสดุประเภทอื่นๆ เชนมวลรวมนั้นไมสามารถนํากลับมาใชในกระบวนการผลิตได จากการสัมภาษณบริษัทผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปแหงหนึ่งไดใหขอมูลดานการนําของเสียที่เกิดจากการผลิตกลับไปใชใหม โดยทางบริษัทนั้นมีของเสียประเภทเศษคอนกรีตปริมาณมากและทางบริษัทเคยลงทุนซื้อเครื่องมือในการบดยอยเศษคอนกรีตเพื่อนํากลับมาใชเปนวัตถุดิบใหม แตเนื่องจากการลงทุนและคาใชจายมีราคาสูงไมคุมทุน ทางบริษัทจึงยกเลิกและไดขายเครื่องมือดังกลาวไปแลว

6.5 การขนสง และนําไปกําจดั

การขนสงของเสียท่ีเกิดจากโรงงานผูผลิตคอนกรีตผสมเสร็จออกจากโรงงานไปกําจดั การขนสงเศษวัสดุที่เกิดขึ้นเพื่อนําไปกําจัดนั้นโดยสวนใหญแลวทางบริษัทจะใหผูอ่ืนเขามาดําเนินการขนสงเศษวัสดุออกไปซึ่งอาจจะเปนบุคคลทั่วไปหรือหนวยงานมาขอรับเศษวัสดุเพื่อไปใชถมที่ ทําถนน ปรับระดับพื้นที่ หรือถมที่ดินวางเปลา โดยทางบริษัทคอนกรีตผสมเสร็จจะไมคิดมูลคาของเศษวัสดุ และทางผูขนสง (หรือผูขอรับเศษวัสดุ) ก็จะไมคิดคาบริการขนสงเศษวัสดุดังกลาวเชนกัน

Page 140: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

6-10

อยางไรก็ตามหากไมมีผูใดมาขอรับเศษวัสดุที่เกิดขึ้นแลวนั้น ทางบริษัทจะตองวาจางใหผูรับเหมา หรือผูรับบริการขนสงเขามารับเศษวัสดุไปกําจัด ปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการขนสงเศษวัสดุหรือของเสียจากการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จคือ ปญหาในเรื่องฝุนและปญหาดานชวงเวลา ที่หามมิใหรถบรรทุกสามารถใชเสนทางดังนั้นการขนสงจะทําไดเฉพาะบางชวงเวลาเทานั้น การขนสงของเสียท่ีเกิดขึ้นจากโรงงานผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปไปกําจัด เศษคอนกรีตที่เกิดขึ้นจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปจะมีการขนยายออกไปกําจัด โดยมีผูตองการรับซื้อและขนยายออกไปเองโดยจะซื้อในราคา ประมาณ 200-300 บาทตอตัน ซ่ึงผูรับซื้อจะนําเศษคอนกรีตไปใชในการถมที่วางเปลา หรืออาจมีหนวยงานมาขอเศษวัสดุที่เกิดจากกระบวนการผลิตออกไป โดยทางโรงงานไมไดคิดมูลคาของเศษวัสดุแตผูขอรับเศษวัสดุจะมาขนยายออกไปเอง หากไมมีผูมารับซื้อหรือขอบริจาค ทางโรงงานจะตองวาจางใหผูรับเหมามาขนเศษวัสดุออกไปกําจัดโรงงานบางแหงมีที่ดินวางเปลาก็จะนําเศษวัสดุนี้ไปกําจัดในพื้นที่ของบริษัทเอง โดยไมมีการแยกประเภทเศษวัสดุสวนของเศษเหล็กที่ไมสามารถนําไปใชในการผลิตไดอีกแลวก็จะขายไปกับรานรับซื้อในราคากิโลกรัมละ 10-12 บาท โดยจะขายเดือนละครั้ง

6.6 ความคิดเห็นของบริษัทผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

1. ความคิดเหน็เกี่ยวกับเศษวัสดุกอสรางตางๆที่เกิดขึ้นวาเปนของเสียหรือไม จากการสัมภาษณทั้ง 5 บริษัท ไดมีผูตอบคําถามวาเศษวัสดุกอสรางเปนของเสีย 2 ราย เนื่องจากมีความเห็นวาไมสามารถนําไปใชใหมได และบางสวนยังอาจเปน Hazardous Waste หรืออาจมีสวนผสมที่เปนสารอันตรายจากการใชสารเคมีในการผลิตอีกดวย และผูใหสัมภาษณ 1 รายเห็นวาไมเปนของเสียเพราะเห็นวาเศษคอนกรีตยังสามารถนําไปใชประโยชนไดอีก และมีผูใหสัมภาษณอีก 1 รายไมไดตอบวาเปนของเสียหรือไมเนื่องจากเศษวัสดุนั้นหากนําไปรีไซเคิลหรือใชใหมไดจะไมนับวาเปนของเสียหากไมนําไปใชประโยชนและทิ้งไปก็จะถือวาเปนของเสีย สําหรับผูใหสัมภาษณ 1 รายไมไดใหความคิดเห็นในดานนี้ 2. ทานมีความคิดเห็นอยางไรในการจัดการเศษซากวัสดุกอสรางในปจจุบันนี้ ท้ังจากสถานที่กอสราง ร้ือถอน และโรงงานผลติวัสดุกอสรางสําเร็จรูป ผูใหสัมภาษณสวนใหญยังเห็นวาการจัดการเศษวัสดุกอสรางในปจจุบันยังเปนปญหา ในเรื่องของฝุน และเสียง และเปนการกําจัดเพื่อใหพนจากสถานที่กอสรางเทานั้นโดยนําไปทิ้งในที่สาธารณะ

Page 141: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-11

หรือที่วางเปลาตามชานเมืองไมไดมีการกําจัดอยางจริงจังเปนระบบ และเห็นวาการจัดการเศษวัสดุกอสรางในปจจุบันมีความยุงยากและใชตนทุนสูง (ตนทุนในการขนสงไปกําจัด) ผูใหสัมภาษณ 1 บริษัท เห็นวาการจัดการในปจจุบันนี้ไมไดมีปญหาอะไรเพราะยังสามารถนําเศษวัสดุที่เกิดขึ้นไปใชในการถมที่ได 3. ความคิดเหน็ดานการดําเนินงานตามสถานที่กอสราง ตางๆ และเศษวัสดุกอสรางตางๆ ท่ีเกิดขึ้น มีปญหาตอสิ่งแวดลอมหรือไม และทานมีขอเสนอแนะในการแกไขอยางไร โดยสวนใหญมีความคิดเห็นวาปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นคือ ปญหาเรื่องฝุนและเสียงที่มาจาก การดําเนินการและจากเศษวัสดุ การแกไขปญหาอาจทําไดโดยการใชผาใบคลุมกันฝุนในระหวางดําเนินการ การใชสเปรยน้ําเพื่อกันฝุนหรือการตัดวัสดุกอสรางในน้ํา การจัดใหมีระบบบําบัดในโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป การใชวัสดุกอสรางสําเร็จรูปในงานกอสรางเพื่อลดปญหาดานเสียง หรือฝุนในพื้นที่กอสรางที่มาจากรถบรรทุกวัสดุกอสรางและมวลรวม 4. ทานคิดวาการคัดแยกประเภท ขยะและเศษวัสดุกอสรางออกเปนประเภทตางๆ โดยมีวัตถุประสงคของการคดัแยกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิล นั้น สามารถเปนไปไดหรือไมและทานคิดวา เหมาะสมหรือไมในการปฏิบตัิงาน ผูใหสัมภาษณทั้งหมด 5 ราย มีความคิดเห็นวาการคัดแยกเศษวัสดุกอสรางออกเปนประเภทตางๆ เพื่อนํากลับไปรีไซเคิลนั้นมีความเปนไปได แตมีเพียง 2 รายที่คิดวาเหมาะสม แตอีก 3 รายจะเห็นวาเปนไปไดแตไมเหมาะสมเนื่องจากตนทุนสูง ใชแรงงานคนในการคัดแยกและเสียเวลาคุณภาพของวัสดุที่ไดจากการรีไซเคิลอาจมีคุณภาพไมดี และราคาวัสดุกอสรางในประเทศไทยนั้นราคายังไมแพงมากนัก 5. ทานมีความคิดเห็นอยางไรกับการจัดตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุกอสราง ผูใหสัมภาษณ ใหความเห็นวาการจัดตั้งสถานที่รีไซเคิลเปนสิ่งที่ดีและชวยลดปญหาผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและถามีการจัดตั้งแลวจะไปเขารวมเพราะคิดวามีประโยชน แตถาคิดในแงของผูประกอบการ ตองเสียคาขนสงไปยังสถานที่นั้นและระยะเวลาในการขนสง รวมถึงการพิจารณาวาใครจะเปนผูลงทุน คุมกับการลงทุนหรือไม และควรสรางแรงจูงใจใหกับผูประกอบการที่จะนําเศษวัสดุไปกําจัดในสถานที่นั้น นอกจากนี้ยังมีผู เสนอความคิดเห็นวาควรตั้งสถานที่ รีไซเคิลอยูตามนิคมอุตสาหกรรมหรือบริเวณที่มีโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปจํานวนมาก 6. ทานตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในการดําเนินการเกี่ยวกับ การจัดการเศษสิ่งกอสรางหรือไมอยางไร ผูใหสัมภาษณบางสวนตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในเรื่อง หาที่จัดเก็บและการเขามาดําเนินการในการรับไปรีไซเคิล เชนเดียวกับที่มีรถเทศบาลมารับไปกําจัดเพื่ออํานวยความสะดวก

Page 142: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

6-12

แกผูประกอบการ และผูใหสัมภาษณบางสวนมีความคิดเห็นวาหนวยงานของรัฐยังไมจําเปนตองเขามาชวยเหลือในการจัดการเศษวัสดุกอสรางเนื่องจากปจจุบันยังไมมีความยุงยากและไมคอยเห็นดวยที่รัฐจะเขามาเกี่ยวของ เพราะหนวยงานของรัฐมีขอจํากัด หนวยงานของเอกชนมีความคลองตัวมากกวาขอกําหนดของเอกชนนอยกวาและการดําเนินการของรัฐอาจทําใหเกิดอุปสรรค 7. ทานตองการใหมีอะไรในคูมือแนวทางการจัดการเศษวัสดุกอสรางสําหรับประเทศไทย

• จะจัดการกับเศษวัสดุกอสรางอยางไร และจะแยกประเภทเปนลักษณะไหน และจะจัดการตอกับเศษวัสดุกอสรางที่แยกอยางไร หรือจะจัดสงเศษวัสดุตอไปใหใคร เศษวัสดุกอสรางสามารถนําไปทําอะไรไดบาง เมื่อนําไปรีไซเคิลแลวจะเปนอะไรไดบาง

• อันตรายของเศษวัสดุกอสรางกับสุขภาพ และผลกระทบตอพนักงาน และผูอยูรอบขาง • ความรุนแรงและปญหาที่จะเกิดจากการจัดการเศษวัสดุกอสรางอยางไมถูกตอง

รายละเอียดจากการสัมภาษณความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณจากบรษิัทผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปแสดงรายละเอียดดงัตารางที่ 6.1-6.7 ตารางที่ 6.1 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง เศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้นเปนของเสีย หรือไม

เศษวัสดุกอสราง บริษัท เปนของเสีย ไมเปน บางประเภท

เปนของเสีย ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CM1 X คอนกรีตยังนํากลับมาใชได ไมไดเปนพิษ CM2 ไมแสดงความคิดเห็น

CM3 X คิดวาเปนของเสีย (Hazardous waste) เพราะตองนําไปกําจดั เปนสารเคมผีสมอยู

CM4 X หากมีการรีไซเคิล เศษวัสดุจะไมเปนของเสีย หากทิ้งไวเปลาประโยชน จะเปนของเสีย

CM5 X

คิดวาเปนขยะแนนอน การนาํไปใชใหมยังคอนขางจํากัด อยางเหล็กทีใ่ชมีขนาด 9-12 mm ถามีปริมาณมาก จะเรยีกใหรานรับซื้อเขามารับไป ถามีปริมาณนอยทางบริษัท จะขนไปขายเอง ไม และคอนกรีต ยังนํา

Page 143: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-13

เศษวัสดุกอสราง บริษัท เปนของเสีย ไมเปน บางประเภท

เปนของเสีย ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

กลับไปใชคอนขางยาก ถาเหลือจะนําไปเก็บไวในสถานที่จัดเก็บ ถาขายก็คิดวาไมมีใครมารับซื้อ มีความเสียหายไดงายและมกีารหกหลน

Page 144: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

6-14

ตารางที่ 6.2 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง ทานมีความคิดเหน็อยางไรในการจดัการเศษซาก วัสดุกอสรางในปจจุบันนี้ ทั้งจากสถานที่กอสราง ร้ือถอน และโรงงานผลิตวัสด ุ กอสรางสําเร็จรูป บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CM1 การจัดการไมไดเปนปญหา ยังสามารถนําเศษวัสดุพวกนีไ้ปถมที่ได CM2 การจัดการในปจจุบันมีความยุงยากในการจัดการและใชตนทุนสูง CM3 การจัดการแกปญหาเศษวัสดุกอสรางในปจจุบัน เพื่อการกําจัดใหหมดไปจากหนา

งาน เทานั้น ไมไดเปนการกาํจัดจริงๆ CM4 การจัดการในปจจุบันแลวแตองคกรตางๆ โดยที่ทางบริษทัจะคํานึงถึงมลภาวะมากใน

เร่ืองฝุน และเสียง CM5 การจัดการแกปญหาเศษวัสดุกอสรางในปจจุบันยังไมดี ยังพบเหน็การขนไปกําจดั

ตามที่สาธารณะ พื้นที่ที่ไมมคีนดูแล หรือพื้นที่ที่ตองการเศษสิ่งกอสรางฟรีตามชานเมือง

Page 145: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-15

ตารางที่ 6.3 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง การดําเนินงานตามสถานที่กอสรางตางๆ และเศษ วัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้น มีปญหาตอส่ิงแวดลอมหรือไม ถาไมมี เพราะอะไรหรือ ถามี มีจากสวนใด และมีขอเสนอแนะในการแกไขอยางไร

มีปญหาสิ่งแวดลอม บริษัท ประเภท

มลพิษ สถานที่ กอมลพิษ

ไมมีปญหา

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CM1 ฝุน เศษวัสด ุ มีปญหาสิ่งแวดลอมในเรื่องฝุนจากเศษวัสดุ ซ่ึงจะขึ้นอยูกับกระบวนการในการบดยอยเศษวัสดุ ซ่ึงจะมีฝุนเกิดขึ้นเยอะ วิธีแกไขจะใชสเปรยน้ํา นอกจากนี้การตัดวัสดุในน้ํากจ็ะชวยลดปญหาฝุน

CM2 ฝุน เศษสิ่งกอสรางมีปญหาสิ่งแวดลอมในเร่ืองฝุน

CM3 การดําเนนิงานในสวนการกอสรางนั้นกอใหเกิดปญหากับสิ่งแวดลอม เชน ตามสถานที่กอสรางหรือร้ือถอนตางๆ คนตรวจสอบปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นอยูแลวใหผานเกณฑ ขอเสนอแนะ คือ การมีระบบบําบัด แตกฎหมายยังไมชัดเจน และครอบคุลมเพียงพอ

CM4 ฝุน เสียง เศษสิ่งกอสรางมีปญหาในเรือ่งส่ิงแวดลอมในเรื่องฝุนและเสียง แกปญหาเร่ืองฝุนดวยการใชผาใบคลุม

CM5 ฝุน เสียง การดําเนินงาน

การดําเนนิงานในสวนการกอสรางนั้นกอใหเกิดปญหากับสิ่งแวดลอม ดานเสียง และ ฝุนจากปนูซีเมนต ทราย ปญหาการอุดตันตามทอน้ําเนื่องจาก เศษหิน ทราย โคลน และปญหาความรําคาญจากรถสิบลอ ขอเสนอแนะคือ การใชวัสดุสําเร็จรูป

Page 146: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

6-16

มีปญหาสิ่งแวดลอม บริษัท ประเภท

มลพิษ สถานที่ กอมลพิษ

ไมมีปญหา

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

ในงานกอสราง เนื่องจากวัสดุสําเร็จรูปจะกอใหเกิดปญหาเรื่องเศษวัสดุนอยลง

Page 147: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-17

ตารางที่ 6.4 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง การคัดแยกประเภท ขยะ และเศษวสัดุกอสราง ออกเปนประเภทตางๆ โดยมี วัตถุประสงคของการคัดแยกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิล สามารถเปนไปไดหรือไมและ คิดวาเหมาะสมหรือไมในการปฏิบัติงาน

เปนไปได บริษัท

เหมาะสม ไมเหมาะสม เปนไปไมได

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CM1 X เปนไปได ในกรณีแยกประเภท ไม เหล็ก ในกรณีเศษปนู นําไปใชเปนมวลรวมทดแทน

CM2 X มีความเปนไปได ในกรณกีารคัดแยกเศษเพื่อนําไปรีไซเคิล

CM3 X

มีความเปนไปไดที่จะแยกขยะและเศษวัสดุกอสรางเพื่อการนําไปรไีซเคิล เชน เหล็ก สามารถรีไซเคิลได คอนกรีต งานถนน Hot mix เอาถนนเกามาผสมกับยางมะตอยใหม แลวแตวาแตละประเภทมีคาใชจายเทาใด หากเปนบรษิัทใหญๆ การดําเนินงานจะคุมทุน และคิดวาเปนไปไดในการนําไปใชงาน แตอาจใชงานไดไมเต็มที่ ไมเต็มประสิทธิภาพ หรือเพียงไมกี่เปอรเซ็นต คิดวาคุณภาพของของวัสดุรีไซเคิลจะลดลง

CM4 X มีความเปนไปไดในกรณี การคัดแยกเศษเพื่อนําไปรีไซเคิล โดยที่ตองใชตนทุนสูง เครื่องจักร คนงาน และการดแูลรักษา

CM5 X

มีความเปนไปไดในกรณีทีจ่ะแยกขยะและเศษวัสดุกอสรางเพื่อการนําไปรีไซเคิล อาจพิจารณาดูกอนวาวัสดุเหลานัน้เปนวัสดุประเภทใด การรีไซเคิลจะ

Page 148: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

6-18

เปนไปได บริษัท

เหมาะสม ไมเหมาะสม เปนไปไมได

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

สามารถเพิ่มมูลคาไดหรือไม ขั้นตอนการรีไซเคิลยุงยากเพียงใด ในความคิดเห็นสวนตัวคิดวาไมเหมาะสมกับการนํามาปฎิบัติงาน อาจตองพิจารณาดูวาวัสดุรีไซเคิลจะสามารถนํากลับมาใชในงานสวนใด และอกีประการหนึ่งคือวัสดุกอสรางในบานเรายังมีราคาไมแพงนกั

Page 149: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-19

ตารางที่ 6.5 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ืองการจัดตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุ กอสราง บริษัท เห็นดวย ไมเห็นดวย อ่ืนๆ ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CM1 X

หากมีการตั้งศนูยรีไซเคิลควรตั้งอยูตามนิคม แตคิดวาจะมีปญหาดานราคาในการขนสง สําหรับแนวคดิในการทําศูนยรีไซเคิลเคลื่อนที่นั้นเปนไปไดยาก

CM2 X เห็นดวยกับการมีสถานที่สําหรับรีไซเคิล

CM3 X การจัดตั้งสถานที่รีไซเคิลเปนสิ่งที่ดี และจะไปเขารวมเพราะคิดวามปีระโยชน แตวาใครจะเปนผูลงทุน คุมกับการลงทุนหรือไม

CM4 X

เห็นดวยกับการมีสถานที่สําหรับรีไซเคิล เพื่อส่ิงแวดลอมที่ดี แตยังเปนกังวลในเรื่องคาขนสง และเรื่องระยะเวลาในการรอกําจดั เนื่องจากวา คอนกรีตผสมเสร็จอาจรอไมไดคอนกรีตจะแหงติดโมรถ แลวทําใหจัดการลําบาก

CM5 X

การจัดตั้งสถานที่รีไซเคิลเปนสิ่งที่ดีถาทําไดจะชวยเรื่องลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมแตถาคิดในแงของผูประกอบการ การที่ตองเสียคาขนสงไปยังสถานที่รีไซเคิลนั้นก็ควรมีแรงจูงใจใหกบัผูประกอบการ ตองพิจารณาคาใชจายในการดําเนินการ และตองพิจารณาวาการดําเนินการกบัวัสดุเหลือใชเปนปญหาหรอืยัง

Page 150: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

6-20

ตารางที่ 6.6 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง ความตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือใน การดําเนินการเกี่ยวกับ การจัดการเศษสิ่งกอสรางหรือไมอยางไร บริษัท ตองการ ไมตองการ อ่ืนๆ ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

CM1 X

ในอนาคตวัสดุธรรมชาติจะหมดไป การนําเอาเศษวัสดกุลับมาใชไดใหมเพื่อที่จะไดไมตองนําวัสดจุากธรรมชาติมาใช นอกจากการกําจัดแลวควรเพิ่มการรไีซเคิลเขามาดวย

CM2 X ตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวย ในเร่ือง การหาพืน้ที่จัดเก็บเศษวัสด ุ

CM3 X ตอนนี้หนวยงานของรัฐยังไมจําเปนตองเขามาชวยเหลือในการจัดการเศษวัสดุกอสรางเนื่องจากปจจบุันยังไมมีความยุงยาก

CM4 X

ตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยในเร่ืองของการเขามาดําเนินการในการรับไป รีไซเคิลเชนเดยีวกับการที่มีรถเทศบาลมารับขยะไปกําจัดเพื่อชวยอํานวยความสะดวก

CM5 X

ไมคอยเหน็ดวยนักที่รัฐจะเขามาเกี่ยวของ เพราะหนวยงานของรัฐมีขอจํากัด หนวยงานของเอกชนมีความคลองตัวมากกวา ขอกําหนดของเอกชนนอยกวา รัฐอาจทําใหเกิดอุปสรรค

Page 151: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 6 การจัดการเศษสิ่งกอสรางที่เกิดจากโรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

6-21

ตารางที่ 6.7 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง ขอมูลที่ตองการใหมีในคูมือแนวทางการจัดการ เศษวัสดุกอสรางสําหรับประเทศไทย

บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ CM1 ไมแสดงความคิดเห็น CM2 ไมแสดงความคิดเห็น

CM3

- วิธีการในการจัดการกับเศษวัสดุกอสราง - การคัดแยกประเภทของเศษวัสดุกอสราง - การจัดการกับเศษวัสดุกอสรางภายหลังจากการคัดแยก - หนวยงานที่จะรับเศษวัสดุกอสรางไปกําจัด

CM4 - อันตรายของเศษวัสดุกอสรางตอสุขภาพ - ผลกระทบตอพนักงาน และผูอยูใกลเคียง - ความรุนแรงและปญหาที่จะเกิดจากการจัดการไมถูกตอง

CM5 - การนําเศษวัสดุกอสรางไปใช - หลักการในการจัดการเศษวัสดุกอสราง

Page 152: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7

การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

ในโครงการศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทยนี้ไดศึกษาการจัดการเศษสิ่งกอสรางตั้งแตในงานกอสรางตางๆ งานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป และผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ ดังรายละเอียดที่ไดนําเสนอในบทที่ 5 และ 6 ตามลําดับ สําหรับในบทที่ 7 นี้จะนําเสนอในสวนของการจัดการเศษวัสดุกอสรางที่เกิดจากกิจกรรมการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางตางๆ โดยคณะผูศึกษาไดรวบรวมขอมูลและสํารวจพื้นที่ที่กําลังปฏิบัติงานรื้อถอนทั้งพื้นที่โครงการขนาดใหญและขนาดเล็ก พรอมทั้งสัมภาษณความคิดเห็นของตัวแทนจากบริษัทร้ือถอนทั้งหมด 5 แหง เชนเดียวกันกับการรวบรวมขอมูลและความคิดเห็นจากบริษัทผูรับเหมากอสรางและบริษัทผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูปที่ไมเปดเผยชื่อของบริษัท ดังนั้นจึงไดใชรหัส RM1-RM5 แทนการกลาวถึงช่ือของบริษัทร้ือถอนทั้ง 5 แหง ที่ไดใหความอนุเคราะหขอมูลและความคิดเห็น นอกจากนี้การศึกษาในหัวขอการจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนในโครงการนี้ยังครอบคลุมถึงการดําเนินงานในสถานที่กองเก็บเศษวัสดุกอสราง 3 แหง โดยใชรหัส SS1-SS3 แทนช่ือบริษัทที่ดําเนินงานในสถานที่เก็บกองเศษวัสดุดังกลาว และการสํารวจและรวบรวมขอมูลจากรานรับซื้อขายวัสดุกอสรางที่ใชแลวในเขตปริมณฑล อีก 3 แหง ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

7.1 สภาพทั่วไปในการดําเนินการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางในประเทศไทย

การดําเนินการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางในประเทศไทยสามารถจําแนกไดหลายประเภท เชน การรื้อถอนอาคารหรือส่ิงปลูกสรางทั้งหมดเพื่อตองการใชพื้นที่นั้นในการกอสรางหรือใชพื้นที่ในการทําโครงการอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีการรื้อถอนอาคารหรือส่ิงปลูกสรางเพียงบางสวน หรือร้ือถอนเพื่อการปรับปรุงหรือเปล่ียนแปลงการใชงานของอาคาร การรื้อถอนอาคารขนาดเล็ก เชน บานเดี่ยว จะใชแรงงานคนงานและใชเครื่องมือ หรือเครื่องจักรกล เพียงไมกี่ชนิดในการดําเนินการ สําหรับการรื้อถอนอาคารขนาดใหญ และอาคารสูงนั้นจะตองใชเครื่องมือและขั้นตอนการดําเนินงานที่ซับซอนมากขึ้น และจะตองคํานึงถึงความปลอดภัยในการดําเนินงานมากขึ้นอีกดวย นอกจากประเภทการรื้อถอนอาคารที่พักอาศัย อาคารสํานักงานและสิ่งปลูกสรางโดยทั่วไปแลว ยังมีการรื้อถอนสิ่งปลูกสรางชนิดพิเศษบางประเภทเชน การร้ือถอนโรงงาน การรื้อถอนสะพานและทางดวน ซ่ึงการดําเนินงานลักษณะดังกลาวจะตองใชผูเชี่ยวชาญและเครื่องมือที่มีลักษณะพิเศษ

Page 153: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-2

ลักษณะของบริษัทที่ดําเนินงานดานการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางในประเทศไทยนั้นจะมีทั้งบริษัทที่มีผูรับเหมาดําเนินการรื้อถอนอาคารตั้งแตอาคารขนาดเล็ก ที่พักอาศัย จนกระทั่งร้ือถอนอาคารสูง บริษัทร้ือถอนบางบริษัทจะใหบริการในการขนสงเศษวัสดุกอสรางไปกําจัด หรือใหบริการถมที่ดิน ซ่ึงบริษัทประเภทนี้จะมีพื้นที่สําหรับเปนที่เก็บกองเศษวัสดุช่ัวคราวเพื่อรองรับเศษวัสดุที่ร้ือถอนเอาไวมีการคัดแยกเศษโลหะ หรือวัสดุที่สามารถนําไปรีไซเคิลไดออกไปขายสวนที่เปนเศษคอนกรีตจะเก็บกองไวสําหรับใชถมที่ รูปแบบการใหบริการรื้อถอนของบริษัทดังกลาวไดแสดงในรูปที่ 7.1 นอกจากบริษัทร้ือถอนประเภทที่ใหบริการรื้อถอนอาคารโดยทั่วไปแลวยังมีบริษัทร้ือถอนบางแหงที่ใหบริการรื้อถอนบางสวนเฉพาะลักษณะงานพิเศษที่มีผูเชี่ยวชาญในการดําเนินการรื้อถอน บริษัทประเภทนี้จะไมไดใหความสนใจกับการจัดการเศษวัสดุที่เกิดจากการรื้อถอนเทาไรนัก เนื่องจากอาจมีปริมาณไมมากนัก ดังนั้นเศษวัสดุจากการรื้อถอนจะถูกกําจัดโดยการวาจางใหบริษัทรับกําจัดเศษวัสดุกอสรางนําไปกําจัด รูปแบบการดําเนินงานของบริษัทร้ือถอนประเภทนี้แสดงในรูปที่ 7.2

Page 154: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-3

สถานที่ร้ือถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

เศษวัสดุท่ีนําไปใชซ้ําได เศษวัสดุที่นําไปรีไซเคิลได เศษวัสดุที่นําไปกําจัด

พ้ืนที่วางเปลา

เศษวัสดุนําไปรีไซเคิลวัสดุกอสรางมือสองรานขายวัสดุกอสรางมือสอง เศษคอนกรีตวัสดุถม

รานรับซื้อของเการีไซเคิล

วัสดุถม มวลรวมจากธรรมชาติ

ที่จัดเก็บเครื่องมือและเครื่องจักร

สถานที่จัดเก็บเศษวัสดุกอสรางชั่วคราว

รูปท่ี 7.1 การจัดการเศษวัสดุกอสรางจากการรื้อถอนแบบที่ 1

Page 155: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-4

รูปท่ี 7.2 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนแบบที่ 2

Page 156: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-5

7.2 เคร่ืองมือท่ีใชในการดําเนินการรื้อถอน

เครื่องมือและเครื่องจักรกลที่ใชในการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางสําหรับในประเทศไทยนั้นจะขึ้นกับลักษณะของบริษัทที่ดําเนินการรื้อถอน โดยทั่วไปบริษัทขนาดเล็กจะมีเครื่องมือและเครื่องจักรกลเพียงไมกี่ชนิด และใชแรงงานคนในการรื้อถอนเปนสวนใหญ สําหรับบริษัทขนาดใหญที่มีผูมีความชํานาญในการรื้อถอนอาคารสูง และการรื้อถอนสิ่งปลูกสรางลักษณะพิเศษจะมีเครื่องมือที่ซับซอนมากกวา และตองการผูมีความชํานาญมากขึ้น เครื่องมือและเครื่องจักรกลโดยทัว่ไปที่ใชในงานรื้อถอนอาคาร ดังแสดงในรูปที่ 7.3

• รถแบคโฮ (backhoe) • รถแทรคเตอรตีนตะขาบ • ใบตัดเพชร (Diamond Saw) สําหรับตัดคอนกรีตไดหนา 10-50 ซม. • เครื่องกระแทกคอนกรีต (Hydraulic Hammer) • รถบรรทุก • Balanced pavement saw • เครื่องตัดเหลก็ • คอนปอน • และเครื่องมืออ่ืนๆ ที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับงานรื้อถอนพิเศษ

Page 157: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-6

รถแบคโฮ (backhoe)

รถแทรคเตอรตีนตะขาบ

ใบตัดเพชร (Diamond Saw)

รูปท่ี 7.3 แสดงภาพเครื่องมอืที่ใชในการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

Page 158: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-7

Hydraulic Breakers

รถบรรทุก

Balanced pavement saw

รูปท่ี 7.3 แสดงภาพเครื่องมอืที่ใชในการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง (ตอ)

Page 159: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-8

เครื่องตัดแกส

คอนปอน

รูปท่ี 7.3 แสดงภาพเครื่องมอืที่ใชในการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง (ตอ)

7.3 ขั้นตอนการดาํเนินการรื้อถอน

ขั้นตอนในการรื้อถอนอาคารของแตละบริษัทที่รับดําเนินการรื้อถอนนั้นจะมีรายละเอียดแตกตางกัน อยางไรก็ตามการรื้อถอนอาคารนั้นจะคํานึงถึงการนําวัสดุหรือเศษวัสดุกอสรางบางสวนที่ยังสามารถนํามาใชซํ้าได การรื้อถอนจะระมัดระวังเพื่อที่จะไมทําใหวัสดุนั้นเสียหายและจะนําไปขายที่รานรับซื้อวัสดุกอสรางมือสองตอไป ในการศึกษาขั้นตอนการดําเนินการรื้อถอนในครั้งนี้ คณะผูศึกษาพรอมทั้งนักศึกษาปริญญาโท Mr. Daniel Glauser จาก University of Applied Sciences, Northern Switzerland ที่

Page 160: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-9

ไดรับการสนับสนุนการทําวิจัยจาก GTZ ไดเขาสํารวจพื้นที่โครงการที่กําลังดําเนินการรื้อถอนหลายโครงการ เชน การรื้อถอนบานชั้นเดียวขนาดเล็ก การรื้อถอนอาคารโรงพยาบาลขนาดใหญ การรื้อถอนบางสวนของอาคารพาณิชยขนาดสี่ช้ันโดยมีวัตถุประสงคเพื่อปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการใชงานของพื้นที่อาคาร จากการศึกษาการรื้อถอนดังกลาวสามารถสรุปการดําเนินการรื้อถอนจากบริษัทตางๆ ไดดังมีรายละเอียดตอไปนี้ ตัวอยางจากขัน้ตอนการรื้อถอนบานขนาดเล็กจากบริษัท RM 1

ขั้นตอนในการรื้อถอน ไดมีการดําเนนิงานเปนขั้นตอนดังนี้คือ 1. หลังคา ร้ือถอนโดยใชแรงงานคนเพื่อนําเอาสวนของกระเบื้องหลังคาออกมา การรื้อถอนจะ

ระมัดระวังมิใหกระเบื้องแตกหักเสียหายเพื่อที่จะนําไปขายเปนวัสดุกอสรางใชแลวตอไปได(รูปที่ 7.4)

2. โครงหลังคา โดยทั่วไปโครงหลังคาทําจากวัสดุ ไม หรือ เหล็ก การรื้อถอนจะใชแรงงานคนเพื่อนําชิ้นสวนของไม หรือโครงหลังคาเหล็ก ไปขายตอไปได (รูปที่ 7.5)

3. ฝาเพดาน ร้ือถอนโดยใชแรงงานคนโครงฝาเพดานที่ทําจากวัสดุประเภท อลูมิเนียม สามารถนําไปขายเพื่อใชซํ้าได (รูปที่ 7.6)

4. วงกบ ประตู หนาตาง ร้ือถอนโดยใชแรงงานคนเพื่อแยกสวนประกอบของวงกบที่เปนไมออกไปขายเปนวัสดุกอสรางใชแลวตอไปได (รูปที่ 7.7)

5. กระจก ใชแรงงานคนรื้อออกจาก หนาตาง ประตู กระจกนําไปขายตอได (รูปที่ 7.8) 6. สายไฟ ใชแรงงานคนรื้อสายไฟออกจากผนัง และนําไปขายใหกับรานรับซื้อของเกาตอไปโดย

สายไฟนั้นอาจจะขายโดยไมผานขั้นตอนการปลอกฉนวนหุมสายไฟออกกอน หรืออาจจะขายในลักษณะของสายไฟที่ปลอกฉนวนออกแลวเหลือเพียงแตทองแดง ซ่ึงทองแดงนั้นจะมีราคาสูง (รูปที่ 7.9)

7. ผนัง หลังจากที่ช้ินสวนของวัสดุกอสรางที่ยังคงมีมูลคาและสามารถนําไปขายเปนวัสดุกอสรางใชแลวไดถูกร้ือถอนออกไปหมดแลวนั้น การรื้อถอนผนังโดยใชคอนทุบทําลายออกจะดําเนินการอยางรวดเร็ว

8. คาน และ เสา ใชคอนทุบใหคอนกรีตแตกออกเหลือแตเพียงโครงเหล็กเสริมและใชเครื่องตัดเหล็กแบบแกซในการตัดเหล็กโครงสรางออกไป เศษเหล็ก เปนสวนของเศษวัสดุกอสรางที่มีมูลคาและนําไปขายใหกับรานรับซื้อของเกาตอไปได

9. พื้น ใชเครื่องกระแทกคอนกรีต (Hydraulic Hammer) ใหเปนเศษขนาดเล็กจากนั้นใชเครื่องตัดเหล็กชนิดใชแก็สตัดเหล็กออก

10. ฐานราก ใชเครื่องกระแทกคอนกรีต (Hydraulic Hammer) ใหคอนกรีตแตกออกและเหลือเพียงเหล็กเสริมจากนั้นตัดเหล็กออก

Page 161: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-10

รูปท่ี 7.4 การรื้อหลังคาโดยใชแรงงานคนเพื่อนํากระเบื้องไปใชซํ้า

รูปท่ี 7.5 การรื้อโครงหลังคาโดยใชแรงงานคนเพื่อนําไมหรือเหล็กไปใชซํ้า

Page 162: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-11

รูปท่ี 7.6 การรื้อฝาเพดานโดยใชแรงงานคน

รูปท่ี7.7 วงกบ ประตู หนาตาง ร้ือถอนโดยใชแรงงานคนเพื่อแยกสวนประกอบของวงกบที่เปนไม

ออกไปขายเปนวัสดุกอสราง

Page 163: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-12

รูปท่ี 7.8 การรื้อกระจกหนาตาง

รูปท่ี 7.9 การรื้อระบบไฟฟาในอาคาร

Page 164: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-13

หลังจากกระบวนการรื้อถอนอาคารเสร็จสิ้นลง เศษคอนกรีตที่เกิดขึ้น รวมท้ังเศษวัสดุกอสรางอื่นๆ ที่ปนกับเศษคอนกรีตจะถูกตัก โดยใชรถแบคโฮตักแลวนําไปเศษวัสดุดังกลาวไปถมที่

ในการศึกษาการรื้อถอนของบานชั้นเดียวขนาดเล็กโครงการนี้ Mr. Daniel Glauser ไดศึกษาขั้นตอนการรื้อถอน ชนิดและปริมาณของเศษวัสดุที่เกิดจากการรื้อถอนรวมทั้งศึกษาในเชิงแนวโนมของการเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทํางานของคนงานรื้อถอน ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธที่ไดทําการศึกษาในประเทศไทย รายละเอียดของกรณีศึกษาในโครงการรื้อถอนนี้แสดงในภาคผนวกที่ ค ตัวอยางจาก ขัน้ตอนการรื้อถอนงานบางสวนจากบริษัท RM 3 บริษัทรับดําเนินการรื้อถอนเฉพาะสวนหรืองานที่มีลักษณะพิเศษเทานั้น ไมรับงานรื้อถอนประเภทอาคารทั้งหลังเชน ในกรณีที่โรงงานที่ไดทําการกอสรางสวนของโครงสรางจนแลวเสร็จแตเมื่อไดนําเครื่องจักรกลขนาดใหญเขามาในโรงงานแลวประสบปญหาในการติดตั้งเครื่องจักรดวยสาเหตุที่ขนาดของเครื่องจักรไมสามารถขนยายเขามาภายในอาคารไดจึงตองทําการตัดชิ้นสวนของอาคารออก หรือการสรางอาคารหรือส่ิงปลูกสรางที่ผิดจากแบบแปลนที่ออกแบบไว หรือการแกไขงานกอสรางที่มีความผิดพลาด จึงจะใชบริการในการรื้อถอนจากบริษัท RM 3 นี้ การรื้อถอนของบริษัทนี้จะใชเครื่องมือที่มีลักษณะพิเศษมากกวาที่จะใชแรงงานคนในการรื้อถอนเชน บริษัทจะใชใบตัดเพชรที่มีขนาดตางๆ กันขึ้นกับความหนาของชิ้นสวนสิ่งปลูกสรางที่ตองการจะตัดออกและการรื้อถอนจะระมัดระวังในเรื่องของความปลอดภัย เสียงรบกวน ฝุน เนื่องจากการรื้อถอนในบางโครงการตองดําเนินการในพื้นที่ที่จํากัด หรือยานธุรกิจที่บริเวณพื้นที่ใกลเคียงนั้นยังตองประกอบธุรกิจตามปกติ

ตัวอยางขั้นตอนในการรื้อถอนโดยทัว่ไป ไดมีการดําเนินงานเปนขั้นตอนดังนี้คือ 1. ศึกษาแบบแปลนของอาคารหรือส่ิงปลูกสรางที่ตองการจะรื้อกอนที่จะวางแผนการรื้อ

ถอนหรือการที่จะเลือกใชเครื่องมือที่เหมาะสม เนื่องจากลักษณะงานจะเปนการรื้อเฉพาะสวน เชน พื้น ผนัง คาน จึงตองระมัดระวังในเรื่องของความปลอดภัยและโครงสรางสวนอื่นๆที่ยังคงอยู

2. จัดทําค้ํายัน (support) กอนที่จะดําเนินการรื้อถอนเชน การรื้อถอนในชั้นที่ 2 จะตองทําค้ํายันในสวนของพื้นกอน (โดยผูที่รับผิดชอบทํา support จะตกลงกันวาใครจะเปนผูดําเนินการ ผูวาจางใหร้ือถอน หรือบริษัทผูร้ือถอนทําค้ํายันเอง เนื่องจากในบางโครงการนั้นผูวาจางคือบริษัทกอสรางที่กําลังดําเนินโครงการกอสรางและไดจัดทําค้ํายันไวแลวในระหวางการกอสรางแตเมื่อมีปญหาในการกอสรางผิดแบบจึงจําเปนตองวาจางใหบริษัทร้ือถอนเขามาดําเนินการไดเลยโดยไมตองมีการกอสรางค้ํายันกอน)

Page 165: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-14

3. ตัดพื้น โดยปองกันไมใหพื้นที่ตัดรวงดวยการใชรอก (บริเวณขางในอาคารที่ร้ือ)หรือใชเครน (บริเวณขางนอกอาคารที่ร้ือ)

4. กองเศษวัสดุที่ร้ือถอนออกแลวไวที่พื้นโดยไมไดแยกเหล็กขางใน เนื่องจากตองใชแรงงานคนจะตกลงกันระหวางผูวาจางและบริษัทร้ือถอนวาใครจะเปนผูรับผิดชอบในการขนเศษออกไปกําจัด

ตัวอยางขั้นตอนการรื้อถอนจาก RM 4 ขั้นตอนในการื้อถอนซึ่งบริษัท RM 4 ไดแนะนําไวเปนการรื้อถอนโรงงานสูง 4 ช้ันโดยได

แนะนําขั้นตอนในการรื้อถอนอยางปลอดภัยดงัตอไปนี ้

1. สรางรั้ว กันวสัดุตกหลน 2. ลอมอาคารดวยผาใบเพื่อปองกันฝุนฟุงกระจาย รูปที่ 7.10 3. ร้ือวัสดุที่แขวนอยูภายนอกและภายในอาคาร 4. ร้ือครีบภายนอกทั้งหมด 5. ร้ือพื้นกันสาดภายนอกใหเหลือคานและเหล็กพื้นไว 6. ร้ือหนาตาง ประตู ผนังกันหองและฝาเพดานที่ทําจากไม 7. ร้ือเฟอรนิเจอร สุขภัณฑที่นํากลับมาใชได 8. ร้ือพื้นทั้งหมดจากพื้นชัน้ลอยขึ้นไปจนถึงชั้นดาดฟา (คงเหล็กไว) 9. ร้ือผนังกออิฐฉาบปูนชั้น 4 ทั้งหมด สําหรับผนังภายนอกและกําแพงอฐิ ช้ันดาดฟาตองร้ือ

ดวยความระมดัระวัง 10. ร้ือถอนคานและเสาภายในชั้น 4 ( ตัดเหล็กพื้น คาน เสา) 11. ร้ือถอนคานและเสาภายนอก (รอบนอก) พรอมกันที่ละดาน โดยยึดร้ังพับเขาภายในอาคาร

(ดานที่ตดิถนนหรือมีการสัญจรใหร้ือในลําดับหลัง และดวยความระมัดระวังเปนพเิศษเชน ขณะพับลมคาน เสา ควรปดถนนประมาณ 5 นาที)

12. ร้ือถอนชั้น 3 ตามขอ 9 ถึง 11 13. โครงสรางที่เหลือถือวาอยูในเกณฑที่ปลอดภัย ใหพิจารณารื้อถอนตามความเหมาะสม

จากขั้นตอนดังกลาวจะเห็นวาเหลือโครงสรางอยูอีกสองชั้นในขอ 13 ถึงขั้นตอนนี้ปกติจะเร่ิมใชเครื่องจักรเขาทํางานโดยทั่วไปจะใชรถแบคโฮ ร้ือถอนคานและเสาที่เหลือสลับกับการขนยายเศษคอนกรีตออกนอกพื้นที่ในเวลากลางคืนจนกระทั่งขุดร้ือฐานรากออก และปรับพื้นที่ใหเรียบรอย ถึงขั้นตอนนี้ก็ถือวาการรื้อถอนไดเสร็จสิ้นและเตรียมสงมอบงานได

Page 166: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-15

รูปท่ี 7.10 ลอมอาคารดวยผาใบเพื่อปองกนัฝุนจากการรื้อถอน

7.4 การคิดคาบริการในการรื้อถอน

การคิดราคาคาบริการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางตางๆ นั้นไมไดมีการกําหนดราคาคาร้ือถอนที่แนนอนแตจะคิดราคาคาบริการรื้อถอนตามลักษณะประเภทของอาคาร ความยากงายในดําเนินการรื้อถอน การรื้อถอนอาคารหรือส่ิงปลูกสรางทั้งหลังหรือการรื้อถอนเพียงบางสวน ปจจัยอ่ืนๆ ที่บริษัทร้ือถอนนํามาพิจารณาประกอบการคิดราคาคาบริการไดแก ลักษณะพื้นที่บริเวณโดยรอบอาคารที่จะรื้อถอน ปริมาณของวัสดุจากการรื้อถอนที่สามารถนํามาใชซํ้าหรือนํากลับมาใชใหม และขึ้นกับการตกลงกันระหวางเจาของอาคารและผูรับจางรื้อถอนวาเศษวัสดุจากการรื้อถอนที่สามารถใชซํ้าไดหรือที่มีมูลคาในการนําไปขายสําหรับการรีไซเคิลนั้น จะเปนของเจาของอาคารหรือเปนของผูรับจางรื้อถอนรายละเอียดในการคิดราคาคาร้ือถอนดังตอไปนี้ เปนขอมูลบางสวนที่ไดจากการสํารวจรวบรวมขอมูลและจากการสัมภาษณบริษัทผูรับร้ือถอนตางๆ 1. การคิดคาบริการเปนตารางเมตรและขึ้นกับลักษณะของอาคาร เชน

• ร้ือถอนบานคาบริการรื้อถอนตารางเมตรละ 1,000 บาท (สําหรับบาน 1-2 ช้ัน) • ร้ือถอนอาคารพาณิชยคาบริการตารางเมตรละ 2,500 บาท (สําหรับอาคารสูงไมเกิน 4 ช้ัน)

2. การคิดคาบริการร้ือถอนตามลักษณะงานสําหรับการรื้อถอนบางสวนโดยการคิดราคาจะพิจารณาจาก • ความยากงายของงาน เชน ราคาคาร้ือถอนของพื้นที่อาคาร 1 ตารางเมตรบริเวณพื้นดินกับ

บริเวณการรื้อถอนบนอาคารสูง จะคิดราคาแตกตางกัน

Page 167: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-16

• ระยะเวลาในการดําเนินงาน โดยจะประเมินปริมาณงานที่สามารถดําเนินการรื้อถอนไดในแตละวัน เนื่องจากงานรื้อถอนในโครงการที่อยูหางไกลจากพื้นที่ชุมชนหรือยานธุรกิจจะสามารถดําเนินการไดสะดวกและไมจํากัดชวงเวลาที่สามารถดําเนินการรื้อถอนไดสําหรับในพื้นที่ที่เปนเขตธุรกิจ การดําเนินการรื้อถอนอาจทําไดเพียงระยะเวลากลางคืนเทานั้น ทําใหการจางแรงงานในการรื้อถอนตองเสียคาแรงมากกวาปกติ

• เครื่องมือที่ใชในการรื้อถอน สําหรับงานรื้อถอนที่จําเปนตองใชเครื่องมือที่มีลักษณะพิเศษในการปฏิบัติงานจะตองมีคาใชจายเพิ่มสูงขึ้น

3. การคิดคาบริการรื้อถอนแบบเหมารวมหรือการรื้อถอนเปนบางสวน เชน • การรื้อถอนอาคารหรือส่ิงปลูกสรางทั้งหลังจะคิดราคาโดยเหมารวมทั้งโครงการ • การรื้อถอนเฉพาะสวน เชนการรื้อภายในอาคาร คิดคาบริการตอหนวยพื้นที่ โดยแยกแต

ละประเภทของงานของแตละโครงการ เชน * การรื้อถอนผนัง คิดราคารื้อถอนตารางเมตรละ 200 บาท * การรื้อถอนคาน คิดราคารื้อถอนตามความยาวตอเมตรและขนาดของคาน * การรื้อถอนพื้นคอนกรีต คิดราคารื้อถอนลูกบาศกเมตรละ 8,000-10,000 บาท

4. การคิดคาบริการรื้อถอนตามความตกลงระหวางเจาของอาคารและบริษัทรับจางรื้อถอน เชนบานทาวเฮาส 2 ช้ันขนาดพื้นที่ตอช้ัน ประมาณ 64 ตารางเมตร • คิดคาบริการรื้อถอน 1 หลัง 30,000 บาท โดยกําหนดใหเศษวัสดุ โครงสราง วงกบ ประตู

สายไฟ หลังคา ของบานที่ร้ือถอน เปนของผูร้ือถอน • คิดคาบริการรื้อถอน 1 หลัง 50,000 บาท โดยกําหนดใหเศษวัสดุ โครงสราง วงกบ ประตู

สายไฟ หลังคา ของบานที่ร้ือถอน เปนของเจาของบาน การรื้อถอนเพิ่มเติมอีก 1 ช้ันตองเพิ่มคาบริการ 20,000 บาทตอช้ัน

7.5 ของเสียท่ีเกิดขึ้นจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

เศษวัสดุและของเสียที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางตางๆ นั้นสามารถแบงประเภทไดเปน 3 ประเภท

• ประเภทแรกคือ สวนที่นําไปใชซํ้าเปนวัสดุกอสรางใชแลวไดเชน กระเบื้องหลังคา โครงหลังคา วงกบประตูและหนาตาง บานประตูและหนาตาง

• ประเภทที่สองคือ สวนสามารถนํากลับมาใชใหมหรือรีไซเคิลได เชน เศษเหล็กที่แยกออกมาจากเศษคอนกรีตเสริมเหล็ก ทองแดงที่แยกออกจากสายไฟ

• ประเภทที่สามคือ สวนที่ไมสามารถนํากลับมาใชซํ้าหรือใชใหมไดแตจะตองนําไปกําจัด หรืออาจนําไปใชเปนวัสดุถมเชน เศษคอนกรีตและเศษวัสดุอ่ืนๆ ที่ปะปนกัน

Page 168: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-17

การรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางตางๆ จะมีเศษคอนกรีตที่เกิดขึ้นปริมาณมากจากการสอบถามบริษัทร้ือถอนตางๆ ถึงการประเมินปริมาณเศษวัสดุที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสรางพบวา ผูดําเนินการรื้อถอนจะประเมินเศษวัสดุประเภทคอนกรีตจากการรื้อถอนโดยประเมินอยางคราวๆ จากประสบการณในการที่ผานมาดังตัวอยางตอไปนี้

• การคิดปริมาณเศษคอนกรีตที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอนโดยการคํานวณตามขนาดของอาคาร(กวาง × ยาว × สูง) และคูณดวย 0.3 จะเทากับปริมาณของเศษคอนกรีตในหนวยลูกบาศกเมตรที่เกิดจากการทุบทําลายอาคาร

• การคิดปริมาณเศษคอนกรีตที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอนดวยการคํานวณจากขนาดของพื้นที่ที่ร้ือถอน เชน พื้นขนาด กวาง 20 เมตร ยาว 20 เมตร และหนา 20 เซนติเมตร จะสามารถคํานวณปริมาณเศษคอนกรีตไดเทากับ (20 × 20 × 0.2) ×1.5 ลูกบาศกเมตร

7.6 การคัดแยกและจัดเก็บเศษวัสดุจากการรื้อถอน

โดยทั่วไปแลวบริษัทร้ือถอนจะคัดแยกเศษวัสดุที่สามารถนําไปใชซํ้าได เชน กระเบื้องกระจก วงกบประตู หนาตาง เหล็กรูปพรรณ เหล็กโครงหลังคา ที่นําไปขายเปนวัสดุกอสรางใชแลวได หรือการคัดแยกเศษวัสดุที่ยังคงมีมูลคา และนําไปรีไซเคิลไดเชน เหล็กที่แยกออกมาจากเศษคอนกรีตในสวนของ เสา พื้น คาน หรือทองแดงที่แยกออกมาจากการรื้อสายไฟจากตัวอาคารที่ร้ือถอน สําหรับเศษคอนกรีต อิฐ และเศษวัสดุที่ไดจากการรื้อถอนและไมมีมูลคาในการใชซํ้า หรือการรีไซเคิลนั้นจะถูกรวบรวมไปกําจัด หรือนําไปใชเปนวัสดุถมพื้นที่วางเปลา จากการสํารวจและสอบถามบริษัทร้ือถอนพบวา การคัดแยกเศษวัสดุตางๆ นั้นมีวัตถุประสงคหลักคือเพื่อการนําไปขายสําหรับของเสียอันตรายหรือมีแนวโนมวาจะเปนมีสารอันตรายปะปนอยูในกองเศษวัสดุนั้นอาจไมไดถูกคัดแยกออกมาเลย เชนเศษวัสดุจากการรื้อถอนที่มีสวนประกอบของแอสเบสตอส การจัดเก็บเศษวัสดุหรือของเสียจากการรื้อถอนในสถานที่ที่กําลังดําเนินการรื้อถอนนั้นโดยสวนใหญจะมีพื้นที่จํากัดและจะเก็บกองเพื่อรอใหมีผูมารับซื้อวัสดุ หรือการเก็บกองเพียงระยะเวลาไมกี่วันเพื่อรอการขนยายออกไปขายหรือนําไปกําจัด สําหรับบริษัทร้ือถอนที่ใหบริการในการถมที่ดวยนั้นจะมีพื้นที่สําหรับเก็บกองเศษวัสดุช่ัวคราวท่ีตั้งอยูไมหางไกลจากสถานที่ที่กําลังดําเนินการร้ือถอนมากนัก พื้นที่สําหรับเก็บกองชั่วคราวนี้ใชเปนที่เก็บกองเศษวัสดุจากสถานที่ร้ือถอนเพื่อทําการคัดแยกเศษวัสดุที่ยังมีคาและใชซํ้าไดเพื่อนําไปขาย และใชเปนที่สําหรับเก็บกองเศษคอนกรีตหรือเศษวัสดุที่นําไปใชซํ้าหรือรีไซเคิลไมไดเพื่อนําไปจําหนายเปนวัสดุถม สําหรับบริษัทร้ือถอนที่ไมไดมีบริการรับถมที่จะไมมีพื้นที่สําหรับจัดเก็บเศษวัสดุที่ไดจากการรื้อถอน แตจะวาจางใหบริษทัที่ใหบริการขนสงเศษวัสดุมารับไปกําจัดรูปที่ 7.11 แสดงพื้นที่เก็บกองชั่วคราวสําหรับเศษวัสดุจากการรื้อถอน

Page 169: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-18

รูปท่ี 7.11 การจัดเก็บเศษวสัดุจากการรื้อถอนในบริเวณที่เก็บกองชัว่คราว

Page 170: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-19

7.7 การใชซํ้า การรีไซเคิล และการกําจัด

จากการสอบถามบริษัทร้ือถอนตางๆ ในดานการจัดการเศษวัสดุและของเสียจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง พบวาบริษัทที่ใหบริการรื้อถอนพรอมทั้งรับถมที่ดวยนั้นจะใหความสําคัญกับเศษวัสดุที่ไดจากการรื้อถอน เนื่องจากมีความคิดเห็นวาเศษวัสดุนั้นยังมีมูลคาในการใชซํ้าโดยนําไปขายเปนวัสดุกอสรางใชแลว หรือนําเศษวัสดุที่รีไซเคิลไดไปขายใหกับรานรับซื้อของเกาและเศษวัสดุอ่ืนๆ ที่เหลือนําไปขายเปนวัสดุถมได ตารางที่ 7.1 แสดงรายการเศษวัสดุจากการรื้อถอนที่นําไปใชซํ้าหรือนําไปรีไซเคิลได และรูปที่ 7.12 วัสดุจากการรื้อถอนที่นําไปใชซํ้าและนํากลับไปใชใหมได

ตารางที่ 7.1 เศษวัสดุจากการรื้อถอนที่นําไปใชซํ้าหรือนําไปรีไซเคิลได

เศษวัสดุจากการรื้อถอน วิธีการจัดการเศษวัสดุ 1. กระเบื้องหลังคา

กระเบื้องพื้น ขายเปนวัสดุกอสรางใชแลว ถมที่

2. ฝา ถมที่ 3. อลูมิเนียม ขายเปนวัสดุรีไซเคิล 4. วงกบประตู/ หนาตาง ขายเปนวัสดุกอสรางใชแลว 5. กระจก ขายเพื่อไปทําตูปลา 6. คานไม/ เหล็ก ขายเปนวัสดุกอสรางใชแลว

ขายเปนวัสดุรีไซเคิล 7. สายไฟ ขายเปนวัสดุรีไซเคิล 8. ทอ PVC /เหล็ก ขายเปนวัสดุรีไซเคิล 9. เศษคอนกรีตผนัง/พื้นฐานราก ถมที่ 10. เศษเหล็กจากเสา/ฐานราก ขายเปนวัสดุรีไซเคิล

ราคาของเศษวสัดุกอสรางที่ร้ือถอนจากอาคารที่สามารถใชซํ้าหรือนํากลับมาใชใหมไดมีราคา โดยประมาณดังตอไปนี้

• อะลูมิเนียม 30 - 60 บาท ตอ กิโลกรัม • ทองแดงจากสายไฟ 200 บาท ตอ กิโลกรัม • ทอ PVC 10 บาท ตอ กิโลกรัม • คานเหล็กขายเปนเศษ 8 - 10 บาท ตอ กิโลกรัม

Page 171: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-20

• กระเบื้องหลังคา 10 บาท ตอ แผน • วงกบประตู หนาตาง 500 บาท ตอ ช้ิน

ราคาของเศษคอนกรีต อิฐ หรือเศษวัสดุจากการรื้อถอนนี้จะมีราคาถูกมากกวาการใชดิน ทรายจากธรรมชาติไปใชในการถมที่ จากการสอบถามบริษัทผูรับร้ือถอนและใหบริการถมที่ดินแหงหนึ่งไดใหขอมูลอัตราคาบริการในการถมที่ดังนี้

• หินเกรด 1 490 บาท ตอ ลูกบาศกเมตร • หินเกรด 2 470 บาท ตอ ลูกบาศกเมตร • หินคลุก 380 - 450 บาท ตอ ลูกบาศกเมตร • หินลูกรัง 280 บาท ตอ ลูกบาศกเมตร • ดินลูกรัง 330 – 350 บาท ตอ ลูกบาศกเมตร • ดินตามไซตงานที่ขุดมา 250 บาท ตอ ลูกบาศกเมตร • ดิน(หนาดนิ 1-5 ม.) 350 บาท ตอ ลูกบาศกเมตร • ดิน (ต่ํากวา 5 ม.) 270 บาท ตอ ลูกบาศกเมตร • เศษคอนกรีตผสมดิน 250 บาท ตอ ลูกบาศกเมตร • เศษคอนกรีต 140 บาท ตอ ลูกบาศกเมตร

ราคาดังกลาวจะรวมทั้งคาวัสดุและคาบริการขนสงโดยการขนสงในระยะไมเกิน 5 กิโลเมตร หากระยะทางไกลมากกวานั้นจะคิดราคาเพิ่มเติม การกําจัดของเสียจากการรื้อถอนที่ปนเปอนหรือมีแนวโนมวาปนเปอนดวยสารอันตรายเชน หลังคากระเบื้องลอนคู กระเบื้องแผนเรียบ มีสวนประกอบของ แอสเบสตอส จําเปนจะตองมีการกําจัดที่เหมาะสม บริษัทรับร้ือถอนบริษัทหนึ่งใหขอมูลวาการกําจัดเศษวัสดุดังกลาวจะวาจางใหผูที่มีใบอนุญาตรับบริการขนสงวัสดุหรือของเสียอันตรายไปกําจัด โดยคิดคาบริการ 10 บาทตอกิโลกรัม การกําจัดแอสเบสตอสนั้นจะขนสงไปกําจัดดวยการฝงกลบหรือการนําไปเผาสําหรับการกําจัดขยะอันตราย

Page 172: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-21

รูปท่ี 7.12 วัสดุจากการรื้อถอนที่นําไปใชซํ้า และนํากลบัไปใชใหมได

Page 173: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-22

7.8 ความคิดเห็นจากผูใหสัมภาษณบริษัทร้ือถอน

จากการที่คณะผูศึกษาไดเขาพบผูใหสัมภาษณบริษัทร้ือถอนทั้ง 5 แหง เพื่อสอบถามถึงขอมูลดานการจัดการเศษวัสดุจากการกอสรางและของเสียจากการรื้อถอนสิ่งปลูกสรางตางๆแลว ยังไดสอบถามถึงความคิดเห็นในดานตางๆ ซ่ึงรายละเอียดจากขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณแสดงในตารางที่ 7.2-7.8 ตารางที่ 7.2 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง เศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้นเปนของเสีย หรือไม

เศษวัสดุกอสราง บริษัท

เปนของเสีย ไมเปน บางประเภทเปนของเสีย

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

RM1 X มีความคิดเหน็วาเศษวัสดุกอสรางไมเปนขยะและของเสีย แตนับวาเปนของมีคามากกวา

RM2 ไมแสดงความคิดเห็น

RM3 X

เศษวัสดกุอสรางตางๆที่เกิดขึน้นี้แบงเปน 2 สวน สวนแรก จะไมใชขยะ สามารถนําไปใชประโยชนได คือ สวนที่ 1 (1) คอนกรีต อิฐ นําไปถมที่ (2) เสาเข็ม ตัดกองไว แลวนําไปถมที่ (3) เหล็กนําไป recycle สวนที่ 2 จะเปนขยะ เชน พลาสติกจากการกอสราง

RM5 X

เศษวัสดกุอสรางไมเปนขยะ หรือของเสียเพราะทุกอยางมีราคา เศษปูนจะนําไปถมที่ได

RM5 X

เศษวัสดกุอสรางไมเปนขยะ หรือของเสีย เนื่องจากนําไปใชไดและดดีวย เปนการชวยลดวัตถุดิบในการนํามาถม ลดคาน้ํามันในการขนสง

Page 174: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-23

ตารางที่ 7.3 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง ทานมีความคิดเหน็อยางไรในการจดัการเศษซาก วัสดุกอสรางในปจจุบนันี้ ทั้งจากสถานที่กอสราง ร้ือถอน และโรงงานผลิตวัสด ุ กอสรางสําเร็จรูป บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ RM1 การจัดการเศษซากวัสดุกอสรางในปจจุบนันี้ยังกระจัดกระจายไมเปนระเบียบ คดิวา

นาจะมกีารจัดการใหเปนระเบียบเรียบรอย และควรนําเศษซากวัสดกุอสรางมาศึกษาวิเคราะห เพื่อนํามารีไซเคิลใชประโยชนตอไปไดอีกมากมาย

RM2 ไมเสนอความคิดเห็น RM3 การจัดการเศษซากวัสดุกอสรางในปจจุบนันี้ก็ดีอยูแลว และมีวิธีการเดยีวที่จดัการอยู

คือ นําไปถม RM4 การจัดการเศษวัสดุกอสรางในปจจุบันนี้ก็ไมมีปญหา การที่นําเศษวัสดุกอสรางไปใช

ถมที่ก็จะดวูัตถุประสงคของพื้นที่ที่ใชงาน RM5 การจัดการเศษวัสดุกอสรางในปจจุบันนี้ ยังเหมาะสม แตคิดวาการนําเศษวัสดุไปรี

ไซเคิลจะตองไปผานกระบวนการซึ่งอาจตองใชพลังงานมากกกวาการไประเบิดหินเพื่อนํามาใช

Page 175: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-24

ตารางที่ 7.4 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง การดําเนินงานตามสถานที่กอสรางตางๆ และ เศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้น มีปญหาตอส่ิงแวดลอมหรือไม ถาไมมี เพราะอะไร หรือถามี มีจากสวนใด และมีขอเสนอแนะในการแกไขอยางไร

มีปญหาสิ่งแวดลอม บริษัท ประเภท

มลพิษ สถานที่ กอมลพิษ

ไมมีปญหา

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

RM1 ฝุน สถานที่กอสราง

การดําเนนิงานตามสถานที่กอสรางตางๆ และเศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้น มีปญหาตอส่ิงแวดลอมเรื่อง ฝุน รอยละ 90 สามารถแกไขโดยการฉีดน้ํา และกั้นตาขายสิ่งกอสรางนั้นๆ

RM2 X คิดวาการจดัการเศษวัสดกุอสรางไมเปนปญหาเพราะมกีารจางคนเอาขนออกไปกําจัด

RM3 เศษวัสด ุ สถานที่กอสราง

การดําเนนิงานตามสถานที่กอสราง ตางๆ และเศษวัสดุกอสรางตางๆ กอใหเกิดปญหา เชน การที่คนงานมักงายโยนเศษวัสดุทิ้งลงในทอน้ํา

RM4 แอสเบสตอสและฉนวนกันความรอน

เศษวัสด ุ

เศษวัสดกุอสรางบางชนิดที่เกิดขึ้นจากการดําเนนิการกอสรางในปจจุบันกอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม เชน แอสเบสตอส และ ฉนวนกันความรอนที่เปนสารอันตราย สําหรับคอนกรีตไมเปนอันตรายตอสงแวดลอม ขอเสนอแนะ คือ เนนการรื้อถอนที่ดีๆ

RM5 X

การดําเนนิการกอสรางในปจจุบันเศษวัสดุกอสรางทีเ่กิดขึ้นไมกอใหเกิดปญหากับสิ่งแวดลอมเพราะคอนกรีตไมใชสารพิษ ไมมีปฎิกิริยาทางเคม ี

Page 176: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-25

ตารางที่ 7.5 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง การคัดแยกประเภท ขยะ และเศษวสัดุกอสราง ออกเปนประเภทตางๆ โดยมี วัตถุประสงคของการคัดแยกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิล สามารถเปนไปไดหรือไมและ คิดวาเหมาะสมหรือไมในการปฏิบัติงาน

เปนไปได บริษัท

เหมาะสม ไมเหมาะสมเปนไปไมได

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

RM1 X

เห็นดวยกับการคัดแยกประเภท ขยะ และเศษวัสดกุอสรางออกเปนประเภทตางๆ โดยมีวัตถุประสงคของการคัดแยกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิล

RM2 X

มีความคิดเหน็วาปฏิบัติไดยาก หลายๆ บริษัทคงจะไมเสียเวลาคัดแยกในระหวางการรื้อถอน เพราะวัสดุที่ร้ือจะลงมากองรวมกัน คิดวาปญหาคือ ตอนคัดแยก ซ่ึงในประเทศไทยจะไมเหมือนตางประเทศ เชน ประเทศญี่ปุนที่จะตดัวสัดุกอสรางลงมาเปนชิ้นในขณะรื้อถอน สําหรับเศษวัสดุที่คิดวาจะแยกชนิดออกไปได กจ็ะมีเพียงเหล็กกับคอนกรีต เปน 2 ประเภท การดําเนนิการคัดแยกจะเพิ่มเวลาที่ใชในการรื้อถอนแตจะกอใหเกิดปญหามลพิษกับสิ่งแวดลอมนอย

RM3 X

เปนไปไดในการคัดแยก ขยะ และเศษวัสดุกอสรางออกเปนประเภทตางๆ เนื่องจากสามารถทําใหมีรายไดเพิ่มเขามา แตจะเปนปญหาในการปฏิบัติงาน ดานแรงงานที่ตองใชเพิ่มขึ้น

RM4

X

คิดวาเปนไปไดในการคัดแยกประเภท ขยะ และเศษวสัดุกอสรางเพื่อนํากลับไปรีไซเคิล และ ถามีวัตถุประสงคการใชที่ชัดเจน การปฎิบัติงานก็จะไมยุงยาก

Page 177: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-26

เปนไปได บริษัท

เหมาะสม ไมเหมาะสมเปนไปไมได

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

RM5

X

ปจจุบันมีการคัดแยกประเภท ขยะ และเศษวัสดกุอสรางเพื่อนํากลับไปรีไซเคิล เนื่องจากมีความคุมคาในการคัดแยก มูลคาของเศษวัสดุที่คัดแยกไดมีราคาสูงก็จะคัดแยกที่บริเวณทีห่นางาน

Page 178: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-27

ตารางที่ 7.6 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ืองการจัดตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุ กอสราง บริษัท เห็นดวย ไมเห็นดวย อ่ืนๆ ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

RM1 X

เห็นดวยกับการจัดตั้ง สถานที่สําหรับ รีไซเคิลเศษซากวัสดุกอสราง แตกังวลในเร่ืองของระยะทางในการขนสงจากศูนยรีไซเคิลกับที่สถานที่กอสรางหรือร้ือถอน

RM2 X

ขึ้นอยูกับความสะดวกในการทํางาน ถาบริษัทขายเศษวัสดุเปนเทีย่วจะดกีวา แตถามีศูนยรีไซเคิลหมายถึง บริษัทจําเปนตองมีรถขนยายไปสง ที่ศูนยรีไซเคิลดวย

RM3 X

จะยนิดหีากมกีารจัดตั้ง สถานที่สําหรับ รีไซเคิลเศษซากวัสดุกอสราง และยนิดีใหมารับเศษ แตถาจะใหบริษัทดําเนินการกับเศษเองจะไมสะดวก

RM4 X

ถาไมมีคาใชจายและคนรับยนิดีใหบริการที่รวดเร็ว ไมไดมองเรื่องที่ตั้งของสถานที่ รีไซเคิลวาจะมีระยะหางจากสถานที่กอสรางหรือร้ือถอนมากแคไหน

RM5 X

ขึ้นอยูกับระยะทางในการใหบริการ ถาหากมีบริการมารับเศษวัสดุที่สถานที่กอสรางหรือร้ือถอนและ ขึ้นกับวาใหราคาที่ดีกวาการที่บริษัทไดจากการนําไปขายเอง อยางไรก็ตาม ก็เห็นดวยในการนําไปเพิ่มมูลคาใหกับเศษที่วัสดุที่เกิดขึ้น

Page 179: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-28

ตารางที่ 7.7 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ความตองการใหหนวยงานของรัฐเขามา ชวยเหลือในการดําเนนิการเกีย่วกับ การจัดการเศษสิ่งกอสรางหรือไมอยางไร บริษัท ตองการ ไมตองการ อ่ืนๆ ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

RM1 X

ตองใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในการดําเนนิการเกี่ยวกับ การจดัการเศษส่ิงกอสรางในเรื่องของเครื่องมือ เชน การจัดหาเครื่องมอืมาใหเชา และบริษัทร้ือถอนสามารถไปเชาใชได

RM2 ไมแสดงความคิดเห็น

RM3 X ตองการใหหนวยงานของรัฐเขามาชวยเหลือในเรื่องสถานที่สําหรับทิ้งเศษ

RM4 X ไมเชื่อถือการทํางานของรัฐ เอกชนเปนผูดําเนินการและรัฐดูแลดวยกฎหมาย ซ่ึงกฎหมายทีใ่ชเปนในเชิงการรณรงค

RM5 X

รัฐไมจําเปนในการเขามาชวยเนื่องจากมันเปนกลไกของการตลาด หรือถาจะชวยเหลือควรเปนการอบรมใหมีความรูเร่ืองอันตรายจากการกอสรางหรือเศษจากกการกอสราง

ตารางท่ี 7.8 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง ขอมูลที่ตองการใหมีในคูมือแนวทางการจัดการ เศษวัสดุกอสรางสําหรับประเทศไทย

บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ RM1 ไมมีความคิดเห็น RM2 ไมมีความคิดเห็น RM3 อยากใหหนวยงานของรัฐใหขอมูลในเรื่องสถานที่สําหรับทิ้งเศษ RM4 เร่ืองความปลอดภัย ที่ทุกคนตองความรวมมือกัน RM5 ไมมีความคิดเห็น

Page 180: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-29

7.9 สภาพทั่วไปในการดําเนินการในสถานที่กองเก็บ

จากการสํารวจสถานที่กองเก็บบริเวณรอบๆ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบวาสวนใหญจะนําเอาเศษวัสดุจากงานกอสรางและงานรื้อถอนมากองรวมเก็บไวช่ัวคราวในพื้นทีท่ีเ่ตรยีมไว เพื่อรอการนําเศษวัสดุดังกลาวไปขายกับผูที่ตองการซื้ออีกทีหนึ่ง ลักษณะการดําเนินงานสวนใหญจัดการโดยบริษัทเอกชน รูปแบบขั้นตอนการดําเนินงานของผูประกอบการที่ทําธุรกิจเกี่ยวกับสถานที่กองเก็บแสดงในรูปที่ 7.13

รูปท่ี 7.13 ขั้นตอนการดําเนนิงานของผูประกอบการเกี่ยวกับสถานที่กองเก็บ

ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่นําเขามาในสถานที่กองเก็บสวนใหญมาจากบริเวณรอบๆ กรุงเทพฯและปริมณฑล โดยสวนใหญจะใชรถบรรทุกเล็ก 6 ลอคลุมผาระหวางการขนเศษวัสดุมาที่สถานที่กองเก็บ ดังแสดงในรูปที่ 7.14 ในขณะที่บางครั้งอาจใชรถบรรทุก 10 ลอในการขนเศษวัสดุ โดยสวนใหญเศษวัสดทุี่ขนเขามาที่สถานที่กองเก็บจะมีองคประกอบหลักขึ้นกับแหลงที่มา โดยสวนใหญองคประกอบหลักจะมีเศษคอนกรีต เศษอิฐ ที่ทุบทําลายมาจากงานกอสรางและรื้อถอน ในขณะที่สถานที่กองเก็บสําหรับงานกอสรางและปรับปรุงสภาพถนน สวนใหญองคประกอบจะเปนพวกแอสฟลต ดิน และคอนกรีต อาทิเชน พื้นผิวคอนกรีต คันหินเกา เสาไฟฟา ทอคอนกรีต บอพักเกา เปนตน (สําหรับเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับปริมาณและองคประกอบของเศษวัสดุในสถานที่กองเก็บแสดงในบทที่ 2) ของเสียจากการกอสรางสวนใหญไดมากจากการรับจางขนเศษวัสดุจากสถานที่กอสรางหรือร้ือถอน หรือทําการรับจางรื้อถอนเอง หรือมีรถขนเศษวัสดุเขามาที่สถานที่กองเก็บเอง การนําเศษวัสดุเขามาในสถานที่กองเก็บจะไมมีผูตรวจสอบหรือผูรับผิดชอบโดยตรง ทําให

Page 181: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-30

ไมสามารถวัดปริมาณเศษวัสดุที่เขามาในสถานที่กองเก็บได แตอาจมีการจายคาบริการสําหรับการนําเอาเศษวัสดุมาทิ้งในสถานที่กองเก็บ

รูปท่ี 7.14 การขนสงเศษวัสดุเขามาในสถานที่กองเก็บ

สถานที่กองเก็บสวนใหญตั้งอยูไมไกลจากชุมชนหรือบริเวณที่มีการรับร้ือถอน บางแหงมีแหลงน้ําอยูใกลกับบริเวณที่มีการกองเศษวัสดุ ในกรณีที่งานที่ไดรับเหมาจากทางราชการพบวา การเลือกสถานที่ที่ใชสําหรับกองเก็บเศษวัสดุไมมีระบุในสัญญาวาตองตั้งหางจากแหลงชุมชนหรือแหลงน้ําในระยะทางเทาใด เศษวัสดุสวนใหญจะถูกนํามากองทิ้งไว ไมเกิน 1 เดือนถึง 1 ป โดยที่ระยะเวลาในการกองเศษวัสดุทิ้งไวไมแนนอน บางครั้งเศษวัสดุเขามาที่สถานที่กองเก็บไมนานจะมีผูซ้ือออกไป แตในบางขณะอาจตองกองเศษวัสดุนาน การกองเก็บสวนใหญจะไมมีการคัดแยกประเภทของเศษวัสดุที่นําเขามา เศษวัสดุสวนใหญจะถูกนําไปกองไวรวมกัน แตบางผูประกอบการจะทําการคัดแยกเศษวัสดุขนาดใหญกับเศษวัสดุขนาดเล็กออกจากกัน และคัดแยกเศษไมออกจากกองเศษวัสดุ ในขณะที่บางผูประกอบการจะมีการคัดแยกกองตามประเภทของเศษวัสดุ สําหรับเศษวัสดุที่มีขนาดใหญ สวนใหญจะมีการลดขนาดโดยใชรถตักเหยียบ หรือใชหัวรถตักทุบ ดังแสดงในรูปที่ 2.18 ในขณะที่บางผูประกอบการจะเชาหัวเจาะกระแทกเมื่อรวบรวมเศษวัสดุขนาดใหญไดปริมาณมากๆ เพื่อลดขนาดเศษวัสดุที่มีขนาดใหญใหเล็กลง สวนใหญการลดขนาดเศษวัสดุมีวัตถุประสงคเพียงเพื่อใหเศษวัสดุสามารถใสลงในรถบรรทุกและทําการขนสงได นอกจากนี้การลดขนาดอาจทําโดยใชแรงงานโดยใชคอนทุบคอนกรีต ดังรูปที่ 2.14 วัตถุประสงคเพื่อนําเศษเหล็กไปขาย นอกจากนี้อาจใชหัวแกส หรือกรรไกรตัดเหล็กชวยในการตัดเหล็กออกมา

Page 182: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-31

การคัดแยกในกองเศษวัสดุ สวนใหญจะไมมีการคัดแยก แตขณะที่บางผูประกอบการจะใชแรงงานคนในการคัดแยกเฉพาะเศษวัสดุที่มีมูลคาและสามารถขายได เชนเศษเหล็ก เศษโลหะ ขวดแกว และอื่นๆ เปนตน การวัดปริมาณเศษวัสดุที่นําออกจากสถานที่กองเก็บ สวนใหญจะวัดตามปริมาณความจุของหัวรถตัก หรือความจุของรถที่ใชในการบรรทุกเศษวัสดุ อาทิเชน รถบรรทุก 6 ลอเล็กจะมีความจุประมาณ 6 ลูกบาศกเมตร หรือรถบรรทุก 10 ลอจะมีความจุประมาณ 18 ลูกบาศกเมตร เปนตน หรือ อาจวัดปริมาณจากจํานวนเที่ยวของรถบรทุก ดังแสดงในรูปที่ 7.15

รูปท่ี 7.15 รถตักเศษวัสดุลงในรถบรรทุกเพื่อนําไปถมที ่ สถานที่กองเก็บบางแหงจะมีการขายเศษวัสดุควบคูกับการขายมวลรวมหรือวัสดุจากธรรมชาติ โดยราคาขายเศษวัสดุลูกบาศกเมตรละ 50 บาทจนถึงลูกบาศกเมตรละ 200 บาท ในขณะที่ราคาวัสดุธรรมชาติ อาทิเชน หินขายลูกบาศกเมตรละ 440 บาท หรือทรายขายลูกบาศกเมตรละ 360 บาท เศษวัสดุสวนใหญถูกนําไปใชในการถมที่ โดยผูประกอบการของสถานที่กองเก็บอาจรับจางถมที่เอง หรือขายเศษวัสดุสําหรับนําไปถมที่ หรือขายเศษวัสดุสําหรับนําไปใชทําถนน สวนใหญกฏหมายที่ผูประกอบการของสถานที่กองเก็บระมัดระวังคือกฏหมายที่เกี่ยวของกับการขนยายเศษวัสดุ โดยผูประกอบการสวนใหญจัดการโดยใหมีผาใบคลุมรถบรรทุก และทําความสะอาดเศษดินที่ติดกับรถบรรทุก 7.9.1 ความคิดเห็นจากผูใหสัมภาษณผูประกอบการสถานที่กองเก็บ จากการที่คณะผูศึกษาไดเขาพบผูใหสัมภาษณผูประกอบการสถานที่กองเก็บจํานวน 3 แหง เพื่อสอบถามถึงขอมูลดานการจัดการเศษวัสดุจากการกอสรางและรื้อถอนแลว ยังไดสอบถามถึงความคิดเห็นในดานตางๆ ซ่ึงรายละเอียดจากขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณแสดงในตารางที่ 7.9-7.16

Page 183: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-32

ตารางที่ 7.9 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง เศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้นเปนของเสีย หรือไม

เศษวัสดุกอสราง บริษัท

เปนของเสีย ไมเปน บางประเภทเปนของเสีย

ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ

SS1 X ปจจุบันวัสดุหายากขึ้น ราคาไมคงที่ (ปูน ทราย หิน) โดยท่ีถนนคอนกรีตเดิม ควรนํามายอยใหมแลวนํามาขึ้นรูปใหม

SS2 X เนื่องจากนํามาใชประโยชนไมไดแลว SS3 X เนื่องจากนํามาใชใหมได

ตารางที่ 7.10 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง ทานมีความคิดเหน็อยางไรในการจัดการเศษ ซากวัสดกุอสรางในปจจุบันนี ้ บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ SS1 การจัดการเศษซากวัสดุกอสรางยังไมดีเทาที่ควร เนื่องจากมีขอกําจัดในเรื่องเวลา

คาใชจาย ทําใหไมสนใจในสวนนี้ โดยท่ีการจัดการตองเริ่มจากเจาของงานกอน SS2 ดีในสวนที่เอาไปถมพื้นที่ที่เปน คู คลอง

ไมดีในสวนของฝุนที่เกิดจากการรื้อถอน SS3 การจัดการเศษวัสดุกอสรางดใีนสวนที่สามารถนําเศษมาถมที่ใหถูกตองดีกวานําไป

ทิ้งในพื้นที่อ่ืนที่ไมถูกตอง ตารางที่ 7.11 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณเร่ือง การดําเนินงานตามสถานที่กอสรางตางๆ และ เศษวัสดุกอสรางตางๆ ที่เกิดขึ้น มปีญหาตอส่ิงแวดลอมหรือไม บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ SS1 มี ปญหาตอส่ิงแวดลอมจากสวนขนยาย เชน ขุดร้ือหนางาน จะเกิดฝุน และขนยาย จะ

เกิด เศษหลนจากรถโดยเสนอใหมีการวางขอกําหนดใหผูรับจางดําเนนิการ โดยมีคาใชจายใหดาํเนินการ และผูรับจางดําเนินการตามได เชน มีหัวสเปรยน้ํา ที่รถขุด เพื่อไมใหเกดิฝุน และมีการปองกันเศษกระเด็นออกไปจากรถ

SS2 ไมมี ปญหาตอส่ิงแวดลอม หากมีการปฏบิัติที่ดี คือ คลุมผาใบใหดี และในขณะที่ทบุ

Page 184: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-33

บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ ร้ือ ใหทําอยางระมัดระวัง

SS3 มี ปญหาตอส่ิงแวดลอมในเรื่องฝุนและเสียง แตทางบรษิทก็มีระบบความปลอดภยัอยูแลว

ตารางที่ 7.12 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณ เร่ือง การคัดแยกประเภท ขยะ และเศษวัสดุกอสราง ออกเปนประเภทตางๆ โดยมีวัตถุประสงคของการคัดแยกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิล สามารถเปนไปไดหรือไม และคิดวาเหมาะสมหรือไมในการปฏิบัติงาน บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ SS1 เปนไปได ถามีคนยอมทํา ในการปฏิบัติงานคือ ใชคนในการเก็บคัดแยก SS2 เปนไปไมได ในการรีไซเคิล เนื่องจากของที่มาที่สถานที่กองเก็บจะไมมีของดีเหลือ

แลว SS3 เปนไปได ในการรีไซเคิล ในการปฏิบัติงานคือ ใชคนในการเก็บคัดแยก

ตารางที่ 7.13 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเร่ือง การจัดตั้ง สถานที่สําหรับรีไซเคิลเศษซากวัสดุ กอสราง บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ SS1 เปนเรื่องที่ดีและจะใหความรวมมืออยางยิง่ โดยผลักดันเจาของงานที่รับผิดชอบ และ

มีการกําหนดในเงื่อนไขของสัญญา SS2 เอาไปรีไซเคิลไมได เนื่องจากเปนชิ้นใหญ SS3 เปนเรื่องที่ดี จะไดมีสถานทีสํ่าหรับทิ้งใหถูกตอง เพื่อประโยชนในการคัดแยก

Page 185: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-34

ตารางที่ 7.14 ความคิดเหน็ของผูใหสัมภาษณ เร่ือง ความตองการใหหนวยงานของรัฐเขามา ชวยเหลือในการดําเนนิการเกีย่วกับ การจัดการเศษสิ่งกอสรางหรือไมอยางไร บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ SS1 ทุกวันนี้ก็ดีอยูแลว คือ

- เทศกิจ ดแูลเรือ่งรถวิ่ง ฝุนละออง วัสดุตกหลน - กรมทางหลวง ดูแลใหผูรับจางทํางานใหเปนไปตามกฎหมายทองถ่ิน

โดยรวมไมไดเขามาจัดการเรื่องเศษวัสดุทีเ่กิดขึ้น SS2 หนวยงานของรัฐชวยไมไดหรอก เนื่องจากรัฐยังจางใหบริษัทไปชวยขนอยูเลย SS3 นาจะดี โดยใหชวยในเรื่องของการลงทุนในการดําเนินการ เนื่องจากประชาชนไมมี

เงินที่จะลงทนุ ตารางที่ 7.15 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ เร่ือง ขอมูลที่ตองการใหมีในคูมือแนวทางการจัดการ เศษวัสดุกอสรางสําหรับประเทศไทย บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ SS1 - กลาวถึงหนวยงานของรัฐที่มีอํานาจโดยตรงกับบริษทเอกชน

- รางเปนขอกําหนดขึ้นมา โดยเริ่มจากพื้นฐานความพรอมทางบริษัทที่มีศักยภาพทําได

- หนวยงานของรัฐตองตระหนักดวย SS2 ไมมี SS3 ไมมี

Page 186: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-35

ตารางที่ 7.16 ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ เร่ือง ขอคิดเห็นอื่นๆ บริษัท ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณ SS1 อยากใหนกัวิชาการมีการนําผิวคอนกรีตเดมิที่ร้ือกลับมาใชใหม โดยการทําชั้น

พื้นฐาน แทนชั้นหินคลุกหรือลูกรัง SS2 ในปจจุบนัหนวยงานราชการก็ยังจางบรษิัทใหขนอยูเลย เลยไมคิดวาจะมีอะไรที่

หนวยงานรัฐจะชวยได SS3 ไมมี

7.10 สภาพทั่วไปของการรับซื้อเศษวัสดุจากการรื้อถอน

จากการสํารวจรานรับซื้อ - ขาย วัสดุกอสรางใชแลว 3 แหงในพื้นที่เขตปริมณฑล พบวาสินคาที่นํามาขายมาจากการรื้อถอน ผูประกอบการบางแหงดําเนินการในรูปของบริษัทรับร้ือถอนและเมื่อร้ือถอนสวนของอาคารที่ยังสามารถนํามาใชซํ้าได ก็จะคัดแยกออกมาเพื่อนํามาขายเปนวัสดุกอสรางใชแลวโดยอาจจะมีผูมาติดตอขอซื้อที่สถานที่ร้ือถอนเลย หากไมมีลูกคามารับซื้อในสถานที่ร้ือถอน ทางบริษัทร้ือถอนจะนําวัสดุกอสรางดังกลาวสงกลับไปที่รานคาวัสดุกอสรางใชแลวของบริษัท สําหรับรานรับซ้ือ - ขายบางแหงที่ไมไดดําเนินการในรูปของบริษัทร้ือถอน แตจะรับซื้อจากบานที่ร้ือถอนโดยผานนายหนา ซ่ึงในแตละจังหวัดจะมีนายหนาที่ทําหนาที่ตกลงราคากับเจาของบานที่จะทําการรื้อถอนเพื่อรับซื้อวัสดุเกา และนําวัสดุนั้นมาทําการซอมแซม ดัดแปลงหรือคัดแยกที่ราน สินคาประเภทวัสดุกอสรางใชแลวมีหลายประเภท แตโดยสวนใหญจะเปน ไม ประเภท ไมเต็ง ไมยาง ประตู หนาตาง วงกบ บันได ไมแบบ รูปที่ 7.16-7.17 ลูกคาที่มาซื้อสินคาวัสดุกอสรางใชแลวโดยสวนใหญจะเปนลูกคารายยอยที่จะซื้อสินคาไปใชในการปลูกบาน ซอมแซม หรือ ตอเติมบาน ราคาของสินคาประเภทวัสดุกอสรางใชแลวจะข้ึนกับการตกลงราคากันและลักษณะหรือ ภาพของสินคา ดังแสดงตัวอยางราคาสินคาในตารางที่ 7.17 หากลูกคาซื้อสินคาในปริมาณมาก ทางรานจะใหบริการในการขนสงโดยไมคิดคาบริการจัดสง แหลงคาไมเกาที่พบไดมากในเขตภาคกลางคือ ที่จังหวัด อยุธยา อางทอง และ สุพรรณบุรี

Page 187: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-36

รูปท่ี 7.16 ไมที่ร้ือถอนจากบานเกานํามาขายเปนวัสดุกอสรางใชแลวโดยคัดตามขนาด

Page 188: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 7 การจัดการเศษสิ่งกอสรางจากการรื้อถอนอาคารและสิ่งปลูกสราง

7-37

รูปท่ี 7.17 ประตูและหนาตางที่ร้ือถอนจากบานเกานํามาขายเปนวัสดุกอสรางใชแลว

Page 189: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

7-38

ตารางที่ 7.17 แสดงราคาและรายการสินคาประเภทวัสดุกอสรางใชแลว

สินคาประเภทวัสดุกอสรางใชแลว ราคา หนาตาง ไมรวมวงกบ 150 บาท

หนาตางไมสัก 1,000-1,200 บาท/ชุด หนาตาง 2 บานไมสัก พรอมวงกบ ไมเต็ง 600 บาท

หนาตางบานเลื่อนกระจก (1 ชุดมี 2 บาน) ชุดละ 2,500 บาท หนาตางมีเหล็กดัด 2 บาน 2,500 บาท หนาตาง กระจกไมสัก 2 บาน 1,300 บาท ประตูไมยาง 500-600 บาท

ประตูบานเลื่อนกระจก ชุดละ 3,000 บาท ประตูไมสัก ขนาด 80 เซนติเมตร × 2 เมตร 1,500-2,000 บาท ประตูบานมุงลวด ขนาด 80 เซนติเมตร× 2 เมตร 500 บาท บานประตูหองน้ํา (PVC) 800 บาท ประตูบานเลื่อนไมมีวงกบ 2 บาน 1,000 บาท หนาตางบานเกล็ด 1,000 บาท ราวบันได อันละ 25 บาท

คาน 2” × 8” เมตรละ 250 บาท

หลังคากระเบื้องลอนใหญ แผนละ 120 บาท

กระเบื้องสังกะสี ฟุตละ 10 บาท

บันได 1,500- 2,000 บาท/ชุด

ปารเกปูไดประมาณ 100 กวาตารางเมตร 30,000 บาท

สุขภัณฑ ชุดละ 300 บาท

ราง และหลอดไฟฟลูออเรสเซนต (แตไมคอยมีลูกคาสนใจนัก) 80 บาท

Page 190: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 8

การจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของหนวยงานที่เกี่ยวของ

การศึกษาในครั้งนี้ไดครอบคลุมถึงการสัมภาษณหนวยงานราชการบางแหงที่เกี่ยวของกับการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไดแก สํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร สํานักโยธา กรุงเทพมหานคร กรมทางหลวงและกรมทางหลวงชนบท ซ่ึงคณะผูศึกษาไดตระหนักวาหนวยงานดังกลาวนั้นมีบทบาทที่สําคัญที่เกี่ยวของในดานการใชวัสดุกอสราง การควบคุมการกอสรางและการรื้อถอนอาคาร รวมทั้งหนวยงานที่มีบทบาทหนาที่ในดานการจัดการ การกําจัดของเสีย ทางคณะผูศึกษารวมกับกรมควบคุมมลพิษไดเขาพบตัวแทนจากหนวยงานตางๆ เพื่อสัมภาษณเกี่ยวกับปญหาในการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนและนโยบายของหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

8.1 สํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร

ตามอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบของสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานครซึ่งเกี่ยวกับการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม ดังนั้นการดําเนินการจัดการของเสียจากการกอสรางและการรื้อถอนก็เปนสวนหนึ่งที่อยูภายใตอํานาจหนาที่ดังกลาว คณะผูศึกษาไดสอบถามรายละเอียดตางๆ ในดานปญหาของการกําจัดของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน รวมถึงนโยบายตางๆ ที่เกี่ยวของดังรายละเอียดตอไปนี้

8.1.1 ปญหาดานการกําจัดของเสยีจากการกอสรางและรื้อถอน ปญหาด านการกํ า จั ดของ เสี ยจ ากการก อสร า งและรื้ อถอนนั้ น เกิ ดจ ากการที่ผูรับเหมากอสราง หรือผูร้ือถอนนําเศษวัสดุและของเสียดังกลาวไปแอบทิ้งตามที่วางเปลา ทั้งในที่ดินที่เปนที่สาธารณะและที่ดินของเอกชน การแอบทิ้งในพื้นที่วางเปลากอใหเกิดปญหาความไมสะอาดและความไมเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง ปญหาทางดานทัศนียภาพ การทิ้งเศษวัสดุกอสรางในพื้นที่เอกชนนั้นจะมีทั้งการแอบทิ้งในพื้นที่โดยที่เจาของพื้นที่ไมยินยอม และบางแหงนําไปทิ้งโดยเจาของที่ดินยินยอมใหใชที่ดินเปนที่กําจัดเศษวัสดุกอสราง เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวนั้นเจาของพื้นที่ซ้ือไวโดยมีจุดประสงคเพื่อจะขุดหนาดินไปขาย หลังจากนั้นจึงตองการนําเศษวัสดุกอสรางและขยะมาถม จนกระทั่งพื้นที่ที่ถูกขุดจนกลายเปนบอดินนั้นเต็มจนกระทั่งมีระดับเกือบจะเทาระดับดินเดิม จึงกลบทับดวยดินธรรมชาติและจัดขายที่ดินดังกลาวแกบุคคลอื่นตอไป จะเห็นได

Page 191: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

8-2

วานอกจากปญหาทางดานทัศนียภาพแลว การนําเศษวัสดุและของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไปถมทิ้งในบอดินที่มีความลึกถึงระดับน้ําใตดินหรือต่ํากวาระดับน้ําใตดินยังอาจกอใหเกิดผลกระทบดานการปนเปอนน้ําใตดิน เพราะเศษวัสดุและของเสียที่นํามาใชเปนวัสดุถมไมไดมีการคัดแยกประเภท และอาจมีสารอันตรายหรือมีแนวโนมวาเปนอันตรายปนเปอนอยูในเศษวัสดุและของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่นํามาใชถมที่ดินดังกลาว นอกจากการทิ้งในพื้นที่วางเปลาแลว การเผาในที่โลงเพื่อกําจัดของเสียบางชนิดที่เกิดจากงานกอสรางและรื้อถอนเชน เศษไมและบรรจุภัณฑของวัสดุกอสราง กอใหเกิดปญหามลพิษทางอากาศ และอาจกอใหเกิดเพลิงไหมจากการเผาของเสียดังกลาวในที่โลงเพื่อกําจัด ในปจจุบันนี้บริษัทที่นํามูลฝอยของกรุงเทพมหานครไปกําจัด ไมประสงคที่จะรับเศษวัสดุและของเสียจากการกอสรางไปกําจัดเนื่องจากในเศษวัสดุมีสวนประกอบที่จัดการไดยากเชน เหล็กเสริมในคอนกรีตที่อาจทําใหผาใบคลุมรถเก็บขนมูลฝอยเสียหายได และกรุงเทพมหานครก็ไมไดมีศูนยหรือหนวยงานใดๆ ที่เปนศูนยรีไซเคิลหรือสถานที่ในการจัดการของเสียจากการกอสรางและร้ือถอน

8.1.2 นโยบายดานการดําเนินการจดัการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน เนื่องจากปญหาดานการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและมีความจําเปนที่ตองแกไข ดังนั้นทางสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร ไดมีนโยบายในการดําเนินการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนตามขั้นตอนดังนี้

1. นโยบายขั้นแรกจะเริ่มตนจากการจัดตั้งโรงงานกําจัดของเสียที่เกิดจากการกอสรางและร้ือถอน ซ่ึงในขณะนี้อยูระหวางการดําเนินการของบประมาณสรางโรงงานกําจัดเศษวัสดุและของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน 2 แหง คือ

(a) หนองแขม กําลังการจัดการ 100 ตัน/วัน (b) ออนนุช กําลังการจัดการ 100 ตัน/วัน

สาเหตุที่เลือกสถานที่สองแหงนี้เพราะมีเนื้อที่ขนาดใหญ จะไมทําใหเกิดผลกระทบตอชุมชนโดยรอบ การจัดตั้งโรงงานกําจัดเศษวัสดุและของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนทั้งสองแหงนี้เปนโรงงานตนแบบ ซ่ึงทางสํานักสิ่งแวดลอมไดมีนโยบายในการใหการบริการโดยยกเวนคากําจัดในชวงระยะเวลา 1-2 ปแรก โดยวิธีการดังกลาวจะเปนแนวทางหนึ่งที่ทําใหทราบปริมาณเศษวัสดุที่เกิดขึ้น

เนื่องจากปริมาณของเศษวัสดุและของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เกิดขึ้นในเขตกรุงเทพมหานครยังไมไดมีการศึกษาและรวบรวมไว ถาจะมีการประเมินปริมาณก็จะทําไดแตเฉพาะการพิจารณาจากจํานวนอาคารที่ขออนุญาตในการกอสราง ในกรุงเทพมหานครมีการขอ

Page 192: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 8 การจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของหนวยงานที่เกี่ยวของ

8-3

อนุญาตกอสรางอาคารประมาณปละ 2 ลานตารางเมตร ถามีการศึกษาปริมาณการเกิดเศษวัสดุและของเสียจากการกอสรางตอหนวยตารางเมตร ก็จะสามารถประเมินปริมาณเศษวัสดุและของเสียไดอยางไรก็ตามปริมาณของเสียจากการกอสรางโดยสวนใหญมาจากการรื้อถอนและการตอเติมอาคารและโดยสวนใหญแลวการรื้อถอน การตอเติมอาคารตางๆ นั้นไมไดมีการขออนุญาต ถึงแมวาตามกฏหมายแลวจะตองมีการขออนุญาตกอนการรื้อถอนตอเติมเชนเดียวกันกับการกอสรางก็ตาม ขอมูลดานจํานวนโครงการรื้อถอนและตอเติมอาคารที่ไมสมบูรณเปนปญหาที่สําคัญในการประเมินปริมาณการเกิดเศษวัสดุและของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

2. นโยบายขั้นที่สองคิดคาธรรมเนียม การเก็บขน ขนสง และการกําจัด หลังจากการที่โรงงานกําจัดของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอนนั้นไดเปดใหบริการรับกําจัดแลว และใหบริการโดยยกเวนคาธรรมเนียมในชวงระยะแรก หลังจากนั้นจะเริ่มการคิดคาธรรมเนียมในการเก็บขน การขนสงและการกําจัด ซ่ึงรายละเอียดนั้นจะตองทําการศึกษาตอไป

ในขณะนี้กรุงเทพมหานครมีแนวคิดในการจัดเก็บคาธรรมเนียมการกําจัดเศษวัสดุกอสราง โดยจะคิดคาธรรมเนียมลวงหนาเมื่อมีการขอยื่นอนุญาตกอสรางอาคารหรือขออนุญาตรื้อถอน ตอเติมอาคาร คาธรรมเนียมจะคิดตามขนาดของพื้นที่อาคาร การคิดคาธรรมเนียมนั้นอาจแบงเปนกรณีเชน การคิดคาธรรมเนียมการบริการกําจัด การขนสง ปจจุบันนี้กรุงเทพมหานครมีขอบัญญัติคาบริการป 2543 เร่ืองคากําจัด กําหนดอัตราคาบริการ คาขนสง คาบริการกําจัด สําหรับเศษวัสดุและของเสียจากสถานที่กอสรางตามลูกบาศกเมตร แตยังไมสามารถบังคับใชไดเพราะยังไมมีสถานที่กําจัดสําหรับใหบริการ

3. นโยบายขั้นที่สามเมื่อมีการจัดตั้งสถานที่บดยอยเศษวัสดุกอสรางแลวจะนําเอาวัสดุที่ไดไปใชประโยชนตอไป และอาจจะมีการดําเนินการรวมกันกับวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในดานการศึกษาคุณสมบัติความเหมาะสมในการนําไปใช และเพื่อกําหนดเปอรเซ็นตของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่ผานกระบวนจัดการในโรงงานกําจัดแลว กลับมาใชใหมในงานกอสรางประเภทตางๆ เพื่อเปนการสนับสนุนการใชวัสดุกอสรางทุติยภูมิและหนวยงานที่นําวัสดุรีไซเคิลไปใชเปนการเสริมสรางภาพพจนขององคกร สําหรับนโยบายในการผลักดันใหผูประกอบการดานอุตสาหกรรมกอสรางมีการคัดแยกองคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนนั้น ทางสํานักสิ่งแวดลอมเล็งเห็นแลววา เมื่อศูนยกําจัดฯ ไดจัดตั้งขึ้นและในระยะที่เร่ิมมีการคิดคาธรรมเนียมในการนําของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนเขามากําจัดนั้น จะเปนกลไกในการทําใหผูประกอบการคัดแยกเศษวัสดุที่เกิดขึ้น

กรุงเทพมหานครจะจัดทําโครงการดังกลาวเพื่อเปนโครงการตนแบบ และอาจใหเอกชนเขามาดําเนินการในภายหลัง เนื่องจากในปจจุบันนี้ยังไมมีหนวยงานหรือเอกชนรายใดที่สนใจจะ

Page 193: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

8-4

ดําเนินโครงการดังกลาว ดังนั้นกรุงเทพมหานครจึงตองเปนผูริเร่ิมดําเนินการกอนและในการดําเนินการโครงการนี้ จะไมเพียงแตรับกําจัดเศษวัสดุและของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนเทานั้นแตยังรวมถึงการกําจัดเศษไม ที่เกิดจากการดูแลรักษาตนไมในเขตกรุงเทพมหานคร โครงการนี้ยังมีนโยบายที่จะจัดทําเชื้อเพลิงที่ไดจากขยะประเภท Refuse Derived Fuel (RDF) ดวยสําหรับปญหาเรื่อง เสียงและฝุนสามารถปองกันได เนื่องจากสามารถใชสเปรยน้ําเพื่อปองกันฝุนจากการดําเนินงานได และการปองกันปญหาเรื่องเสียงทางโครงการไดเสนอใหจัดทําระบบอาคารปดเพื่อชวยลดผลกระทบจากเสียงของการทํางานของเครื่องจักร

8.2 กรุงเทพมหานคร สํานักโยธา

จากการที่คณะผูศึกษาพรอมดวย กรมควบคุมมลพิษเขาพบเพื่อสัมภาษณ สํานักโยธา กรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับดานการจัดการเศษวัสดุกอสราง และสอบถามความคิดเห็นตางๆ เมื่อวันที ่20 กุมภาพันธ พ.ศ. 2007 ถึงนโยบายตางๆ ที่เกี่ยวของดังตอไปนี้

8.2.1 นโยบายดานการดําเนินการจดัการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน จากการสอบถามสํานักโยธาฯ กรุงเทพมหานครในเรื่อง นโยบายในดานการจัดการเกี่ยวกับเศษวัสดุกอสรางและรื้อถอนไดขอมูลวา หนาที่ความรับผิดชอบในการจัดการเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยอยูภายใตสํานักสิ่งแวดลอมโดยตรงและมีพรบ. รักษาความสะอาด ซ่ึงมีขอกําหนดใหการดําเนินงานรื้อถอน มีผูรับจางรื้อถอนเปนผูจัดการนําเศษวัสดุและของเสียที่เกิดขึ้นไปกําจัด แตมีกรณีพิเศษกรณีหนึ่ง คือโครงการกอสรางของโรงพยาบาลวชิระ เปนโครงการใหญที่ใหแสดงวิธีการขนสงวาเศษวัสดุตองเอาไปทิ้งที่ไหน จัดการอยางไร

8.2.2 ปญหาดานการกําจัดของเสยีจากการกอสรางและรื้อถอน ปญหาโดยสวนใหญคิดวามาจากงานโครงการขนาดเล็กเชน จากการรื้อถอนอาคารขนาดเล็ก ที่ไดนําเศษวัสดุและของเสียไปแอบทิ้งตามที่วางตางๆ ซ่ึงถามีการตรวจพบวาผูใดเปนผูนําไปแอบทิ้งจะตองเสียคาปรับตามพรบ. รักษาความสะอาด ซ่ึงสํานักสิ่งแวดลอมเปนผูแลเรื่องดังกลาวสําหรับการจัดตั้งศูนยรีไซเคิลเพื่อรับกําจัดเศษวัสดุกอสรางและรื้อถอนนั้น ถือวาเปนสวนที่สํานักส่ิงแวดลอมจะเปนผูดําเนินงาน ในดานปญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้นจากสถานที่กอสรางและรื้อถอน เชนปญหาเรื่องฝุนเกิดขึ้นในระหวางการดําเนินงานและการขนยาย ซ่ึงแกปญหาโดยการใชผาใบคลุมใหมิดชิดเพื่อปองกันฝุน

Page 194: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 8 การจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของหนวยงานที่เกี่ยวของ

8-5

8.2.3 การขออนุญาตกอสรางและรื้อถอนจะตองมีการเสนอรายละเอียดดานปริมาณ เศษวัสดุท่ีเกิดขึ้นหรือไม ขอมูลของปริมาณเศษวัสดุกอสรางและรื้อถอนนั้นยังไมมีการศึกษา และขอมูลก็ไมสามารถรวบรวมไดจากการขออนุญาตกอสรางและรื้อถอน เนื่องจากการขออนุญาตกอสรางและรื้อถอนจะดําเนินการโดยเจาของโครงการ แตการดําเนินงานในขณะกอสรางและรื้อถอนจะดําเนินการโดยผูรับเหมา ดังนั้นการที่จะประเมินปริมาณเศษวัสดุกอสรางและรื้อถอนที่เกิดขึ้นในการขออนุญาตจึงเปนไปไดยาก

8.2.4 ความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดทําคูมือเก่ียวกับแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

สํานักโยธาฯ กรุงเทพมหานครเห็นดวยกับการจัดทําคูมือเกี่ยวกับแนวทางการจัดการเศษส่ิงกอสรางสําหรับประเทศไทย และไดเสนอแนะวาควรจะมีรายละเอียดที่ระบุวาพื้นที่ ตรงบริเวณใดที่เปนพื้นที่เปราะบางและไมควรใชเปนสถานที่กําจัด และเสนอใหมีรายละเอียดเกี่ยวกับปญหาของการนําของเสียจากการกอสรางไปกําจัดในที่วางเปลา ปญหาตอการกอสรางฐานรากของอาคารในอนาคตในพื้นที่ที่เคยใชเปนสถานที่กําจัดเศษวัสดุ ปญหาจะอยูที่การดําเนินการในภายหลัง มิใชปญหาการทรุดตัวของพื้นที่

8.2.5 ความคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางที่เปนกลไกสําคัญในการขบัเคล่ือนใหเกิดการจัดการเศษสิ่งกอสรางไดอยางเปนระบบระเบียบ

ปญหาดานการจัดการเศษสิ่งกอสรางในปจจุบันนี้คือไมมีสถานที่กําจัด ถาหากมีการจัดตั้งสถานที่กําจัดและใหบริการรับกําจัดฟรี แตบริษัทผูรับเหมาเสียคาใชจายในการขนสง เศษวัสดุมากําจัด ก็จะทําใหการจัดการเปนระบบระเบียบมากขึ้น และเปนกลไกใหผูรับเหมาเขามาอยูในกลไกนี้ได การใชกลไกในดานนี้จะดีกวาที่จะใชการบังคับทางดานกฏหมาย

8.3 กรมทางหลวงชนบท

จากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการบริหารประเทศ จึงไดมีการจัดตั้งกรมทางหลวงชนบทขึ้นเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เปนหนวยงานใหมที่รวมบุคลากรจากกรมโยธาธิการและกรมการเรงรัดพัฒนาชนบท ซ่ึงรับผิดชอบในการกอสรางทางและสะพานตามนโยบายของรัฐบาล ปจจุบันกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคมมีขาราชการจํานวน 1,896 คนและลูกจางประจําจํานวน1,973 คน รวม 3,869 คน สําหรับโครงสรางของกรมทางหลวงชนบทมีสํานัก/ กองในสวนกลางจํานวน 9 หนวย และสํานัก/ สํานักงานในภูมิภาคจํานวน 87 หนวย ครอบคลุมทุกจังหวัดและทุก

Page 195: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

8-6

พื้นที่ กรมทางหลวงชนบทมีขอบเขตอํานาจหนาที่รับผิดชอบ ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยทางหลวงเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับทางหลวงชนบทรวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวของเชน การกอสรางถนนสะพาน เสนทางลัด-ทางเลี่ยง เปนตน

ขอบเขตของงานทางที่กรมทางหลวงชนบทตองรับผิดชอบแยกกับกรมทางหลวงคือ กรมทางหลวงรับผิดชอบทางหลวงแผนดิน ทางหลวงเชื่อมระหวางจังหวัด อําเภอ และเสนทางสายใหญๆ ตอมาเมื่อมีการกอตั้งกรมทางหลวงชนบทขึ้น กรมทางหลวงชนบทรับผิดชอบเสนทางที่เชื่อมระหวางหมูบาน ถึงหมูบาน โครงขายเสนทางสายยอย และในภายหลังเมื่อมีพระราชบัญญัติการกระจายอํานาจ ความรับผิดชอบถนนและเสนทางสายยอยที่มิใชถนนโครงขาย หรือถนนสายเล็กๆ ในชุมชนจะถายโอนใหอยูในความดูแลขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ในปจจุบันนี้ถนนสองหมื่นกวากิโลเมตรไดถูกถายโอนความดูแลใหกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินแลว และกรมทางหลวงชนบทไดทําหนาที่ใหความสนับสนุนทางดานวิชาการใหกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินเชน การจัดอบรมในดานเทคนิคการสราง และซอมบํารุงงานทางตางๆ กรมทางหลวงชนบท

8.3.1 ขอมูลดานการจัดการเศษซากวัสดุกอสราง 1) งานกอสราง

งานกอสราง ถนน สะพาน จะแบงเปน 2 สวนคือ งานในสวนที่วาจางใหผูรับเหมาดําเนินการและในสวนที่หนวยงานดําเนินการเอง รายละเอียดของปริมาณงานกอสรางทางของกรมทางหลวงชนบททั้งหมดในปงบประมาณ พ.ศ. 2549 แสดงในตารางที่ 8.1 โดยทั่วไปสําหรับงานจางเหมา จะระบุในสัญญาจาง โดยจะมีรายละเอียดอยูในหนังสือสัญญาจางทุกๆ ฉบับจาง เกี่ยวกับ “การทําบริเวณกอสรางใหเรียบรอย” โดยมีใจความวา “ผูรับจางจะตองรักษาบริเวณสถานที่ปฏิบัติงานตามสัญญานี้ รวมทั้งโรงงาน หรือส่ิงอํานวยความสะดวกในการทํางานของผูรับจางลูกจาง ตัวแทน หรือของผูวาจางชวงใหอยูในความสะอาด ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการใชงานตลอดระยะเวลาการจาง และเมื่อทํางานเสร็จแลว จะตองขนยายบรรดาเครื่องใชในการทํางานรวมทั้งวัสดุ ขยะมูลฝอย และสิ่งกอสรางชั่วคราวตางๆ (ถามี) ทั้งจะตองกลบเกลี่ยพื้นดินใหเรียบรอย เพื่อใหบริเวณทั้งหมดอยูในสภาพที่สะอาด และใชการไดทันที” โดยกําหนดวาผูรับเหมาจะดําเนินการกําจัดเศษวัสดุและของเสียที่เกิดขึ้นใหแลวเสร็จกอนปดโครงการ แตวิธีการในการกําจัดอยางไรนั้นเปนความรับผิดชอบของผูรับเหมา ซ่ึงทางกรมทางหลวงชนบทไมไดไปยุงเกี่ยวในรายละเอียด งานสรางทางที่หนวยงานดําเนินการเองจะมีเพียงสวนนอยสําหรับโครงการที่ไมยุงยากซับซอนและมีระยะทางไมเกิน 10 กิโลเมตร เนื่องจากการดําเนินการสรางทางสําหรับโครงการขนาดใหญนั้นตองการบุคลากร และเครื่องมือจํานวนมาก แตกรมทางหลวงชนบทไมมีบุคลากรและ

Page 196: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 8 การจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของหนวยงานที่เกี่ยวของ

8-7

เครื่องมือมากเพียงพอสําหรับการกอสรางโครงการขนาดใหญ งานสวนที่กรมทางหลวงชนบทดําเนินการเองจะเปนงานซอมบํารุงโดยทั่วไป เศษวัสดุจากการกอสรางทางจากกรมทางหลวงชนบทที่ดําเนินการเองจะมีจํานวนนอยเชน เศษตนไม วัชพืชและจะกําจัดโดยการเกลี่ยใหเขากับพื้นที่ ถาเปนรากไมเศษไมขนาดใหญจะตองหาที่กําจัด ตารางที่ 8.1 งานกอสรางทางของกรมทางหลวงชนบททัง้หมดในป พ.ศ. 2549 ตามประเภทพืน้ผิว จราจร

ประเภทผิวจราจร

ลาดยาง AC ลาดยาง

คสล. ( 2 ชองจราจร)

คสล. ( 4 ชองจราจร)

ลูกรัง สะพาน คสล. รวมท้ังสิ้น

ระยะทาง (กม.) 257.359 1,205.154 433.099 30.298 23.356 6.270 1,955.536

2) งานซอมบํารุง

งานซอมบํารุงทาง แบงเปนหมวดดังตอไปนี้ • งานบํารุงตามปกติ เปนการซอมบํารุงตามปกติเพื่อใหทุกสายทางอยูในสภาพดีและใช

งานไดตามปกติ • งานบํารุงตามระยะเวลา เปนการซอมบํารุงตามระยะเวลาเชน การซอมแซมผิว

การจราจร • งานซอมบํารุงฉุกเฉินเชน ในกรณีที่เกิดความเสียหายในสวนของถนนที่รับผิดชอบ

อยางกระทันหันเชน ในกรณีที่เกิดอุทกภัย หนวยงานของกรมทางหลวงชนบทที่อยูในสํานักตางๆ ทั้ง 12 สํานักทั่วประเทศจะตองทําการซอมชั่วคราวเพื่อใหถนนนั้นสามารถใชงานไดและจึงทําการซอมบํารุงเพื่อใหอยูในสภาพปกติภายหลัง

• งานอํานวยความปลอดภัยเชน การทาสี เครื่องหมายจราจร ติดอุปกรณสะทอนแทงในเวลากลางคืนหรือติดปาย สัญญาณตางๆ ที่เชื่อมตอกันกับถนนขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน

เศษวัสดุหรือของเสียที่เกิดขึ้นจากงานซอมบํารุงทางเชน การซอมแซมถนนที่เปนหลุมบอจะเกิดเศษวัสดุจากการขุดร้ือผิวทางและชั้นรองพื้นทาง ประเภท แอสฟลต และเศษหิน ซ่ึงโดยสวนใหญจะมีชาวบานมาขอไปใชเปนวัสดุถมเพื่อทําทางในทองถ่ิน งานซอมแซมถนนจะสั่งวัสดุมาใหเพียงพอสําหรับการใชงานเทานั้น โดยจะรื้อผิวทางและนําวัสดุมาเติมเพื่อใหเกิดความแข็งแรงเชน

Page 197: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

8-8

งานถนนชํารุดเสียหายจะเติมวัสดุและปรับแตงผิวทางใหม การซอมแซมจะรื้อเฉพาะผิวจราจรไมไดลงลึกไปถึงโครงสรางของคันทาง ในกรณีที่ถนนชํารุดมาก หรือเปนหลุมลึกจะตองขุดร้ือช้ันรองพื้นทางขึ้นมาและเอาไปทิ้ง และจะเติมวัสดุใหมกอนทําการบดอัดเศษวัสดุที่เหลือจากการรื้อช้ันรองพื้นทางจะใหชาวบานใชประโยชนในการถมที่ สวนผิวทางที่เปนแอสฟลตจะนําไปรีไซเคลิโดยวธีิที่เรียกวา Pavement In-Place Recycling ซ่ึงไดใชระบบนี้มาตั้งแตป พ.ศ. 2546 แลวหลายโครงการ

8.3.2 นโยบายในดานการดําเนินการจัดการเศษสิ่งกอสรางของหนวยงานและการนําเศษวัสดุมารีไซเคิล

กรมทางหลวงชนบทไมเคยทําการศึกษาขอมูลปริมาณเศษวัสดุที่เกิดขึ้นจากการสรางและซอมบํารุงทาง แตไดริเร่ิมการรีไซเคิลเศษวัสดุจากการซอมทาง การรีไซเคิล จะแยกวัสดุประเภทหินคลุกพื้นทางออกไว และนํามารีไซเคิลไดเศษวัสดุเกาจะสามารถรีไซเคิลได 100 เปอรเซ็นต แตจะตองเพิ่มวัสดุใหมเขาไปอีกประมาณ 5-10 เปอรเซ็นตเชน หินคลุก สําหรับผิวแอสฟลตจะตองใชของใหมทั้งหมด ความคิดเห็นของผูใหสัมภาษณเสนอแนะวา หากจะนําคอนกรีตมาใชเปนชั้นรองพื้นทางจะตองนํามาบดยอยใหละเอียด เพื่อปองกันเหล่ียม ที่เปนสาเหตุกอใหเกิดชองวาง อาจทําใหการบดอัดไดไมแนน และอาจเกิดการทรุดตัว ชองวางจะทําใหน้ําซึมและเกิดการออนแอทรุดตัว ดินเมื่อทําการบดอัดจะแนนเปนเนื้อเดียวกัน ถาจะเอามาใชเปนวัสดุช้ันรองพื้นทางไดตองยอยจนเปนผง ตองมีการออกแบบใหมที่ตองมีการวากันอีกกรณีหนึ่ง 8.3.3 นโยบายในการใชเศษวัสดุจากการกอสรางและรื้อถอนที่รีไซเคิลมาใชในงานสราง ทาง หนวยงานยังไมมีนโยบายทีจ่ะนําเศษวัสดกุอสรางรีไซเคิลมาใชเนื่องจากควบคุมคณุสมบัติไดยาก อีกทั้งคาใชจายในการดําเนินการ และคาขนสงสูงทําใหไมคุมคาในการนําเศษวัสดุกอสรางรีไซเคิลมาใช

8.4 สํานักบริหารบํารุงทาง กรมทางหลวง

8.4.1 ขอมูลดานการจัดการเศษซากวัสดุกอสราง สํานักบริหารบํารุงทาง กรมทางหลวง ไมไดมีการศึกษาดานการดําเนินการจัดการเศษส่ิงกอสราง การดําเนินการศึกษาเปนเรื่องของสํานักสิ่งแวดลอม ในสวนของสํานักงานบํารุงทางจะรับผิดชอบในเรื่อง การกอสรางทางใหม และการบํารุงรักษา โดยสวนใหญผิวทางเดิมจะนํากลับมาใชใหม เนื่องจากนําไปใชในงานดานอื่นไมคอยไดเทาไรนัก จึงนาจะนํากลับมาใชตอไป สําหรับเศษปูนและคอนกรีตจะนําไปกําจัดในหลุมฝงกลบ หรืออาจนําไปกองเก็บไวในที่ที่จัดเตรียมไว เพื่อ

Page 198: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 8 การจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของหนวยงานที่เกี่ยวของ

8-9

รอนํากลับมาใชตอไป โดยสวนใหญจะนําไปเก็บไว จะไมคอยนําไปทิ้งทันที ในสวนของงานบํารุงทางจะใชเวลานอยมากคือ ประมาณ 3 เดือนในการซอมบํารุงทาง จึงคิดวาจะมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมนอยมาก เชน ปญหาเรื่องฝุน ซ่ึงแตกตางจากงานดานกอสรางทางที่จะมีปญหาผลกระทบตอส่ิงแวดลอมที่เกี่ยวของกับดานปาไม แตจะมีการทําประชาพิจารณหรือการประเมินผลกระทบตอส่ิงแวดลอมกอนเริ่มโครงการ หนวยงานยังไมเคยมีการศึกษาหรือการประเมินปริมาณและองคประกอบของเศษวัสดุที่เกิดขึ้นจากการซอม การสรางทาง แตจะมีการประเมินในแตละโครงการวา จะตองร้ือวัสดุเกาออกปริมาณเทาไรและจะตองนําไปเก็บไวที่ไหน ซ่ึงรายละเอียดดังกลาวจะตองระบุถึงสถานที่กําจัดชัดเจนในแตละโครงการอยางไรก็ตามการประเมินเศษวัสดุ อาจจะทําการประเมินไดจากแผนงานกอสรางและบํารุงทาง ซ่ึงจะมีสวนสัมพันธกับงบประมาณที่มีในแตละปโดยการประเมินจะขึ้นกับแตละโครงการ โดยปกติแลวจะตองมีการวางแผนลวงหนาในการกอสราง ซอมบํารุงทางเปนแผน 3 ป การบํารุงทางหลวงแบงไดเปน 5 ประเภท ดังตอไปนี้ คือ

1. บํารุงปกติ งานที่ดูแลรักษาทางหลวงทุกวัน ทําความสะอาด ตัดหญา ตัดตนไม 2. บํารุงตามกําหนดเวลา ฉาบผิวทาง เสริมผิวทาง เพื่อใหมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น

(เนื่องจากการใชงานถนนจะชํารุด) 3. งานบํารุงพิเศษและบูรณะ จากความเสียหายจากการที่มีจราจรหนาแนน และรถวิ่งเกิน

พิกัด 4. งานอํานวยความปลอดภัย เปนงานทางดานสิ่งอํานวยความปลอดภัย เชน ไฟฟา แสง

สวาง สีตีเสนจราจร 5. งานฉุกเฉิน ในกรณีที่เกิดภัยพิบัติตาง ๆ เชน การเกิดอุทุกภัยไมสามารถคาดการณได

เชน น้ําทวมทาง จะมีการซอมแซม 2 ขั้นตอน คือ -ทําใหการจราจรใชไดทันที เชน นําดินไปถมไวช่ัวคราว หรือสรางสะพานช่ัวคราว -เมื่อน้ําลดจะซอมทางตามปกติหลังจากเขาสูภาวะปกติ

8.4.2 นโยบายในดานการดําเนินการจัดการเศษสิ่งกอสรางของหนวยงานและการนําเศษวัสดุมารีไซเคิล

กรมทางหลวงเริ่มใชเทคโนลยีีการรีไซเคิลมาประมาณ 10 กวาปแลว ตั้งแตป พ.ศ. 2538 ซ่ึงใชในงาน Pavement In-place recycling จากเดิมเมื่อถนนเสียหาย จะตองทําการรื้อช้ันพื้นทางที่เปนช้ันหินคลุกเดิมที่ไมสามารถรับน้ําหนักไดออกไปและนําไปกําจัดแลวจึงนําหินคลุกใหมมาใชซอมแซม แตเมื่อเริ่มการใชเทคนิครีไซเคิล มีหลักการใชวัสดุเดิมที่เสื่อมสภาพ และมีวัสดุใหมเขามา

Page 199: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

8-10

เพิ่มความแข็งแรง คือ ปูนซีเมนต โดยมีขั้นตอนคือ มีชุดเครื่องจักรที่จะทําการรีไซเคิลขุดผิวทางเดิมขึ้นมา แลวเพิ่มปูนซีเมนตเขามาผสมเพื่อเพิ่มแรงยึดเกาะและกําลัง (ไมไดใชวัสดุใหมมาเพิ่ม แตจะเพิ่มปูนซิเมนตเขามาเทานั้น) โดยจะออกแบบสวนผสมของวัสดุตางๆ ซ่ึงจะตองดูลักษณะของพื้นทาง และพิจารณาความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง การซอมทางโดยใช เทคนิคการรีไซเคิลนี้จะมีประมาณ 10-20 เปอรเซ็นต ของการซอมทางตอป การซอมทางจะซอมตามความเสียหายจริง โดยจะพิจารณาวาจะใชวิธีการซอมแบบไหนที่เหมาะกับลักษณะการชํารุดของทาง 8.4.3 นโยบายในการนําเศษวัสดุจากการกอสรางและรื้อถอนที่รีไซเคิลมาใชในงานสราง ทาง กรมทางหลวงเคยใช slag จากโรงถลุงเหล็ก (slag aggregate) มาใชแทนหินแกรนิต เพื่อนํามาทําผิวทาง แอสฟสติก-คอนกรีต Slag ที่นํามาใชจะมีราคาถูกกวา หินแกรนิต ในขณะที่คุณสมบัติจะเหมือนๆ กัน

8.4.4 ความคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางที่เปนกลไกสําคัญในการขบัเคล่ือนใหเกิดการจัดการเศษสิ่งกอสรางไดอยางเปนระบบระเบียบ

มีความเห็นวาควรจะนําเศษสิ่งกอสรางจากการกอสรางทางมาใชใหม หาแนวทางนําวัสดุพวกนี้มาใชใหม เชน งานผิวทาง จะมีการลอกพื้นออกมาและมีขนาดใหญมาก นาจะหาวิธีการที่จะนํามาใชใหม โดยที่กรมทางหลวงก็ไดมีการใชวิธีรีไซเคิลอยูแลว สําหรับความคิดเห็นอื่นๆ เชน การจัดทําคูมือแนวทางการจัดการเศษวัสดุกอสรางนั้น มีความเห็นดวย และควรจัดใหมีเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการดําเนินงานที่ชัดเจน โดยแยกเปนหมวดหมูดานตางๆ เชน งานทาง อาคาร เพื่อเปนมาตรฐานกลางใหทุกหนวยงานสามารถนําไปใชได รวมท้ังมีเนื้อหาเกี่ยวกับขั้นตอนและแนวทางการจัดการบริหารสิ่งแวดลอม ระหวางการกอสรางและบํารุงทาง

8.5 สํานักวางแผน กรมทางหลวง

8.5.1 ขอมูลดานการจัดการเศษซากวัสดุกอสราง สํานักวางแผน กรมทางหลวงไมเคยมีการศึกษาดานการดําเนินการจัดการเศษสิ่งกอสรางแตไดมีการทําการศึกษาในเชิงการจัดหาสถานที่ที่จะนําเศษวัสดุไปกําจัด หรือ การที่จะนําเศษวัสดุมาสราง ไหลทาง การจัดการเศษวัสดุกอสรางสําหรับโครงการกอสรางทางใหม จะระบุอยูในสัญญาจางแลววาจะตองนําวัสดุกอสรางไปทิ้งในที่เหมาะสม และการดําเนินการกอสรางจะตองดําเนนิตามแผนที่ระบุไวในการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม และเมื่อกอสรางแลวเสร็จก็จะตองมีการดําเนินการติดตามผล สําหรับการซอมทาง ถนนที่เปนหลุม จะตองขุดเศษหินคลุกออกมาถม

Page 200: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 8 การจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของหนวยงานที่เกี่ยวของ

8-11

ดานขางทาง เศษวัสดุที่ใชไมไดแลวคือ ผิวทาง จะนําไปถมที่เพื่อใชปรับพื้นที่เตรียมใชงานในอนาคต หรือมีชาวบานบริเวณใกลเคียงมาขอไปใชทําถนนทางเขาบาน กรมทางหลวงจะมีพื้นที่ที่จัดเตรียมไวโดยเฉพาะตามที่อยูขางถนนทุกสาย เพื่อไวใชสําหรับเก็บกองวัสดุเตรียมไวสําหรับงานซอมทาง และไดมีการใชเทคโนโลยีการรีไซเคิลที่ไมทําใหเกิดเศษวัสดุ สําหรับการประเมินปริมาณและองคประกอบของเศษวัสดุที่เกิดขึ้นจากการซอม การสรางทาง โดยสวนใหญแลวไมคิดวาจะมีเศษวัสดุเหลือเพราะวัสดุจะเปน ทราย ดิน หิน และสามารถนําไปใชได การคาดการณปริมาณวัสดุกอสรางที่ใชในการซอม และการกอสรางทางจะมีปริมาณของวัสดุแตละชนิดที่ตองนํามาใชในขอเสนอของโครงการอยูแลวตาม BOQ ซ่ึงแตละโครงการอาจมีระยะเวลานานหลายป ปริมาณที่จะใชวัสดุแตละป จะใชงบประมาณรายปเฉลี่ยระยะทางโดยประมาณ

8.5.2 นโยบายในดานการดําเนินการจัดการเศษสิ่งกอสรางของหนวยงานและการนําเศษวัสดุมารีไซเคิล

หนวยงานกรมทางหลวงมีนโยบายในการใชเศษวัสดุรีไซเคิลในงานซอมทาง โดยใชเทคนิค In-Place Recycling โดยการสกัดวัสดุเดิมมาผสมของผิวทางออกและผสมซีเมนตเพิ่มโดยจะทําการวิเคราะหสัดสวนที่เหมาะสม วิธีนี้ไดเร่ิมใชมาแลวหลายปในงานการซอมบํารุงแตจะมีตนทุนสูง เนื่องจากเครื่องจักรมีราคาแพงและการดําเนินการใชคาใชจายสูง วิธีนี้ไมสามารถใชกับถนนทุกเสนทางไดจะตองพิจารณาจากโครงสรางของชั้นทางและพิจารณางบประมาณ 8.5.3 นโยบายในการนําเศษวัสดุจากการกอสรางและรื้อถอนที่รีไซเคิลมาใชในงานสราง ทาง ไมมีนโยบายในการนําเศษวัสดุจากการกอสรางและรื้อถอนที่รีไซเคิลมาใชในงานสรางทาง

8.5.4 ความคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางที่เปนกลไกสําคัญในการขบัเคล่ือนใหเกิดการจัดการเศษสิ่งกอสรางไดอยางเปนระบบระเบียบ

มีความคิดเห็นวาแนวทางที่จะเปนกลไกสําคัญในการขับเคล่ือนที่จะทําใหเกิดการจัดการเศษสิ่งกอสรางไดอยางเปนระบบระเบียบนั้น จะตองระบุเงื่อนไขดานการลดปริมาณของเสีย (Waste Minimization) ไวในสัญญากอสราง และควรมีมาตรการลงโทษในการกําจัดเศษวัสดุและของเสียในพื้นที่ที่ไมเหมาะสม ควรกําหนดใหทุกหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ระบุวิธีการบริหารจัดการกับเศษวัสดุเหลือใชใหเหมาะสมในสัญญาจาง (โดยเฉพาะการกําจัดวัสดุสารพิษที่มีการแอบนําไปทิ้ง) และใหหนวยงานที่เกี่ยวของคิดคาบริการในการกําจัดและควรมีมาตรการในการคอยติดตามตรวจสอบ สําหรับการจัดทําคูมือแนวทางการดําเนินการจัดการเศษวัสดุกอสรางนั้นเห็น

Page 201: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

8-12

ดวยในหลักการ แตเศษวัสดุที่เกิดขึ้นของกรมทางหลวงมีคอนขางนอย ซ่ึงหนวยงานก็ดําเนินงานตามแผนที่ระบุไวในรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมที่สํานักนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมอนุมัติไวแลว ขอมูลที่ควรจัดไวในคูมือคือ มาตรการในการติดตามตรวจสอบ และมีบทลงโทษระบุไวหากไมปฏิบัติตาม นอกจากนี้ควรระบุการกําจัดเศษวัสดุจากการกอสรางที่ถูกตอง โดยใหมีการระบุลงในสัญญาจางเลยวา หากมีวัสดุที่จะตองกําจัดจากการกอสรางใหปฏิบัติตามคูมือที่มี และคิดคาบริการกําจัดเศษไวในสัญญาเลย

Page 202: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 9

ของเสียท่ีมีแนวโนมวาเปนของเสียอันตรายจากการกอสรางและรื้อถอน

9.1 ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เปนอันตรายและทีมี่แนวโนมวาเปนอันตราย

การที่ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนเปนอันตรายหรือมีแนวโนมวาเปนอันตรายเกิดจาก 3 สาเหตุ ไดแก

1. เปนอันตรายหรือมีแนวโนมวาเปนอันตรายเนื่องจากวัสดุเร่ิมตนที่ใชมีสารอันตราย ประกอบอยูในสัดสวนที่สูง เชน มีแอสเบสตอส ตะกั่ว น้ํามันดิน น้ํายารักษาเนื้อไม (ชนิดที่มีโครเมียมและอารซินิกเปนองคประกอบ) อยูในวัสดุ

2. เปนอันตรายหรือมีแนวโนมวาเปนอันตรายเนื่องจากสภาพแวดลอมและการใชงานเชนอาคารโรงงาน เดิมทีสรางดวยวัสดุที่ไมเปนอันตราย ตอมาเมื่อสัมผัสกับสารเคมีจากกระบวนการผลิตในโรงงาน ทําใหสวนประกอบของอาคาร เชน พื้นหรือผนังอาคาร กลายเปนวัสดุอันตรายได

3. เปนอันตรายหรือมีแนวโนมวาเปนอันตรายจากการที่มีวัสดุอันตรายมาปะปน เชน มีการโยนกระปองสีที่มีตะกั่วเปนองคประกอบไปยังกองเศษอิฐและคอนกรีต ทําใหทั้งกองเปนของเสียอันตราย เมื่อเผาของเสียอันตรายจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีสารอันตรายเปนองคประกอบ จะทําใหสารเคมีที่เปนพิษถูกปลดปลอยออกสูอากาศและเขาไปในน้ําในที่สุด และสารพิษที่สะสมอยูในสิ่งมีชีวิตไดนานๆ ในที่สุดจะเขาไปอยูในหวงโซอาหาร

ตารางที่ 9.1 แสดงรายละเอียดของวัสดุที่มีแนวโนมวาเปนอันตรายบางชนิดที่เกิดจากการกอสราง การรื้อถอน การดัดแปลงอาคารและสิ่งกอสราง องคประกอบที่มีแนวโนมวาเปนอันตรายลักษณะสมบัติที่มีแนวโนมวาเปนอันตรายและทางเลือกในการบําบัดและกําจัด

Page 203: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

9-2

ตารางที่ 9.1 องคประกอบของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีแนวโนมวาเปนอันตราย

ผลิตภณัฑ/ วัสดุ องคประกอบท่ีมีแนวโนมวาเปน

อันตราย

ลักษณะสมบัติท่ีมีแนวโนมวาเปน

อันตราย ทางเลือกในการบําบัดและกําจัด

วัสดุผสมในคอนกรีต ตัวทําละลายอินทรีย

ไวไฟ สงคืนผูขาย นํากลับมาใชใหม แยกมากําจดัโดยวิธีพเิศษ

วัสดุปองกันความชื้น ตัวทําละลาย ยางมะตอย

ไวไฟ เปนพษิ สงคืนผูขาย นํากลับมาใชใหม แยกมากําจดัโดยวิธีพเิศษ

กาว ตัวทําละลาย isocyanates

ไวไฟ เปนพษิ ระคายเคือง

สงคืนผูขาย นํากลับมาใชใหม แยกมากําจดัโดยวิธีพเิศษ เลือกใชผลิตภณัฑอ่ืนที่อันตรายนอยกวา

วัสดุกันร่ัว (sealants)

ตัวทําละลาย ยางมะตอย

ไวไฟ เปนพษิ

สงคืนผูขาย นํากลับมาใชใหม แยกมากําจดัโดยวิธีพเิศษ เลือกใชผลิตภณัฑอ่ืนที่อันตรายนอยกวา

วัสดุปูผิวถนน (road surfacing)

tar-based emulsions

เปนพิษ สงคืนผูขาย นํากลับมาใชใหม แยกมากําจดัโดยวิธีพเิศษ

แอสเบสตอส เสนใยที่เขาไปในระบบทางเดินหายใจได

เปนพิษ กอมะเร็ง แยกออกมาภายใตสภาวะที่ตองควบคุม เพื่อกาํจัดโดยวิธีพิเศษ

ใยแร (mineral fibers)

เสนใยที่เขาไปในระบบทางเดินหายใจได

ระคายเคืองผิวหนัง และปอด

แยกกําจดั

ไมที่ผานกรรมวิธีการรักษาเนื้อไม

ทองแดง อารซินิกโครเมียม น้ํามนั-ดิน ยาฆาแมลง ยาฆาเชื้อรา

เปนพิษ เปนพษิตอระบบนิเวศไวไฟ

นํากลับมาใชใหม องคประกอบที่เปนอันตรายในเนื้อไม ใหผลกระทบต่ําเมื่อฝง

Page 204: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 9 ของเสียที่มีแนวโนววาเปนของเสียอันตรายจากการกอสรางและรื้อถอน

9-3

ผลิตภณัฑ/ วัสดุ องคประกอบท่ีมีแนวโนมวาเปน

อันตราย

ลักษณะสมบัติท่ีมีแนวโนมวาเปน

อันตราย ทางเลือกในการบําบัดและกําจัด

กลบ ใหกาซและขี้เถาที่เปนพิษเมื่อเผา

ของเสียจากสารกันไฟ (fire resistance wastings)

สารประกอบฮาโลเจน

เปนพิษตอระบบนิเวศ

เปนไปไดที่จะมีผลกระทบต่ําเมื่อจับกับวัสดุที่ทา ผลิตภัณฑมีผลกระทบสูง เปนไปไดที่เมือ่เผาใหกาซพษิ

สีและสีเคลือบ ตะกัว่ โครเมียม วานาเดียม ตวัทําละลาย

เปนพิษ ไวไฟ เปนไปไดที่จะมีผลกระทบต่ําเมื่อจับกับวัสดุที่ทา ผลิตภัณฑมีผลกระทบสูง เปนไปไดที่เมือ่เผาใหกาซพษิ

อุปกรณจายกระแสไฟฟา

PCBs เปนพิษตอระบบนิเวศ

น้ํามันในtransformerตองแยกออกมาภายใตสภาวะทีต่องควบคุม เพื่อกาํจัดโดยวิธีพิเศษ

หลอดไฟฟาและอุปกรณประกอบ

โซเดียม ปรอท PCBs

เปนพิษตอระบบนิเวศ เปนพิษ

นํากลับมาใชใหม แยกมากําจัดโดยวิธีพิเศษ

ระบบทําความเย็น

CFCs โอโซนในบรรยากาศลดลง

แยกเพื่อนํากลับคืน

ระบบดับเพลิง CFCs โอโซนในบรรยากาศลดลง

แยกเพื่อนํากลับคืน

ถังแกส โพรเพน บิวเทน acethylene

ไวไฟ สงคืนผูขาย

resins/ fillers, precursors

isocyanates, phthalic anhydride

เปนพิษ ระคายเคือง

สงคืนผูขาย นํากลับมาใชใหม แยกมากําจดัโดยวิธีพเิศษ

น้ํามันและเชื้อเพลิง ไฮโดรคารบอน เปนพิษตอระบบนิเวศ ไวไฟ

สงคืนผูขาย นํากลับมาใชใหม แยกมากําจดัโดยวิธีพเิศษ

แผนยิบซั่ม เปนไปไดที่จะเปน ไวไฟ เปนพษิ สงคืนผูขาย นํากลับมาใชใหม

Page 205: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

9-4

ผลิตภณัฑ/ วัสดุ องคประกอบท่ีมีแนวโนมวาเปน

อันตราย

ลักษณะสมบัติท่ีมีแนวโนมวาเปน

อันตราย ทางเลือกในการบําบัดและกําจัด

(plasterboard) แหลงกําเนิด H2S ในหลุมฝงกลบ

กําจัดในหลุมฝงกลบ

วัสดุที่ร้ือออกจากผิวถนน (road planning)

น้ํามันดิน ยางมะตอย ตัวทําละลาย

ไวไฟ เปนพษิ นํากลับมาใชใหมถาการชะละลายต่ํา แยกมากําจดัถาการชะละลายสูงหรือมีตัวทาํละลายสูง

ช้ันรองพื้นถนน(subbase) (ขี้เถา / clinker)

โลหะหนกั รวมถึงแคดเมียม และปรอท

เปนพิษ นํากลับมาใชใหมถาการชะละลายต่ํา แยกมากําจดัถาการชะละลายสูง

9.2 ของเสียท่ีมีแนวโนมวาเปนของเสียอันตรายในสถานที่กอสราง

วัสดุกอสรางไมกี่ชนิดที่อาจเปนอันตราย เชน กระเบื้องซีเมนตใยหินแผนเรียบ กระเบื้องซีเมนตใยหินแผนลอน กระเบื้องยาง (กระเบื้องใยหินพีวีซี) ฉนวนที่ทําดวยใยหินและสีที่มีตะกั่วเปนองคประกอบ เปนตน สวนวัสดุอ่ืนๆ เชน กาว วัสดุกันร่ัวไมเปนอันตราย แตสารที่ใชผสมวัสดุดังกลาวเปนสารอันตราย สารที่เหลือเหลานี้และภาชนะจัดเปนของเสียอันตราย ดังนั้นจึงมีโอกาสที่มีวัสดุอันตรายและวัสดุที่มีแนวโนมวาเปนอันตราย ดังนี้

1. วัสดุที่มีแอสเบสตอสเปนองคประกอบ เชน ฉนวนกันความรอนหรือดูดซับเสียง กระเบื้องซีเมนตใยหินแผนเรียบ กระเบื้องใยหินพีวีซี กระเบื้องซีเมนตใยหินแผนลอน และทอน้ําซีเมนตใยหิน เปนตน

2. สีที่มีตะกั่วเปนองคประกอบ ไดแก สีที่ใชทากันสนิม 3. วัสดุผสมในคอนกรีต 4. สารเคมีปองกันความชื้น 5. กาวและวัสดุกันร่ัว 6. tar-based emulsions ในการกอสรางควรดําเนินการในสวนที่เกี่ยวกับวัสดุที่เปนอันตรายและมีแนวโนมวาแปน

อันตราย ดังนี้

Page 206: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 9 ของเสียที่มีแนวโนววาเปนของเสียอันตรายจากการกอสรางและรื้อถอน

9-5

1. คนงานกอสรางควรไดรับการอบรมใหมีความรูเกี่ยวกับวัสดุอันตรายและวัสดุที่มีแนวโนมวาเปนอันตรายดังกลาวขางตน พรอมทั้งวิธีปองกันตัวเองจากการสัมผัสและหายใจเอาสารพวกนี้เขาไป

2. ของเสียหรือของเหลือจากวัสดุอันตรายและมีแนวโนมวาเปนอันตรายควรแยกออกมาเพื่อบําบัดและกําจัดโดยวิธีพิเศษ

9.3 ของเสียท่ีมีแนวโนมวาเปนของเสียอันตรายในสถานที่ร้ือถอน

มีโอกาสพบวัสดุที่เปนอันตรายและมีแนวโนมวาเปนอันตรายจากการรื้อถอน ดังนี้ 1. วัสดุที่มีแอสเบสตอสเปนองคประกอบ ไดแก ฉนวนกันความรอนหรือดูดซับเสียง

กระเบื้องใยหินพีวีซี กระเบื้องซีเมนตใยหินแผนลอน กระเบื้องซีเมนตใยหินแผนเรียบ ทอน้ําซีเมนตใยหิน

2. วัสดุที่มีตะกั่วเปนองคประกอบ ไดแก สีที่มีตะกั่วเปนองคประกอบ 3. วัสดุที่มีปรอทเปนองคประกอบ ไดแก หลอดฟลูออเรสเซนต thermostat และสวิตชของ

เครื่องใชไฟฟาบางชนิด 4. CFCs ในเครื่องทําความเย็น และตูเย็น 5. PCBs ในอุปกรณในการจายกระแสไฟฟา ballast transformer 6. วัสดุที่กัดกรอน (corrosive materials) ไดแก วัสดุที่มี pH สูงมากหรือต่ํามาก 7. วัสดุที่ไวไฟ (flammable materials) ไดแก น้ํามัน ตัวทําละลาย 8. วัสดุมีพิษ ไดแก ยาฆาแมลง ยาฆาหญา ตัวทําละลาย ในการรื้อถอนอาคาร ควรดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของกับวัสดุที่เปนอันตรายดังนี้ 1. ตรวจสอบอาคารวามีวัสดุที่เปนอันตรายหรือไมและอยูที่ไหน 2. วัสดุอันตรายที่อยูในสถานที่ร้ือถอนจะตองแยกออกไปกอนที่จะทําการรื้อถอน เพื่อนําไป

บําบัดหรือกําจัดโดยวิธีพิเศษ 3. คนงานที่ ร้ือถอนควรไดรับการอบรมใหมีความรู เกี่ยวกับวัสดุที่มีแอสเบสตอสเปน

องคประกอบ วัสดุที่มีตะกั่วเปนองคประกอบ และวัสดุอันตรายอื่นๆ ที่พบไดในอาคารตางๆ พรอมทั้งรูจักวิธีปองกันตัวเองจากการสัมผัสและหายใจเอาสารพวกนี้เขาไป

4. ควรมีหัวหนาคนงาน/ บุคลากรที่มีความรูเร่ืองวัสดุอันตรายเปนอยางดีมาตรวจสอบกอนวาวัสดุอันตรายถูกแยกออกไปเรียบรอยแลว จึงจะทําการรื้อถอนอาคารสวนอื่นๆ ได

5. ควรเปดหรือถอดบานหนาตางและประตูออกกอนเพื่อใหอากาศถายเทไดดี เพื่อปองกันการสะสมของฝุนจากสีที่มีตะกั่วเปนองคประกอบในระหวางการรื้อถอน

Page 207: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

9-6

6. สําหรับอาคารที่มีการใชสารอันตรายเชน โรงงานอุตสาหกรรมเคมี หองปฏิบัติการ หองฉายรังสี ปมน้ํามัน โรงฝกงาน จะตองแยกสารอันตรายที่เหลืออยูในสถานที่ที่จะรื้อถอนออกไปกอน และถาสารอันตรายเหลานั้นปนเปอนอยูที่อาคารจะตองบําบัดออกกอนทําการรื้อถอน ถาทําไมไดจะตองแยกซากจากการรื้อถอนสวนนี้ออกจากซากสวนอื่นที่ไมเปนอันตราย

Page 208: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 10

ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรือ้ถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

สําหรับการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย มีขอจํากัดอยูหลายประการทั้งจาก กฎหมาย นโยบายของแตละทองถ่ิน คุณภาพวัตถุดิบ สภาวะการลงทุนและการสนับสนุน การควบคุมคุณภาพ สภาพสิ่งแวดลอม คาการตลาด มาตรฐานและขอกําหนดตลอดจนการยอมรับของผูใช รายละเอียดของแตละหัวขอจะมีการอางอิงในภายหลัง โอกาสในการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมขึ้นกับการยอมรับในผลิตภัณฑที่ไดในอุตสาหกรรมกอสราง การที่ผลิตภัณฑใดๆ ก็ตามจะเปนที่ยอมรับสําหรับแตละวัตถุประสงคขึ้นกับวา ผลิตภัณฑนั้นสามารถผานขอกําหนดหรือมาตรฐานตามวัตถุประสงคนั้นหรือไม จากบทที่ 2 พบวา ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีความแปรปรวนสูง อาจมาจากหลายแหลง และคุณภาพที่ไดมีการเปลี่ยนแปลงในแตละวัน ทําใหการนําของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนกลับมาใชใหมจํากัดอยูเพียงแคการถมที่ งานปรับระดับ งานถนนชั่วคราว และงานชั้นรองพื้นทางสําหรับถนนเสนที่มีการจราจรหนาแนนไมมากนัก ผิดกับการใชมวลรวมจากธรรมชาติ ซ่ึงสวนใหญในงานกอสรางจะใชวัตถุดิบจากแหลงเดียวกันทําใหทราบถึงคุณสมบัติตางๆ และสามารถควบคุมคุณภาพไดงาย การนําวัสดุที่นํากลับมาใชใหมประเภทนี้ไดมาจาก “ของเสีย” จากการกอสรางและรื้อถอน ทําใหผูใชรูสึกวาวัสดุประเภทนี้ขาดภาพพจนที่ดี ซ่ึงสงผลอยางมากตอความคิดที่จะยอมรับวัสดุประเภทนี้วาเปนผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ อาจสังเกตไดจากผลจากการสัมภาษณพบวาสวนใหญจะยอมรับการใชวัสดุที่นํากลับมาใชใหมประเภทนี้ในงานคุณภาพต่ํา แตเมื่อทราบถึงแนวความคิดที่สามารถปรับคุณภาพวัสดุประเภทนี้ใหดีขึ้น จะพบวาผูถูกสัมภาษณจะยังรูสึกมีความเคลือบแคลงสงสัยอยู

10.1 กฎหมายควบคุม

กฎหมายควบคุมหลักที่อาจมีผลกระทบตอการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ที่เกี่ยวของกับการขออนุญาตรื้อถอน คือพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๓๕ และ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๓

Page 209: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

10-2

“มาตรา ๒๒ ผูใดจะรื้อถอนอาคารดังตอไปนี้ ตองไดรับอนุญาตจากเจาหนาที่พนักงานทองถ่ินหรือแจงตอพนักงานทองถ่ินและดําเนินการตามมาตรา ๓๙ ทวิ

(๑) อาคารที่มีสวนสูงเกินกวาสิบหาเมตรซึ่งอยูหางจากอาคารอื่นหรือที่สาธารณะนอยกวาความสูงของอาคาร

(๒) อาคารที่อยูหางจากอาคารอื่นหรือที่สาธารณนอยกวาสองเมตร”

ซ่ึงในมาตรามีการกําหนดประเภทของอาคารที่ตองทําการแจง ดังนั้นการรื้อถอนทําอาคารนอกเหนือจากมาตราดังกลาวอาจทําใหยากแกการควบคุมปริมาณและคุณภาพของวัสดุเหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอน

ในขณะที่การจัดการและการขนสงของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนขึ้นกับพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ นอกจากนี้ยังมีกฏกระทรวง และประกาศ กระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัติขางตน สวนใหญจะเนนการดําเนินการเกี่ยวกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไมใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม และพยายามที่จะเรงการขนยายของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนใหออกจากสถานที่กอสรางใหเร็วที่สุด แตไมไดคํานึงถึงการดําเนินการเพื่อที่จะคัดแยกประเภทหรือสารที่เปนอันตรายที่อาจมีอยูในของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ดังนั้นผูประกอบการจึงพยายามที่จะนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนออกจากสถานที่กอสรางใหเร็วที่สุดและอาจทําใหไมมีการคัดแยกประเภทของเสียประเภทนี้ และสงผลใหของเสียที่ไดมีลักษณะการปนเปอนเกิดขึ้น ทําใหการนํากลับไปใชงานตอตองไปใชในงานคุณภาพต่ําหรือยากที่จะนําไปใชงานตอ สําหรับการใชประโยชนที่ดิน ขึ้นกับพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยมีตัวอยางกฏกระทรวงผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๔๙ ที่ออกตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ซ่ึงมีการกําหนดพื้นที่อนุญาตซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุ คือประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (ก.1 และ ก.3) ประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (ย.2 และ ย.3 และ ย.4) ประเภทอุตสาหกรรม (อ.1 และ อ.2) และประเภทคลังสินคา (อ.3) สวนรายละเอียดแสดงในบทที่ 4 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบแผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดินดังแสดงในรูปที่ 10.1 จะพบวาบริเวณพื้นที่อนุญาตซื้อขายหรือเก็บเศษวัสดุจะอยูทางฝงตะวันตก และตะวันตกเฉียงใต และฝงตะวันออก และตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ทําใหตองมีการขนของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนออกไปบริเวณดังกลาว ดังนั้นการกอสรางในบริเวณตอนกลางของกรุงเทพฯ จึงจําเปนตองมีการจัดการที่ดี

Page 210: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

10-3

บทที่ 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

รูปที่ 10.1 แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดินตามกฏกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๔๙

10.2

10-3

บทที่10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

Page 211: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

10-4

10.2 คุณภาพและปริมาณของวัตถุดิบ

คุณภาพของวัสดุที่นํากลับมาใชใหมโดยหลักขึ้นกับการจัดหาวัตถุดิบจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่เหมาะสมและมีคุณภาพที่ดี ถาวัตถุดิบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนยิ่งมีปริมาณการปนเปอนที่สูง คาใชจายในกระบวนการแยกวัสดุอาจไมคุมคาในเชิงเศรษฐศาสตร และทําใหวัสดุที่มีคาสูญเสียคุณสมบัติในการนํากลับไปใชใหมในเชิงวัสดุกอสรางลง การแยกและการเตรียมวัสดุเหลานี้ที่แหลงกําเนิดสวนใหญถูกกีดกันโดยปจจัยทางการเงิน การรื้อถอนสวนใหญเกี่ยวของกับการเอาโครงสรางที่ไมตองการออก โดยมีแรงจูงใจเพื่อที่จะลดคาใชจายลง และพยายามใหเสร็จเร็วเทาที่จะเปนไปได ซ่ึงหลีกเลี่ยงไมไดที่จะมีการใชเครื่องจักรขนาดหนักและใชวิธีการจัดการของหนักปริมาณมาก การแยกวัสดุสวนใหญทําเฉพาะของที่มีมูลคาอยางเดนชัด อาทิเชน วงกบหนาตาง เปนตน แตสําหรับคอนกรีต วัสดุกอ กระเบื้อง และสิ่งปนเปอนอื่นๆ อาทิเชน เศษไม เศษกระดาษ พลาสติก เปนตน พบวาไมมีการแยกออก เนื่องจากไมมีแรงจูงใจในเรื่องราคาเปนตัวกําหนด (ราคาวัสดุที่คัดแยกและไมคัดแยกราคาไมแตกตางกัน) และตองการใหงานเสร็จเร็วเทาที่เปนไปได ทําใหคุณภาพของวัตถุดิบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนแตละแหงมีองคประกอบที่แตกตางกันอยางเดนชัด และมีปริมาณการปนเปอนคอนขางสูง สําหรับงานกอสรางใหม งานดัดแปลงโครงสราง หรืองานปรับปรุงสภาพ พบวามีความพยายามหรือใชแรงงานที่จะแยกชนิดของเสียจากการกอสรางนอย เนื่องจากไมตองการเพิ่มตนทุนคาใชจายและระยะเวลาในการกอสราง ทําใหสวนใหญจะทําการแยกเฉพาะเอาเหล็กหรือวัสดุที่มีมูลคาอยางเดนชัดออกมาเพื่อขาย แตวัสดุที่ไมตองการสวนใหญจะผสมกัน อาทิเชน สวนใหญจะพบเศษปูนกอ เศษกระดาษ และขยะตางๆ เปนตน สงผลใหคุณภาพของวัตถุดิบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมีปริมาณการปนเปอนที่สูงมาก ของเสียจากอุตสาหกรรมวัสดุกอสรางพบวามีการปนเปอนนอยมากเหมาะสําหรับการนํากลับมาใชใหม แตเนื่องจากปริมาณของเสียจากอุตสาหกรรมวัสดุกอสรางแตละแหลงมีคอนขางนอย ทําใหความพอเพียงของวัตถุดิบที่จะนํากลับไปใชใหมอาจไมพอตอความตองการ ถาตองมีการแยกประเภทของวัตถุดิบ ของเสียจากการกอสรางถนน งานซอมแซม หรืองานปรับปรุงสภาพถนน พบวาเปนของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีปริมาณการปนเปอนนอยมาก งายตอการแยกประเภทของของเสีย อาทิเชน กองแยกของเสียประเภทแอสฟลต คอนกรีต และดิน เปนตน ถาผูประกอบการมีความตั้งใจในการแยก แตอยางไรก็ตามถึงแมของเสียประเภทนี้จะมีคุณภาพสูงแตสวนใหญถูกนําใชในงานถมหรือปรับสภาพเทานั้น

Page 212: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

10-5

10.3 สภาวะการลงทุน

การลงทุนการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนสวนใหญพบวามาจากภาคเอกชน ขอจํากัดในการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมาใชงานที่มีคุณภาพคือ ขาดการลงทุนของผูประกอบการ เนื่องจากการลงทุนจําเปนตองสรางความมั่นใจวาตองไดผลตอบแทนจากการลงทุนระยะสั้น หรือสามารถมั่นคงไดในระยะยาว ถาตองนําเอาของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นอาจทําใหผลแตกตางจากกําไรลดลงและความผันแปรจากปริมาณที่ไมแนนอนทําใหการขายวัสดุที่ไดจากการนําเอาของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมยากแกการคาดเดา การลงทุนในเครื่องมือและเครื่องจักรสวนใหญจะพยายามลงทุนใหตนทุนต่ําที่สุด จากการตรวจสอบผูประกอบการทั้งหมดพบวาไมมีการลงทุนในการใชเครื่องบดยอย ชุดอุปกรณแยกเหล็ก และชุดอุปกรณคัดแยกขนาด สวนใหญผูประกอบการจะมีเครื่องจักรเพียงแครถตักสําหรับตักและบดยอยขนาดใหเล็กลง ส่ิงนี้เปนขอจํากัดของการทําใหไดวัสดุที่มีคุณภาพสูงขึ้นจากการนําเอาของเสียจากการกอสรางกลับมาใชใหม

10.4 การควบคุมคุณภาพ

จากบทที่ 5-7 พบวาของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนในแตละแหงมีปริมาณมากเพียงพอสําหรับการนํากลับไปใชใหม แตอยางไรก็ตามพบวาแหลงเก็บสวนใหญไมมีการแยกชนิดของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน จากการสอบถามผูประกอบการสวนใหญพบวาไมมีการตรวจสอบคุณภาพของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนเมื่อเขามาที่สถานที่เก็บของเสียประเภทนี้ แมแตการตรวจสอบดวยสายตา ซ่ึงจะพบวาของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่ไมมีการปนเปอนจะถูกรวมอยูในกองเดียวกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีการปนเปอนสูง ทําใหวัตถุดิบที่ไดสูญเสียคุณสมบัติในการเปนวัสดุที่สามารถนํากลับมาใชใหมที่มีคุณคาได นอกจากนี้พบวาแตละแหลงไมมีการตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบ เนื่องจากการนําไปใชของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ในปจจุบันนี้ใชในงานถมหรือปรับสภาพที่ดินเทานั้นดังนั้นวัสดุประเภทนี้จึงถูกกําหนดราคาขายที่ไมแตกตางกันระหวางของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มีการปนเปอนสูงและของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่ไมมีการปนเปอน ทําใหทราบลักษณะสมบัติตางๆ ของวัสดุประเภทนี้นอยมาก ถึงแมวาวัสดุประเภทนี้จะถูกนําไปในในงานถม แตการปนเปอนบางอยาง อาทิเชน คลอไรดซัลเฟต หรือการทําปฏิกิริยาอัลคาไลดกับมวลรวม เปนตน สามารถสงผลกระทบตอการเสื่อมสภาพของโครงสรางคอนกรีตได ขณะที่วัสดุที่ถมอาจเกิดโพรงเนื่องจากกระปองพลาสติกหรือกระปองเหล็ก หรืออาจเกิดโพรงหรือกล่ินกาซจากการยอยสลายของซากอินทรียสาร ซ่ึงอาจสงผลตอการทรุดตัวที่ไมเทากันได นอกจากนี้ส่ิงปนเปอน

Page 213: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

10-6

บางอยางตามที่อางในบทที่ 9 อาจมีสารที่เปนอันตรายและมีแนวโนมวาเปนอันตรายที่อาจสงผลกระทบตอสุขภาพของคนงานได ถามีการตรวจพบวาของเสียจากการกอสรางประเภทนี้มีการปนเปอน การตามหาแหลง หรือสาเหตุจะเปนไปไดยากมาก หรืออาจจะเปนไปไมไดเลย เนื่องจากวัตถุดิบที่ไดมาจากแตละแหลงถูกนํามาผสมกัน ส่ิงนี้ทําใหเกิดปญหาตอการยอมรับในคุณภาพของวัสดุประเภทนี้จากอุตสาหกรรมกอสรางที่มีการควบคุมคุณภาพเปนอยางดี

10.5 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

นอกจากการตั้งโรงงานสําหรับการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมทําใหเกิดมลภาวะทางสิ่งแวดลอมตามที่อางในบทที่ 1 แลว การใชของเสียสําหรับงานถม ถามีการปนเปอน อาจทําใหเกิดปญหาผลกระทบตอแหลงน้ําหรือน้ําใตดินได โดยเฉพาะอยางยิ่งในงานถมสําหรับโครงสรางที่ตองทําทํานบกั้น ซ่ึงเปนการยากที่จะยืนยันถึงปริมาณโลหะหนักที่มีโอกาสชะลางลงไปได

10.6 กลไกทางการตลาด

การนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมประสบความสําเร็จหรือไม สาเหตุหลักประการหนึ่งคือ แรงจูงใจทางการตลาด ซ่ึงประกอบดวย 2 ปจจัยหลักคือ ราคาและความพอเพียงของมวลรวมจากธรรมชาติ และคาใชจายที่ใชในการจัดการของเสียจากการกอสรางและร้ือถอน คาขนยายของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนไปยังสถานที่จัดเก็บเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งของคาใชจายการจัดการของเสีย ส่ิงนี้เปนสวนชวยในการตัดสินใจเลือกวาการตั้งโรงงานบดยอยและนํากลับมาใชใหมในสถานที่หรือนอกสถานที่กอสราง ทางเลือกที่นาสนใจตอการลงทุนหรือไม เมื่อเทียบกับราคาและคาขนสงมวลรวมจากธรรมชาติมาบริเวณกอสราง แมวาวัสดุที่นํากลับมาใชใหมจะมีคุณภาพต่ํา แตวัสดุที่นํากลับมาใชใหมกับมวลรวมจากธรรมชาติมีราคาที่แตกตางอยางเดนชัด ทําใหการใชของเสียดังกลาวชวยลดคาใชจายหรือแมกระทั่งทํากําไรใหกับผูประกอบการ จึงทําใหไมมีแนวความคิดที่จะปรับปรุงคุณภาพวัสดุที่นํากลับมาใชใหมใหดีขึ้น การตั้งราคาขายวัสดุที่นํากลับมาใชใหมจําเปนตองพยายามลดราคาใหต่ํากวามวลรวมจากธรรมชาติ โดยที่มีความแตกตางอยางพอเหมาะที่จะทําใหผูซ้ือรูสึกสนใจมากกวาการเลือกมวลรวมจากธรรมชาติ การปรับปรุงคุณภาพอาจจะชวยใหวัสดุที่นํากลับมาใชใหมนาสนใจที่จะนํามาใช แตส่ิงนี้จําเปนตองมีการลงทุนเพิ่มขึ้น สงผลใหราคาวัสดุที่นํากลับมาใชใหมมีราคาแพงขึ้น และลด

Page 214: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

10-7

ผลตางกําไรที่ไดระหวางการขายมวลรวมจากธรรมชาติกับการขายมวลรวมที่นํากลับมาใชใหม ทําใหระยะเวลาการคืนทุนนานขึ้นหรืออาจไมแนนอน ดังนั้นการตั้งราคาขายวัสดุที่นํากลบัมาใชใหมนี้จึงเปนราคาเดียว ทําใหไมมีแรงกระตุนหรือแรงจูงใจที่จะทําใหคุณภาพของวัสดุที่นํากลับมาใชใหมดีขึ้น ลักษณะงานที่นําไปใชมีสวนเกี่ยวของกับแรงจูงใจของผูประกอบการที่ตองการลดราคาคากอสรางตัวอยางเชน ราคามวลรวมประมาณโดยเฉลี่ยรอยละ 31 ของราคาคากอสรางถนน ในขณะที่ราคามวลรวมของงานกอสรางอื่นๆ ประมาณรอยละ 5 (Ecotec, 1991) ดังนั้นการนําวัสดุเหลือใชกลับมาใชใหมสําหรับงานกอสรางอื่นๆ อาจไมชวยทําใหประหยัดคาใชจายในการกอสรางมากนัก เมื่อเทียบกับงานกอสรางถนน

10.7 มาตรฐานและขอกําหนด

มาตรฐานและขอกําหนดสวนใหญที่ใชในปจจุบันขึ้นกับคุณสมบัติทางกายภาพของมวลรวมหรือวัสดุแตละชนิดมากกวาจะเนนคุณสมบัติหลักที่ตองการของผลิตภัณฑที่จะนํามาใช ขอกําหนดตางๆ ไดมาจากการเก็บขอมูลของวัสดุโดยสวนใหญเปนวัสดุธรรมชาติเปนระยะเวลายาวนาน ซ่ึงมีขอมูลยืนยันวาไมมีผลกระทบตอคุณภาพผลิตภัณฑหรืองานที่นําไปใช ทําใหขอกําหนดสวนใหญมีลักษณะคลายกับสูตรสําเร็จ อาทิเชน ตองการมวลรวมประเภทนี้จํานวนเทาใด เปนตน ในขณะที่ขอกําหนดจํานวนไมมากยอมใหขึ้นกับคุณภาพของผลิตภัณฑหรืองานที่นําไปใชตามที่ตองการ เมื่อนําวัสดุที่นํากลับมาใชใหมมาใชในลักษณะงานประเภทเดียวกับมวลรวมจากธรรมชาติ วัสดุที่นํากลับมาใชใหมจะถูกคาดวาตองมีคุณสมบัติหรือลักษณะตางๆ คลายกับมวลรวมจากธรรมชาติ ถึงแมวาวัสดุที่นํากลับมาใชใหมอาจจะมีคุณสมบัติตามขอกําหนดหรือมาตรฐาน แตจะมีคุณสมบัติบางอยางที่แตกตางจากมวลรวมจากธรรมชาติ ทําใหเกิดการลังเลสงสัยที่จะนําไปใช ถึงแมวาคุณสมบัติที่แตกตางนั้นอาจจะไมมีผลกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑที่ตองการนําไปใช ดังนั้นการกําหนดมาตรฐานหรือขอกําหนดใหกับวัสดุที่นํากลับมาใชใหมสามารถที่จะนําไปใชในงานทางดานตางๆ ได จึงเปนวิธีการหนึ่งที่สามารถสงเสริมและทําใหผูประกอบการเกิดความมั่นใจและกลาที่จะนําวัสดุประเภทนี้ไปใชงาน มาตรฐานหรือขอกําหนดตามแนวทางที่วัสดุที่นํากลับไปใชใหมสามารถนําไปใชงานได มีดังตอไปนี้

ก. การนําไปใชในงานถม วัสดุเหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนถูกนําไปใชในงานถมมากที่สุด เนื่องจากงานสวนใหญ อาทิเชน งานถมของงานกอสรางภาคเอกชน เปนตน พบวาไมมีขอกําหนดหรือมาตรฐาน

Page 215: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

10-8

เกี่ยวกับงานถมมาบังคับ ทําใหวัสดุเหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนไมจําเปนตองมีการควบคุมคุณภาพกอนนําไปถม วัสดุเหลือใชประเภทนี้ถูกนําไปใชอยางแพรหลายแมวาอาจมาจากแหลงที่มีการปนเปอนสูง หรือมีขนาดคอนขางใหญ การไมควบคุมคุณภาพเชนนี้อาจสงผลกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑหรืออายุการใชงานของโครงสราง หรืออาจสงผลกระทบตอสภาพส่ิงแวดลอมโดยรอบ ในขณะที่งานถมของงานกอสรางภาครัฐ พบวามาตรฐานงานกอสรางหรือรายละเอียดดานวิศวกรรมสําหรับงานจางกอสรางหลายหนวยงาน อาทิเชน การประปาสวนภูมิภาค (กปภ. 01, 2543) และกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนตน มีการกําหนดชนิดหรือประเภทของวัสดุที่สามารถนํามาใชในการถม ซ่ึงสวนใหญเปนวัสดุจากธรรมชาติ เวนแตไดรับความเห็นชอบจากผูวาจาง ทําใหยากตอการนําวัสดุเหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนมาใชงาน

มาตรฐานหรือขอกําหนดจากตางประเทศ เมื่อเปรียบเทียบมาตรฐานหรือขอกําหนดจากตางประเทศ พบวาในหลายประเทศไมมีมาตรฐานหรือขอกําหนดสําหรับงานถม แตมีขอเสนอแนะสําหรับการนําวัสดุเหลือใชจากการกอสรางไปใชในงานถม ตัวอยางเชน Building Research Establishment (1993) ไดใหขอเสนอแนะในการเลือกวัสดุที่ เหมาะสมสําหรับการนําไปใชในงานถม และปญหาที่อาจเกิดขึ้นจากองคประกอบของวัสดุที่นํามาใชในงานถม อาทิเชน เศษไมเมื่อผุพังอาจทําใหเกิดโพรงในงานที่ถมได เปนตน

ข. การนําไปใชในงานถนน ถึงแมวาวัสดุเหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนจะมีศักยภาพสูงที่จะนํามาใชในงานถนน แตวัสดุเหลือใชประเภทนี้ถูกนํามาใชในงานกอสรางหรือปรับปรุงสภาพถนนนอยมาก เนื่องจากวัสดุเหลือใชประเภทนี้สวนใหญไมไดผานกระบวนการ ทําใหคุณภาพของวัสดุประเภทนี้ไมสามารถผานตามเกณฑของมาตรฐานได โดยเฉพาะอยางยิ่งมีขนาดใหญกวาที่กําหนดเนื่องจากไมไดผานการบดยอย และปริมาณการปนเปอนสูงเนื่องจากไมไดคัดแยกแหลงที่มากอนนําวัสดุเหลือใชประเภทนี้ผานกระบวนการ แมวามาตรฐานสวนใหญจะไมไดกําหนดใหวัสดุเหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนเปนวัสดุประเภทหนึ่งที่ใชในงานถนนได แตบางมาตรฐานอนุโลมใหสามารถเลือกใชวัสดุอ่ืนๆ ไดนอกเหนือจากวัสดุที่อางในมาตรฐาน ถาผานตามคุณสมบัติที่กําหนดและผานความเห็นชอบจากผูควบคุมงาน

Page 216: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

10-9

วัสดุสําหรับงานถมคันทาง มาตรฐานวัสดุถมคันทางสวนใหญจะอนุโลมใหสามารถใชวัสดุใดๆ ที่มีคุณสมบัติตามที่กําหนดได ยกตัวอยางเชน มาตรฐานของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม (2535) ไดกาํหนดวสัดทุี่ใชสําหรับงานหินถมคันทางวาตองเปนหินคละกันขนาดใหญไปหาเล็ก ปราศจากสิ่งไมพึงประสงคตางๆ และตองไดรับความเห็นชอบจากนายชางผูควบคุมงาน ถาไมกําหนดคุณสมบัติไวเปนอยางอ่ืน ขนาดกอนโตสุดของหินถมคันทางไมเกิน 750 มิลลิเมตรสําหรับงานกอสรางชั้นลาง และไมเกิน 100 มิลลิเมตรสําหรับงานกอสรางชั้นบน มาตรฐานงานทางของกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคมและมาตรฐานงานทางของกรมโยธาธิการ (ปจจุบันเปลี่ยนชื่อเปน กรมโยธาธิการและผังเมือง) กระทรวงมหาดไทยไดกําหนดมาตรฐานวัสดุถมคันทาง (มทช. 201-2545 และมยธ. 201-2543 ตามลําดับ) ประเภทวัสดุมวลรวมขึ้นกับคุณสมบัติตามที่กําหนดโดยไมขึ้นกับชนิดของมวลรวมที่นํามาใช โดยวัสดุที่นํามาใชตองมีคุณสมบัติโดยยอดังตอไปนี้

• เปนวัสดุที่มีความคงทน ปราศจากดินเหนียว หนาดิน รากไม ใบไม หรือวัสดุอินทรีย • ขนาดเม็ดโตสุดไมเกิน 50 มิลลิเมตร • สวนละเอียดผานตะแกรงไมเกินรอยละ 35 โดยน้ําหนัก • คา ซี บี อาร (Consolidation Bearing Ratio, CBR)ไมนอยกวารอยละ 8 ที่รอยละ 95 ของ

ความหนาแนนสูงสุดแบบสูงกวามาตรฐาน และ • มีคาการพองตัว ไมมากกวารอยละ 3

ในขณะที่มาตรฐานงานกอสรางหรือรายละเอียดดานวิศวกรรมสําหรับงานจางกอสรางวัสดุถมคันทางของบางหนวยงาน อาทิเชน การประปาสวนภูมิภาค (กปภ. 01, 2543) และกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนตน มีการกําหนดชนิดหรือประเภทของวัสดุที่ใชในงานคันทาง ทําใหยากตอการนําวัสดุเหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนมาใชงาน

วัสดุคัดเลือก งานวัสดุคัดเลือกสําหรับใชเสริมกอสรางบนชั้นถมคันทาง หรือช้ันอื่นใดที่ไดเตรียมวัสดุที่มีคุณภาพตามที่กําหนด โดยวัสดุประเภทนี้ไมไดกําหนดประเภทของมวลรวมที่นํามาใช ทําใหวัสดุเหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนมีโอกาสที่จะถูกนําไปใชไดในงานประเภทนี้ ถาสามารถผานตามคุณสมบัติตางๆตามที่กําหนด ตัวอยางเชน มาตรฐานของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม (2535) ไดกําหนดวัสดุที่ใชสําหรับงานวัสดุคัดเลือกประเภท ก วาตองเปนวัสดุที่มีความคงทน มีสวนหยาบผสมกับสวนละเอียดที่มีคุณภาพเปนวัสดุประสานที่ดี ปราศจากดินเหนียว และวัชพืชอ่ืนๆ จากแหลงที่ไดรับความเห็นชอบจากนายชางผูควบคุมงาน และมีขนาดเม็ดโตสุดไมเกิน 50

Page 217: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

10-10

มิลลิเมตร นอกจากนี้ถาไมกําหนดคุณสมบัติไวเปนอยางอื่น ปริมาณมวลรวมละเอียดที่ผานตะแกรงเบอร 200 (ทล.-ท. 205) ไมเกินรอยละ 30 คาขีดเหลว (ทล.-ท. 102) ไมเกินรอยละ 40 คาดัชนีความเปนพลาสติก (ทล.-ท. 103) ไมเกินรอยละ 20 คาซี บี อาร (ทล.-ท. 108 และ 109) ไมนอยกวารอยละ 10 ที่รอยละ 95 ของความหนาแนนสูงสุด คาการขยายตัว (ทล.-ท. 108 และ 109) ไมนอยกวารอยละ 3 คาดัชนีความคงทน (ทล.-ท. 206) ไมนอยกวารอยละ 30 และการหาขนาดเม็ดของวัสดุโดยผานตะแกรงแบบลาง (ทล.-ท. 205) มีสวนผานตะแกรงเกินกวารอยละ 90 สวนมาตรฐานงานทางของกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม และมาตรฐานงานทางของกรมโยธาธิการ (ปจจุบันเปลี่ยนชื่อเปน กรมโยธาธิการและผังเมือง) กระทรวงมหาดไทยไดกําหนดมาตรฐานวัสดุคัดเลือก (มทช. 204-2545 และ มยธ. 204-2531 ตามลําดับ) ประเภท ก เปนวัสดุปราศจากดินเหนียว หินเชล รากไม หรือวัชพืชอ่ืนๆ ขนาดเม็ดโตสุดไมเกิน 50 มิลลิเมตร ปริมาณมวลรวมละเอียดที่ผานตะแกรงเบอร 200 ไมมากกวารอยละ 25 คาขีดเหลวไมมากกวา 40 คาดัชนีความเปนพลาสติกไมมากกวา 20 คาการขยายตัวไมมากกวารอยละ 3 และคาซีบีอาร ไมนอยกวาที่กําหนดไวในแบบและไมนอยกวาวัสดุคันทางบริเวณนั้น

วัสดุสําหรับงานรองพื้นทาง วัสดุรองพื้นทางเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่วัสดุเหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนสามารถนําไปใชไดถาสามารถผานคุณสมบัติตามที่กําหนด เนื่องจากไมมีการกําหนดชนิดของมวลรวมที่นํามาใช โดยวัสดุที่นํามาใชตองผานคุณสมบัติตามมาตรฐาน ตัวอยางเชน มาตรฐานของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม (2535) ไดกําหนดวัสดุที่ใชสําหรับงานวัสดุรองพื้นทางวาตองเปนวัสดุที่มีเม็ดแข็ง ทนทาน มีสวนหยาบผสมกับสวนละเอียดที่มีคุณภาพเปนวัสดุประสานที่ดี ปราศจากดินเหนียว และวัชพืชอ่ืนๆ จากแหลงที่ไดรับความเห็นชอบจากนายชางผูควบคุมงาน และมีขนาดเม็ดโตสุดไมเกิน 50 มิลลิเมตรนอกจากนี้กรณีที่ไมไดกําหนดคุณสมบัติไวเปนอยางอื่น มวลรวมตองมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ มีคาความสึกหรอ (ทล.-ท. 202) ไมเกินรอยละ 60 ขนาดคละ (ทล.-ท. 205) ตามตารางที่ 10.1 คาขีดเหลว (ทล.-ท. 102) ไมเกินรอยละ 35 คาดัชนีความเปนพลาสติก (ทล.-ท. 103) ไมเกินรอยละ 11 คาซี บี อาร (ทล.-ท. 108 และ 109) ไมนอยกวารอยละ 25 ที่รอยละ 95 ของความหนาแนนสูงสุด คาการขยายตัว (ทล.-ท. 108 และ 109) ไมนอยกวารอยละ 3 คาดัชนีความคงทน (ทล.-ท. 206) ไมนอยกวารอยละ 35 สวนมาตรฐานงานทางของกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคมและมาตรฐานงานทางของกรมโยธาธิการ (ปจจุบันเปลี่ยนชื่อเปน กรมโยธาธิการและผังเมือง) กระทรวงมหาดไทย ไดกําหนดมาตรฐานวัสดุรองพื้นทาง (มทช. 202-2545 และ มยธ. 202-2531 ตามลําดับ) เปนวัสดุประกอบดวยเม็ดแข็ง ทนทาน และเปนวัสดุเชื้อประสานที่ดีผสมอยูปราศจากดินเหนียว หินเชล รากไม หรือวัชพืชอ่ืนๆ ขนาดเม็ดโตสุดไมเกิน 50 มิลลิเมตร คาขีดเหลวไมมากกวา 35 คาดัชนี

Page 218: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

10-11

ความเปนพลาสติกไมมากกวา 11 คาความสึกหรอไมเกินรอยละ 60 และมีขนาดคละตามตารางที่ 10.1 ตารางที่ 10.1 ขนาดคละของรองพื้นทางวัสดุมวลรวม

น้ําหนักท่ีผานตะแกรงรอยละ ขนาดตะแกรงมาตรฐาน ชนิด ก (A) ชนิด ข (B) ชนิด ค (C) ชนิด ง (D) ชนิด จ (E)

2” 100 100 - - - 1” - 75-95 100 100 100

3/8” 30-65 40-75 50-85 60-100 - เบอร 4 25-55 30-60 35-65 50-85 55-100 เบอร 10 15-40 20-45 25-50 40-70 40-100 เบอร 40 8-20 15-30 15-30 25-45 20-50 เบอร 200 2-8 5-20 5-15 10-25 6-20

ที่มา: มทช. 202-2545 และ มยธ. 202-2531 ในขณะที่มาตรฐานงานกอสรางหรือรายละเอียดดานวิศวกรรมสําหรับงานจางกอสรางวัสดุรองพื้นทางของการประปาสวนภูมิภาค (กปภ. 01, 2543) และกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ มีการกําหนดการทดสอบลักษณะเดียวกับมาตรฐานที่อางมาแลวขางตน

วัสดุสําหรับงานพื้นทาง สําหรับชั้นพื้นทาง พบวามาตรฐานทั้งของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม (ทล.-ม.201/2544) และมาตรฐานงานทางของกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม (2547) และมาตรฐานงานทางของกรมโยธาธิการ (ปจจุบันเปลี่ยนชื่อเปน กรมโยธาธิการและผังเมือง) กระทรวงมหาดไทย (2531) และมาตรฐานงานทางของการประปาสวนภูมิภาค (กปภ. 01, 2543) มีขอกําหนดประเภทของมวลรวมที่นํามาใช ตองเปนหินโมหรือกรวดโม จึงทําใหยากที่จะนําวัสดุที่นํากลับมาใชใหมมาใชในงานประเภทนี้ แมวาวัสดุเหลือใชดังกลาวสามารถผานตามคุณสมบัติที่กําหนด

วัสดุสําหรับงานแอสฟลตคอนกรีต วัสดุมวลรวมสําหรับงานแอสฟลตคอนกรีตพบวา ทั้งมาตรฐานของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม (2535) และมาตรฐานงานทางของกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม (2547) มีการกําหนดวัสดุอ่ืนใดที่กรมทางหลวงหรือกรมทางหลวงชนบทตามลําดับอนุมัติใหใชได ทําใหวัสดุเหลือใชอ่ืนๆ มีโอกาสที่จะนํามาใชไดถามีคุณสมบัติตามที่กําหนด ในขณะที่มาตรฐานของหนวยงานอื่นมีการกําหนดชนิดของมวลรวมที่ตองนํามาใช ตัวอยางมาตรฐานของกรมทาง

Page 219: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

10-12

หลวง กระทรวงคมนาคม (2535) สําหรับมวลรวมหยาบหรือวัสดุที่คางบนตะแกรงเบอร 4 ไดกําหนดวัสดุที่ใชสําหรับงานแอสฟลตคอนกรีตวาตองเปนวัสดุที่มีเม็ดแข็ง และคงทน สะอาด ปราศจากวัสดุไมพึงประสงคใดๆ กรณีที่ไมไดกําหนดคุณสมบัติไวเปนอยางอื่น มวลรวมตองมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ มีคาความสึกหรอ (ทล.-ท. 202) ไมเกินรอยละ 40 คาสวนไมคงทน (ทล.-ท. 213) โดยใชโซเดียมซัลเฟต จํานวน 5 รอบ ไมเกินรอยละ 9 ผิวมวลรวมหยาบตองมีแอสฟลตเคลือบ (AASHTO 182) ไมนอยกวารอยละ 95 สวนมาตรฐานงานทางของกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม (2547) ไดกําหนดมาตรฐานวัสดุมวลรวมสําหรับงานแอสฟลตคอนกรีต (มทช. 209-2545) สําหรับวัสดุมวลรวมหยาบตองเปนวัสดุที่แข็งและคงทน สะอาด ปราศจากวัสดุที่ไมพึงประสงค ที่อาจทําใหแอสฟลตคอนกรีตมีคุณภาพดอยลง มีคาความสึกหรอไมเกินรอยละ 40 คาสวนไมคงทนโดยใชโซเดียมซัลเฟต จํานวน 5 รอบ ไมเกินรอยละ 9 ผิวมวลรวมหยาบตองมีแอสฟลตเคลือบไมนอยกวารอยละ 95 คาดัชนีความแบนไมมากกวารอยละ 30 และคาดัชนีความยาวไมมากกวารอยละ 30

วัสดุจากงานรื้อชั้นทางเดิมและกอสรางใหม สําหรับมาตรฐานการทางของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม (ทล.-ม.213/2543) ไดมีการยอมใหมีการนําวัสดุช้ันทางเดิมมาปรับปรุงสภาพแลวนํากลับมาใชใหม โดยทําการรื้อวัสดุช้ันทางเดิมออก แลวทําใหรวน โดยอาจมีการเติมวัสดุผสมเพิ่มเพื่อปรับปรุงขนาดคละและเพิ่มปริมาณเชน ใสหิน ทราย วัสดุมวลรวม ฯลฯ หรือเพื่อปรับปรุงคุณภาพ เชน ปูนซีเมนต ปูนขาว เถาลอย หรือ แอสฟลต และสารผสมเพิ่มอื่น โดยการปรับปรุงอาจทําในที่หรือที่โรงงาน โดยตองกอสรางตามขั้นตอนและปดทับดวยผิวทางใหม ซ่ึงมาตรฐานนี้จะชวยสงเสริมการนําผิวทางแอสฟลตกลับไปใชใหมได

มาตรฐานหรือขอกําหนดจากตางประเทศ เมื่อเปรียบเทียบมาตรฐานหรือขอกําหนดจากตางประเทศที่เกี่ยวของกับวัสดุที่ใชแลวและนํากลับมาใชใหมสําหรับใชในงานถนน พบวาในหลายประเทศมีการกําหนดวัสดุประเภทนี้ไวในมาตรฐานเพื่อเปนแรงจูงใจใหผูประกอบการสามารถนําวัสดุประเภทนี้มาใชในงานกอสรางหรืองานปรับปรุงสภาพถนนได โดยมีการกําหนดคุณสมบัติของวัสดุประเภทนี้และลักษณะงานที่นําไปใชไวอยางชัดเจน ตัวอยางเชน มาตรฐานงานกอสรางถนนของสหราชอาณาจักร Specification for Highway Works (Department of Transport et al, 1991) ไดยอมใหมีการใชวัสดุที่เหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนในแนวทางการนําไปใชที่แตกตางกัน (ตารางที่ 10.2) นอกจากนี้รางมาตรฐานวัสดุกอสรางถนนของกลุมประเทศยุโรป และมาตรฐานการกอสรางถนนของรัฐ

Page 220: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

10-13

Minnesota ประเทศสหรัฐอเมริกา ยังไดกําหนดคุณสมบัติและการควบคุมคุณภาพสําหรับวัสดุนํากลับไปใชใหมในงานวัสดุรองพื้นทาง วัสดุพื้นทาง และวัสดุผิวทางอีกดวย

ค. การนําไปใชในผลิตภัณฑวัสดุกอสราง

ผลิตภัณฑวัสดุกอสราง อาทิเชน อิฐ คอนกรีตบล็อก และคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศอบไอน้ํา ขึ้นกับมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ซ่ึงอาจจะขึ้นกับมาตรฐานสําหรับวสัดุที่เปนองคประกอบหรืออาจจะไมขึ้นกับมาตรฐานสําหรับวัสดุที่เปนองคประกอบ ของเสียจากกระบวนการหรือจากภายนอกกระบวนการมีศักยภาพที่จะนํามาใชเปนองคประกอบไดมากกวาการนําของเสียไปใชในงานคอนกรีต เนื่องจากมาตรฐานผลิตภัณฑขึ้นกับคุณภาพของผลิตภัณฑมากกวาขึ้นกับคุณภาพของวัตถุดิบที่นํามาใช แตอยางไรก็ตามสูตรการผลิตสวนใหญไมมีการนําเอาของเสียจากกระบวนการผลิตหรือของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนมาใช ยกเวนแตคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศอบไอน้ําซึ่งไดบรรจุเอาของเสียจากกระบวนการผลิตมาบดละเอียดและนํากลับมาใชใหมในมาตรฐานอุตสาหกรรมดวย (มอก. 1505-2541)

Page 221: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

10-14

ตารางที่ 10.2 การนําวัสดุที่เหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอนมาใชในงานถนน

การใชงาน ลักษณะการใชงาน การยอมรับวัสดุท่ีใชแลว General Fill สําหรับการปรับระดับกอนการ

กอสรางถนน วัสดุที่สามารถอัดแนนไดอยางพอเพียง

Capping เพื่อใหไดช้ันที่แนนขึ้นสําหรับการกอสรางวัสดุรองพื้นทาง

วัสดุ เม็ดที่คละขนาด รวมทั้งวัสดุที่เหลือใชจากการกอสรางและรื้อถอน

Granular Sub-base ช้ันสําหรับวางผิวทาง และใหเกิดการกระจายแรงลงสูลาง

คอนกรีตบดยอย ตองมีขนาดคละตามกําหนด

Pavement Concrete งานกอสรางผิวทาง คอนกรีตบดยอย ตองมีคุณภาพและขนาดคละตามที่กําหนดใน BS 882

Cement-Bound Materials (CBM)

งานกอสรางวัสดุรองพื้นทาง คอนกรีตบดยอย สําหรับ CBM 3 และ CBM 4 และตองมีคุณภาพและขนาดคละตามที่กําหนดใน BS 882

Bituminous Materials งานกอสรางชั้นผิวทาง สามารถใชวัสดุบิทูมินัสที่ใชแลวไดถึงรอยละ 10

ที่มา: Humphreys, H. et al, 1994

ง. การนําไปใชในงานคอนกรีต มาตรฐานหลักสําหรับมวลรวมสําหรับงานคอนกรีต (มอก. 566) ใชสําหรับมวลรวมจากธรรมชาติเทานั้น ในขณะที่มาตรฐานงานทางของกรมโยธาธิการ (ปจจุบันเปลี่ยนชื่อเปน กรมโยธาธิการและผังเมือง) กระทรวงมหาดไทย (2533) ไดกําหนดมาตรฐานวัสดุมวลรวมสําหรับใชในงานคอนกรีต (มยธ. 101-2533) มวลรวมละเอียดตองเปนทรายน้ําจืดหรือทรายบก ในขณะที่มวลรวมหยาบเปนหินหรือกรวด ที่แข็งแกรง เหนียว ไมผุ และสะอาดปราศจากวัสดุอ่ืนเจือปน สําหรับขอกําหนดมาตรฐานวัสดุและการกอสรางสําหรับโครงสรางคอนกรีต (ว.ส.ท. 1014-46) ไดบรรจุมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมสําหรับใชในงานคอนกรีต ไดใหคําจํากัดความ และจําแนกมวลรวมหยาบที่นํากลับมาใชใหมออกเปน 3 ระดับชั้นคุณภาพ (ตารางที่ 10.3) โดยแบงตามแหลงกําเนิดและการดูดซึมน้ําของมวลรวมเปนหลัก ในกรณีที่ผู ซ้ือสงสัยในคุณภาพอาจจะเสนอแนะการตรวจสอบคุณภาพของมวลรวมหยาบที่นํากลับมาใชใหมเพิ่มเติม นอกเหนือจาก มอก. 566 “มาตรฐานมวลผสมสําหรับคอนกรีต” อาทิเชน ความถวงจําเพาะ น้ําหนักรอยละขององคประกอบมวลรวมที่มีความถวงจําเพาะอิ่มตัวผิวแหงแตกตางกัน น้ําหนักรอยละมากสุดของวัสดุเจือปน เปนตน นอกจากนี้ไดแนะนํารูปแบบการนํามวลรวมหยาบที่นํากลับมาใชใหมแตละ

Page 222: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

10-15

ระดับชั้นคุณภาพไปใชในงานคอนกรีตประเภทตางๆ ทําใหมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมมแีนวทางที่สามารถนําไปใชในงานคอนกรีตไดถาสามารถผานตามเกณฑที่กําหนด ตารางที่ 10.3 การจําแนกประเภทของมวลรวมหยาบที่ใชแลว

ชั้นคุณภาพ คําจํากัดความ 1 มวลรวมหยาบซึ่งประกอบดวยมวลรวมหยาบจากธรรมชาติจะตองไมนอยกวารอย

ละ 80 โดยน้ําหนัก และมวลรวมหยาบที่ใชแลวช้ันคุณภาพ 2 จะตองไมมากกวารอยละ 20 โดยน้ําหนัก หรือมวลรวมหยาบที่ใชแลวช้ันคุณภาพ 3 ผสมอยูจะตองไมมากกวารอยละ 10 โดยน้ําหนัก นอกจากนี้คาการดูดซึมน้ําของมวลรวมหยาบที่ใชแลวประเภทที่ 1 จะตองไมเกินรอยละ 3 โดยน้ําหนัก

2 มวลรวมหยาบสวนใหญที่ไดมาจากคอนกรีตที่ใชแลว มีคาการดูดซึมน้ําจะตองไมเกินรอยละ 10 โดยน้ําหนัก

3 มวลรวมหยาบสวนใหญที่ไดมาจากวัสดุกอหรือ ผสมระหวางวัสดุกอและคอนกรีตที่ใชแลว มีคาการดูดซึมน้ําจะตองไมเกินรอยละ 20 โดยน้ําหนัก

ที่มา: ว.ส.ท. 1014-46

มาตรฐานหรือขอกําหนดจากตางประเทศ วัสดุที่นํากลับมาใชใหมมีการบรรจุลงในมาตรฐานและขอกําหนดจากนานาชาติสําหรับมวลรวมสําหรับงานคอนกรีต เพื่อเปนการสงเสริมใหผูประกอบการกลาตัดสินใจที่จะนําวัสดุประเภทนี้ไปใชงาน และลดความเสี่ยงของผูประกอบการและผูบริโภคเนื่องจากมีการควบคุมคุณภาพของมวลรวมประเภทนี้

• สหราชอาณาจักร ในสหราชอาณาจักร มาตรฐาน BS 6543 (1985) ไดยอมใหมีการนํามวลรวมที่นํากลับมาใชใหมมาใชในงานถนนและโครงสราง แตไมไดรับความสนใจจากภาคอุตสาหกรรมกอสรางมากนัก (Collins, R.J., 1994) เนื่องจากไดใหขอมูลและคําแนะนําเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพมวลรวมประเภทนี้นอยมาก ตอมาในป ค.ศ. 1998 Building Research Establishment ไดออกมาตรฐาน BRE Digest 433 (BRE, 1998) เกี่ยวกับมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมโดยเฉพาะ เนื้อหาโดยหลักไดแบงมวลรวมชนดินี้ออก ตามชนิดและปริมาณองคประกอบหลัก นอกจากนี้มาตรฐานนี้ยังไดแนะนําการตรวจสอบและกําหนดคุณภาพของมวลรวมชนิดนี้นอกเหนือจากมาตรฐาน BS 882 สําหรับมวลรวมคอนกรีต อาทิเชน ปริมาณรอยละส่ิงเจือปนสําหรับมวลรวมที่นํากลับมาใชใหม เปนตน ในบางกรณีที่มีการควบคุมคุณภาพของแหลงวัตถุดิบสูงอาทิเชน ในงานคอนกรีตอัดแรง มาตรฐานฉบับนี้ยอมใหใช

Page 223: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

10-16

มวลรวมละเอียดที่นํากลับมาใชใหมแทนที่มวลรวมละเอียดจากธรรมชาติไดไมเกินรอยละ 10 โดยไมสงผลตอคุณภาพของคอนกรีต ปจจุบันมวลรวมประเภทนี้ถูกจัดอยูในมาตรฐาน BS 8500 (2002) มาตรฐานสําหรับงานคอนกรีตแตไดปรับปรุงเพื่อใหสามารถใชมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมได ในตัวมาตรฐานไดกําหนดคุณสมบัติ และวิธีการเก็บตัวอยาง และวิธีการทดสอบมวลรวมหยาบที่นํากลับมาใชใหม

• เยอรมัน ประเทศเยอรมันไดออกขอบังคับ เพื่อเปนแนวทางสําหรับการสงเสริมการนํามวลรวมที่นํากลับมาใชใหมมาใชในคอนกรีต (Grubl, P. and Ruhl, M., 1998) โดยเพิ่มขอกําหนดเพิ่มเติมนอกเหนือจากมาตรฐานมวลรวมสําหรับคอนกรีตที่มีอยู (DIN 4226) ไดแก ปริมาณรอยละองคประกอบหลัก ความถวงจําเพาะ การดูดซึมน้ํา เปนตน

• เดนมารค ประเทศเดนมารค ไดมีการออกมาตรฐานใหมแทนที่ขอเสนอแนะสําหรับการใชมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมสําหรับงานคอนกรีต (DCA, 1990, 1995) ซ่ึงมีโครงสรางคลายกับการกําหนดคุณภาพมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมของกลุม RILEM (1994) เนื้อหาโดยหลักไดแบงมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมออกเปน 2 ประเภทตามความถวงจําเพาะและชนิดขององคประกอบหลัก ช้ันคุณภาพ GP 1 ซ่ึงมีแหลงกําเนิดจากคอนกรีต อาจจะใชไดทั้งในสภาพสิ่งแวดลอมทั่วไป และในสภาวะที่ตองเผชิญกับสภาวะสิ่งแวดลอมที่คอนขางรุนแรง และใชไดทั้งกับคอนกรีตธรรมดา และคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีกําลังอัดถึง 40 MPa นอกจากนี้ยังอนุญาตใหมวลรวมหยาบที่นํากลับมาใชใหมสามารถจัดอยูในชั้นคุณภาพนี้ไดโดยไมตองมีการทดสอบ ถาพิสูจนไดวามาจากแหลงกําเนิดที่สะอาด สวนชั้นคุณภาพ GP 2 ซ่ึงมีแหลงกําเนิดจากวัสดุกอเปนหลัก อาจจะใชไดทั้งในสภาพส่ิงแวดลอมทั่วไป และในสภาวะที่ตองเผชิญกับสภาวะสิ่งแวดลอมที่คอนขางรุนแรงสําหรับคอนกรีตธรรมดา และคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีกําลังอัดถึง 20 MPa นอกจากนี้มาตรฐานฉบับนี้ยอมใหใชมวลรวมละเอียดที่นํากลับมาใชใหมอีกถึงรอยละ 20 แทนที่มวลรวมละเอียดจากธรรมชาติ

• เนเธอรแลนด ประเทศเนเธอรแลนดไดรางมาตรฐานยอมใหมีการใชมวลรวมที่นํากลับมาใชใหม สําหรับคอนกรีตธรรมดา คอนกรีตเสริมเหล็ก และคอนกรีตอัดแรงมานานกวา 20 ป โดยจําแนกออกเปน 2 ประเภท ตามความถวงจําเพาะคือ CUR-VB Recommendation 4 สําหรับมวลรวมที่มีแหลงกําเนิด

Page 224: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

10-17

จากคอนกรีตบดยอย และ CUR-VB Recommendation 5 สําหรับมวลรวมที่มีแหลงกําเนิดจากวัสดุกอบดยอย ภายในเวลาตอมา การใชมวลรวมประเภทนี้ไดถูกบรรจุลงในมาตรฐาน NEN 5905: 1997 ภายใตหัวขอ “Additives for Concrete” (1998) โดยมีเกณฑในการกําหนดคุณภาพของมวลรวมประเภทนี้คอนขางละเอียด นอกจากนี้ยังอนุญาตใหใชมวลรวมหยาบที่นํากลับมาใชใหมแทนที่มวลรวมจากธรรมชาติในปริมาณสูงไดถามีขอมูลสามารถยืนยันเปรียบเทียบกับคุณภาพของคอนกรีตที่ใชมวลรวมจากธรรมชาติได

• เบลเยี่ยม เบลเยี่ยมไดรางมาตรฐานเกี่ยวกับการใชมวลรวมที่นํากลับมาใชใหม โดยแบงมวลรวมประเภทนี้ตามคุณภาพของมวลรวม โดยทั่วไปการกําหนดคุณภาพหลักของมวลรวมประเภทนี้คลายกับการกําหนดคุณภาพมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมของกลุม RILEM (1994)

• สเปน ในสเปน เนื่องจากปริมาณมวลรวมจากธรรมชาติคุณภาพดีและราคาถูกมีพอเพียง นโยบายเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมจึงไมไดถูกผลักดันมากเทาทางประเทศยุโรปอื่นๆ อยางไรก็ตามมาตรฐานใหมไดตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมการใชมวลรวมที่นํากลับมาใชใหม (1998) คําจํากัดความของมวลรวมประเภทนี้ไดถูกบรรจุเพิ่มเติมลงในมาตรฐาน UNE 14620 สําหรับมวลรวมคอนกรีต นอกจากนี้บางรัฐบาลทองถ่ิน อาทิเชน Cataluña เปนตน ยังไดกําหนดขอบังคับเกี่ยวของกับการใชมวลรวมประเภทนีแ้ละจําแนกประเภทตามองคประกอบหลัก การตรวจสอบคุณภาพของมวลรวมชนิดนี้กระทําตามมาตรฐานของประเทศสเปนสําหรับมวลรวมคอนกรีต

• RILEM กลุม RILEM (1994) ไดนําเสนอขอบังคับสําหรับมวลรวมหยาบที่นํากลับมาใชใหมในงานคอนกรีต เนื้อหาโดยรวมไดแบงมวลรวมประเภทนี้ออกตามชนิดองคประกอบหลัก และคุณภาพของมวลรวม อาทิเชน ความถวงจําเพาะ น้ําหนักรอยละขององคประกอบมวลรวมที่มีความถวงจําเพาะอิ่มตัวผิวแหงแตกตางกัน น้ําหนักรอยละมากสุดของวัสดุเจือปน (อาทิเชน แกว เหล็ก) น้ําหนักรอยละมากสุดของวัสดุละเอียด การดูดซึมน้ํา น้ําหนักรอยละของอินทรียวัตถุ ปริมาณซัลเฟตที่ละลายน้ํา เปนตน นอกเหนือจากนี้การนํามวลรวมประเภทนี้ไปใชในงานคอนกรีต คุณภาพของมวลรวมจะตองผานขอกําหนดทางดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพของแตละประเทศดวย

Page 225: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

10-18

• มาตรฐานยุโรป กลุมทํางานภายใต CEN/TC 154 ไดรางมาตรฐานเกี่ยวของกับมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมสําหรับใชในงานวิศวกรรมโยธาและโครงสรางขึ้น (Storrar, D.B, 1998) มวลรวมชนิดนี้อาจจําแนกออกเปน 3 ประเภทดวยกันตามองคประกอบหลักของมวลรวม และไดตั้งเกณฑกําหนดคุณภาพสําหรับมวลรวมชนิดนี้ขึ้นพรอมกับกําหนดวิธีการทดสอบ ซ่ึงพบวาบางขอกําหนดมีความแตกตางหรือเพิ่มจากขอกําหนดของมวลรวมจากธรรมชาติตามมาตรฐาน EN 12620 อาทิเชน ความหนาแนนของอนุภาคแหง น้ําหนักรอยละขององคประกอบมวลรวมที่มีความถวงจําเพาะอิ่มตัวผิวแหงแตกตางกัน น้ําหนักมากสุดของวัสดุเจือปน น้ําหนักรอยละมากสุดของวัสดุละเอียด และการดูดซึมน้ํา เปนตน

• สหรัฐอเมริกา คําจํากัดความของมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมไดบรรจุอยูในมาตรฐาน ASTM C33 สําหรับมวลรวมคอนกรีต

• ญ่ีปุน หลังจากที่มีการศึกษามวลรวมที่นํากลับมาใชใหมเปนระยะเวลานาน รัฐบาลไดออกกฎขอบังคับและแนวทางการนําไปใชสําหรับมวลรวมชนิดนี้ในงานโยธาและโครงสรางหลายฉบับ หลังจากนั้นกลุม Japan Concrete Institute (JCI) ไดนํามาเรียบเรียงใหมและไดนําเสนอลงในมาตรฐานอุตสาหกรรมญี่ปุน (JIS) (Tsuji, Y. and Abe, M., 1998) เนื้อหาโดยทั่วไปของมาตรฐานนี้ไดจําแนกคุณภาพของมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมตามคุณสมบัติของมวลรวมชนิดนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การดูดซึมน้ํา โดยใหเหตุผลวาการดูดซึมน้ําสูงแสดงถึงปริมาณซีเมนตเดิมที่ติดมาและสิ่งเจือปนจํานวนมากซึ่งอาจจะสงผลตอคุณภาพเชิงวิศวกรรมและความคงทนของคอนกรีตที่ใชมวลรวมชนิดนี้ นอกเหนือจากนี้ยังไดแนะนําถึงขอบเขตของคุณสมบัติมวลรวมชนิดนี้นอกเหนือจากการดูดซึมน้ําที่ควรตรวจสอบ อาทิเชน ขนาดคละ ความถวงจําเพาะ ส่ิงเจือปน เปนตน (Kasai, Y., 1993) การตรวจสอบคุณภาพมวลรวมชนิดนี้สามารถกระทําตามมาตรฐานของประเทศญี่ปุนสําหรับมวลรวมคอนกรีตได

10.8 ระดับความเชื่อม่ัน

เมื่อใดที่วิศวกรกําหนดชนิดของวัสดุที่ใชในการกอสรางหรือผลิตภัณฑ ระดับความเชื่อมั่นผลิตภัณฑหรือลักษณะงานที่ไดขึ้นกับคุณสมบัติและความแปรปรวนของวัสดุที่นํามาใช ถาวัสดุที่นํามาใชไดจากแหลงเดียวกันและทราบถึงคุณลักษณะตางๆ ของวัสดุชนิดนั้น ทําใหสามารถ

Page 226: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 10 ขอจํากัดของการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมในประเทศไทย

10-19

คาดคะเนถึงคุณภาพหรือโอกาสที่จะเสื่อมสภาพหรือพังทลายของผลิตภัณฑหรือโครงสรางที่ทําขึ้นได ดังนั้นจึงลดปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากการฟองรองในอนาคตได ในขณะที่วัสดุที่นํากลับมาใชใหมมาจากหลายแหลง ซ่ึงอาจมีความแตกตางกันทางดานคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ความแตกตางทางดานคุณภาพของวัตถุดิบนี้สงผลใหเกิดความแปรปรวนในผลิตภัณฑที่ได กอปรกับสภาพการประกอบธุรกิจการผลิตมวลรวมที่นํากลับมาใชใหมซ่ึงสวนใหญมีขนาดเล็กและไมมั่นคง ทําใหวิศวกร ผูควบคุมงาน หรือผูประกอบการมีความเสี่ยงที่จะถูกฟองรองได ถาคุณภาพของผลิตภัณฑหรือโครงสรางไมไดตามขอกําหนด ดังนั้นวิศวกรและผูประกอบการสวนใหญอาจจะยอมรับความเสี่ยงที่อาจเกิดจากความแปรปรวนของวัสดุเหลือใชมาใชเฉพาะกับงานคุณภาพต่ํา อาทิเชน งานถม หรืองานวัสดุรองพื้นทาง เปนตน เพื่อลดตนทุนในการกอสราง ในขณะที่การนําไปใชงานในระดับที่สูงขึ้นความเสี่ยงอาจจะยอมรับไดยาก ดังนั้นแทนที่จะเลือกวัสดุที่มีความแปรปรวนสูง วิศวกรและผูประกอบการสวนใหญจึงเลือกที่จะกําหนดใชมวลรวมจากธรรมชาติที่ทราบคุณสมบัติ และลดการสูญเสียคาใชจายที่อาจจะเกิดจากการฟองรองขึ้นในอนาคต

Page 227: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 11

ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11.1 ปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

ปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนในประเทศไทยมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นทุกๆ ปเนื่องจากมีการกอสรางที่เพิ่มมากขึ้น ซ่ึงสังเกตไดจากปริมาณการใชปูนซีเมนตที่เพิ่มมากขึ้นทุกๆ ปปริมาณของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่ประเมินไดเฉพาะจากการกอสรางและรื้อถอนอาคารในกรุงเทพมหานครในป 2548 (ไมรวมการดัดแปลงอาคาร กอสราง ร้ือถอน ปรับปรุงถนนและสะพาน) มีประมาณ 498,584 ตัน ในขณะที่หนวยงานทองถ่ินไมไดใหความสําคัญในการจัดการอยางเหมาะสมกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนเหลานี้ ทําใหของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนบางสวนถูกนําไปแอบทิ้งอยางผิดกฏหมายตามที่วาง มีบางสวนที่เอกชนนําไปถมที่โดยไมมีการแยกวัสดุอันตรายและวัสดุที่ไมควรนําไปถมที่ออก บางสวนทิ้งรวมไปกับขยะมูลฝอยชุมชนเพื่อไปฝงกลบ ซ่ึงจะทําใหอายุของหลุมฝงกลบลดลง กอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม และทําใหใชทรัพยากรไดไมคุมคา ปญหาดังกลาวมีสาเหตุมาจาก

1. ยังไมมีระเบียบและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการดําเนินการตั้งแตการลดของเสียที่แหลงกําเนิด (ตั้งแตการวางแผน ออกแบบ และดําเนินการกอสรางและรื้อถอน) การคัดแยกของเสีย การใชซํ้าหรือการนํากลับมาใชใหม การขนสง และการกําจัด

2. ขาดบุคลากรระดับปฏิบัติที่มีความรู ความชํานาญในการลดของเสียที่แหลงกําเนิด คัดแยก ของเสีย นําของเสียกลับมาใชใหม และกําจัดอยางถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ

3. การนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมาใชใหมยังจํากัดอยูเฉพาะงานถมที่เทานั้น และยังไมไดคํานึงถึงการปนเปอนวัสดุที่เปนอันตรายหรือที่มีแนวโนมวาเปนอันตราย

4. กฏหมายที่เกี่ยวของไมเอื้ออํานวยตอการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนใหมีประสิทธิภาพเทาที่ควร

5. ขาดความรวมมือระหวางหนวยงานของรัฐ องคกรวิชาชีพ และภาคเอกชนที่เกี่ยวของที่จะรวมกันพัฒนาใหมีการลดของเสียตั้งแตแหลงกําเนิด (ตั้งแตขั้นวางแผน ออกแบบ และดําเนินการกอสรางและรื้อถอน) การคัดแยกของเสีย การนําของเสียกลับมาใชประโยชนใหไดสูงสุด (ใชงานที่สูงกวาการถมที่และมีคุณภาพของวัสดุเปนที่ยอมรับได) และการกําจัดดวยวิธีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

Page 228: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

11-2

11.2 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหา

ดานการจัดการ 1. ใหมีการจัดทําแนวทางปฏิบัติในการจัดการกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

ครบวงจรตั้งแตแหลงกําเนิดจนถึงการกําจัด ซ่ึงรวมถึงแนวทางปฏิบัติในการลดของเสียจากการกอสราง ตั้งแตขั้นวางแผน ออกแบบ และระหวางการกอสราง แนวทางปฏิบัติในการลดของเสียจากการรื้อถอน และแนวทางปฏิบัติในการแยกวัตถุอันตรายออกจากของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ดวย

2. ใหแตละจังหวัดมีการจัดเตรียมที่ดินที่เหมาะสมสําหรับทําศูนยรีไซเคิลของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน โดยกําหนดไวในผังเมืองดวย

3. ใหมีการวางแผนกําหนดเปาหมายเปอรเซ็นตในการรีไซเคิลของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนเพื่อลดของเสียที่จะตองกําจัด

4. ติดตามตรวจสอบและประเมินสภาพปญหาจากการจัดการของเสียจากการกอสรางและร้ือถอน อยางตอเนื่อง

5. พัฒนาใหมีศูนยขอมูลของเสีย (Waste Information Center) เพื่อสงเสริมใหมีการนําของเสียไปใชประโยชน

ดานการลงทุน 1. ใหมีการลงทุนกอสรางศูนยรีไซเคิล ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน โดยรัฐรวม

ลงทุนกับภาคเอกชน หรือรัฐสนับสนุนงบประมาณทั้งหมด หรือสมทบบางสวนใหแกราชการสวนทองถ่ิน โดยใหราชการสวนทองถ่ินเปนผูดําเนินการหรือใหเอกชนดําเนินการ

2. สงเสริมการลงทุนแกเอกชนที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการจัดการของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนรวมทั้งการรีไซเคิลของเสีย โดยใชมาตรการทางดานการเงินเชน ใหเงินกูดอกเบี้ยต่ําหรือปลอดดอกเบี้ย หรือใหสิทธิประโยชนทางดานภาษีเชน ลดภาษีนําเขาเครื่องจักร เปนตน

3. ใหความชวยเหลือทางดานวิชาการ โดยศึกษาความเปนไปไดและความเหมาะสมของโครงการรีไซเคิลของเสีย ซ่ึงประดวยการศึกษาถึงชนิดของของเสีย ปริมาณที่คาดการณ กระบวนการรีไซเคิล สถานที่ตั้งของศูนย โดยคํานึงถึงการรวมกลุมพื้นที่ (Cluster) และความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตรดวย

Page 229: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 11 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11-3

ดานกฏหมาย 1. ปรับปรุงกฏหมายที่เกี่ยวของกับอัตราคาธรรมเนียมการฝงกลบของเสียจากการกอสราง

และร้ือถอนใหสูงกวาขยะมูลฝอยทั่วไป 2. ในการขออนุญาตกอสรางและรื้อถอนโครงการขนาดใหญใหมีการเสนอแผนการ

จัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน โดยจะตองระบุขอมูล ชนิดของของเสีย ปริมาณที่คาดการณ วิธีการแยกของเสีย สถานที่ที่จะนําเศษวัสดุหรือของเสียไปรีไซเคิลหรือกําจัด โดยจะตองจายคามัดจําในการจัดการของเสีย และถามีหลักฐานการนําของเสียไปใชซํ้าหรือรีไซเคิลจะไดรับเงินกลับไปตามสวน เพื่อสงเสริมใหมีการนําของเสียไปใชซํ้าหรือรีไซเคิลและลดการทิ้งของเสียอยางผิดกฏหมาย

3. ควรเรงรัดใหราชการสวนทองถ่ินออกขอกําหนดในการแยกของเสียจากการกอสรางและร้ือถอนที่แหลงกําเนิด ตลอดจนขอกําหนดในลักษณะที่มีรายละเอียดทางเทคนิคเกี่ยวกับหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไข ในการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน เพื่อเปนกรอบใหหนวยงานทองถ่ินหรือผูรับใบอนุญาตรับทราบวาวิธีการอยางไรที่ปฏิบัติไดหรือปฏิบัติไมได

4. ในการซื้อการจางที่ใชงบประมาณของรัฐควรสนับสนุนใหมีการใชผลิตภัณฑที่ผลิตมาจากวัสดุรีไซเคิล โดยการเพิ่มขอความในเรื่องนี้ในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ดานการสนับสนุน

1. สนับสนุนใหเอกชนดําเนินธุรกิจในการแยกและรีไซเคิลของเสียจากการกอสรางและร้ือถอน โดยใชมาตรการทางการเงิน และสิทธิประโยชนทางดานภาษีมาสนับสนุน

2. สงเสริมและผลักดันใหมีการใชวัสดุรีไซเคิลโดยอาศัยองคกรวิชาชีพและหนวยงานที่เกี่ยวของในการกําหนดแนวทางหรือมาตรฐานในการนําวัสดุรีไซเคิลมาใชในงานถมที่และงานกอสราง หรือผลักดันใหมีขอกําหนดขึ้นกับคุณภาพของผลิตภัณฑหรืองานที่ไดมากกวากําหนดประเภทของวัสดุที่นํามาใช การออกใบรับรองคุณภาพของวัสดุรีไซเคิลจากหองปฏิบัติการอิสระที่เชื่อถือได ตลอดจนการสาธิตการใชประโยชนวัสดุที่นํากลับมาใชใหมในงานประเภทตางๆ

3. ใหมีการถายทอดประสบการณและเทคโนโลยีที่เหมาะสมทั้งในการลดของเสียที่แหลงกําเนิดในการกอสรางและรื้อถอน การรีไซเคิลเชน คัดแยก และบดยอย ตลอดจนเทคโนโลยีในการลดผลกระทบสิ่งแวดลอม เชน ฝุนและเสียง เปนตน แกเจาหนาที่ของรัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวของ

4. สนับสนุนใหมีการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อนํามาใชแกปญหาและเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

Page 230: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

11-4

5. ใหมีการเผยแพรขอมูล ขาวสาร เทคโนโลยีที่เกี่ยวของและผลกระทบสิ่งแวดลอมไปสูเยาวชนและประชาชนทั่วไปอยางสม่ําเสมอ

11.3 แนวทางปฎิบตัิในการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนแยกตามขั้นตอนการ จัดการของเสยี

จากสภาพปญหาและแนวทางแกไขปญหาจากขอ 11.1 และ 11.2 ตามลําดับ คณะผูทําการศึกษาไดแยกสภาพปญหาและแนวทางการแกไขปญหาตามขั้นตอนการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ตั้งแตขั้นตอนการเกิดของเสีย การคัดแยกที่แหลงกําเนิด การใชซํ้าและการนํากลับไปใชใหม การขนสงและการกําจัด และนําเสนอระยะเวลาในการดําเนินการของแนวทางแกไขปญหาออกเปน ระยะสั้นในชวง 1-3 ปแรก ระยะกลางในชวง 3-5 ป และระยะยาวในชวง 5-10 ป พรอมทั้งนําเสนอหนวยงานที่มีศักยภาพ และมีแนวโนมวาจะเปนหนวยงานที่สามารถดําเนินการตามแนวทางแกไขปญหาที่นําเสนอ และไดจัดทําเปนเอกสารแจกใหผูที่เกี่ยวของทั้งบริษัทผูรับเหมากอสรางและผูร้ือถอน บริษัทผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป หนวยงานของรัฐและองคกรอิสระ องคกรวิชาชีพตางๆ ที่เกี่ยวของ ไดศึกษาและไดแสดงความคิดเห็น โดย GTZ กรมควบคุมมลพิษ และคณะผูศึกษาไดจัดสัมนาขึ้นเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2550 เพื่อนําเสนอผลการศึกษาของโครงการนี้และรวบรวมสภาพปญหาในดานการจัดการเศษสิ่งกอสรางในปจจุบัน พรอมทั้งนําเสนอแนวทางในการแกไข และในภาคบายของการสัมนาไดจัดทําการระดมความคิดเห็นจากผูเขารวมสัมนาตอแนวทางแกไขปญหาที่คณะผูศึกษาไดจัดทําขึ้น รายละเอียดของขอคิดเห็นจากผูเขารวมสัมนาไดรวบรวมไวดังแสดงในภาคผนวก ง หลังจากที่ไดรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากผูเขารวมสัมนาแลว ทางคณะผูศึกษาพรอมทั้งกรมควบคุมมลพิษไดทําการปรับแกแนวทางการแกไขปญหาตามขั้นตอนการจัดการของเสียขึ้นอีกครั้งหนึ่งดังรายละเอียดในตารางที่ 11.1

Page 231: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 11 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11-5

ตารางที่ 11.1 แนวทางปฎิบตัิในการจดัการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

แหลงกําเนิด(Source)

1. การกอสราง • มีเศษวัสดุเกิดขึ้นมาก

หรือนอยขึ้นกับการออกแบบและก ารควบคุ ม ง านของผูจัดการโครงการและความรู ความชํ าน าญของคนงานกอสราง และการเลือกใชวัสดุสําเร็จรูปชวยลดปริมาณของเสียที่จะเกิดขึ้น 2. การดัดแปลงและรื้อถอน • ขาดการวางแผนและ

การจัดการในการดัดแปลงและการรื้อถอนที่เหมาะสม

1. สนับสนุนความรู เทคนิค วิชาการในการออกแบบการกอสรางและการรื้อถอนใหมีของเสียเหลือจากการกอสรางนอยที่สุด ซึ่งรวมถึงแนวทางปฏิบัติในการลดของเสียจากการกอสรางตั้งแตขั้นวางแผน ออกแบบ และระหวางการกอสราง แนวทางปฏิบัติในการลดของเสียจากการรื้อถอนแบบคัดแยก และแนวทางปฏิบัติในการแยกวัตถุอันตราย 2 . กําหนดหลัก เกณฑ วิ ธีการ แนวทางการสง เสริม ดานการตลาดเพื่อผลักดันใหเกิดการใชวัสดุสําเร็จรูปและวั สดุ ที่ มี อ งค ป ร ะกอบของส า รที่ มี

X

X

X

X

X

X

องคกรวิชาชีพ มหาวิทยาลัย

สวทช. องคกรวิชาชีพ ก.คลัง ก.พาณิชย ทส. การเคหะแหงชาติ

Page 232: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

11-6

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

3. โรงงานผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป

• ของเสียที่เกิดขึ้นมากหรือนอยขึ้นกับการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การจัดเก็บและการขนสง

แนวโนมวาเปนสารอันตรายนอยลงในการกอสรางเพื่อลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นในสถานที่กอสราง โดยอาจเริ่มในโครงการของรัฐ เชน โครงการบานเอื้ออาทร เปนตน 3. จัดทําหลักเกณฑและแนวทางปฏิบัติในการจัดการของเสีย • จากการกอสรางดัดแปลงและรื้อ

ถอนครบวงจรตั้งแตแหลงกําเนิดจนถึงการกําจัด ซึ่งรวมถึงแนวทางการปฏิบัติในการลดของเสียจากการกอสรางตั้งแตขั้นวางแผน ออกแบบและระหวางการกอสราง แนวทางปฏิบัติในการลดของเสียจากการรื้อถอนแบบคัดแยก และแนวทางปฏิบัติในการแยกวัตถุอันตราย

X

องคกรวิชาชีพมหาวิทยาลัย ทส.

Page 233: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 11 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11-7

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

• จากโรงงานผูผลิตวัสดุกอสรางสําเร็จรูป โดยเนนที่การควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบและ กระบวนการผลิต

4. ในการขออนุญาตกอสรางและรื้อถอนโครงการขนาดใหญ ใหมี การ เสนอแผนการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน โดยจะตองระบุขอมูล ชนิดของของเสีย ปริมาณที่คาดการณ วิธีการแยกของเสีย สถานที่ที่จะนําเศษวัสดุหรือของเสียไปรีไซเคิลหรือกําจัด เปาหมายในการนํามารีไซเคิลและกําจัดรวมทั้งวิ ธี ก า ร กํ า จั ด โ ด ย กํ า ห น ด ไ ว ใ นรายละเอียดของการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) สวนสถานที่กอสรางขนาดเล็กใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น

X

X

X

มท. อปท. ก.คมนาคม

Page 234: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

11-8

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

ออกขอกําหนด/แนวปฏิบัติเพื่อบังคับใชรวมกับการขออนุญาตกอสรางและรื้อถอน 5. วิจัย และพฒันาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการลดของเสียและการคัดแยกที่แหลงกําเนิด ในการกอสราง ดัดแปลงและรื้อถอน พรอมทั้ง ถายทอดองคความรูและประสบการณในเทคโนโลยีดังกลาว โดยการอบรม สัมมนา ผูประกอบการที่เกี่ยวของ

X

X

องคกรวิชาชีพมหาวิทยาลัย ทส. สวทช MTEC

การคัดแยกที่ แหลงกําเนิด

1. การกอสราง • ขาดพื้นที่ในการคัด

แยกและจดัเกบ็เศษวัสดุกอสราง

1. จัดทําหลักเกณฑ และแนวทางปฏิบัติในการคัดแยกของเสียและเศษวัสดุจากการกอสราง ดัดแปลงและรื้อถอนตั้งแตแหลงกําเนิดจนถึงสถานที่กองเก็บ ซึ่งรวมถึงการแยกวัสดุอันตราย และควรให

X

องคกรวิชาชีพ ทส.

Page 235: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 11 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11-9

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

• ขาดแรงจูงใจ ในการคัดแยกเศษวัสดุกอสรางแตละประเภท เนื่องจากไมมีตลาดรองรับเศษวัสดุที่คัดแยกแตละประเภท • คนงานขาดทกัษะและ

ความรูในเรื่องการคัดแยกของเสียอันตราย • ขาดระบบการจัดการ

ที่เหมาะสมจากผูควบคุมงาน 2. การดัดแปลงและรื้อถอน

• การคัดแยกจะคัดแยกเฉพาะวัสดุที่นําไปใชซ้ําที่มีมูลคา สําหรับเศษวัสดุอื่นๆ

ความสําคัญในการแยกวัสดุอันตรายจากการรื้อถอนโรงงานอุตสาหกรรมประเภทที่มีการใชสารอันตรายในกระบวนการผลิตเปนอันดับแรก 2. กําหนดนโยบายใหแตละจงัหวัดมกีารจัดเตรียมทีด่ินที่เหมาะสมสําหรับรองรับการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนโดยกําหนดไวในผังเมือง 3. ใหมีการถายทอดประสบการณและเทคโนโลยีในการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ตั้งแตการลดของเสียที่แหลงกําเนิด การคัดแยกของเสียอันตราย การคัดแยกวัสดุที่สามารถรีไซเคิลได การใชประโยชนวัสดุรีไซเคิล

X

X

X

X

X

ทส. มท.

องควิชาชีพ มหาวิทยาลัย กรมพัฒนาฝมอืแรงงาน ทส.

Page 236: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

11-10

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

จะปนกันและนําไปถมที่ • สวนมากยังไมมีการ

คั ด แ ย กขอ ง เ สี ย อั นต ร า ยเนื่องจากคนงานขาดทักษะและความรูในเรื่องการคัดแยกของเสียอันตราย

• ขาดระบบการจัดการที่เหมาะสมจากผูควบคุมงาน

• ข า ด เ ค รื่ อ ง มื อ ที่เหมาะสมสําหรับใชในการรื้อถอนและดัดแปลงเพื่อที่จะลดการปนเปอนของเศษวัสดุไดดีขึ้น

• ระยะเวลาของสัญญาในการรื้อถอนสั้นทําใหไมมี

และการกําจัดที่ถูกหลักวิชาการ และการลดผลกระทบสิ่งแวดลอมเชน ฝุน และเสียง เปนตน 4. กําหนดนโยบายและแนวทาง ใหราชการสวนทองถิ่นออกขอกําหนดในการแยกของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่แหลงกาํเนิด ตลอดจนขอกําหนดทางเทคนิคเกีย่วกับหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไข ในการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน รวมทั้งกําหนดอัตราคาธรรมเนียมที่เกี่ยวของ เพื่อเปนกรอบใหผูประกอบการหรือผูรับใบอนุญาตรับทราบวิธีการ หลักเกณฑ การปฏิบัติดานการจัดการของเสียดังกลาว

X

มท. ทส.

Page 237: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 11 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11-11

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

การคัดแยกเศษวัสดุ

5. จัดตั้งศูนยขอมูลของเสีย (Waste Information Center) เพื่อใหผูประกอบการทราบวาวัสดุประเภทใดเปนวัสดุที่สามารถรีไซเคิลหรือเปนวัสดุอันตราย

X ทส. MTEC สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย NECTEC

การใชซ้ําและการนํากลับมาใชใหม

การใช วั สดุ รี ไซ เคิ ลไม ไดประโยชนเทาที่ควรเนื่องจาก 1. กฎหมายควบคุม พื้นที่ที่ซื้อขายวัสดุ รีไซเคิลถูกกําหนดโดยกฎกระทรวงผังเมืองรวม ซึ่งกําหนดใหอยูบริเวณชานเ มื อ ง ตั ว อ ย า ง เ ช น ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง ผั ง เ มื อ งกรุง เทพมหานคร จึงทําใหคาใชจายในการขนสงวัสดุรีไซเคิลสูง

1. ในการจัดซื้อจัดจางที่ใชงบประมาณของรั ฐ ค ว รสนั บสนุ น ให มี ก า ร ใชผลิตภัณฑที่ผลิตมาจากวัสดุรีไซเคิล หรือวั สดุ ที่ มี อ งค ป ร ะกอบของส า รที่ มีแนวโนมวาเปนอันตรายนอยลง โดยเพิ่มขอความในเรื่องนี้ ในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ 2. สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเครื่องมือ อุปกรณที่เหมาะสม สําหรับการนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนกลับมา

X

X

X

X

สํานักนายก รัฐมนตรี ทส.

สวทช. / องคกรวิชาชีพ ผูประกอบการ

Page 238: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

11-12

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

2. คุณภาพของเศษวัสดุที่เขามาในสถ านที่ ก อ ง เ ก็ บมี ก า รปนเปอนสูงและไมมีการคัดแยกกอง 3. ขาดการลงทุนในเครื่องมือ เ ค รื่ อ ง จั ก ร ที่ ใ ช ใ นกระบวนการรีไซเคิลเนื่องจากขาดความความมั่นใจวาจะไดผลตอบแทนคุ มค ากับการลงทุน สวนใหญเปนผูประกอบการรายยอยซึ่งไมมีเ งิ น ทุ น ม า ก นั ก แ ล ะ ข า ดเทคโนโลยี ความรู เกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องจักรที่ใชในกระบวนการรีไซเคิล

ใชใหม เชน เครื่องบดยอย เครื่องตัดและ อุปกรณคัดแยก เปนตน 3. ศึกษาความเปนไปไดและความเหมาะสมของโครงการรีไซเคิลของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอน ซึ่งประกอบดวยการศึกษาถึงชนิดของของเสีย ปริมาณที่คาดการณ กระบวนการรีไซเคิล เปาหมายในการนํากลับมาใชใหม การกําหนดพื้นที่ (Zone) สถานที่ตั้งของศูนย รีไซเคิลแบบรวมกลุม (Cluster) รูปแบบการลงทุน และความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตร 4. สงเสริมการลงทุนแกผูประกอบการรีไซเคิล (Processor) โดยใชมาตรการ

X

X

X

X

MTEC ทส. มหาวิทยาลัย

BOI

Page 239: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 11 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11-13

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

4 . ใ นป จ จุ บั น นี้ เ ศ ษ วั ส ดุกอสรางสวนใหญถูกนําไปใชเ ป น วั ส ดุ ถ ม สํ า ห รั บ ง า นโครงการของภาคเอกชนหรืองานโครงการของภาครัฐที่มีขนาดไมใหญนัก เนื่องจากไมมีมาตรฐานหรือขอกําหนดสําหรับวัสดุถม ทําใหไมมีการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ 5. การนําของเสียและเศษวัสดุกอสรางที่ไมมีการคัดแยกและไมมีการบดยอยไปใชเปนวัสดุถม จะกอให เกิ ดปญหาทั้ งทางดานสิ่งแวดลอมและดาน

ทางดานการเงิน เชน ลดดอกเบี้ยเงินกู หรือใหสิทธิประโยชนทางดานภาษีเชน ลดภาษีนําเขาเครื่องจักร เปนตน 5. จัดทําและเผยแพรแนวทางปฏิบัติที่ดีในดานการจัดการ สถานที่เก็บกองเพื่อรีไซเคิลของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน 6. สงเสริมและผลักดันใหมีการใชวัสดุรีไซเคิลโดย • กําหนดหลักเกณฑ แนวทางหรือ

มาตรฐานในการนําวัสดุรีไซเคิลมาใชตามประเภทของงานกอสราง อาทิเชน กํ า ห น ด คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ เ บื้ อ ง ต น

X

X

X

X

X

X

ทส. มหาวิทยาลัย

องคกรวิชาชีพ ก.คมนาคม กรมโยธาธิการและผังเมือง

Page 240: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

11-14

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

วิศวกรรมในอนาคต 6. ถาเศษวัสดุมีปริมาณการปนเปอนสูง คาใชจายในการรีไซเคิลก็จะสูงขึ้นดวย ทําใหราคาวัสดุมวลรวมรีไซเคิลไมแตกตางจากราคาวัสดุมวลรวมจากธรรมชาติมากนัก ทําใหขาดแรงจูงใจในการนําวัสดุมวลรวมรีไซเคิลไปใชแทนวัสดุมวลรวมจากธรรมชาติ 7. มาตรฐานและขอกําหนดสวนใหญในประเทศไทยยังไมไดระบุชัดวา วัสดุรีไซเคิลส า ม า ร ถนํ า ไ ป ใ ช ใ น ง า นกอสร างประ เภทต างๆ ได

(Specification) ของวัสดุรีไซเคิลและ วัสดุถม เปนตน • กําหนด หลักเกณฑ แนวทาง

และวิ ธี ก า ร เ กี่ ย ว กั บคุณภ าพและใบรับรองคุณภาพสําหรับวัสดุมวลรวมรีไซเคิล

• ใหมีโครงการสาธิตครบวงจร

ตั้งแตกระบวนการรีไซเคิล และการใชประโยชนวัสดุรีไซเคิลในงานประเภทตางๆ

7. รวบรวมขอมูลสถานที่รีไซเคิล คุณภาพ ปริมาณ ราคา การนําไปใชประโยชนของวัสดุ รีไซเคิล ขาวสาร

X

X

X

X

X

X

มอก. องคกรวิชาชีพ ทส. ผูประกอบการ มหาวิทยาลัย ทส. สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย MTEC

Page 241: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 11 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11-15

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

ถึ ง แ ม ว า วั ส ดุ รี ไ ซ เ คิ ล มีศักยภาพในการนําไปใชในงานบางประเภทเชน งานทาง แ ต ถ า จ ะ ใ ช วั ส ดุ อื่ นนอกเหนือจากวัสดุธรรมชาติจะตองไดรับความเห็นชอบจากนายช า งผู ควบคุมงาน ดังนั้นจึงทําใหโอกาสในการใชวัสดุรีไซเคิลเปนไปไดยาก 8 . วั ส ดุ รี ไ ซ เ คิ ล มี ค ว า มแปรปรวนทางดานคุณสมบัติคอนขางสูงเมื่อเทียบกับวัสดุม ว ล ร ว ม จ า ก ธ ร ร ม ช า ติ นอกจากนั้นธุรกิจวัสดุ รีไซเคิลเปนธุรกิจที่มีขนาดเล็ก

เทคโนโลยีที่ เกี่ยวของและผลกระทบสิ่งแวดลอมไวในศูนยขอมูลของเสีย (Waste Information Center) และเผยแพรไปสูประชาชนทั่วไป 8. สนั บสนุ น ด า นทุ น วิ จั ย ห รื อ ใหความสําคัญกับการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีที่ เหมาะสมเพื่อนํ ามาใชแกปญหาและเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

X

X

X

สวทช. มหาวิทยาลัย ผูประกอบการ

Page 242: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

11-16

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

ทําใหวิศวกรหรือผู รับเหมาขาดความเชื่อมั่นที่จะนําวัสดุ รีไซเคิลไปใชงาน

การขนสง/ การกําจัด

1. การแอบทิ้งของเสียและเศษวัสดุกอสรางเนื่องจากขาดสถานที่กองเกบ็ในระยะทางที่เหมาะสมจากสถานที่กอสรางหรือรื้อถอน หรือขาดขอมูลในดานสถานที่กองเก็บหรือสถานที่กําจัดและขาดการดําเนินการรีไซเคิล 2. การนําของเสียและเศษวัสดุกอสรางไปกําจัดในสถานที่กําจัดมูลฝอยชุมชน จะทําใหอายุการใชงานของสถานที่กําจัดมูลฝอยชุมชนสั้นลง

1. สงเสริมใหหนวยงานสวนทองถิ่นใหบริการเก็บขน รีไซเคิล และกําจัดของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนแยกออกจ า กข ย ะมู ล ฝ อ ย จ า กชุ ม ชนทั่ ว ไ ป โดย เฉพาะอย า งยิ่ ง ในพื้ นที่ ที่ มี ก ารข ย า ย ตั ว แ ล ะ พั ฒ น า สู ง เ ช น กรุงเทพมหานคร เมืองหลักตางๆ 2. สรางเครือขายใหประชาชนมีสวนรวมในการเฝาระวังการแอบทิ้งของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน 3 .ป รั บ ป รุ ง เ พิ่ ม เ ติ ม แ ล ะ กํ า ห น ด

X

X

X

X

X

X

X

มท. ทส อปท. NGO/ องคกรภาคประชาชน สธ. อปท. ทส.

Page 243: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 11 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11-17

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ อั ต ร าคาธรรมเนียมการฝงกลบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนใหสูงกวาขยะมูลฝอยทั่วไป 4. กําหนดกฎหมาย กฎระเบียบ หามทิ้งวัสดุจากกิจกรรมการกอสราง/รื้อถอนที่สามารถใชซ้ําหรือรีไซเคิลไดในหลุมฝงกลบขยะ (Land fill) รวมทั้งสงเสริมการใชเศษวัสดุจากการกอสรางและรื้อถอนอาคารเปนวัสดุกอสรางใน Land fill เชนในการกอสรางถนนชั่วคราวหรือการปรับปรุงพื้นที่ เปนตน 5. ติดตามตรวจสอบและประเมินสภาพปญหาจากการจัดการของเสียจากการ

X

X

X

X

X

สธ. อปท. ทส. อปท. ทส.

Page 244: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

11-18

ระยะเวลาการดําเนินการ ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สั้น

(1-3 ป) กลาง

(3-5 ป) ยาว

(5-10 ป)

หนวยงานผูรับผดิชอบ

กอสรางและรื้อถอนอยางตอเนื่อง หมายเหตุ องคกรวิชาชีพ = วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ สมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย สมาคมคอนกรีตไทย สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ ก. คลัง = กระทรวงการคลัง ก. พาณิชย = กระทรวงพาณิชย ก. คมนาคม = กระทรวงคมนาคม ทส. = กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มท.= กระทรวงมหาดไทย สธ.= กระทรวงสาธารณสุข มอก. = สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม อปท.= องคกรปกครองสวนทองถิ่น สวทช.= สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ MTEC = ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ NECTEC = ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กโทรนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ BOI = คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน NGO = องคกรพัฒนาเอกชน

Page 245: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

บทที่ 11 ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

11-19

Page 246: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

เอกสารอางอิง

• กรมโยธาธิการ. มาตรฐานงานชาง พ.ศ. 2531. กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย: กรุงเทพฯ

• กรมโยธาธิการ. มาตรฐานงานชาง พ.ศ. 2533. กรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย: กรุงเทพฯ

• กรมทางหลวง. รายละเอียดและขอกําหนดการกอสรางทางหลวง เลมที่ 1. 2535, กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม: กรุงเทพฯ

• กรมทางหลวง. มาตรฐานที่ ทล.-ม.213/2543 การหมุนเวียนวัสดุช้ันเดิมใชงานใหม (Pavement Recycling), 2543, กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม: กรุงเทพฯ

• กรมทางหลวง. งานบูรณะทางผิวแอสฟลตดวยวิธีปรับปรุงคุณภาพชั้นทางเดิมในที่ (Pavement In-Place Recycling), กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม: กรุงเทพฯ

• กรมทางหลวงชนบท. คูมือมาตรฐานงานทางสําหรับทางหลวงชนบท ทางหลวงทองถ่ิน ดานการควบคุมงานกอสรางทางและสะพาน. 2547, กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม: กรุงเทพฯ

• การประปาสวนภูมิภาค. มาตรฐานงานกอสราง กปภ. 01-2543 งานกอสรางทั่วไป. 2543,ฝายออกแบบและสถาปตยกรรม การประปาสวนภูมิภาค: กรุงเทพฯ

• มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 566-2528 มวลผสมคอนกรีต. 2528, สํานักงานมาตรฐานและผลิตภัณฑอุตสาหกรรม: กรุงเทพฯ

• มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 1505-2541 ช้ินสวนคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศ-อบไอน้ํา. 2541, สํานักงานมาตรฐานและผลิตภัณฑอุตสาหกรรม: กรุงเทพฯ

• มาตรฐาน ว.ส.ท. 1014-46. ขอกําหนดมาตรฐานวัสดุและการกอสรางสําหรับโครงสรางคอนกรีต (ปรับปรุงครั้งที่ 1). 2546, วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ: กรุงเทพฯ

• สิน สินสกุล. ทรายในประเทศไทย, เอกสารการสัมมนาเรื่อง การจัดการทรัพยากรทรายของประเทศไทย. โดย พิสิทธิ์ ธีรดิลก และคณะทํางานเพื่อจัดสัมมนาเกี่ยวกับการใชทรายอยางคุมคา. 2540, กรมทรัพยากรธรณี: กรุงเทพฯ หนาที่ 1-12

• American Society for Testing and Materials ASTM C123 Test Method for Lightweight Pieces in Aggregates, in Annual Book of ASTM Standards Vol. 04.02. 1996. West Conshohocken.

• American Society for Testing and Materials ASTM C127 Test Method for Specific Gravity and Absorption of Coarse Aggregates, in Annual Book of ASTM Standards Vol. 04.02. 1996. West Conshohocken.

Page 247: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

B

• American Society for Testing and Materials ASTM C128 Test Method for Specific Gravity and Absorption of Fine Aggregates, in Annual Book of ASTM Standards Vol. 04.02. 1996. West Conshohocken.

• American Society for Testing and Materials ASTM C142 Test Method for Clay lumps and Friable Particles in Aggregates, in Annual Book of ASTM Standards Vol. 04.02. 1996. West Conshohocken.

• American Society for Testing and Materials ASTM C535 Test Method for Resistance to Degradation of Large-sized Coarse Aggregate by Abrasion and Impact in the Los Angeles Machine, in Annual Book of ASTM Standards Vol. 04.02. 1996. West Conshohocken.

• American Society for Testing and Materials ASTM C702 Practice for Reducing Samples of Aggregate to Testing Size, in Annual Book of ASTM Standards Vol. 04.02. 1996. West Conshohocken.

• American Society for Testing and Materials ASTM D 75 Practice for Sampling Aggregate, in Annual Book of ASTM Standards Vol. 04.03. 1996. West Conshohocken.

• British Standard Institute. BS 6543 Guide to use of industrial by-products and waste materials in building and civil engineering, in British Standard Institute. 1985, BSI: London.

• British Standard Institute. BS 8500 Concrete – Complementary British Standard to BS EN 206-1, in British Standard Institute. 2002, BSI: London.

• Building Research Establishment. BRE Digest 433: Recycled Aggregates, in Building Research Establishment. 1998, BRE: Watford.

• Cochran, K., Townsend, T., Reinhart, D., Heck, H., Estimation of building-related C&D debris generation and composition: Case study for Florida, US. Waste Management, 2007. XXX: p. XXX-XXX.

• Collins, R.J., The use of recycled aggregates in concrete, in Building Research Establishment Information Paper. 1994, BRE.

• Department of Mineral Resources. Mineral Statistics of Thailand 1997-2001. in Statistics Report No. TPD 3/2545. Technical and Planning Division, Department of Mineral Resources. 2001. Bangkok

• Franklin Associates,. Characterization of Building –Related Construction and Demolition Debris in the United States. Prepared for the US Environmental Protection Agency. Report No.EPA530-R-98-010. 1998.

• Grubl, P. and M. Ruhl. German Committee for Reinforced Concrete (DAfStb) - Code: Concrete with Recycled Aggregate. in Sustainable Construction: Use of recycled concrete aggregate. 1998. London.

• Howard Humphreys and Partners. Managing Demolition and Construction Wastes. in Report of the Study on the Recycling of Demolition and Construction Wastes in the UK for the Department of Environment. 1994, HMSO: London.

• Recommendations for the use of recycled aggregates for concrete in passive environmental class, Publication No. 34, in Danish Concrete Association. 1990.

• Additional to Danish Concrete Association's Recommendation No.34 for the use of recycled aggregates for concrete in passive environmental class, in Danish Concrete Association. 1995.

• RILEM, Specifications for Concrete with Recycled Aggregates. Materials and Structures, 1994. 27: p. 557-559.

Page 248: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

เอกสารอางอิง

C

• Hendriks, c.F., H.S. Peiterson, and A.F.A. Fraay. Recycling of Building and Demolition Waste - An integrated approach. in Sustainable Construction: Use of recycled concrete aggregate. 1998. London.

• Kasai, Y. Guidelines and the present state of the reuse of demolished concrete in Japan. in Demolition and Reuse of Concrete and Masonry. 1993. Odense, Denmark.

• Kibert, K.J. Concrete/ Masonry Recycling Progress in the USA. in Demolition and Reuse of Concrete and Masonry. 1993. Odense, Denmark.

• LABEIN, Existing Standards and Guidelines. 1998, Internal Report. • Final Technical Report of the CEN/TC 154 AD HOC Group for recycled

aggregates, in British Standard Institution, C.T. 154, Editor. 1998, BSI: London.

• Storrar, D.B., Aggregates - The European Approach to Standardisation. 1998. • Tsuji, Y. and M. Abe. Japanese Specifications of Recycled Aggregates. in

ISO/TC71. 1998. • Wang, J.Y.,Touran, A., Christofou, C., Fadlalla, H.,. A systems analysis tool

for construction and demolition wastes management. Waste Management, 2004. 24: p. 989-997.

• http://www.dpim.go.th/ • http://www.krisdika.go.th/

Page 249: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ก

การจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของบริษัทผูรับเหมากอสราง

1. เหล็ก การจัดการ บริษัท ปริมาณของเสียที่เกิดจากการ

กอสรางและรื้อถอน ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที ่รายละอียด หมายเหตุ

CC1 x x ใชเหล็กซ้ําในงานเหล็กทีใ่ชโครงสรางไมใหญและ ทําถนน

CC2 5-15% x เก็บไวที่โกดังของบริษัท CC3 5% x การขายเหล็กจะมีเจาหนาที่

ตรวจสอบจะขายที่ 40% ของราคาซื้อ เชน ซื้อมา 21 บาท ขาย 8 บาท หรือ ชื้อ 17 บาท ขาย 7 บาท

เหล็กมีสองประเภท คือ 1. เหล็กขยุม 2. เหล็กเสนตรง

CC4 < 8% x x เก็บเขาสต็อกในสวนทีย่ังใชได เหล็กเสน CC5 < 1% x x เก็บเขาสต็อกในสวนทีย่ังใชได/

ขายในราคา 5 บาท/กิโลกรัม

CC6 300 กก. x ขาย 6-7 บาท/กิโลกรัม

Page 250: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การจัดการ บริษัท ปริมาณของเสียที่เกิดจากการ

กอสรางและรื้อถอน ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที ่รายละอียด หมายเหตุ

CC7 เหลือเศษ 3% x ขาย 12-13 บาท/กิโลกรัม เหล็กเสน CC8 x เหล็กเสน CC9 50-100 ตัน x ขาย 10-12 บาท/กิโลกรัม ปริมาณเศษสําหรับ พื้นที่ 10,000

ตร.ม. CC10 ≤ 5-10% x ขาย 7-8 บาท/กิโลกรัม/ บริษัทเก็บ

ของที่ใชงานตอได เชน เหล็กตัว C, H เหล็กกลม เหล็กแปบ และเครื่องจักรไวที่โกดัง

CC11 10 % x x ขาย 8-9บาท/กิโลกรัม CC12 3 %

7-20 % x ขาย 7 บาท/กิโลกรัม - เหล็กรูปพรรณ

- เหล็กเสน CC13 5% x - เฉพาะชวงแรกของการกอสราง

Page 251: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

2. คอนกรีต

การจัดการ บริษัท ปริมาณของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอน ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที ่

รายละอียด หมายเหตุ

CC1 ทิ้ง CC2 3-5 % เศษคอนกรีตเกิดไดจาก คอนกรีตที่

เหลือจากการตัดหวัเข็ม , คอนกรีตที่เราตองเหลือในงาน shoot pump , คอนกรีตที่เกิดตกหลนขณะโหลดและ คอนกรีตที่หลอผิดพลาด

CC3 CC4 < 4% x คอนกรีตที่เหลือเทเขาแบบเปน

Precast concrete และ ปม concrete สต็อกไวแลวยอยเพื่อนําไปทิง้

CC5 x CC6 x CC7 CC8

Page 252: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การจัดการ บริษัท ปริมาณของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอน ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที ่

รายละอียด หมายเหตุ

CC9 CC10 3% ใชในการทําถนนบริเวณที่กอสราง CC11 CC12 CC13 20-30 %

Page 253: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

3. ทราย การจัดการ บริษัท ปริมาณของเสียที่เกิดจากการ

กอสรางและรื้อถอน ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที ่รายละอียด หมายเหตุ

CC1 x ใกลเคียงบริเวณพื้นทีก่อสราง CC2 20-30% CC3 CC4 CC5 1% ใชกออิฐ ฉาบปูน CC6 CC7 เหลือเศษ 4% x CC8 เหลือนอยมาก x CC9 30-50 m3 ปริมาณเศษสําหรับ พื้นที่ 10,000

ตร.ม. CC10 x ถมพื้นที่บริเวณแคมปกอสราง CC11 จะใชสําหรับปรับพื้นที่ CC12 10% CC13 1.5% ทรายที่เอามาฉาบ

Page 254: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

4. ดิน การจัดการ บริษัท ปริมาณของเสียที่เกิดจากการ

กอสรางและรื้อถอน ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที ่รายละอียด หมายเหตุ

CC1 x x บริเวณใกลเคยีงพื้นทีก่อสรางหรือเปนเศษเหลือจริงๆ จะนําไปขาย

CC2 x พื้นที่ของทางบริษัทผูรับเหมากอสราง หรือพื้นทีท่ี่เจาของโครงการกําหนด

CC3 CC4 CC5 CC6 CC7 CC8 เหลือนอยมาก x หากเหลือจะนาํไปถมในโครงการ

ตอไป สวนใหญใชวสัดุสําเร็จรูปในการกอสราง

CC9 100-200 m3 x ปริมาณเศษสําหรับ พื้นที่ 10,000 ตารางเมตร

Page 255: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การจัดการ บริษัท ปริมาณของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอน ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที ่

รายละอียด หมายเหตุ

CC10 x ถมพื้นที่บริเวณแคมปกอสราง CC11 จะใชสําหรับปรับพื้นที่ CC12 CC13 40 ตัน พื้นที่กอสราง 20,500 ตารางเมตร

Page 256: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

5. ไม การจัดการ บริษัท ปริมาณของเสียที่เกิดจากการ

กอสรางและรื้อถอน ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที ่รายละอียด หมายเหตุ

CC1 CC2 x x เก็บไวที่โกดังของบริษัทแมวาจะ

เปนเศษไมก็สามารถใชงานได ปกติบริษัทจะสั่งไมที่มีความยาวมา และตัดสั้นเพื่อการใชงานจนกระทั่งไมสามารถใชงานได

CC3 x จํานวนครั้งของการใชไมซ้ําขึ้นกับคุณภาพไมที่ซื้อและฝมือของผูทํางาน

CC4 x ใชซ้ํา 5-6 ครั้ง CC5 x x ใชซ้ํา 5-6 ครั้ง CC6 CC7 x x การนํามาใชใหมขึ้นอยูกับสภาพไม

และสภาพหนางานโดยที่ไมกระดานใชซ้ํา 3-4 ครั้ง สวนไมพื้น

Page 257: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การจัดการ บริษัท ปริมาณของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอน ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที ่

รายละอียด หมายเหตุ

และไมอัด ใชซ้ํา 5-6 ครั้ง เศษไมขาย 300 บาทตอรถบรรทุก 4 ลอหรือ1,000 บาทตอรถบรรทุก 6 ลอ

CC8 CC9 80-100 m3 x x ปริมาณเศษสําหรับ พื้นที่ 10,000

ตารางเมตร CC10 x x CC11 x ไมแบบมีการใชซ้ําซึ่งจะเสีย 50 %

ที่ใชไมได ไมอัดจะใชซ้ําได 5-6 ครั้ง

CC12 x ไมแบบจะใชซ้ํา 3-4 ครั้ง ไมค้ํายัน จะใชซ้ํา 3-4 ครั้ง

CC13 75 % (ไมอัดดาํ) x ไมอัดขาวใชซ้ําได 2-3 ครั้ง, การสูญเสียเนื่องจากทักษะของผูใชงาน

Page 258: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

6. กระดาษ

การจัดการ บริษัท ปริมาณของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอน ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที ่

รายละอียด หมายเหตุ

CC1 x นําเงินมาเปนสวัสดิการภายในไซด CC2 CC3 CC4 CC5 CC6 CC7 CC8 CC9 x CC10 x รานรับซื้อของเกา CC11 CC12 x เผาเนื่องจากมปีริมาณไมมากนัก

ไมอยางนั้นก็รวมไปกับกองขยะรวมนําไปถมที่

Page 259: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ข

การจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนของโรงงานผลิตวัสดุสําเร็จรูป

การจัดการ บริษัท

ประเภทของเสียจากการกอสราง และรื้อถอน

ปริมาณเศษซากวัสดุที่เกิดขึ้น

ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที่ รายละเอียด หมายเหตุ

เศษคอนกรีต < 25% x ขายประมาณ 200-300 บาท คอนกรีตผสมเสร็จ เหล็ก เหล็กมวลเบาที่ยัง

ไมเซ็ตตัวเอามาใชไดบาง

ไม

CM1

อิฐ Reject 30% เฉพาะอิฐมวลเบา

อิฐมวลเบาที่ยงัไมขึ้นรูปรีไซเติลได 100 % Reject คือ วัสดุเสียระหวางการผลิต ไมไดขนาด ผลิตออกมาไมไดมาตรฐานบางสวน

Page 260: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การจัดการ บริษัท

ประเภทของเสียจากการกอสราง และรื้อถอน

ปริมาณเศษซากวัสดุที่เกิดขึ้น

ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที่ รายละเอียด หมายเหตุ

กลับไปผสมใหมอีกครั้ง

อื่นๆ ระบุ เศษคอนกรีต คอนกรีตผสมเสร็จ เหล็ก x ไม อิฐ

CM2

อื่นๆ ระบุ -ไมแยกประเภทเศษ -ปูนซีเมนต

- จะเกิดเศษไมเกิน 3% ของยอดผลิต - มีการนําถังกรองฝุนและนํากลับมาใช

มีผูมาติดตอขอฟรีและมาขนเอง

CM3 เศษคอนกรีต คอนกรีตผสมเสร็จ x - มีการขนยายประมาณ 3 เดอืน/ครั้ง ครั้ง

ละประมาณ 3-4 เที่ยว โดยใชรถ 10 ลอที่การจัดการกับคอนกรีตที่คางรถ

Page 261: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การจัดการ บริษัท

ประเภทของเสียจากการกอสราง และรื้อถอน

ปริมาณเศษซากวัสดุที่เกิดขึ้น

ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที่ รายละเอียด หมายเหตุ

ขนได 10-14 คิว - มีเศษปูนทีห่ลนมาในชวงจากบรรจุ พอมีปริมาณมากพอจะสกัดทิ้ง

รวมทั้งรถปูนที่ถูก Reject คือ จะ คายออกจากโมแลวใสแบบหลอที่เปนแทง

เหล็ก ไม อิฐ อื่นๆ ระบุ

เศษคอนกรีต CM4 คอนกรีตผสมเสร็จ เศษวัสดจุะเกดิจากกรณีของเครื่องขัดของ

เทานั้น แลวจะทําการเททิ้งในบอตกตะกอนลงขางลาง (บอขนาด 8x28x2 เมตร)

โดยจะขุดบอ 3 เดือนครั้ง (เมือ่มียอดการผลิตประมาณ 6,000-7,000 ลูกบาศก

Page 262: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การจัดการ บริษัท

ประเภทของเสียจากการกอสราง และรื้อถอน

ปริมาณเศษซากวัสดุที่เกิดขึ้น

ใชซ้ําในไซต ขาย กําจัดโดยถมที่ รายละเอียด หมายเหตุ

เมตร) เหล็ก ไม อิฐ อื่นๆ ระบุ เศษคอนกรีต คอนกรีตผสมเสร็จ เหล็ก x รานรับซื้อละ 10-12 บาท/กิโลกรัม ไม อิฐ

CM5

อื่นๆ ระบุ - ไมแยกประเภท

< 2-3 %

x

บริษัทจะนําไปถมที่ ปูถนน บริเวณโรงงานที่อยูที่ไทรนอย บางบัวทอง

Page 263: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ค

กรณีศึกษา การศึกษาขั้นตอนการดําเนินการรื้อถอนบานชั้นเดียวขนาดเล็ก

Mr. Daniel Glauser จาก University of Applied Sciences,

Northern Switzerland

Case study The present text is an excerpt from a draft version of a thesis which has been

written by Mr Daniel Glauser in the course of an internship with the GTZ office in

Bangkok.

For better understanding, the classification of waste used in the report is listed below.

Table 1: Classification of waste

Page 264: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

ค-2

For further information please refer to the complete thesis. Daniel Glauser,

Langenthal CH, 13.09.2007

1. Demolition site 1

1.1 General information on the demolition company

Core competence: Demolition work

Extended scope: Minor construction work, trade with filling material (land

reclamation)

Professional background of owner: Trade with reusable material

Number of Employees (permanently): 2

It is a rather small company with only two permanent employees being the

owners (husband and wife) themselves. Additional workers are being hired according

to order situation. They used to work in the field of trade with reusable material, but

shifted their area of operation to demolition of small residential buildings, and minor

construction work. The C&DW derivedfrom demolition work is being stored on their

storage place; from where it is either picked up for own construction work, or retailed

to customers. Only little heavy equipment is required for the work carried out, for

instance a pickup, a small digger with hydraulic equipment and a blow-torch.

Illustration2: Front view Illustration 1: Suspended ceiling

1.2 Characterisation of the building

Basically, it is a small residential building with one storey, adjacent the canal,

constructed in the year 1988 (Illustration 2). The house in question has to give way to

a new two storey building. It will be built at the same place by the owner of the estate,

who lives right next door. It has a wooden roof truss, a rafter running along the front

Page 265: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ค

ค-3

part which merges into a pointed roof covering the back of the building. The kitchen

gives on a sealed space in the back which is covered by a shed of PVC panes, and

probably served as and extended workspace for kitchen use. In front of the living

room, distinguished by the hinted bay, is a patio, covered by panes consisting of

fibrous cement. Like in most buildings a suspended ceiling is concealing what lies

above; in this case it is the roof truss (Illustration 1). The roof is built in a airy enough

way to let air flow freely. When the sun is hammering down on the roof tiles, the air

stream thus evacuates the heat. Besides, judging from the windows which only feature

glass shutters instead of panes, is quite likely that there had been no air conditioner in

the house.

Illustration 3: Ground plan

Page 266: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

ค-4

The ground plan (Illustration 3) reveals that above ground level 11 columns

bear the load of the roof construction. The nonloadbearing walls consist of masonry

work. Most rooms show parquet floors, the kitchen, the bath room and the one room

in the back are tiled.

Illustration 4: Scheme of the roof construction

Virtually all timber being part of this building originates from the roof

construction. Timber not subject to weathering is treated with oil, visible timber on

the outside is treated with brown paint of unknown composition. Illustration 4 shows

in a simplified manner the roof construction from above. The pointed part in the back

Page 267: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ค

ค-5

is supported by the columns (marked by a square) in the respective corner. Each full

line stands for a wood beam. The dashed line substitutes the walls whereas the roof

batten has been omitted for the sake of comprehensibility. In order to attain a more

coherent picture of the whole, it is commendable to compare with Illustration 5 and

Illustration 6.

The roof construction is covered in roof tiles made of cement. This renders the

roof very heavy, and also made a sturdy roof construction necessary.

Illustration 6: Roof construction Illustration 5: Roof construction

The section through the building (Illustration 7) reveals the subbase (which

resembles a frame), giving support to the whole building. The columns, supposedly

deeply rooting into the ground, actually run through the frame, an thus build, by

means of the reinforcing steel rods, a rigid structure.

Page 268: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

ค-6

Illustration7: Section A and Section B (See Illustration 3: Ground plan)

Close to the building runs a canal which makes the ground even more wet.

Indeed there was standing water in the cavity below the water. The cavity not had

been tightly sealed though, but permeable to water by the layer of bricks and mortar.

At the same time it also kept the sand away, which had been used als filling material

(also see Illustration 10).

Page 269: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ค

ค-7

Illustration 8: Base construction, pillars, concrete

Illustration 9: Structure of the flooring

On top of the above described subbase frame, was placed a layer of precast

concrete slabs. On top of the slabs there is was a layer of concrete, reinforced with an

armorsteel net. It was also connected to the subbase frame, and kept the slabs in place.

Another layer of (presumably) cement mortar gives the floor the smooth and even

surface required for the parqueting.

Illustration 10: Base detail (reconstruction)

Page 270: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

ค-8

1.3 Work in progress

In and around Bangkok, in a definite corner of every estate a spirit house gives

shelter to the spirits protecting the estate (Illustration 12). The temple is a sacred place

requiring care and attention.

Before pulling down a building, the temple has to be disassembled and thus

the spirits sent to heavens. The old spirit house will be sent to a Buddhist temple.

People leading a traditional lifestyle believe reusing broken material from the

structure of a building (wood, furniture, structure) brings bad luck. Therefore some

people prefer using new material. This is the case primarily with elderly people and in

rural areas. In Bangkok where people lead a rather downtoearth lifestyle, this believe

it is not capable of deterring a whole industry from trading and using secondhand

material.

Page 271: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ค

ค-9

As a first step in the process of selective demolition all the windows and doors

were removed. Therefore the band of reinforced cement mortar in which the frame

had been anchored had to be chiselled out (Illustration 13). Anchoring the windows

that kind is a method still commonly used in Thailand in new building construction

(please also refer to chapter ).

The windows are simple constructions with a wooden frame, a mosquito

netting framed by aluminum bars. The window can be closed by operating an

Page 272: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

ค-10

aluminium linkage that closes the overlapping vertical glass panes. Only a few basic

tools had been used by the workers to labour the window out of its grip.

By and by the easily accessible and then also the less accessible reusable and

recyclable parts were removed and stacked in neat piles, or packed in bags.

As regards the demolition of the structure of the building including the

masonry, a digger with hydraulic equipment was employed. Firstly the columns and

walls were torn down, then the reinforcing steel extracted by means of the hydraulic

equipment. If necessary, the steel rods were severed by blow torch. Tubes and other

sanitary equipment that was not extractable before and now freed by the crushing

were retrieved. Some lumps of structural concrete too small to be crushed by the

power equipment, received treatment with the sledgehammer aiming to extract the last

bits of reinforcing steel (Illustration 17).

By and by also the floor and subbase underwent their inevitable destiny: a pile

of rubble left in the former pit beneath the building. The only noninert components of

considerable amount that remain in the mixed rubble fraction are the gypsum boards

that were neatly piled before in the living room, and the the parquet floor.

After most reinforcing steel rods were collected (Illustration 18), they were

due for transportation to the steel recycling shop.

Please refer to Illustration 16 for more details on the succession of the

demolition steps.

1.4 Presentation of research results

Even though quite a number of different material is involved, the flowdiagram

Page 273: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ค

ค-11

looks quite clear. Virtually all material extracted in the process of dismantling will be

either reused or recycled. Remarkable is the high amount of concrete or cement in the

flow of the reusable parts which is due to the cement bricks from around the building,

and the rooftiles consisting of cement mortar.

What disclosure is of more import though, is that a huge part of the material

still regarded as valuable. Particularly the timber, which is still in good condition, and

the doors and windows are an important source of revenue as it may be used as

primary construction material. Especially valued is of course also the reinforcing

steel, which is supposed to be steel of good quality, and the aluminium, which has a

high trading value.

What accumulates on site in the course of demolition work, is a largely inert

pile of waste consisting of concrete, cement mortar, bricks and tiles. The high amount

Page 274: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

ค-12

of concrete surprises at first sight, thinking only of the eleven columns supporting the

roof and the rest being almost only bricks. It is the floor though, and the subbase

which considerably sum up.

Some fractions could only been followed up to a certain degree, which leaves

some uncertainties. Most electrical parts like fuse box, fluorescent tubes, switches and

wires were handed to the building owner to be scanned for reusable parts. It remains

unclear how much of it went to the garbage finally. There was also a bag with

electrical material thought to be waste; it couldn't be established whether this material

went to the garbage in the end or simply went to the C&DW. Similarly some

halfempty bottles of lubricants simply had vanished one day. There must also have

been a good deal of sand and soil intermingled with the C&DW when finally it was

carried away; the amount couldn't be established due to obvious reasons.

Page 275: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ค

ค-13

The most prominent part of waste is made up by the mixed waste (C&DW

type 3), the reusable parts make up almost one fourth, which isn't much surprising

taking into account the above mentioned reasons. Taking all types of waste together,

the most prominent fraction is made up by concrete and cement mortar (mostly

plastering, but also the roof tiles are made of cement mortar), followed by bricks and

wood.

Taking an average density of C&DW of 1300kg/m3, and the 43tons of mixed

waste, the volume calculates by 33m3. The mixed waste at last evenly filled the cavity

which had been beneath the building. Having a volume of about 35m3 this would

match the calculation. According to the estimation of the company owner, it would

have been about 30m3. On the other hand, the thumb rule of an other company owner

which says that the number of storeys multiplied by the area of the storey multiplied

by 0.33 equals the volume of the C&DW in cubic metres, doesn't apply here, the

estimation would be 16m3 only.

1.5 Financial Aspects

This chapter is dedicated financial aspects related to the demolition work.

First of all there is the land owner who's interested to have the work done as

cheap as possible. In this case the bargain was that the demolition company does the

work for free, but in exchange can keep most of the extracted building material.

Then there is the relative for whom the demolition company is going to build a

new building, or at least is going to provide some building material.

Listed in Table 2 is the material reused in the construction of the house of the

relative. It has been assumed that if there hadn't been at hand reusable material, new

material would have been applied. This isn't necessarily correct, since they would

Page 276: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

ค-14

have had the possibility to purchase secondhand material from another recycling shop.

The attributed price of the new material is a rough estimation. It would have exceeded

the scope of this study to find the exact price. Furthermore it couldn't be established

how much the relative would pay for the secondhand construction material. Assuming

it was about half of the original price, the resulting financial reward would be quite

high for both the relative and the company owner.

The proceeds listed in Table 3 and Table 4 are less speculative; the prices per

unit had been indicated by the demolition company, the amount has been calculated.

Finally there is the huge amount of the mineral fraction also designated for

further use; in this case it is a unsealed road leading to the very house of the relative

mentioned above. The soil is going to be dug out 50cm deep, and the bed then filled

with the C&DW.

For the calculation it had been assumed that the full amount of C&DW would

have be replaced by gravel, which isn't necessarily correct.

Regardless the mentioned restrictions, it becomes obvious, why the interest of

the demolition company not only lies in the recycling material, but also in the reusable

parts and the mineral fraction.

1.6 Assessment of potential impacts on health and environment

This chapter covers the assessment concerning work safety, and the potential

of environmental impacts that might occur on site. The assessment has been carried

through by means of questioning the owner of the company, and observations on site

(template see ). Due to the limited access of information and missing opportunities of

Page 277: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ค

ค-15

comparison, the assessment is of limited significance. It may be deemed a basis for

further discussions though.

1.6.1 Work safety

Work safety depends on a number of factors; the following being identified:

a) Dangerousness of the work; for instance heavy machines involved, work in

the height, or in the vicinity of of high voltage, or close to heavy traffic

b) Training; is the worker trained enough to identify potential dangers, is he

instructed by the owner or foreman regarding pitfalls

c) Provisions in case of an accident; appropriate first aid equipment on place,

has the employee an accident insurance, or comparable provisions available

d) How well is the site organised; does every worker have assigned

competences, are the working hours clearly defined and limited, safety restrictions on

site, is the site organised in way that the workers won't endanger each other

e) Appropriateness of the personal and general safety equipment; is every

worker provided with appropriate devices for free, are general safety devices

available, and if yes are they frequently maintained

Any of this factors has an influence on how much the employees on site are

exposed to potential dangers.

On this particular site, the following characteristics have been identified:

a) There is no safety equipment provided by the company. The workers wear

open shoes, have neither dusk masks, safety goggles, helmets, nor earplugs. General

safety equipment such as safety valves for gas bottles are not available

b) The workers do not have a training or education in this particular field of

work, the owner provides no safety instructions on site but carries out informal

inspections from time to time

c) Neither does the owner provide accident insurances for the workers nor do

they have a policy on their own. Workers experiencing an accident depend on social

welfare, or on complimentary compensation provided by the company

d) No apparent organisation on site enhancing the personal safety of the

workers, no restrictions to site access The rating has been carried out on the grounds

of:

Page 278: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

ค-16

a) Due to a shortage in tools and other auxiliary means, the workers are forced

to perform quite artistic exercises (Illustration 24). Even so the work is not rated as

“very dangerous” since the building is only low and no intrinsically dangerous work is

involved

b) Most of the workers are unexperienced in the field of demolition work, only

the foreman has some work experience. Similarly the owner of the company has no

vocational training, but is a “selfmade woman”.

c) The workers do not have an insurance which could provide the means for

recovery or the loss of income. They depend on the goodwill of the company owner

in case of an accident

d) The workers have to do their job very close to each other even when

handling heavy equipment. Besides there is no work plan or other schedule restricting

working hours

e) On the other hand, there is a significant lack in safety equipment but also

other tools, let's say a ladder or scaffold would have been quite helpful. The factor

equipment is thought to cater to the degree of exposure in a most significant way

Depending on the above mentioned factors the chart as it is displayed in

Illustration 23 shows a specific pattern. The bigger the area enclosed by the orange

line, the bigger is the degree of exposure to which the workers are subject.

Page 279: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ค

ค-17

1.6.2 Environmental impact Some restrictions have to be made here since it is not clear where exactly all of

the C&DW material ends up, and how vulnerable the environment is at this place. It is

also unclear as far the subjects of protection would be affected by the exposure to the

emissions.

Furthermore, the indirect impacts on the environment also have to be excluded

due to a lack of information. Indirect impacts in this context could incur by the

substitution of the endues of the C&DW by another material. In this case, the C&DW

used for the temporary road could be replaced by gravel. Gravel has to be quarried

and transported to Bangkok; which also has an impact on the environment.

Comparing this two influences in order to assess the impact on the environment as a

whole would be a challenging subject for a further study.

Keeping in mind the restrictions made above, the factors on which the

environmental impact depends being identified as follows:

a) The potential hazardousness of the substances to be found on site, but also

the potential of dust formation

● Controls carried out internally or by a outside authority in order to detect

contaminations and curb potential hazards

● The capacity or means of a company to dispose of contaminations or

hazardous substances, and to curb emissions from the site, but also the will to take

advantage of the opportunities given by capacity

● Awareness towards environmental matters, which also, but not only depends

on the education

● The amount of potentially hazardous material found on the site. This has to

be brought into relation with the size of the building

Possible sources of environmental hazards:

● Hazardous construction and auxiliary materials in the C&DW

– Asbestos containing material

– Sealants

– Wood treated with lead containing paint

Page 280: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรับประเทศไทย

ค-18

● Construction material being contaminated due to activities having been

carried out in or around the building, this being a probable cause in the chemical

industry or at gasoline stations

● Hazardous material left in the C&DW waste thus rendering it hazardous

– Half empty paint tins

– Fluorescent light bulbs (mercury)

– Accumulators or hight tension equipment (acid, heavy metals, PCB)

● Unproblematic material which triggers problematic reactions in contact with

other substances,

– Gypsum boards. Washing out of sulfations from gypsum could

mobilise heavy metal ions existant in other fractions such as paint

● Demolition activities causing dust formation and noise

Possible impacts of the above mentioned sources may there be:

● Dust emissions, possibly with asbestos fibres: lung cancer

● Noise emissions

● Pollution of groundand surface water

● Possibly creating longstanding pollution, or abandoned hazardous sites

inherited to later generations

● Pollution of soil which might be recovered for other use later (playground,

allotment gardens)

● Visual disturbance

There are other impacts which are not heeded in this context such as lowering

of the surface due to cavities in the C&DW or washing out.

The rating has been carried out on the grounds of the following factors:

● It is a simple residential house with only little potentially hazardous

substances. This should be taken into account though:

– Fluorescent tubes; they possibly end up in the C&DW

– Wooden logs which have possibly been treated with leadcontaining

paint

– Parquet floor treated with unknown preservatives

– A couple of half empty tins and other containers with paint and

lubricants. It remains unclear where they were disposed of

Page 281: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ค

ค-19

– Fibrous cement boards, possibly ACM. They were recovered for

reuse though

– Gypsum boards surrendered to the C&DW

– The dust emissions are only subordinate to the environment, but may

pose a hazard to the workers

● There are no inspections or controls carried out concerning environmental

issues

● It is a small company with limited means; it would be possible though to

subject some potentially hazardous parts to proper disposal

● Judging from the interview, there are no concerns about environmental

issues existent

● The quantity of materials posing a possible threat to the environment is

small. The accumulating C&DW can be judged largely inert.

Also excluded from the above considerations is the question what treatment

the recyclable and reusable material will undergo. This is not part of the case study,

but should be heeded in the sense of a comprehensive C&DW management.

Page 282: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ภาคผนวก ง

ความคิดเห็นและขอเสนอดานการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

จากผูเขารวมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งกอสรางสําหรบัประเทศไทย”

วันที่ 13 กรกฏาคม 2550 ณ โรงแรม เซ็นจูรี่ พารค กรุงเทพฯ

ความคิดเห็นและขอเสนอที่รวบรวมจากผูเขารวมสัมมนาดังตอไปนี้เปนสวนที่ดัดแปลงและ/หรือเพิ่มเติมจากแนวทางปฏิบัติในการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่แยกตามขั้นตอนการจัดการของเสียที่คณะผูศึกษาไดนําเสนอไวในบทที่ 11 หัวขอ 11.3

ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข แหลงกําเนิด • ขาดหนวยงานที่ใหความรู ความเขาใจในดานการ

จัดการของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอนที่ถูกตอง

• ขาดความตระหนักในการจดัการเศษวัสดกุอสราง เนื่องจากปญหาเกิดขึ้นที่ละเล็กนอยทําใหเห็นผลไมเดนชัด

• สนับสนุนความรู เทคนิค วิชาการในการออกแบบ กอสราง และการบริหารจัดการใหเหลือเศษจากการกอสรางนอยที่สุด มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด โดยผานทางองคกรวิชาชีพ

• สรางแรงจูงใจใหแกเจาของอาคารที่ตอบสนองแนวทาง Green construction and sustainable development

• กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ แนวทางการสงเสริมดานการตลาดเพื่อผลักดันใหเกิดการใชวัสดุอยางประหยัด และเหลือเศษนอยที่สุดหรือใชวัสดุ

Page 283: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข สําเร็จรูปและที่มีองคประกอบของสารที่มีแนวโนมวาเปนสารอันตรายนอยลงในการกอสรางเพื่อลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นในสถานที่กอสราง โดยดําเนินการกับโครงการของภาครัฐเปนตนแบบ

• ในการขออนุญาตกอสรางโครงการขนาดใหญใหมีการเสนอแผนการจัดการของเสียจากการกอสรางลงในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) ซึ่งจะเปนสวนหนึ่งของสัญญากอสราง โดยใหมีการรายงานผลกระทบพรอมทั้งเสนอมาตรลดผลกระทบและการติดตามตรวจสอบ

• ในการขออนุญาตกอสรางโครงการขนาดกลางและขนาดเล็กใหมีการเสนอแผนการจัดการของเสียจากกอสรางรวมกับการยื่นขออนุญาตดวย (โดยเริ่มในระยะยาว)

• ประชาสัมพันธใหทราบถึงปริมาณของเสียที่เกิดจากวัสดุกอสรางสําเร็จรูปจะมีนอยกวาการกอสรางแบบดั้งเดิม

• ประชาสัมพันธใหตระหนักถึงปญหาของของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนที่มี ซึ่งตอไปอาจกลายเปนปญหาใหญ

• ควรใชคําวา “เศษวัสดุกอสราง” แทนการใชคําวาของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน เพราะจะทําใหผูนําไปใชเกิดความรูสึกกลาที่จะนําไปใช

• เสนอใหมีการจัดการอบรมดานการจัดการ ของเสียจากการกอสรางและรื้อ

Page 284: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข ถอน เพิ่มเติม โดยองคกรวิชาชีพ

• ประเด็นการรื้อถอนโรงงานควรจะมีหลักเกณฑที่เขมงวดกวาอาคารหรือสิ่งกอสรางทั่วไป เนื่องจากมีโอกาสเกิดการปนเปอนสารอันตรายมากกวา

การคัดแยกที่แหลงกําเนิด

• เนนใหมีการใหความรูความเขาใจในการแยกของเสียตางๆที่เกิดขึ้น • เนนใหมีการใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับสารอันตรายตางๆ

• ในบริเวณสถานที่กอสรางและรื้อถอนมีพื้นที่จํากัด จึงเสนอใหมีหนวยงานภาครัฐหรือเอกชนที่มีประสิทธิภาพในการจัดการเกี่ยวกับ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน โดยเฉพาะเพื่อลดเวลาและหนาที่ของบริษัทกอสรางและรื้อถอน เชน การจัดรถไปบริการรับ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ตามสถานที่กอสรางและรื้อถอนตางๆ

• ควรมีการจัดอบรมเพื่อใหความรูดานการคัดแยกของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน แกแรงงานกอสรางโดยเพิ่มเนื้อหาลงในหลักสูตรฝกอบรม ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

• กําหนดนโยบายการจัดเตรียมที่ดินที่เหมาะสมสําหรับรองรับและจัดการขยะมูลฝอยและของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนโดยกําหนดไวในผังเมือง โดยเริ่มจากเมืองที่เปนพื้นที่เขตเศรษฐกิจ

• ใหมีการถายทอดประสบการณและเทคโนโลยีในการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ในรูปแบบของการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ โดย

Page 285: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข เชิญผูประกอบการมาถายทอดประสบการณจากการปฏิบัติจริง

• บรรจุหัวขอการจัดการ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ไวเปนสวนหนึ่งของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร

• ควรใหความรูกับผูรับเหมาที่รับจางรื้อถอนเปนพิเศษเพื่อใหเกิดความเขาใจที่ดีเกี่ยวกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ในดานตางๆ

• ควรจัดตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบและดูแลเกี่ยวกับการจัดการ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน โดยคณะกรรมการควรประกอบดวย สมาคมวิชาชีพ บริษัทผูรับเหมากอสราง รื้อถอน มหาวิทยาลัย และหนวยงานรัฐ และใหมีการประชาสัมพันธ และเผยแพรความรูเพื่อใหหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน และประชาชนทั่วไปทราบ เพื่อใหเกิดความตระหนักในปญหาที่เกี่ยวกับ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน พรอมทั้งรับผิดชอบศูนยขอมูลของเสีย (Waste Information Center)

การนําไปใชซ้ํา และการรีไซเคิล

• โครงการรีไซเคิลของเสียที่เกิดจากการกอสรางและรื้อถอน ควรกําหนดพื้นที่ (Zone) สถานที่ตั้งของศูนยรีไซเคิลแบบรวมกลุม (Cluster) และรูปแบบการลงทุนควรจะใหรัฐบาลเปนผูนํารอง เนื่องจากอาจจะตองใชเงินทุนและเทคโนโลยีสูง

• จัดทําและเผยแพรแนวทางปฎิบัติที่ดีในดานการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ควรใชสื่อสาธารณะประเภทตางๆ เชน โทรทัศน วิทยุ

Page 286: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข และ หนังสือพิมพ โดยทําการประชาสัมพันธบอยๆเพื่อใหประชาชนตระหนักถึงความสําคัญ

• สงเสริมและผลักดันใหมีการใชวัสดุรีไซเคิลโดยการจัดทําโครงการสาธิตการใชวัสดุรีไซเคิลในงานกอสรางประเภทตางๆ เพื่อชวยสนับสนุนการปรับปรุงมาตรฐานงานกอสราง

• กําหนดใหมีการใชวัสดุรีไซเคิลไวในขอกําหนดและขอบเขตของงาน (TOR) สําหรับการทําโครงการกอสราง

• การทําโครงการสาธิตครบวงจรควรจะใหกรุงเทพมหานคร นํารองเนื่องจากมีความพรอมอยูแลว

• ควรที่จะเริ่มดําเนินการรวบรวมขอมูลในบริเวณพื้นที่เขตเศรษฐกิจกอน โดยนําปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน และการนําไปใชประโยชนของวัสดุรีไซเคิล เพื่อนําขอมูลดังกลาวมาจัดทําเปนฐานขอมูลไวในศูนยขอมูลของเสีย (Waste Information Center) และเผยแพรไปสูประชาชนทั่วไป แลวจึงทําการปรับปรุงขอมูลเพิ่มเติมตอไป

• ใหความรูวา ของดีและของเสียที่เกิดขึ้นมีประโยชนและนําไปทําอะไรไดบางโดยองคกรวิชาชีพและมหาวิทยาลัย

ขนสงและกําจดั • หนวยงานของรัฐขาดการตรวจสอบการลักลอบทิ้ง

• ถาตองการใหมีการนําของเสียเขาสูโรงงานกําจัด รัฐควรจะใหความ

ชวยเหลือเพราะวามีคาใชจายสูง โดยรัฐบาลอาจจะตั้งโรงงานกําจัด ตาม

Page 287: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข โซนที่เหมาะสมเพื่อรองรับของเสียจากผูรับเหมา

• การติดตามและประเมินสภาพปญหาการจัดการของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ใหทําผานคณะกรรมการรับผิดชอบและดูแลเกี่ยวกับของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาการจัดการ ของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ตอไป

• การเฝาระวังการแอบทิ้งของเสียจากการกอสรางและการรื้อถอนใหอาศัยการแจงผานทาง จส.100 โดยใหผูพบเห็นแจงขอมูลของเสียผานทาง จส. 100.แลวใหทาง จส.100. แจงมายังศูนยขอมูลของเสีย (Waste Information Center)

• ใหความรู แกประชาชน ตํารวจและเจาหนาที่ผูเกี่ยวของตางๆ เพื่อสงเสริมใหเขาใจและชวยกันเฝาระวังการแอบทิ้งของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน

• ในการปรับปรุ ง เพิ่ม เติม เกี่ ยวกับกฎระเบียบที่ เกี่ ยวของกับอัตราคาธรรมเนียมการฝงกลบของเสียจากการกอสรางและรื้อถอนนั้น ควรจะตองปรึกษากับหนวยงานราชการตางๆ ที่เกี่ยวของเพื่อจะไดกําหนดอัตราที่เหมาะสมได (สูงเกินไปก็จะเกิดการลักลอบทิ้ง)

• การนําของเสียจากการกอสรางและรื้อถอน ไปกําจัดตองติดตามไดวานําไปกําจัดที่ใดโดยระบุปลายทางที่ชัดเจนและนําไปใชทําอะไรบางเพื่อปองกัน

Page 288: 01-008 รายงานการศึกษา การศึกษาแนวทางการจ ัดการเศษส ิ่งก อ ...infofile.pcd.go.th/waste/wastemana50.pdf ·

ขั้นตอน สภาพปญหา แนวทางแกไข การแอบทิ้ง

อื่น ๆ • เจาหนาที่ของรัฐ เชน ตํารวจ เทศกิจ ควรกวดขันตอเนื่องในเรื่องการแอบทิ้ง และการดูแลรักษาความสะอาด

• เผยแพรความรูใหกับประชาชนเกี่ยวกับปริมาณทรัพยากรธรรมชาติที่มีในปจจุบันและปริมาณสํารองในอนาคตที่จะลดลง