22
สามัคคีเภทคาฉัน ตอน มาณวก ฉันท์ ๘

งานนำเสนอ J

  • Upload
    -

  • View
    99

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

สามัคคเีภทค าฉัน ตอน มาณวก ฉันท์ ๘

จัดท าโดย

นางสาวอนุสรา ทองประเดิม เลขที่ ๑๖ ม.๖/๒

นางสาวชุตมิา ทองนอก เลขที่ ๑๗ ม.๖/๒

ล่วงลุประมาณ กาลอนุกรม

หนึ่ง ณ นิยม ท่านทวิชงค์

เมื่อจะประสิทธิ์ วิทยะยง

เชิญวรองค์ เอกกุมาร

ถอดค าประพันธ์ เวลาผ่านไปตามล าดับ เมื่อถึงคราวที่จะสอนวิชาก็จะเชิญพระกุมารพระองค์หนึ่ง

เธอจรตาม พราหมณไปโดยเฉพาะใน ห้องรหุฐานจึ่งพฤฒิถาม ความพิสดารขอ ธ ประทาน โทษะและไข

ถอดค าประพันธ์

พระกุมารกต็ามพราหมณ์เข้าไปในห้องเฉพาะ พราหมณจ์ึงถามเนื้อความแปลก ๆ ว่าช่วยตอบด้วย

อย่าติและหลู่ ครูจะเฉลยเธอน่ะเสวย ภัตกะอะไรในทนินี่ ดี ฤ ไฉนพอหฤทัย ยิ่งละกระมัง

ถอดค าประพันธ์ อย่าหาว่าต าหนหิรือลบหลู่ ครูขอถามว่าวันนี้พระกุมารเสวยพระกระยาหารอะไร รสชาติดีหรือไม่ พอพระทัยกลับออกมายังมากหรือไม่

ราช ธ ก็เล่า เค้า ณ ประโยคตนบริโภค แล้วขณะหลังวาทะประเทือง เรื่องสิประทังอาคมยัง สิกขสภา

ถอดค าประพันธ์

พระกุมารกเ็ล่าเรือ่งเกี่ยวกับพระกระยาหารทีเ่สวย หลังจากนั้นก็สนทนาเรื่องทั่วไป แล้วกเ็สด็จห้องเรียน

เสร็จอนุศาสน์ ราชอุรส

ลิจฉวิหมด ต่าง ธ ก็มา

ถามนยมาน ท่านพฤฒิอา

จารยปรา รภกระไร

ถอดค าประพันธ์

เมื่อเสร็จสิน้การสอนพระกุมารก็ตอบตามความจริง แตเ่หล่ากุมารต่างไมเ่ชื่อ เพราะคดิแล้วไม่สมเหตุสมผล

เธอก็แถลง แจ้งระบุมวล

ความเฉพาะล้วน จริงหฤทัย

ต่าง บ มิเชื่อ เมื่อตริไฉน

จึ่งผลใน เหตุ บ มสิม

ถอดค าประพันธ์

ต่างขุ่นเคืองใจด้วยเรื่องไร้สาระเช่นเดยีวกับพระกุมารพระองค์ก่อน และเกิดความแตกแยกไม่คบกันอย่างกลมเกลียวเหมือนเดิม

ขุ่นมนเคือง เรื่องนฤสารเช่นกะกุมาร ก่อนก็ระเลิกสละแยก แตกคณะกลเกลียว บ นิยม คบดุจเดิม

ถอดค าประพันธ์ ราชกุมารลิจฉวีทั้งหมดก็มาถามเรื่องราวที่มีมาว่าท่านอาจารย์ได้พูดเรือ่งอะไรบ้าง ต่างขุ่นเคืองใจด้วยเรื่องไร้สาระเช่นเดียวกับพระกุมารพระองค์ก่อน และเกิดความแตกแยกไม่คบกันอย่างกลมเกลียวเหมือนเดิม

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

การสรรค า เป็นการเลือกใช้ค าที่ส่ือความคิดและอารมณ์ได้อย่างงดงาม ดังนี้

๑. การเลือกใช้ค าได้ถูกต้อง ตรงตามความหมายที่ต้องการ เช่น

ล่วงลุประมาณ กาลอนุกรม

หนึ่ง ณ นิยม ท่านทวิชงค์

เมื่อจะประสิทธิ์ วิทยะยงเชิญวรองค์ เอกกุมาร

๒. การเลือกใช้เลือกค า โดยค านึงถึงเสียง - การใช้ค าที่เลน่เสียงหนกัเบาในบทร้อยกรองประเภทฉนัท์ ก าหนดเสียงหนักเบา (ค าครุและค าลหุ) ไว้แน่นอนเป็นแบบแผนที่ยึดถือกันถ้าอ่านเป็นท านองเสนาะ ก็จะท าให้รู้สึกถึงรสไพเราะของเนื้อความได้ ดังตัวอย่าง

ราช ธ ก็เล่า เค้า ณ ประโยคตนบริโภค แล้วขณะหลังวาทะประเทือง เรื่องสิประทังอาคมยัง สิกขสภา

จบการน าเสนอ