55
การปรับปรุงตัวชี้วัดงานเชิงยุทธศาสตร์ของสํานักงานเขต ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ณ วันที27 ธันวาคม 2555

˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

การปรับปรุงตัวชี้วัดงานเชิงยุทธศาสตร์ของสํานักงานเขต ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2555

Page 2: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ตัวชี้วัดงานเชงิยุทธศาสตร์ของสํานักงานเขต ประจําปงีบประมาณ พ.ศ. 2555 ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสูก่ารเป็นศูนย์กลางภูมิภาค ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.1 การพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สอดคล้องกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร

กลยุทธ ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง

หมายเหตุ

ปรับปรุงผังเมืองรวมกรุงเทพ มหานคร

1. การแจ้งข้อมูลการใช้ประโยชน ์ ที่ดินของสํานักงานเขต

นิยาม การแจ้งข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินตามแบบรายงานที่สํานักผังเมืองกําหนด (ผมร.1) พร้อมสําเนาใบอนุญาตก่อสร้างอาคารและ ผังที่ตั้ง วิธีการคํานวณ จํานวนครั้งที่ได้รับการแจ้งการใชป้ระโยชน์ ที่ดินจากสํานักงานเขตอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ครั้ง สผม. สนข.

อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

Page 3: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพเมืองเพื่อก้าวทันการแข่งขันทางเศรษฐกิจและเป็นมหานครแห่งการเรียนรู ้ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2.1 การพัฒนาศักยภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของมหานครเพื่อก้าวทันการแข่งขัน ทางเศรษฐกิจวิทยาการ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

ส่งเสริมและพัฒนาการ ท่องเที่ยวของกรุงเทพ- มหานครสู่การเป็นศูนย์กลาง ของการท่องเที่ยวภูมิภาค

2. ร้อยละโครงการ/กิจกรรมด้านการ ท่องเที่ยวของสํานักงานเขต สนับสนุนแผนแม่บทเพื่อพัฒนา การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร

คํานิยาม โครงการ/กิจกรรมด้านการท่องเที่ยวของสํานักงานเขต หมายถึง โครงการ/กิจกรรมด้านการท่องเที่ยวที่สํานักงานเขตเสนอให้กองการท่องเที่ยวพิจารณา สนบัสนุนแผนแม่บทฯ หมายถึง กองการ ท่องเที่ยวพิจารณาโครงการ/กิจกรรมด้านการท่องเที่ยวที่สํานักงานเขตเสนอ สนับสนุนยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทเพื่อ พัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2548 – 2552) วิธีคํานวณ จํานวนโครงการ/ กิจกรรมด้านการท่องเที่ยวของแต่ละสํานักงานเขตที่ สนับสนุนแผนแม่บทเพื่อพัฒนาก ารท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2548 – 2552) คูณ 100 หารด้วยจํานวนโครงการ/กิจกรรม ด้านการท่องเที่ยว ของแต่ละสํานักงานเขตทั้งหมดที่ส่งให้กองการท่องเที่ยว

ร้อยละ สวท. สนข.

ร้อยละ 80 สํานักงานเขต ส่งโครงการใหก้องการท่องเที่ยว พิจารณาภายใน เดือนมีนาคม 2553

Page 4: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพเมืองเพื่อก้าวทันการแข่งขันทางเศรษฐกิจและเป็นมหานครแห่งการเรียนรู ้ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2.3 การพัฒนาการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอนุบาล

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

พัฒนาคุณภาพด้านการศึกษา ของโรงเรียน ให้ได้มาตรฐาน อย่างทั่วถึง

3.ผลสําเร็จในการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด สํานักงานเขต 1) ระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสังกัดสํานักงานเขตเทียบกับเกณฑ์เฉลี่ยของประเทศ

นิยาม ระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสังกัดสํานักงานเขต หมายถึง เกณฑ์ระดับผลสําเร็จในการจัดการศึกษาของสํานักงานเขตที่พิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขต ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนผลสัมฤทธิ ์และคะแนนพัฒนาการ ในการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ดังตาราง

กลุ่มสาระฯ คะแนน ผลสัมฤทธิ ์

คะแนน พัฒนาการ

คะแนน รวม

ภาษาไทย 2 0.5 2.5 คณิตศาสตร์ 2 0.5 2.5 วิทยาศาสตร์ 2 0.5 2.5 สังคมศึกษาฯ 2 0.5 2.5 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 0.5 2.5 ศิลปะ 2 0.5 2.5 การงานอาชีพฯ 2 0.5 2.5 ภาษาต่างประเทศ 2 0.5 2.5 รวมคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 16 4 20

นักเรียนชั้น ป.6ในสํานักงานเขตที่ได้คะแนนการทดสอบระดับ ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่าขีด จํากัดล่างของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู ้

สนศ. สนข.

คะแนนรวมผลสัมฤทธิ์และคะแนนพัฒนาการของสํานักงานเขตมากกว่า 10 คะแนน

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

ระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสังกัดสํานักงานเขต

Page 5: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

������������ ����� ������� 20/04/55

2

5 คะแนน เมื่อได้คะแนนรวมตั้งแต่ 12 คะแนนขึ้นไป 4 คะแนน เมื่อได้คะแนนรวม 10–11.99 คะแนน 3 คะแนน เมื่อได้คะแนนรวม8–9.99 คะแนน 2 คะแนน เมื่อได้คะแนนรวม6–7.99 คะแนน 1 คะแนน เมื่อได้คะแนนรวมน้อยกว่า 6

คะแนนผลสัมฤทธิ์ หมายถึง คะแนนที่คํานวณจากร้อยละของจํานวนนักเรียนในสํานักงานเขตที่ได้คะแนนการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่าขีดจํากัดล่างของค่าเฉลี่ยระดับชาติของผลการทดสอบ (O-NET) ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ขีดจํากัดล่าง หมายถึง คะแนนต่ําสุดของการประมาณค่าเฉลี่ยประชากร แต่ละชั้น แต่ละกลุ่มสาระการในเรียนรู้คํานวณได้จากสูตร

X ค่าเฉลี่ยระดับชาติของคะแนนสอบในแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ในปีการศึกษาที่พิจารณา ..DS ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน n จํานวนผู้เข้าสอบทั้งประเทศในปีการศึกษาที่พิจารณา

( )

n

DSX

..58.2 ×−

Page 6: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนบั เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

คะแนนพัฒนาการ หมายถึง คะแนนที่คํานวณจากสัดส่วนระหว่างจํานวนนักเรียนที่ได้คะแนนสูงกว่าขีดจํากัดล่างกับจํานวนนักเรียนที่เข้าสอบทั้งหมดสูงขึ้น โดยเทียบกับสัดส่วนในปีที่ผ่านมาในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู ้วิธีการคํานวณ คะแนนผลสัมฤทธิ์ 1. คํานวณค่าร้อยละของจํานวนนักเรียนในสํานักงานเขตที่มีผลการทดสอบในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้มากกว่าขีดจํากัดล่าง จากสูตร

N

n100×

n จํานวนนักเรียนที่มีผลการสอบสงูกว่าขีดจํากัดล่าง N จํานวนนักเรียนที่เข้าสอบทั้งหมด 2. ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กําหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 2 คะแนน คะแนนพัฒนาการ 1. สํานักงานเขตมีสัดส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับ ป.6 แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงขึ้น เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยในปีที่ผ่านมาให้ 0.5 คะแนน 2. สํานักงานเขตมีสัดส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับ ป.6 แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้คงที่หรือเท่ากับค่าเฉลี่ยในปีที่ผ่านมาให้ 0.25 คะแนน 3. สํานักงานเขตมีสัดส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับ ป.6 แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ลดลงเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยในปีที่ผ่านมาให้ 0 คะแนน

Page 7: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

ตัวอย่าง ในการสอบ O-NET มีนักเรียนชั้น ป.6 ในสํานักงานเขตเข้าสอบทั้งสิ้น 800 คน นักเรียนที่ได้คะแนนภาษาไทยสูงกว่าขีดจํากัดล่างจํานวน 600 คนขณะที่ในปีการศึกษาก่อนมีนักเรียนที่ได้คะแนนสูงกว่าขีดจํากัดล่าง 400 คน จากนักเรียนที่เข้าสอบทั้งหมด 600 คน ร้อยละของนักเรียนที่ได้คะแนนฯ สูงกว่าขีดจํากัดล่าง ( )

75800

100600=

×

คะแนนผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาไทยของสํานักงานเขต ( )

100

275× = 1.5 คะแนน

สัดส่วนของผลสัมฤทธิ์ ในปีการศึกษานี้

800

600 = 0.75

สัดส่วนของผลสัมฤทธิ์ในปีการศึกษาก่อน

600

400 = 0.67

แสดงว่าสัดส่วนผลสัมฤทธิ์ในปีนี้สูงกว่าปีก่อน ดังนั้นสํานักงานเขตจึงได้คะแนนพัฒนาการ 0.5คะแนน รวมคะแนนผลสัมฤทธิ์และคะแนนพัฒนาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เท่ากับ 1.5 + 0.5 = 2 คะแนน

Page 8: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

หมายเหตุ 1.ใช้วิธีการคํานวณดังนี้กับอีก 7 กลุ่มสาระการเรยีนรู้ คือ สังคมฯ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ภาษาต่างประเทศ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และศิลปะ 2. ค่าขีดจํากัดล่างสํานักการศึกษาเป็นผู้คํานวณ สํานักงานเขตสามารถสอบถามได้ที่กลุ่มงานประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานยุทธศาสตร์การศึกษา สํานักการศึกษา

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

2) ผลการประเมินโรงเรียนคุณภาพมาตรฐาน (SMART School)

นิยาม ผลการประเมินโรงเรียนคุณภาพมาตรฐาน หมายถึง ค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินของทุกโรงเรยีนในสํานักงานเขต โดยคณะกรรมการที่สํานักการศึกษาดําเนินการตรวจประเมินตามแนวทางโรงเรียนคุณภาพมาตรฐาน (SMART School) วิธีการคํานวณ ให้คะแนนโดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินของทุกโรงเรียนในสํานักงานเขต ดังนี้ 5 คะแนน เมื่อค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50–4.00 4 คะแนน เมื่อค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.00–3.49 3 คะแนน เมื่อค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.50–2.99 2 คะแนน เมื่อค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.00–2.49 1 คะแนน เมื่อค่าเฉลี่ยต่ํากว่า 2.00 หมายเหตุ การคํานวณคะแนนจริงให้นําคะแนนจาก 2 ประเด็น มารวมกัน แล้วหารด้วย 2

ค่าเฉลี่ยของระดับคุณภาพการประเมิน

สนศ. สนข.

ค่าเฉลี่ยของโรงเรียน ในสังกัดสํานักงานเขต สูงกว่าระดับ 3.00

Page 9: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.3 การลดปริมาณมูลฝอย และนําของเสียกลับไปใช้ประโยชน ์

กลยุทธ ์ ชื่อตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก

เป้าหมายตัวชี้วัด

หมายเหตุ

4. ความสําเร็จในการคัดแยกมูลฝอยเพื่อควบคุมปริมาณมูลฝอย

ร้อยละ สสล. สนข.

ร้อยละ 100

3.3.1 ควบคุมปริมาณมูลฝอย ไม่ให้เพิ่มขึ้น

4.1) ร้อยละความ สําเร็จของการบริหารจัดการคัดแยกมูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน์และการคัดแยก มูลฝอยอันตรายที่แหล่งกําเนิด

4.1) คํานิยาม การคัดแยกมูลฝอย* กลับไปใช้ประโยชน ์ หมายถึง การดําเนินการของสํานักงานเขตเพื่อ คัดแยกมูลฝอย*ที่แหล่งกําเนิดและนํากลับไปใช้ประโยชน ์มูลฝอย* หมายถึง 1) มูลฝอยย่อยสลายง่าย ได้แก่ เศษอาหาร เศษวัชพืช ใบไม้ และกิ่งไม้ 2) มูลฝอยรีไซเคิล เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ การคัดแยกมูลฝอยอันตราย**ที่แหล่งกําเนิด หมายถึง การดําเนินการของสํานักงานเขตเพื่อคัดแยกมูลฝอยอันตราย**ที่แหล่งกําเนิดและนําส่งที่จุดรวบรวม

ร้อยละ สสล. สนข.

ร้อยละ 100

(ดําเนินการครบ

2 ขั้นตอน)

การคํานวณค่าคะแนนความสําเร็จของการบริหารจัดการเพื่อการนํามูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน์ของสํานักงานเขต จําแนกตามขั้นตอนของการบริหารจัดการฯ ดังนี ้ดําเนินการครบขั้นตอนที่ 1 = ร้อยละ 30 ดําเนินการครบขั้นตอนที่ 2 = ร้อยละ 70 รวม = ร้อยละ 100 คิดคะแนน = 0.7

Page 10: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยทุธ ์ ชื่อตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก

เป้าหมายตัวชี้วัด

หมายเหตุ

มูลฝอยอันตราย** ที่ศูนย์กําจัดมูลฝอยอ่อนนุช สายไหม และหนองแขม มูลฝอยอันตราย** หมายถึง มูลฝอยที่มีส่วนประกอบ หรือปนเปื้อนสารเคมีอันตราย เช่น สารไวไฟ สารเกิดปฏิกิริยาได้ง่าย สารที่มีความเป็นพิษ สารที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือสารอันตรายใดที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ร้อยละความสําเร็จของการบริหารจัดการมูลฝอยฯ หมายถึง การดําเนินการของสํานักงานเขตในการบริหารจัดการคัดแยกมูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน์และคัดแยกมูลฝอยอันตรายที่แหล่งกําเนิดโดยดําเนินการครบถ้วนทั้ง 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การจัดทําแผนบริหารจัดการเพื่อนํามูลฝอย*กลับไปใช้ประโยชน์ในภาพรวมของสํานักงานเขต โดยดําเนินการ ดังนี้ 1. จัดทําแผนบริหารจัดการเพื่อนํามูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน์ในภาพรวมของสํานักงานเขต ประกอบด้วย สว่นที่ 1 แผนฯ จักต้องบรรจุโครงการ/กิจกรรมบังคับ จํานวน 2 โครงการ และ 1 กิจกรรม โดยแต่ละ

เอกสารประกอบการตรวจประเมิน ขั้นตอนที่ ๑ 1. สําเนารายงานการประชุมคณะทํางานส่งเสริมกระบวนการจัดการขยะมูลฝอยโดยประชาชน ฯ หรือรายงานการประชุมผู้บริหารเขต ครั้งที่มีการ พิจารณาตัวชี้วัดบูรณาการการลดปริมาณมูลฝอย และนําของเสียกลับไปใช้ประโยชน ์2. สําเนาแผนบริหารจัดการเพื่อนํามูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน์ในภาพรวมของสํานักงานเขตประจําปี 2554 3. สําเนารายละเอียดโครงการ/กิจกรรมตามนโยบายผู้บริหาร จํานวน 2 โครงการ 4. สําเนาโครงการที่สํานักงานเขตกําหนดเอง จํานวน 2 โครงการ 5. สําเนาคําสั่งมอบหมายผู้รับผิดชอบงานใน แต่ละโครงการ/กิจกรรม ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ การจัดการกิ่งไม้ การจดั การขยะอันตราย และการตั้งถังคัดแยกขยะมูลฝอยภายในสํานักงานเขต (ทั้ง 5 รายการ จัดส่งให้สํานักสิ่งแวดล้อมภายในวันที่ 16 พ.ค.54)

Page 11: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก

เป้าหมายตัวชี้วัด

หมายเหตุ

โครงการจะต้องระบุเป้าหมายของโครงการ กลุ่มเป้าหมายที่จะดําเนินการ และผู้รับผิดชอบโครงการเป็นอย่างน้อย โครงการ/กิจกรรมตามนโยบายผู้บริหารที่บังคับให้

ปรากฏในแผนบริหารจัดการฯ ได้แก่ 1. โครงการจัดการมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) ใน 5 ชุมชนโดยจะต้องระบุว่าจะเลือกดําเนินการในกลุ่มเป้าหมายใด ระหว่าง 1) ชุมชน 5 แห่ง หรือ 2) ชุมชน 3 แห่ง สถานศึกษา 1 แห่ง สถานประกอบการ 1 แห่ง ตามที่รับโอนงบประมาณประจําปี 2554 2. โครงการส่งเสริมการแปรรูปขยะเศษอาหารเพื่อนํากลับมาใช้ประโยชน์ ตามที่ได้รับโอนงบประมาณประจําปี 2554 3. กิจกรรมการจัดการมูลฝอยแยกประเภท ได้แก่

3.1) การคัดแยกเฉพาะกิ่งไม้นําส่งโรงงาน บดย่อยกิ่งไม้ที่ศูนย์กําจัดมูลฝอยอ่อนนุชและหนองแขม

3.2) การจัดเก็บเฉพาะมูลฝอยอันตรายในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ นําส่งที่ศูนย์กําจัดมูลฝอยอ่อนนุช สายไหม และหนองแขม

Page 12: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก

เป้าหมายตัวชี้วัด

หมายเหตุ

3.3) การตั้งถังรองรับมูลฝอยแยกประเภทภายในสํานักงานเขต หมายเหต ุ- โครงการตามข้อ ๑ และ ๒ สํานักงานเขตต้องเขียนโครงการเพื่อเบิกจ่ายงบประมาณ - กิจกรรมตามข้อ ๓ สํานักงานเขตไม่ต้องเขียนโครงการ ส่วนที่ 2 แผนฯ จักต้องบรรจุโครงการที่สํานักงานเขตกําหนดขึ้นเพื่อผลักดันให้การคัดแยกมูลฝอยฯ เพื่อนํามูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน์ของหน่วยงานประสบความสําเร็จ อย่างน้อย 2 โครงการ/กิจกรรม (สนข. ต้องเขียนโครงการเสนอให้ ผอ.เขตอนุมัติ) 2. จัดประชุมคณะทํางานส่งเสริมกระบวนการจัดการขยะ มูลฝอยโดยประชาชน ตามคําสั่งกรุงเทพมหานคร ที่ 2451/2553 ลงวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2553 หรือ นํา แผนบริหารจัดการเพื่อนํามูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน ์ในภาพรวมของสํานักงานเขตเสนอที่ประชุมผู้บริหารเขต เพื่อพิจารณาดําเนินการร่วมกันฯ 3. จัดทําคําสั่งมอบหมายความรับผิดชอบให้แก่เจ้าหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละโครงการ/กิจกรรม โดยให้กระจาย ความรับผิดชอบ

Page 13: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก

เป้าหมายตัวชี้วัด

หมายเหตุ

ขั้นตอนที่ 2 การดําเนินงานตามแผนฯ เป็นการดําเนินการตามรายละเอียดขั้นตอนที่ กําหนดในแผนงาน โครงการ/กิจกรรมที่ระบุไว ้ในแผนบริหารจัดการฯ และจัดเก็บข้อมูลผลการ ดําเนินการ พร้อมรายงานตามแบบรายงานที่ กําหนด และถ่ายภาพกิจกรรมที่ดําเนินการ รวมทั้งสรุปผลการดําเนินการ โดยรวบรวม ส่งรายงานผ่านระบบ e-document ที่ (http://172.24.1.155/e-document/) (รหัสในการ เข้าสู่ระบบ จะได้รับในวันประชุมชี้แจง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการรายงานข้อมูลฯ)

เอกสารประกอบการตรวจประเมิน ขั้นตอนที่ ๒ 1. รายงานผลการดําเนินการตามโครงการจัดการ มูลฝอยโดยชุมชน ตามแบบ CBM_04 2. รายงานผลโครงการส่งเสริมการแปรรูปขยะ เศษอาหารเพื่อนํากลับมาใช้ประโยชน์ ตามแบบ แนบท้ายบันทึกที่ กท 1103/6484 ลว. 13 ต.ค.52 (ส่งให้กลุ่มงานของเสียอันตราย (กจข.)ทุกเดือน) 3. กิจกรรมการจัดการมูลฝอยแยกประเภท 3.1 รายงานการคัดแยกกิ่งไม้ส่งโรงงานบดย่อย ตามแบบ 3R_01 ส่ง กน.สสล. ทุกวันที่ 5 ของทุกเดือน เริ่มวันที่ ๕ มิ.ย.54) 3.2 รายงานการจัดเก็บมูลฝอยอันตรายตามแบบรายงานปริมาณมูลฝอยอันตรายที่ส่งให้กลุ่มงานของเสียอันตราย (กจข.) ทุกเดือน 3.3 รายงานผลการดําเนินการจัดระบบคัดแยก มูลฝอยที่สํานักงานเขต ตามแบบ 3R_02 4. รายงานผลโครงการ/กิจกรรมอื่นๆ ที่เขตกําหนดตามแบบรายงาน 3R_03 (ข้อ 1, 3.3 และข้อ 4 ส่งวันที่ 30 ก.ย. 54) (ข้อ 2, 3.1 และข้อ 3.2 ส่งทุกเดือน 5. ภาพถ่ายการดําเนินการทุกโครงการ/กิจกรรม

Page 14: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพ

หลัก เป้าหมายตัวชี้วัด

หมายเหตุ

4.2) ร้อยละความ สําเร็จของการควบคุม ปริมาณมูลฝอย

4.2) คํานิยาม การควบคุมปริมาณมูลฝอย หมายถึง การควบคุมปริมาณมูลฝอยที่เข้าชั่งที่ศูนย์กําจัดมูลฝอยอ่อนนุช สายไหม และหนองแขม ไม่ให้เพิ่มขึ้นมากกว่าเป้าหมายปริมาณมูลฝอยรายเขตที่กําหนด วิธีการคํานวณ 1. ปริมาณมูลฝอยคาดการณ์ในภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ปี 2554 = จํานวนประชากรคาดการณ์ของกรุงเทพมหานคร (อ้างจากรายงานของ JBIC) x 1 กก./คน/วัน = 10,316,900 คน x 1 กก./คน/วัน = 10,316.90 ตัน/วัน 2. ปริมาณขยะคาดการณ์รายเขต คํานวณจากสัดส่วนของปริมาณขยะของแต่ละเขตในปี 2553 เปรียบเทียบกับปริมาณขยะคาดการณ์รายเขตปี 2554

ร้อยละ สสล.สนข.

ร้อยละของปริมาณ มูลฝอย ที่จดัเก็บ ได้จริง ปี 2554 ลดลงเมื่อเทียบกับปริมาณ มูลฝอยคาดการณ์ ปี 2554

การคํานวณค่าคะแนนความสําเร็จในการควบคุมปริมาณมูลฝอย 1. ปริมาณมูลฝอยที่จัดเก็บได้จริงรายเขต ประจําปี 2554 เปรียบเทียบกับปริมาณมูลฝอยคาดการณ์รายเขตปี 2554 ที่จัดทําโดยสํานักสิ่งแวดล้อม โดยใช้ข้อมูลน้ําหนักมูลฝอยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ (ร้อยละ 100 = 0.3 คะแนน) - กรณีปริมาณมูลฝอยที่จัดเก็บได้จริงรายเขต ในปี 2554 น้อยกว่าหรือเท่ากับปริมาณมูลฝอยคาดการณ์รายเขตปี 2554 ได้คะแนนร้อยละ 100 - กรณีปริมาณมูลฝอยที่จัดเก็บได้จริงรายเขต ในปี 2554 สูงกวา่ปริมาณมูลฝอยคาดการณ์ รายเขตปี 2554 ตั้งแต่ร้อยละ 0.01 – 4.99 ได้คะแนนร้อยละ 80

Page 15: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพ

หลัก เป้าหมายตัวชี้วัด

หมายเหตุ

สูตรการคํานวณ ปริมาณมูลฝอยคาดการณ์รายเขต = ปริมาณมูลฝอยคาดการณ์ต่อวันในภาพรวมทั้งกทม.ปี 2554 (ข้อ ๑) หารด้วย ปริมาณมูลฝอยที่เก็บขนได้จริงต่อวันทั้งกทม. ปี ๒๕๕๓ คูณด้วย ปริมาณขยะที่เก็บขนได้จริงต่อวันรายเขตปี ๒๕๕๓ การคํานวณปริมาณมูลฝอยรายเขต แบ่งเป้าหมาย การลดปริมาณมูลฝอยรายเขต เป็น ๒ กลุ่ม ดังนี ้๒.๑ กลุ่มที่มีแนวโน้มประชากรเพิ่มขึ้น กําหนดเป้าหมายการลดปริมาณขยะเป็นร้อยละ ๑๔.๕ ของปริมาณขยะคาดการณ์ = ปริมาณมูลฝอยคาดการณ์รายเขต คูณด้วย ๘๕.๕ % ๒.๒ กลุ่มที่มีแนวโน้มประชากรคงที่ หรือลดลงกําหนดเป้าหมายการลดปริมาณขยะเป็นร้อยละ ๑๕ ของปริมาณขยะคาดการณ์ = ปริมาณมูลฝอยคาดการณ์รายเขต คูณด้วย ๘๕ %

- กรณีปริมาณมูลฝอยที่จัดเก็บได้จริงรายเขตในปี ๒๕๕๔ สูงกว่าปริมาณมูลฝอยคาดการณ์รายเขตปี ๒๕๕๔ ตั้งแต่ร้อยละ ๕.๐๐ -๙.๙๙ ได้คะแนนร้อยละ ๖๐ - กรณีปริมาณมูลฝอยที่จัดเก็บได้จริงรายเขตในปี ๒๕๕๔ สูงกว่าปริมาณมูลฝอยคาดการณ์รายเขตปี ๒๕๕๔ ตั้งแต่ร้อยละ ๑๐ ขึ้นไป ได้คะแนนร้อยละ ๕๐

Page 16: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.5 การเพิ่มพื้นที่สีเขียว ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.5 การเพิ่มพื้นที่สีเขียว (ตัวชี้วัดบูรณาการ)

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ ใช้แผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพ- มหานครเป็นเครื่องมือในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว

5.จํานวนครั้งของการรายงานพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของ กทม.

นิยาม 1.พื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร (สสล.01-1) หมายถึง - พื้นที่สีเขียวตามคําจํากัดความในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 9 ประเภท ซึ่งประกอบด้วย * สนามกีฬากลางแจ้ง หมายถึงสนามกีฬากลางแจ้งที่มีขนาดพื้นที่ >500 ตร.ม.ขึ้นไป * สนามกอล์ฟ หมายถึง สนามกอล์ฟทุกแห่ง * แหล่งน้ํา หมายถึง สระน้ํา หนองน้ํา บึง ซึ่งมีน้ําท่วมขังนานกว่า 6 เดือนต่อปี ที่มีขนาดพื้นที่ > 500 ตร.ม.ขึ้นไปทุกแห่ง * ที่ลุ่ม หมายถึงที่ลุ่มน้ําท่วมขังมีพืชขึ้นปกคลุม เช่นกกที่มีขนาด > 500 ตร.ม.ขึ้นไปทุกแห่ง * ที่ว่าง หมายถึงที่ว่างหรือที่โล่งที่มีขนาด > 1 ไร่ พื้นที่โล่งหรือพื้นที่รก

จํานวนครั้ง 1.สนข. (สํารวจ ตรวจสอบ รายงานข้อมูล) 2.สสณ.สสล. (รวบรวม สรุปผลข้อมูล)

3 เดือน/ ครั้ง รวม 4 ครั้ง (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) 3 เดือน/ ครั้ง รวม 4 ครั้ง (ม.ค.,เม.ย.,ก.ค.,ต.ค.)

เอกสารประกอบการตรวจประเมิน สํานักงานเขต 1.สํารวจ ตรวจสอบ และจัดทํารายงานข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตามแบบ สสล.01-1 โดยจัดส่งไปยัง “กลุ่มงานวิชาการสวนและต้นไม้ สํานักงานสวนสาธารณะ สํานักสิ่งแวดล้อม” พร้อมขอรับสรุปผลการรวบรวมรายงานซึ่งจัดทําโดยสํานักงานสวนสาธารณะใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการควบคู่กับแผนที่ตามข้อ 2 2.ใช้ข้อมูลตามข้อ 1 จัดทําแผนที่ โดยใช้แผนที่ของแต่ละสํานักงานเขตซึ่งจัดทําขึ้นโดยฝ่ายโยธา โดยจัดทําเป็น 2 ฉบับ 2.1 ฉบับที่ 1 สํานักงานเขตเก็บไว้เป็นข้อมูลของหน่วยงาน 2.2 ฉบับที่ 2 ส่งกลุ่มงานวิชาการสวนและต้นไม้ สํานักงานสวนสาธารณะ โดยฉบับดังกล่าวหลังจากส่งให้สํานักงานสวนฯ รวบรวมแล้วก่อนถึงกําหนดตรวจประเมินให้หน่วยงานขอรับกลับคืนเพื่อนํามาบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมและจัดส่ง สสล.เพื่อรับการ

Page 17: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

������������ ����� ������� 20/04/55

2

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.5 การเพิ่มพื้นที่สีเขียว (ตัวชี้วัดบูรณาการ)

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ ร้างหรือไม่ได้ใช้ประโยชน์หรือไม่เข้าข่ายพื้นที่ประเภทใดและมีขนาดพื้นที่ตั้งแต่ > 500 ตร.ม. * พื้นที่ไม้ยืนต้น หมายถึงพื้นที่มีกลุ่มไม้ยืนต้นขึ้นอยู่เป็นส่วนใหญ่ ขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 1 ไร่ขึ้นไปรวมทั้ง สวนผลไม้ *พื้นที่เกษตรกรรม หมายถึงพื้นที่เกษตรกรรม เช่น นาข้าว นาหญ้า *พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา หมายถึงพื้นที่บ่อเลี้ยงสัตว์น้ํา * พื้นที่อื่นๆ หมายถึงพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นพื้นที่ สีเขียวเพื่อการนันทนาการและส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ริมคลอง พื้นที่ใต้หรือข้างทางด่วนหรือทางพิเศษ เป็นต้น 2.การสํารวจพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกทม.มีจุดมุ่งหมายให้สํานักงานเขตสํารวจ ตรวจสอบข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามนิยามฯ ที่มีอยู่จริงในพื้นที่เขตทั้งหมด (ทั้งที่ทราบและไม่ทราบ

ตรวจประเมินต่อไป สํานักงานสวนสาธารณะ สํานักสิ่งแวดล้อม 1. ติดตาม รวบรวม และจัดทําเป็นรายงานสรุปข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานครตามแบบ สสล.01-1 ภาพรวมของกรุงเทพมหานครในรูปแบบ Digital File โดยจัดให้มีข้อมูลพื้นที่สีเขียวฯ ใน 2 รูปแบบ คือ 1.1 สรุปพื้นที่สีเขียวฯ ภาพรวมของ

กรุงเทพมหานคร 50 สํานักงานเขต 1.2 สรุปรายละเอียดพื้นที่สีเขียวฯ ของ

แต่ละสํานักงานเขต 2.ติดตาม และรวบรวมแผนที่ข้อมูลพื้นที่ สเีขียวฯ ตามข้อ 1 ซึ่งสํานักงานเขตเป็นหน่วยงานดําเนินการจัดทํา โดยที่ตั้งพื้นที่สีเขียวในแผนที่ดังกล่าวต้องแสดงที่ตั้ง ทั้งหมดมีอยู่ในพื้นที่เขต 3.ส่งข้อมูลตามข้อ 1 ให้สํานักงานเขตต่าง ๆ ใช้ประกอบการตรวจประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปีต่อไป ********************************** เกณฑ์การให้คะแนน

Page 18: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

������������ ����� ������� 20/04/55

3

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.5 การเพิ่มพื้นที่สีเขียว (ตัวชี้วัดบูรณาการ)

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ เจ้าของ) แบ่งพื้นที่ตามประเภทที่กําหนดเพื่อประโยชน์ในการติดตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพพื้นที่ และทราบพื้นที่ สีเขียวที่มีอยู่จริงทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วย 1) พื้นที่สวน สาธารณะ/สวนหย่อมที่ได้มีดําเนินการอยู่แล้วตาม “โปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของ กทม.” และ 2) พื้นที่อื่นๆ ตามนิยามที่มิใช้พื้นที่สวนฯ 3.การจัดทําข้อมูลไม่ได้มุ่งเน้นการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ในแต่ละปี แต่เน้นการมีอยู่ของพื้นที่จริงของ แต่ละสํานักงานเขต ดังนั้นอนาคตพื้นที่เหล่านี้สามารถลดลงได้ตามการนําไปใช้ประโยชน์ของเจ้าของพื้นที่ซึ่งหน่วยงานต้องสํารวจปรับปรุงข้อมูลให้มีความถูกต้องทันสมัย ทุกปี 4.ข้อแนะนําในการสํารวจและ

จํานวนครั้งในการส่งรายงาน 1 ครั้ง = 25% ของคะแนนที่กําหนด 2 ครั้ง = 50% ของคะแนนที่กําหนด 3 ครั้ง = 75% ของคะแนนที่กําหนด 4 ครั้ง = 100% ของคะแนนที่กําหนด

ครั้งในการส่งรายงานหมายถึง การส่งข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร (สสล.01-1) ในเดือนธ.ค. มี.ค.มิ.ย. และก.ย. ของปีที่ตรวจประเมิน ส่งหลังเดือนที่กําหนดถือว่าไม่ส่งข้อมูล *********************************** การตัดคะแนน 1.ส่งรายงานไม่ตรงตามเวลาที่กําหนด 2.ข้อมูลขาดความสมบูรณ์ ครบถ้วน 3.ไม่จัดทําแผนที่ประกอบ ทั้งนี้การตัดคะแนนคิดเป็นข้อละ 2% จากคะแนนที่ได้รับ * ข้อมูลที่ใช้ประกอบการประเมินทั้งหมดให้ดําเนินการจัดทําให้แล้วเสร็จภายในสิ้นกันยายนของปีที่ตรวจประเมิน

Page 19: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

������������ ����� ������� 20/04/55

4

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.5 การเพิ่มพื้นที่สีเขียว (ตัวชี้วัดบูรณาการ)

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ ตรวจสอบข้อมูลในพื้นที่เขตให ้เกิดความสะดวก รวดเร็วและครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น ดําเนินการโดย 4.1 ตรวจสอบพื้นที่โดยใช้แผนที่

ภาพถ่ายทางอากาศที่มีอยู่ใน “โปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของ กทม.” ในเบื้องต้น 4.2 ดําเนินการตรวจสอบพื้นที่

ภาคสนาม 4.3 จัดทํารายละเอียดข้อมูลและ

บันทึกที่ตั้งในแผนที่ส่งสํานักงานสวนสาธารณะต่อไป วิธีการคํานวณ กรณีสํานักงานเขต 1.นับจํานวนครั้งที่สํานักงานเขตจัดส่งรายงานพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรงุเทพ- มหานคร ให้กับสํานักสิ่งแวดล้อม 2.ส่งแผนที่แสดงตําแหน่งแปลงพื้นที่สีเขียวฯ ที่มีอยู่ในพื้นที่เขต

Page 20: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

������������ ����� ������� 20/04/55

5

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.5 การเพิ่มพื้นที่สีเขียว (ตัวชี้วัดบูรณาการ)

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ ทั้งหมด โดยส่งแผนที่ 1 ครั้ง ภายในสิ้นเดือนกันยายนของปีที่ทําการประเมิน กรณีสํานักสิ่งแวดล้อม 1.จัดทํารายงานภาพรวมพื้นที่ สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร (สสล.01-1) ตามกําหนดเวลาแจ้งหัวหน้าหน่วยงานเพื่อทราบ 2.ติดตาม และรวบรวมแผนที่ 50 สํานักงานเขต แจ้งหัวหน้าหน่วยงานเพื่อทราบ ภายในสิ้นเดือนกันยายนของปีที่ประเมิน

Page 21: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

������������ ����� ������� 20/04/55

6

ใช้แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศจาก “โปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของ กทม.”ตัวอย่าง เช่น พื้นที่เขตคลองสาน

Page 22: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

������������ ����� ������� 20/04/55

7

ใช้แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศจาก “โปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของ กทม.”ตัวอย่าง เช่น พื้นที่เขตหนองจอก

Page 23: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นมหานครแห่งสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3.5 การเพิ่มพื้นที่สีเขียว (ตัวชี้วัดบูรณาการ)

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ สนับสนุนกระบวนการ จัดหาพื้นที่ดินเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่สวนสาธารณะ

6.พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น/1 (สวนสาธารณะ/สวนหย่อม)

นิยาม 1.พื้นที่สีเขียว หมายถึง - พื้นที่ใด ๆ ในแต่ละพื้นที่เขตที่ ไม่เคยถูกพัฒนาเป็นสวนหย่อม/สวนสาธารณะ (ตามนิยาม 7 ประเภท ของสํานักงานสวนสาธารณะ สสล.) มาก่อน ทั้งนี้อาจเป็นพื้นที่ว่างเปล่า/เกาะกลางถนน/ริมทาง/ริมคลอง/ใต้ทางด่วน/กําแพง/ผนังตึก/รั้ว ฯลฯ) ซึ่ง สนข./สสณ. สสล.พัฒนาเป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ทั้ง 7 ประเภท -การพัฒนาให้เป็นพื้นที่สีเขียวต้องเป็นการจัดพื้นที่ที่มีพันธุ์ไม้ปกคลุมในลักษณะพื้นที่มีขนาดตั้งแต่ > 2 ตร.ม. ขึ้นไป

ร้อยละ -สสณ.สสล. -สนข.

>1,250 ไร่/2 (ทั้งพื้นที่ กทม.)

1 แหล่งข้อมูลประกอบการตรวจประเมิน ใช้ข้อมูลจาก “โปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพ มหานคร” 1.1 กรณีสํานักงานเขต ข้อมูลพื้นที่ สีเขียวของแต่ละเขตที่ปรากฏใน “โปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร” (เริ่มตั้งสํานักงานเขตถึงพ.ศ.2554) ประกอบด้วย สวนสาธารณะ/สวนหย่อม 3 ประเภท คือ

1.1 สวนสาธารณะ/สวนหย่อมที่ สนข. รับผิดชอบดําเนินการ

1.2 สวนสาธารณะ/สวนหย่อมที่ อยู่ในการดูแลรับผิดชอบของ หน่วยราชการอื่น (ระบ)ุ

1.3 สวนสาธารณะ/สวนหย่อม อื่น ๆ ที่อยู่นอกเหนือจากข้อ 1)

Page 24: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

โดยเน้นการปลูกไม้ถาวรเท่านั้น อาจดําเนินการดงัต่อไปนี้ 1) ปลูกพันธุ์ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม 2) จัดทําเป็นพื้นที่สวนหย่อม/สวนสาธารณะ 3) จัดทําเป็นสวนตามแนวพื้นดินหรือพื้นที่สีเขียวขึ้นตามแนวดิ่ง จัดทําเป็นสวนแนวตั้ง(แบบถาวร) เช่นปลูกตามแนวกําแพง/รั้ว/ผนังอาคาร/ตามสิ่งก่อสร้างอาคารสะพานลอด ฯลฯ 4) จัดทําเป็นสวนป่า หมายถึง การปลูกต้นไม้ในลักษณะเป็นพื้นที่ โดยมีทั้งไม้ระดับสูง กลาง ระยะปลูกระหว่างต้นเท่ากับ 4 x 4 เมตร ให้คิดเฉลี่ย 100 ต้นเป็นพื้นที่ 1 ไร่ 5) การปลูกไม้ยืนต้นใน

และ 2) เช่น ที่อยู่ในความรับผิดชอบของเอกชน วัด หมู่บ้านจัดสรร ฯลฯ

การประเมินผลจะประเมินจากความถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน เป็นปัจจุบันของข้อมูลดังกล่าว ทั้งในส่วนที่เป็นการแสดงจุดที่ตั้งสวนรายละเอียดประกอบ และภาพถ่ายสวนฯ 1.2 กรณีสํานักงานสวนสาธารณะ สสล.

1.2.1 รายงานสรุปพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นรายเขต และของกรุงเทพมหานครในภาพรวม โดยใช้ข้อมูลจาก“โปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร” 1.2.2 ข้อมูลพื้นที่สีเขียวที่ สสณ.สสล.ดําเนินการตามปรากฏใน “โปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร” การประเมินผลจะประเมินจากความถูกต้อง สมบูรณ์

Page 25: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

ลักษณะเนื่องเป็นแนวยาว เช่นปลูกตามริมถนน ริมคลอง ริมทางเท้า เป็นต้น คิดพื้นที่โดยนําความกว้างของทรงพุ่มคูณความยาวของระยะทางที่ปลูก - การเพิ่มพื้นที่สีเขียวสามารถดําเนินการได้หลายลักษณะ กล่าวคือ 1.สํานักงานเขตเอง ทั้งที่ใช้และไม่ใช้งบประมาณ 2.สนับสนุนหน่วยราชการอื่นๆ/บริษัท ห้างร้าน เอกชน หรือประชาชน ฯลฯ ให้เป็นผู้ดําเนินการ 3.รวบรวมพื้นที่ซึ่งหน่วยงานอื่น บริษัท ห้างร้าน เอกชน วัด หมู่บ้านจัดสรร ฯลฯ ได้มีการดําเนินการจัดทําเป็นพื้นที่สวนตามนิยามของ

ครบถ้วน เป็นปัจจุบันของข้อมูลดังกล่าว ทั้งในส่วนที่เป็นการแสดงจุด ที่ตั้งสวนและรายละเอียดประกอบ และภาพถ่ายสวนฯ

1.2.3 ข้อมูลพื้นที่สีเขียวภาพรวม กทม.ตามปรากฏใน “โปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร”

การประเมินผลจะประเมินจากความถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบันของข้อมูลรายเขต (ข้อมูลพื้นที่สีเขียวของแต่ละเขต) รวมกับข้อมูลของ สสณ.สสล.(ข้อ 1.2.2) ทั้งในส่วนที่เป็นการแสดงจุดที่ตั้งสวน รายละเอียดประกอบและภาพถ่ายสวนฯ ********************************* -ข้อมูลที่จะนํามาใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ตรวจสอบจากข้อมูลจาก

Page 26: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

สวนสาธารณะ 7 ประเภท ไว้แล้ว - การจัดทําทะเบียนพื้นที่สวนแบ่งเป็น 4 ประเภท คือ1.สวนซึ่งสํานักงานเขตดําเนินการเอง 2.สวนของสํานักงานสวนสาธารณะ 3.สวนซึ่งดําเนินการโดยหน่วยงานอื่น 4.อื่น ๆ เช่น หมู่บ้านจัดสรร วัด บริษัท/ห้างร้าน ภาคเอกชน ประชาชน ฯลฯ

วิธีการคํานวณ A =( B X 100)/C A = ร้อยละของพื้นที่สีเขียวที่สํานักงานเขตดําเนินการได้เทียบกับเป้าหมายรายเขต B = พื้นที่สวนสาธารณะ/

โปรแกรมฯ ณ 30 กันยายน ของปีที่ตรวจประเมิน ********************************* /2 เป้าหมายพื้นที่สีเขียวรายเขต กําหนดจากการพิจารณาจากศักยภาพของแต่ละ สนข.ในปี 2555 ในการจัดหาพื้นที่สีเขียว 3 ประเภท ซึ่งแต่ละ สนข.ได้ ตกลงร่วมกับ สสณ.สสล. ไว้ในช่วงต้นปีงบประมาณ พ.ศ.2555 เกณฑ์การให้คะแนน ตามเป้าหมาย = 10 คะแนน ต่ํากว่าเป้าหมาย 80-99.99% = 8 คะแนน ต่ํากว่าเป้าหมาย 60-79.99% = 6 คะแนน ต่ํากว่าเป้าหมาย 40-59.99% = 4 คะแนน ต่ํากว่าเป้าหมาย < 39.99 = 2 คะแนน เพิ่มพื้นที่ไม่ได้เลย = 0 คะแนนของคะแนนที่กําหนด

Page 27: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

������������ ����� ������� 20/04/55

2

กลยุทธ์หลัก ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ สวนหย่อมที่ทําได้รายเขต

ในปี 2555 C = พื้นที่สีเขียวเป้าหมายรายเขตที่กําหนดไว้ร่วมกันระหว่าง

สนข.กับ สสณ. สสล.

การหักคะแนน กรณีสํานักงานเขต หากไม่มีการบันทึกที่ตั้งสวนฯ บนแผนที่รายละเอียดประกอบสวน และภาพถ่าย สวนฯ ในโปรแกรมฯ หักข้อละ 5 % ของคะแนนที่ได้รับ กรณีสํานักงานสวนสาธารณะ หากไม่มีการบันทึกที่ตั้งสวนฯ บนแผนที่ รายละเอียดประกอบสวน และภาพถ่าย สวนฯ ในโปรแกรมฯ ตามข้อ 1.2.3 หัก ข้อละ 5 % ของคะแนนที่ได้รับ

Page 28: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองแห่งคุณภาพชีวิตที่ดีและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4.1 การสร้างเสริมความเข้มแข็งของครอบครัว สังคม และสวัสดิการสังคมสงเคราะห์

กลยุทธ ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ ส่งเสริมและพัฒนา ผู้นําชุมชนและประชาชนรวมทั้งภาคีด้านการพัฒนาชุมชน

7. - ร้อยละของกลุ่ม เป้าหมายที่ได้เข้า

ร่วมกิจกรรม (1) - ร้อยละของผู้เข้าร่วม กิจกรรมมีความรู้ที่ ได้จากการร่วม กิจกรรมเพิ่มขึ้นหรือ

ถ่ายทอดได ้(2)

นิยาม กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง บุคคล หรือกลุ่ม หรือชุมชนที่ เข้าร่วมกิจกรรม

บุคคล คือ ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม กลุ่ม คือ กลุ่มคนที่รวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงค์

ร่วมกัน เพื่อดําเนินกิจกรรมหนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ในพื้นที่เขต

ชุมชน คือ ชุมชนในพื้นที่เขตที่จัดตั้งขึ้นตามระเบียบกรุงเทพมหานคร

กิจกรรม หมายถึง กิจกรรม/โครงการที่กรุงเทพ- มหานครเป็นผู้ดําเนินการ วิธีการคํานวณ (1) จํานวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม x 100 จํานวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด (2) จํานวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมที่มีคะแนน การ ทําแบบทดสอบเพิ่มขึ้นหลงัจากเข้ารว่มกิจกรรม x 100 จํานวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม

ร้อยละ สพส. สนข.

ร้อยละ 70

อย่างน้อย ร้อยละ 30

Page 29: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองแห่งคุณภาพชีวิตที่ดีและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4.1 การสร้างเสริมความเข้มแข็งของครอบครัว สังคม และสวัสดิการสังคมสงเคราะห์

กลยุทธ ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ ส่งเสริมระบบและการจัดบริการสวัสดิการและสังคมสงเคราะห์เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส

8. ร้อยละของผู้ได้รับเบี้ย ยังชีพผู้สูงอายุที่บันทึกลง ในระบบ

นิยาม บันทึกลงในระบบ หมายถึง หน่วยงานรวบรวมและบันทึกข้อมูลตามแบบฟอร์มการลงทะเบียนรับเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุรายเขตลงในระบบโปรแกรม วิธีการคํานวณ จํานวนผู้สูงอายุที่ลงทะเบียนและได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และถูกบันทึกข้อมูลตามแบบฟอร์มการลงทะเบียนรับเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุรายเขตลงในระบบโปรแกรมคูณ 100 หารด้วยจํานวนผู้สูงอายุที่ลงทะเบียนและได้รับเบี้ยยังชีพทั้งหมดจนถึงปีงบประมาณ 2554

ร้อยละ สพส. สนข.

ร้อยละ 100

Page 30: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองแห่งคุณภาพชีวิตที่ดีและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4.2 การพัฒนาด้านกีฬาและนันทนาการ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของสถานบริการด้านการกีฬาและนันทนาการ

9. ร้อยละของลานกีฬากรุงเทพ มหานครได้รับการรับรอง คุณภาพและมาตรฐานตาม มาตรฐานกองการกีฬา

คํานิยาม ลานกีฬากรุงเทพมหานคร หมายถึง สถานที่ที่กรุงเทพ- มหานครจัดขึ้นให้ใช้เป็นสถานที่เล่นกีฬาและออกกําลังกายของประชาชนและได้ขึ้นทะเบียนเป็นลานกีฬาของกรุงเทพ-มหานคร มาตรฐานลานกีฬากรุงเทพมหานคร หมายถึง เกณฑ์กําหนดคุณสมบัติขั้นต่ําของลานกีฬาที่กองการกีฬากําหนดเฉพาะด้านการบริหารจัดการ, ด้านการจัดกิจกรรมและผลสัมฤทธิ ์และด้านความร่วมมือ/สนับสนุนต่าง ๆ ในการพัฒนาลานกีฬา ตามประกาศสํานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว เรื่อง ประกาศกําหนดเกณฑ์มาตรฐานลานกีฬากรุงเทพ มหานคร ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2552 วิธีการคํานวณ จํานวนลานกีฬากรุงเทพมหานครของสํานักงานเขตได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐานด้านการบริหารจัดการฯ คูณ 100 หารดว้ยจํานวนลานกีฬากรุงเทพมหานครของแต่ละสํานักงานเขตทั้งหมด (ระดับเขต) ส่วนระดับรวม หารด้วยจํานวนลานกีฬาของกรุงเทพมหานครทั้งหมด (ระดับ กทม.) ตามมาตรฐานลานกีฬาที่แนบ

ร้อยละ สวท. สนข.

ร้อยละ 10

Page 31: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองแห่งคุณภาพชีวิตที่ดีและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4.3 การพัฒนาสุขภาพและสร้างสังคมแห่งสุขภาวะ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย

10. ร้อยละของสถานประกอบการ อาหารที่ได้รับการตรวจ สุขลักษณะผ่านเกณฑ์มาตรฐาน อาหารปลอดภัย

นิยาม 1.สถานประกอบการอาหาร คือ สถานที่จําหน่ายอาหารแผงลอย ตลาด ซุปเปอร์มาร์เก็ตและมินิมาร์ท ในพื้นที่ 50 เขต 2.เกณฑ์มาตรฐาน คือ เกณฑ์การตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหารแต่ละประเภทเพื่อให้ได้รับมอบป้ายรับรองอาหารปลอดภัย ดังนี ้ (1) ได้รับอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข (2) ผ่านเกณฑ์ด้านสุขลักษณะสถานประกอบการอาหารประเภทต่างๆ (3) ตรวจคุณภาพอาหารด้วยชุดตรวจภาคสนาม (ทางเคมี จุลชีววิทยาแล้วแต่กรณี) อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย (4) ผู้ประกอบการได้ผ่านการอบรมด้านการสุขา- ภิบาลอาหารตามหลักสูตรที่กรุงเทพมหานครกําหนด

ร้อยละ สนอ. สนข. ร้อยละ 40 เป็นตัวชี้วัดที่ปรับแก้ไขใหม่แทนตัวชี้วัดเดิม (ร้อยละของ ต.ย.อาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบ การปนเปื้อน เชื้อโรคหรือสารพิษ)

Page 32: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

วิธีการคํานวณ คือ จํานวนสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์สุขลักษณะที่ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย คูณด้วย 100 หารด้วย จํานวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต สูตรคํานวณ จํานวนสถานประกอบการที่ผ่านเกณฑ์ สุขลักษณะที่ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย X 100 หาร จํานวนสถานประกอบการ อาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต

Page 33: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

พัฒนาศักยภาพชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันและควบคุมโรค

11. ร้อยละของชุมชนที่มีกิจกรรม การป้องกันโรคไข้เลือดออก ครบ 4 กิจกรรม

นิยาม - กิจกรรมป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ได้แก่ 1. มีการสํารวจและทําลายแหลง่เพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจําทุกเดือน 2. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าว เอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค 4. ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว โดยใช้มาตรการเร่งด่วนสําหรับควบคุมการระบาด คือ (1) ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงลายกัด

ร้อยละ สนอ. สนข.

ร้อยละ 80

Page 34: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

(2) ขอให้ประชาชนให้ความร่วมมือกําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมดไป (3) การกําจัดลูกน้ํายุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านควรดําเนินการอย่างน้อย 100 เมตร (4) ประเมินค่าดัชนีลูกน้ํายุงลายในพื้นที่ เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ํา (ค่า HI < 10 ) (5) การพ่นสารเคมีกําจัดยุงตัวเต็มวัย ให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน หากมีชุมชนที่อยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนใกล้เคียงด้วย - ชุมชน ได้แก่ ชุมชนที่จัดตัง้ขึ้นตามระเบียบของกรุงเทพมหานครรายเขต วิธีการคํานวณ จํานวนชุมชนที่มีกิจกรรมการป้องกัน โรคไข้เลือดออก ครบ 4 กิจกรรม x 100จํานวนชุมชนทั้งหมดในพื้นที่เขต

Page 35: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

เร่งรัดการส่งเสริมสุขภาพ กายของเด็กและเยาวชน ในโรงเรียนทั้งในและ นอกสังกัดกรุงเทพ- มหานคร

12. ร้อยละของโรงเรียนใน พื้นที่กรุงเทพมหานคร ดําเนินมาตรการป้องกัน โรคอ้วนและภาวะทุพโภชนา

นิยาม - มาตรการป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาในโรงเรียนมีดังนี ้ 1. ลด/งดจําหน่ายน้ําอัดลม และให้ผู้ค้าลดน้ําตาลในเครื่องดื่มที่ขายในโรงเรียนเหลือไม่เกินร้อยละ 5 2. จัดหาน้ําสะอาดให้ดื่มฟรี 3. ลด/งดจําหน่ายขนมกรุบกรอบ 4. จัดกิจกรรมทางกายเพิ่มเติมแก่เด็กอย่างน้อย วันละ 12 นาที 5. จัดสิ่งแวดลอ้มให้เหมาะสม 6. จัดอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ โดยมีผักทุกมื้อและมีผลไม้เป็นของว่าง สัปดาห์ละ 3 วัน 7. ห้ามโฆษณาอาหาร ขนม และเครื่องดื่มที่ไม่มี ประโยชน์ในโรงเรียน ดูแลอาหารรอบโรงเรียน ไม่ให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 8. เฝ้าระวังและประเมินภาวะโภชนาการอย่าง สม่ําเสมอ โดยการชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง ปีละ 2 ครั้งประมาณเดือน พ.ค – ก.ค. และพ.ย. –ม.ค.

ร้อยละ สนอ. สนข.

ร้อยละ 80

Page 36: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

9. ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบการและ เด็กสุขภาพตามเกณฑ์ที่กําหนด คือนักเรียนมี น้ําหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์สมส่วน (Median) ที่ไม่อ้วน/ท้วม/เริ่มอ้วน/ค่อนข้างผอม/ผอม** ตามเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2543 - โรงเรียนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร หมายถึง (1) โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จํานวน 435 แห่ง (2) โรงเรียนนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร(นําร่อง) ได้แก่ - โรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ ศึกษาขั้นพื้นฐานที่ดําเนินมาตรการป้องกัน โรคอ้วนและภาวะทุพโภชนา จํานวน 25 แห่ง - โรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ เอกชนที่ดําเนินมาตรการป้องกันโรคอ้วนและ ทุพโภชนา จํานวน 20 แหง่

Page 37: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตวัชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

วิธีการคํานวณ (1) จํานวนโรงเรียนในพื้นที่ กทม.ที่ดําเนินมาตรการ ป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการ x 100 480 (2) จํานวนเด็กและเยาวชนในโรงเรียนพื้นที่ กทม.มีสุขภาพตามเกณฑ์ที่กําหนด x 100 จํานวนเด็กและเยาวชนในโรงเรียนพื้นที่ กทม. หมายเหตุ ให้สํานักงานเขตส่งรายงานผลให้สํานักอนามัย ดังนี้ (1) ส่งรายงานผลการเฝ้าระวังและประเมินภาวะ โภชนาการ ปีละ 2 ครั้ง (สนอ. จัดเก็บ) (2) รายงานการจัดกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะ โภชนาการเกินและทุพโภชนาแก่เด็กและ เยาวชนในสถานศึกษา เป็นรายไตรมาส ปลีะ 4 ครั้ง (3) แผนการสร้างเครือข่ายระหว่างสํานักงานเขต กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่

Page 38: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองแห่งคุณภาพชีวิตที่ดีและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4.4 การพัฒนาความปลอดภัยและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของเมือง

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

เฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยง ระดับผลผลิต ต่อการเกิดอาชญากรรม จํานวนครั้งของการตรวจพื้นที่เสี่ยงภัยต่อ 1. พื้นที่เสี่ยง หมายถึง สะพานลอยคนเดิมข้าม ครั้ง อย่างน้อย

การเกิดอาชญากรรม ป้ายรถโดยสารประจําทาง สวนหย่อมสาธารณะ 2 ครั้ง/วัน/จุด

ตึกร้าง บ้านร้าง ที่รกร้าง ใต้สะพาน หรือ

บริเวณอื่นใดที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม

และสํานักงานเขตกําหนดให้เป็นจุดที่ต้องจัด

เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจ

ระดับผลลัพธ์ 2. ประชาชน หมายถึง ผู้ที่อาศัยหรือสัญจรใน

13. ประชาชนมีความพึงพอใจในระดับมาก บริเวณพื้นที่เสี่ยง ร้อยละ 80

ต่อการตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิด 3. ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจหรือ

อาชญากรรม ความรู้สึกเชิงบวกที่ประชาชนมีในระดับมาก

ต่อการปฏิบัติงานตรวจพื้นที่เสี่ยงการเกิด

อาชญากรรมของเจ้าหน้าที่เทศกิจ

Page 39: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

ควบคุมความ ระดับผลผลิต

เป็นระเบียบเรียบร้อย - การจัดให้มีจุดกวดขันผู้ทิ้งสิ่งใดๆ 1. จุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับ หมายถึง สถานที่ที่ จุด อย่างน้อย 1 จุด

ในพื้นที่สาธารณะ สํานักงานเขตกําหนดให้เป็นจุดทิ้งจับ-ปรับ

- การจัดให้มีกิจกรรมรณรงค์ ซึ่งต้องมีเจ้าหน้าที่เทศกิจประจําอยู่ที่จุดพร้อม ครั้ง เดือนละ

ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่เขต อุปกรณ์ประชาสัมพันธ ์(ตามหนังสือที่ กท 1 ครั้ง

1403/3091 ลงวันที่ 2 ตุลาคม 2552 เรื่อง

ระดับผลลัพธ์ มาตรการทิ้งจับ-ปรับ

14. ประชาชนมีความพึงพอใจในระดับมาก 2. กิจกรรมรณรงค์ หมายถึง การรณรงค์ ร้อยละ 80

ต่อการมีจุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับในพื้นที่ ประชาสัมพันธ์ เพื่อไม่ให้มีการเท ทิ้ง สิ่งปฏิกูล

สาธารณะ มูลฝอย น้ําโสโครก หรือสิ่งอื่นใด ลงบนถนน

ทางน้ํา หรือที่สาธารณะ โดยการแจกแผ่นพับ/

ใบปลิว หรือใช้รถสายตรวจประชาสัมพันธ์

หรือวิธีอื่นใด ให้ประชาชนและผู้สัญจรทราบ

3. ประชาชน หมายถึง ผู้ที่อาศัยหรือสัญจร

บริเวณจุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับ

4. ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจหรือ

ความรู้สึกเชิงบวกที่ประชาชนมีในระดับมาก

ต่อการมีจุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับ

Page 40: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

������������ ����� ������� 20/04/55

2

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

ควบคุมความเป็น ระดับผลผลิต

ระเบียบเรียบร้อย (ต่อ) จํานวนครั้งของการตรวจพื้นที่กวดขันพิเศษ 1. จุดกวดขันพิเศษ หมายถึง พื้นที่ห้ามฝ่าฝืน ครั้ง อย่างน้อย

ตั้งวางจําหน่วยสินค้าโดยเด็ดขาดในบริเวณดังนี้ 2 ครั้ง/วัน/จุด

ผิวจราจร ป้ายรถโดยสาร สะพานลอยหรือ

ระดับผลลัพธ์ ทางขึ้นลงรถไฟฟ้า ทางขึ้นลงทางม้าลาย

15. ประชาชนที่ใช้ทางเท้าบริเวณจุดกวดขัน โดยรอบตู้โทรศัพท์สาธารณะ หากมีมากกว่า ร้อยละ 80

พิเศษมีความพึงพอใจต่อการตรวจ 1 บริเวณ เช่น มีทั้งผิวจราจรและป้ายรถโดยสาร

จุดกวดขันพิเศษ อยู่ด้วยกันให้นับเป็น 1 จุด

2. ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจหรือ

ความรู้สึกเชิงบวกที่ประชาชนที่ใช้ทางเท้า

บริเวณพื้นที่กวดขันพิเศษมีในระดับมากต่อ

การปฏิบัติงานตรวจพื้นที่กวดขันพิเศษของ

เจ้าหน้าที่เทศกิจ

Page 41: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

������������ ����� ������� 20/04/55

3

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ เฝ้าระวังและลดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม

16. - การสํารวจพื้นที่เสี่ยงภัยหรือ พื้นที่เสี่ยงอันตรายและจัดทํา แผนติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้า แสงสว่างเพื่อแก้ไขปัญหาใน พื้นที่เสี่ยงฯ - ร้อยละของความสําเร็จ ในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้า แสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัย หรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่ กําหนด

คํานิยาม พื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายหมายถึง ถนน ตรอก ซอย หรือพื้นที่/อาคารรกร้าง ว่างเปล่า ที่เสี่ยงหรือล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมการกระทําผิดกฎหมาย หรือเหตุการณ์ / การกระทําใดๆ ที่เป็นอันตรายต่อชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน ทั้งนี้ สํานักงานเขตจะต้องสํารวจพื้นที่เสี่ยงภัยฯ ในพื้นที่รับผิดชอบ ระบุสภาพปัญหาและจัดทําแผนดําเนินการติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง คํานิยาม ความสําเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้า แสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตาม แผนที่กําหนด หมายถึง ความสําเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง หรือที่ได้แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการฯ ในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กําหนด

แผนการติดตั้ง / ซ่อมแซมไฟฟ้า แสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตราย

ร้อยละ

สนย. สนข.

แผนการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้า แสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยง อันตรายที่มีข้อมูลครบถ้วนและจัดส่งภายในเวลาที่กําหนด ร้อยละ 80

Page 42: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมาย

กลาง หมายเหตุ

วิธีคํานวณ ความสําเร็จในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้า แสงสว่างฯ เท่ากับ จํานวนดวงไฟที่มีการติดตั้ง/ซ่อมแซมหรือที่ได้แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการฯ ในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตรายตามแผนที่กําหนด คูณด้วย 100 หารด้วยจํานวนดวงไฟทั้งหมดที่อยู่ในแผนที่ต้องดําเนินการติดตั้ง/ซ่อมแซมในพื้นที่เสี่ยงภัยฯ

จํานวนดวงไฟที่มีการติดตั้ง/ซ่อมแซม/แจ้งหน่วยงาน X 100

จํานวนดวงไฟทั้งหมดที่อยู่ในแผนที่ต้องดําเนินการฯ

เกณฑ์การให้ คะแนนผลการดําเนิน งานติดตั้ง/ซ่อมแซม ไฟฟ้าแสงสว่างฯตามข้อ ๓ -ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ๕ คะแนน -ร้อยละ ๗๕-๗๙ ๔ คะแนน -ร้อยละ ๗๐-๗๔ ๓ คะแนน -ต่ํากว่าร้อยละ ๗๐ ๒ คะแนน

Page 43: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ เกณฑ์การให้คะแนน ประเมินจาก ๓ องค์ประกอบ

ได้แก่ ๑. สํารวจและจัดทําแผนชัดเจน (ระบุสถานที่/สภาพปัญหา/จํานวนดวงไฟ) ตามแบบรายงาน ๓ คะแนน ๒. รายงานครบถ้วนสมบูรณ์ พร้อมปัญหา/อุปสรรค (ถ้ามี) ไม่เกินวันที่ ๗ ของเดือน ๒ เดือน ๓. ผลการดําเนินงานที่ชัดเจน (จํานวนดวงไฟที่ติดตั้ง/ซ่อมแซมได้หรือแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการ สามารถระบุร้อยละของความสําเร็จ) ๕ คะแนน ทั้งนี้ แบบรายงานที่ใช้มี ๒ แบบ คือ แบบรายงานการติดตั้งและแบบรายงานการซ่อมแซม ให้เริ่มรายงาน ตั้งแต่เดือนตุลาคม ๒๕๕๔ ถึงกันยายน ๒๕๕๕ การรายงานต้องครบถ้วน สมบูรณ์ สม่ําเสมอทุกเดือน (สํานักงานเขตที่ดําเนินการไปก่อนแล้วสามารถรายงานย้อนหลังได้ตามเดือนที่ระบุในแบบรายงาน แต่ต้องไม่นําผลงานของปีที่แล้วมารายงาน)

Page 44: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ เกณฑ์การหักคะแนน

๑. การจัดส่งแผน (วันที่สํานักการโยธา ได้รับเรื่อง) ๑.๑ เลยกําหนดการจัดสง่ (วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๕) หัก ๐.๕ คะแนน ๑.๒ จัดส่งแผนภายหลัง วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๕ หัก ๑ คะแนน ๑.๓ จัดส่งแผนภายหลัง วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๕ หัก ๑.๕ คะแนน ๒. การรายงานการติดตั้งซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างล่าช้าไม่เป็นไปตามเวลาที่กําหนด หัก ๑ คะแนน ๓. การรายงานที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กําหนด (เช่น ไม่ระบุผลงานการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้า แสงสว่างและร้อยละของความสําเร็จ) หัก ๑ คะแนน

Page 45: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

เพิ่มประสิทธิภาพ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

17. ป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ที่ได้รับการ ตรวจสอบและสั่งการให้แก้ไขกรณี ตรวจสอบพบผิดกฎหมาย

คํานิยาม ป้ายโฆษณาขนาดใหญ่หมายถึงป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ที่มีความสูงเกิน 15 เมตร ในพื้นที่ได้รับการตรวจสอบทุกเดือนและสั่งการให้แก้ไขกรณีตรวจสอบ พบผิดกฎหมาย หากเป็นกรณีที่ไม่สามารถแก้ไข เปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องได้ หรือเจ้าของป้ายมิได้ปฏิบัติตามคําสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่นที่กําหนดในพระราช-บัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ ต้องจัดทําแผนการรื้อถอนและดําเนินการให้มีการรื้อถอน วิธีคํานวณ ป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ที่ได้รับการตรวจสอบพบว่าผิดกฎหมายและสั่งการให้แก้ไข คูณด้วย 100 หารด้วยจํานวนป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ ที่ทําการตรวจสอบพบว่าผิดกฎหมาย จํานวนป้ายฯที่ได้รับการตรวจสอบพบว่าผิด กม. X 100 และสั่งการให้แก้ไข

จํานวนป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ที่ทําการตรวจสอบ พบว่าผิดกฎหมาย

ร้อยละ

สนย. สนข.

ร้อยละ 80 -

Page 46: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ เกณฑ์การหักคะแนน

๑. สํานักงานเขตจัดทําแผนการสํารวจและรายงานข้อมูลปัจจุบันของป้ายทั้งหมดโดยแสดงสถานะของป้ายทุกป้ายให้สํานักการโยธาทราบทุกวันที่ ๕ ของ เดือนทางระบบ Internet และหากมีการรื้อถอนให้รายงานผลการดําเนินการทันที ๕ คะแนน กรณีไม่ รายงานตามกําหนด หัก ๑ คะแนน ๒. สํานักงานเขตจัดทําแผนรื้อถอนป้ายที่ผิด กฎหมาย โดยแสดงรายละเอียดของป้ายที่พร้อม รื้อถอน รวมทั้งการดําเนินการกับป้ายที่พร้อมรื้อถอนรวมทั้งการดําเนินการกับป้ายที่ผิดกฎหมายแต่ยังไม่ถึงขั้นตอนการรื้อถอนโดยให้ส่งข้อมูลรายละเอียดให้สํานักการโยธาทราบทางระบบ Internet ๕ คะแนน

กรณีที่ไม่มีป้ายที่ผิดกฎหมาย จะได้คะแนน ในส่วนของข้อ (๒)

Page 47: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

4.7 ควบคุมความ เป็นระเบียบ เรียบร้อย

18. - สํารวจจํานวนตู้โทรศัพท์สาธารณะในพื้นที่เขตและจัดทําแผนดําเนินการรื้อถอน

คํานิยาม ตู้โทรศัพท์สาธารณะในพื้นที่เขต หมายถึง ตู้โทรศัพท์สาธารณะที่อยู่บนทางเท้า ริมถนน ตรอก ซอย ในพื้นที่เขต ที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ (ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่องหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการขออนุญาตติดตั้งตู้โทรศัพท์สาธารณะ ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2546) โดยต้องดําเนินการดังนี้ 1. สํารวจตู้โทรศัพท์สาธารณะในพื้นที่เขต

โดยรวบรวมและจัดทําข้อมูลตู้โทรศัพท์สาธารณะ (ระบุข้อมูลเจ้าของตู้ สถานที่ติดตั้ง และลักษณะตู้โทรศัพท์) โดยตู้โทรศัพท์ที่ไม่ถูกต้องจะต้องรื้อถอนแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ (ตามแบบฟอร์มการรายงานที่แนบ)

(1) ตู้โทรศัพท์สาธารณะที่ได้รับอนุญาตให้ติดตั้งตามประกาศกรุงเทพมหานครมีการติดป้ายโฆษณาบนตู้โทรศัพท์สาธารณะ ต้องดําเนินการรื้อเฉพาะป้าย

แผนการ รื้อถอน ตู้โทรศัพท์สาธารณะที่ไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์

สนย.

แผนการรื้อถอน ตู้โทรศัพท์ สาธารณะที่ไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด มีข้อมูลครบถ้วน และ ส่งภายในเวลา ที่กําหนด

เป็นตัวชี้วัดที่ปรับแก้ไขใหม่แทนตัวชี้วัดเดิม (ตัวชี้วัดคดีผู้กระทําผิด พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 รายใหม่)

******************การคํานวณค่าคะแนนความสําเร็จ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. การจัดทําข้อมูล

และแผนการรื้อถอน ตามแบบฟอร์มของสนย. และส่งภายในวันที่

25 ม.ค.2555 (ร้อยละ 30) หรือ

(3 คะแนน)

Page 48: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจา้ภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

(2) ตู้โทรศัพท์สาธารณะที่ได้รับอนุญาตให้ติดตั้ง เมื่อติดตั้งมีโฆษณาเป็นส่วนควบกับตู้ (โฆษณาอิเล็คทรอนิค) ต้องดําเนินการรื้อทั้งตู้

(3) ตู้โทรศัพท์ฯ ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ติดตั้ง มีโฆษณาหรือไม่ก็ตาม ต้องดําเนินการรื้อออกไป

2. จัดทําข้อมูลและแผนดําเนินการรื้อถอน

ส่งให้สํานักการโยธา ภายในวันที่ 9 ม.ค. 2555

การตัดคะแนน - ส่งข้อมูล/แผน/ รายงานไม่ตรงตาม เวลาที่กําหนด - ข้อมูลขาดความ สมบูรณ์ - ไม่กําหนดแผนที่จะ ดําเนินการรื้อถอน ทั้งนี้ ตัดคะแนนข้อละ 0.2 คะแนน และทุกเดือนที่ยังไม่มีการส่ง

Page 49: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

- ร้อยละความสําเร็จใน การรื้อถอนตู้โทรศัพท์ ที่ไม่ถูกต้องตามประกาศ กรุงเทพมหานคร ตาม แผนที่กําหนด (โดยต้องทําการตกลง กับ สนย.)

คํานิยาม ความสําเร็จในการรื้อถอนตู้โทรศัพท์ที่ไม่ถูกต้อง หมายถึง ความสําเร็จในการประสานบริษัทผู้ประกอบการตู้โทรศัพท์สาธารณะที่เกี่ยวข้อง ดําเนินรื้อถอนตู้โทรศัพท์สาธารณะที่ไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ตามแผนที่กําหนด วิธีคํานวณ จํานวนตู้โทรศัพท์ที่ไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ฯ ที่ถูกรื้อถอน คูณด้วย 100 หารด้วย จํานวนตู้โทรศัพท์ที่กําหนดไว้ในแผนของหน่วยงาน

ร้อยละ สนย. ตามแผน 3. ความสําเร็จในการรื้อถอนฯ สนย. จะเป็นผู้รวบรวมผลการดําเนิน การตามที่ สนข. รายงาน และให้คะแนนตาม ผลการรายงานทุกวันที่ 25 ของเดือน และความสําเร็จของการดําเนินการของตัวชี้วัดผลงานถึงวันที่

30 ก.ย.ของปีที่ตรวจประเมิน (ร้อยละ 70) หรือ (7 คะแนน) โดยประเมินจาก 2 องค์ประกอบ

1. การรายงานทุกวันที่ 15 และ 30 ของทุกเดือน (ร้อยละ 20)

2. ความสําเร็จในการดําเนินการของตัวชี้วัดผลงานถึงวันที่ 30ก.ย. ของปีที่ตรวจประเมินฯ (ร้อยละ 50)

Page 50: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด คํานิยามและวิธีคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

การคิดคะแนน องค์ประกอบที่ 1 หากไม่รายงานทุกวันที่ ๑5 และ ๓๐ ของทุกเดือน ตัดคะแนน ครั้งละ 0.2 คะแนน และทุกเดือนที่ยัง ไม่มีการส่ง องค์ประกอบที่ 2 คะแนนความสําเร็จกําหนดดังนี้ -ร้อยละ 100 ได้ 5 คะแนน -ร้อยละ 90 ขึ้นไปได้ 4 คะแนน -ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3 คะแนน -ต่ํากว่าร้อยละ 80 ได้ 2 คะแนน

Page 51: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย

19. การตรวจสอบให้มีระบบ และอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย ตามที่กฎหมายกําหนดของ อาคารเสี่ยงภัย

นิยาม - อาคารสาธารณะ หมายถึง อาคารที่ใช้ประโยชน์ในการชุมนมุได้โดยทั่วไป เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม หอสมุด โรงพยาบาล สถานศึกษา สนามกีฬา ห้างสรรพสินค้า สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีจอดรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น ซึ่งเป็นอาคารที่เสี่ยงภัยได้รบัการตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตามที่กฎหมายกําหนดจาก สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและสํานักงานเขต โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อาคารที่สร้างก่อนกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) และ อาคารที่สร้างภายหลังกฎกระทรวง (พ.ศ.2535) วธิกีารคํานวณ จํานวนอาคารเสี่ยงภัยที่ตรวจสอบมีระบบการป้องกันอัคคีภัยเป็นไปตามกฎหมายคูณ 100 หารดว้ยจํานวนอาคารเสี่ยงภัยที่ออกตรวจสอบทั้งหมด

ร้อยละ สปภ. สนข.

ร้อยละ 70

Page 52: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพ

หลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

สนับสนุนทรัพยากรในการจัดการด้านความปลอดภัย

20. การซักซ้อมการปฏิบัติการ ตามแผนป้องกันและบรรเทา เหตุอัคคีภัย สาธารณภัยและ การก่อการร้าย

นิยาม - การซักซ้อมการปฏิบัติตามแผนป้องกันและบรรเทาเหตุอัคคีภัย สาธารณภัย และการก่อการร้าย โดยการนํามาตรการในแผนมาซักซ้อมในพื้นที่ (เป็นการซักซ้อมตามแผนภายในสํานักงานเขตอย่างน้อย 1 ครั้ง)

ครั้ง สปภ. สนข.

2 ครั้ง/ปี

Page 53: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อเป็นต้นแบบด้านการบริหารมหานคร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5. 1 การพัฒนาระบบบริการประชาชน เพื่อมุ่งสู่ความเป็นองค์กรชั้นเลิศด้านบริการ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ ขยายช่องทางการบริการให้มีความหลากหลายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานบริการประชาชนสู่ความเป็นองค์กรชั้นเลิศด้านการบริการ (Best service Organization)

21. ผลคะแนนการจัดอันดับ มาตรฐานสํานักทะเบียน ท้องถิ่นเขตประจําปี

วิธีคํานวณ พิจารณาจากผลการตัดสินการจัดอันดับมาตรฐานสํานักทะเบียนท้องถิ่นประจําปีของคณะกรรมการ-จัดอับดับมาตรฐานสํานักทะเบียนท้องถิ่นของสํานักงานปกครองและทะเบียน

คะแนน สปท. สนข.

คะแนน >90 = 10 >85-90 = 9 >80-85 = 8 ตั้งแต่ 80 ลงมา ให้เป็นไปตามคะแนนที่ได้ เช่น ได้ 78 คะแนน = 7.8 เป็นต้น

เพิ่มรายรับสําหรับการพัฒนากรุงเทพมหานคร โดยพัฒนา ชอ่งทางในการรับชําระภาษี เพิ่มเติม พร้อมปรับปรุงกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่ม ความสามารถในการจัดหารายได้ค่าธรรมเนียมที่หลากหลาย

22. ร้อยละของการจัดเก็บภาษี ตามเป้าหมายที่กรุงเทพ มหานครประมาณการไว้

นิยาม - ยอดจัดเก็บหมายความว่ายอดที่ส่งใบแจ้งการประเมินให้ผู้รับประเมินแล้ว - การดําเนินการเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบํารุงท้องที่และภาษีป้ายที่สํานักงานเขตจัดเก็บได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เปรียบ เทียบกับเป้าหมายการจัดเก็บภาษีที่กรุงเทพมหานคร ประมาณการไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ.2553

ร้อยละ สนค.

Page 54: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ

วิธีการคํานวณ = ผลรวมของการจัดเก็บภาษี 3 ประเภท x 100 ผลรวมของเป้าหมายการจัดเก็บภาษี 3 ประเภท ที่กรุงเทพมหานครประมาณการไว ้เกณฑ์การให้คะแนน : ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/-ร้อยละ 10 ต่อ 1 1) ยอดจัดเก็บภายในเดือนมิถุนายน - ได้ร้อยละ 10 ของเป้าหมาย เท่ากับ 0 คะแนน - ได้ร้อยละ 20 ของเป้าหมาย เท่ากับ 1 คะแนน - ได้ร้อยละ 30 ของเป้าหมาย เท่ากับ 2 คะแนน - ได้ร้อยละ 40 ของเป้าหมาย เท่ากับ 3 คะแนน - ได้ร้อยละ 50 ของเป้าหมาย เท่ากับ 4 คะแนน 2) ยอดจัดเก็บภายในเดือนกันยายน - ได้ร้อยละ 45 ของเป้าหมาย เท่ากับ 0 คะแนน - ได้ร้อยละ 55 ของเป้าหมาย เท่ากับ 1 คะแนน - ได้ร้อยละ 65 ของเป้าหมาย เท่ากับ 2 คะแนน - ได้ร้อยละ 75 ของเป้าหมาย เท่ากับ 3 คะแนน - ได้ร้อยละ 85 ของเป้าหมาย เท่ากับ 4 คะแนน - ไดร้้อยละ 95 ของเป้าหมาย เท่ากับ 5 คะแนน - ได้ตั้งแต่ร้อยละ100 ของเป้าหมาย เท่ากับ 6 คะแนน

Page 55: ˘ˇˆ ˙ ˇ ˝˛˙˚ ˝˜ !. . 2555 % 27 '˜ 2555dailyplans.bangkok.go.th/dailyplans/dailyplans/download/KPI_KHET2555.pdf · ˝ *'$% / '˝ (o-net) , ˙ ˙ / ˛ +˜ * ˚˘ ˙ $ ˆ

ยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อเป็นต้นแบบด้านการบริหารมหานคร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5. 7 การเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับการบริหารและพัฒนามหานคร

กลยุทธ์ ตัวชี้วัด นิยามและวิธีการคํานวณ หน่วยนับ เจ้าภาพหลัก เป้าหมายกลาง หมายเหตุ พัฒนาระบบเทคโนโลย-ีสารสนเทศในการปฏิบัติราชการเพื่อมุ่งสู่การเป็น หน่วยราชการอีเล็กทรอนิกส์

23. การปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ ของหน่วยงานทุก 15 วัน

นิยาม หน่วยงานต้องปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซด์ทุก 15 วัน หมายถึง หน่วยงานต้องปรับปรุงข้อมูล เช่น - ความเป็นปัจจุบันของผู้บริหาร - ผลการดําเนินงานภาพรวมหรือกิจกรรม/โครงการที่ได้มีการดําเนินการ เพื่อให้ประชาชนหรือผู้เข้าชมเว็บไซด์ได้รับทราบ - ข่าวบริการ/ประชาสัมพันธ์ ถ้ามี - ฯลฯ ทั้งนี้ สยป. จะตรวจสอบการปรับปรุงจากส่วนกลางและจะสรุปเพื่อนําไปประกอบการตรวจผลการปฏิบัติงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

ครั้ง สยป.

2 ครั้ง/เดือน