18
รายงานผลการทดสอบคากําลังอัดของตัวอยางแทงคอนกรีต ลําดับงานที..9/2550 ฝายตรวจสอบและวิเคราะหดานวิศวกรรม สํานักชลประทานที14 โครงการกอสราง 1 สํานักชลประทานที14 ตามสัญญาเลขทีกจ.03/2549(ฝพพ.4) ลงวันที29 กันยายน 2549 ตั วอย่างรายงาน

& 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

รายงานผลการทดสอบคากําลังอัดของตัวอยางแทงคอนกรีต

ลําดับงานท่ี ต.ว.9/2550ฝายตรวจสอบและวิเคราะหดานวิศวกรรม

สํานักชลประทานท่ี14

โครงการกอสราง 1 สํานักชลประทานท่ี14ตามสัญญาเลขท่ี กจ.03/2549(ฝพพ.4) ลงวันท่ี 29 กันยายน 2549

ตวัอยา่งรายงาน

Page 2: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

วันที่

ลําดับ

ชุดท่ี ( กก. )

1 326

302

312

416

396

416

2 316

298

302

376

406

402

3

4

5

6

1

2

3

4

6.0

6.0

6.0

8.0

8.0

8.0

8.0

กําลังอัดของแทงคอนกรีตที่ 28 วันตองไมต่ํากวา

9 พฤษภาคม 2550

ฝายตรวจสอบและวิเคราะหดานวิศวกรรมสํานักชลประทานที่ 14 กรมชลประทาน

ต. ว. 4-01

รายการคํานวณคากําลังอัดของตัวอยางแทงคอนกรีต

6.0

คอนกรีตปรับระดับ

river outlet

กม.0+145

229.39

240.98

คอนกรีตปรับระดับ

canal outlet

กม.0+190

183.05

"

7

28

28

28

172.62

174.94

217.81

235.18

( กก./ซม.2 )

หมายเหตุ

232.87

แรงอัดสูงสุด

188.84

174.94

180.73

240.98

หมายเลข

ตัวอยาง

1

6

2

ผูตรวจสอบ ...............……………………..ผูทดสอบ ……………………………………Project

210

28

7

7

28

7

28

7

( วัน )

ความยุบตัว วันท่ีเก็บตัวอยาง

7

อายุ

( ซม. )

8.0

8.0

"

"

"

1 มี.ค. 50

6.05

"

"

"

"

"

6 มี.ค. 50

- กําลังอัดของแทงคอนกรีตที่ 7 วันตองไมต่ํากวา

ลําดับงานที่ ต.ว.9/2550โครงการกอสราง 1 สํานักชลประทานที14

ลักษณะตัวอยาง ลูกปูนแทงขนาด 6 x 12 น้ิว

ตามสัญญาเลขท่ี กจ.03/2549(ฝพพ.4) ลงวันที่ 29 กันยายน 2549

6.0 "

ksc

ksc

หมายเหตุ

ตวัอยา่งรายงาน

Page 3: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

FALSE( ซม. )

-210

ลําดับ

ชุดที่ ( กก. )

1 326

302

312

416

396

416

2 316

298

302

376

406

402

sample

work number

canal outlet

กม.0+190

กําลังอัดสูงสุดที่ 7 วัน กําลังอัดสูงสุดที่ 28 วัน

ksc.ksc.

ลักษณะตัวอยาง ลูกปูนแทงขนาด 6 x 12 นิ้ว

8.0

232.87

188.84 คอนกรีตปรับระดับ

river outlet

กม.0+145

1 มี.ค. 50 7

( ซม. )

8.0

( วัน )

อายุ

( กก./ซม.2 )

174.94

7

28

28

172.62

คอนกรีตปรับระดับ

8.0

8.0

6.0

6.0

6.0 "

"

"

"6.0

6.0 28

286.0 "

217.81

235.18

5

6

1

2

3

7

หมายเลข

ตัวอยาง

1

2

3

4 8.0

8.0

ความยุบตัว วันที่เก็บตัวอยาง

slump test unit

project

memo. ตามสัญญาเลขที่ กจ.03/2549(ฝพพ.4) ลงวันที่ 29 กันยายน 2549

ลําดับงานที่ ต.ว.9/2550

โครงการกอสราง 1 สํานักชลประทานที่14

4

5

6

229.39

240.98

183.05

"

"

6 มี.ค. 50

28

7

174.94

180.73

240.98

"

"

หมายเหตุแรงอัดสูงสุด

"

7

7

28

ตวัอยา่งการกรอกข้อมูลพรอ้ม f

ile คาํนวน

Page 4: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

FALSE( ซม. )

210

ลําดับ

ชุดที่ ( กก. )

3 332

316

356

412

424

436

4 336

356

322

424

436

396

FALSE( ซม. )

-

210

192.32 พื้น control house

canal outlet

( กก./ซม.2 )

หมายเหตุแรงอัดสูงสุด

( วัน )

อายุ ความยุบตัว วันที่เก็บตัวอยาง

ksc.

ksc.

ลักษณะตัวอยาง ลูกปูนแทงขนาด 6 x 12 นิ้ว

7

7

28

28

28

กม.0+420.50-กม.0+249.50

183.05

206.22

"

"

7

( ซม. )

8.0

8.0

25 มี.ค. 50

9.0

9.0

9.0

9.0

245.61

252.56

"

7

186.53

" 28

7

7

28

9.0 " 229.3928

พื้น control house

river outlet

กม.0+196.10-กม.0+204.60

ตัวอยาง

1

2

206.22

1

4 8.0

9.0 "

8.0

8.0

8.0

sample

กําลังอัดสูงสุดที่ 7 วัน

กําลังอัดสูงสุดที่ 28 วัน

slump test unit

3

5

6

2

4

5

6

"

"

"

3

หมายเลข

"

238.66

245.61

252.56

194.64

"

ลักษณะตัวอยาง ลูกปูนแทงขนาด 6 x 12 นิ้ว

ksc.

ksc.

sample

slump test unit

กําลังอัดสูงสุดที่ 7 วัน

กําลังอัดสูงสุดที่ 28 วัน

ตวัอยา่งการกรอกข้อมูลพรอ้ม f

ile คาํนวน

Page 5: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

ลําดับ

ชุดที่ ( กก. )

5 316

304

332

440

386

436

6 312

338

358

440

436

406

FALSE( ซม. )

-

210

ลําดับ

ชุดที่ ( กก. )

7 324

320

300

( กก./ซม.2 )

187.68

7

28

252.56

207.38

183.05

28

28

คอนกรีตหุมทอ

unit ที่ 10

254.88

176.10

192.32

254.88

พื้น river outlet

กม.0+213.60-กม.0+223.60

canal outlet

7

7

หมายเหตุแรงอัดสูงสุด

( วัน )

อายุ

( กก./ซม.2 )

7

7

28

76.0

6.0

223.60

252.56

180.736.0

8.0

8.0

6.0

6.0 28

235.18286.0

195.79

5

6

1

2

"

6 เม.ย. 50

"

8.0

"

"

1

2

3

4

ความยุบตัว

8.0

วันที่เก็บตัวอยาง

4 เม.ย. 50

"

( ซม. )

8.0

8.0

"

3

หมายเลข

ตัวอยาง

"

"

"

"4

5

6

ลักษณะตัวอยาง ลูกปูนแทงขนาด 6 x 12 นิ้ว

อายุ หมายเหตุ

7

ksc.

ksc.

พื้น river outlet

กม.0+233.60-กม.0+243.607

ความยุบตัว วันที่เก็บตัวอยาง

6 เม.ย. 50

"

7

( ซม. )

7.0

7.0

3 7.0

1

2

หมายเลข

ตัวอยาง

sample

กําลังอัดสูงสุดที่ 7 วัน

กําลังอัดสูงสุดที่ 28 วัน

slump test unit

แรงอัดสูงสุด

( วัน )

"

185.37

173.78

ตวัอยา่งการกรอกข้อมูลพรอ้ม f

ile คาํนวน

Page 6: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

422

380

388

8 322

304

328

390

370

416

FALSE( ซม. )

-

210

ลําดับ

ชุดที่ ( กก. )

9 320

320

306

378

392

388

10 312

338

28

28

28

"

"

"

4 7.0

"

" 28

7

9.0

9.0 28

240.98289.0

คอนกรีตหุมทอ

unit ที่ 4

control outlet9.0

176.10

5

6

1

2

3

4

5

6

7.0

7.0

9.0

9.0

224.76

186.53

"

225.92

214.33

190.00

7

7

244.45

220.12

"

8 เม.ย. 50

"

"

slump test unit

185.37

แรงอัดสูงสุด

( วัน )

อายุ

( กก./ซม.2 )

10 เม.ย. 50

ลักษณะตัวอยาง ลูกปูนแทงขนาด 6 x 12 นิ้ว

กําลังอัดสูงสุดที่ 7 วัน

กําลังอัดสูงสุดที่ 28 วัน

ksc.

ksc.

คอนกรีตหุมทอ

unit ที่ 2

7

28

28

28

11 เม.ย. 50

"

"

หมายเหตุ

คอนกรีตหุมทอ

unit ที่ 11

canal outlet

ความยุบตัว วันที่เก็บตัวอยาง

7

( ซม. )

9.0

9.0

79.0 185.37

177.26

218.96

"

9.0

9.0

7

7

227.07

224.76

195.79

5

6

1

2

180.739.0

9.0

9.0

หมายเลข

ตัวอยาง

sample

"

"

1

2

3

4

ตวัอยา่งการกรอกข้อมูลพรอ้ม f

ile คาํนวน

Page 7: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

บทนํา

เร่ืองการตรวจสอบคอนกรีตและการแกปญหา

ในการทํางานคอนกรีตเกีย่วกับการกอสราง , ส่ิงกอสรางตางๆตองมีการตรวจสอบคุณภาพของงานข้ันตอนและวิธีการคือ

1. ทําการหาคายุบตัวของคอนกรีต 2. เก็บตัวอยางคอนกรีตเพื่อใชในการทดสอบท่ี 7 วัน เพื่อดูวาสามารถทํางานตอไดหรือไมและ

ทดสอบผลที่ 28 วัน เพื่อเปนการยืนยันผล ถาไมผานตองทําการทุบและทําใหม หรือตองทําการทดสอบเพิ่มเติม

3. ถาไมผานตองทําดังนี ้ 3.1 ดูวาตัวอยางท่ีเก็บเปนตัวแทนของงานหรือไม การเก็บตัวอยางถูกตองตามหลักการหรือไม ถามีการเก็บตัวอยางสํารองไว ควรกดและนํามาเปรียบเทียบเพ่ือยืนยัน นี่คือผลดีของการเก็บตัวอยางท่ีมีจํานวนมาก ถาเก็บนอยเกินไปอาจทําใหลังเลในการตัดสินใจ จากวิธีขางตนจะทําใหเราสามารถประเมินไดวางานจริงของเราเปนเชนไร และทําใหเราม่ันใจในการตัดสินใจมากข้ึน

คราวน้ีเราจะมากลาวตอวาถาการกดตัวอยางแทงคอนกรีตท่ี 28 วัน ไมผานและจะทําอยางไรไดบางมีอยู 2 วิธ ีคือ 1. แบบทําลาย วิธีแบบทําลาย ซ่ึงมีข้ันตอนท่ียุงยากมากกวาแบบไมทําลาย แตมีผลการตรวจสอบแนนอนกวา โดยการเจาะคอนกรีตไปทดสอบ (coring) ท่ีเรียกวาเจาะกอนตัวอยาง แต ก็ทําใหโครงสรางเสียหายตองทําการซอมแซมภายหลัง 2. แบบไมทําลาย 2.1 วิธีแบบไมทําลาย แบบวธีิใชเคร่ืองอุลตาโซนิค สงสัญญาณคล่ืนไปยังคอนกรีตแลวสะทอนกลับ แปลงความเร็วคล่ืนเปนกําลังของคอนกรีต วธีินี้ไดผลคอนขางดีแตมีปญหาเร่ืองราคาท่ีคอนขางแพง และความไมเสมอตัวของคอนกรีตเนื่องจากมีเหล็กเสรมิดานใน ซ่ึงจะเปนแฟกเตอรสําคัญ

Page 8: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

2.2 วิธีแบบไมทําลาย แบบวธีิใชคอนทดสอบความแข็งแรงของคอนกรีต (Concrete Test Hammer) หรือ เรียกวา schmidt hammer กระแทก เปนการทดสอบโดยใชหลักการของการกระแทกลงในคอนกรีตแลวอานคาความแข็งแรงของคอนกรีต คาท่ีไดเปนคากําลังท่ีไดจากทางออม แตก็ยังเปนท่ียอมรับในการทดสอบหากําลังเบ้ืองตน ดังนัน้ควรทดสอบหลายจุดแลวนํามาเฉล่ีย แตถาทดสอบแลวกาํลังตํ่ากวาตองการจริง ควรเจาะทดสอบ กําลังอัด

Page 9: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

การทดสอบการหาคาการยุบตัวของคอนกรตี (Slump Test)

การทดสอบคายุบตัว(Slump Test) คายุบตัวไมไดเปนคาที่วัดความสามารถเทไดของคอนกรีตโดยตรง แตเปนการวัดความขนเหลวของคอนกรีต(Consistency) หรือลักษณะการไหลตัวของคอนกรีต(Flow Characteristic) แมวิธีนี้จะไมเหมาะสมสําหรับทดสอบคอนกรีตที่เหลว หรือแหงมากแตก็มีประโยชนอยางมากและสะดวกสําหรับการควบคุมความสม่ําเสมอของการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เชน ในกรณีที่คายุบตัวของคอนกรีตมีคามากกวาปกติที่ออกแบบไว แสดงใหเห็นวาจะตองมีความผิดปกติเกิดขึ้นในสัดสวนผสม ขนาดคละ หรือความชื้นในมวลรวมซึ่งจะชวยใหผูผลิตคอนกรีตสามารถตรวจสอบและแกไขได

การทดสอบทําโดยตักคอนกรีตใสลงในโคนที่มีลักษณะเปนกรวยยอดตัด ตําดวยเหล็กตําแลวจึงคอยๆ ยกโคนขึ้นอยางชาๆ คอนกรีตจะยุบตัวลงดวยน้ําหนักของตัวเอง ความสูงที่ยุบตัวลงของคอนกรีตที่วัดไดถือวาเปน คายุบตัวขอบคอนกรีต

คายุบตัวที่เหมาะสมสําหรับงานกอสรางในประเทศไทย

ประเภทของงาน คายุบตัวที่เหมาะสม (ซม.) พื้นถนนสนามบิน คอนกรีตสําหรับงานทั่วไป คอนกรีตสําหรับงานฐานราก คอนกรีตสําหรับงานคอนกรีตปม คอนกรีตสําหรับงานเสาเข็มเจาะเล็ก คอนกรีตสําหรับงานเสาเข็มเจาะใหญ คอนกรีตสําหรับงานฐานรากแผขนาดใหญ หรืองานที่มีเหล็กเสริมหนาแนน

5.0 ± 2.5 7.5 ± 2.5

10.0 ± 2.5 10.0 ± 2.5 10.0 ± 2.5 มากกวา 15 มากกวา 15

Page 10: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

ในงานธรรมดาที่ตองเทคอนกรีตติดตอกันตลอดวัน ควรกําหนดใหคอยวัดหาคาความ

ยุบตัว ตามเวลาและเหตุการณดังตอไปนี้ 1. กอนเริ่มทํางานคอนกรีตตอนเชา 2. กอนเริ่มทํางานคอนกรีตตอนบาย 3. กอนเริ่มทํางานคอนกรีตตอนกลางคืน 4. ควรหาใหมตอนเปลี่ยนไปใชทรายหรือหินกองใหม

รูปแบบการยบุตัวของคอนกรีตโดยทัว่ไปมี 3 แบบคือ

1. การยุบตัวแบบถูกตอง (True Slump) เปนการยุบตัวของคอนกรีตภายใตน้ําหนักของ

คอนกรีตเอง 2. การยุบตัวแบบเฉือน (Shear Slump) เปนการยุบตัวแบบเฉือนซึ่งเปนการยุบตัวที่เกิด

จากการเลื่อนไถลของคอนกรีตสวนบน ในลักษณะเฉือนลงไปดานขาง 3. การยุบตัวแบบลม (Collapse Slump) เปนการยุบตัวที่เกิดจากคอนกรีตที่มีความเหลว

มาก ถาหากคอนกรีตมีการยุบตัวแบบเฉือน หรือแยกตัวเพราะเหลวมากเกินไป ใหทําการ

ทดสอบใหมโดยใชคอนกรีตที่ยังไมไดใชในการทดสอบ ถาหากพังลง 2 คร้ังติดตอกันแสดงวา Slump Test อาจไมเหมาะสมสําหรับคอนกรีตนี้ มาตรฐานทั่วไปกําหนดใหคาคลาดเคลื่อนในการยุบตัวมีคา ± 2.5 ซม. เชนถาตองการคายุบตัว 7.5 ซม. คาที่ยอมรับไดคือ 7.5 ± 2.5 ซม. หรือ 5-10 ซม.

ยุบตัวแบบถูกตอง ยุบตัวแบบเฉือน ยุบตัวแบบลม True Slum Shear Slump Collapse Slump

รูปแบบการยุบตัวของคอนกรีตโดยทั่วไปมี 3 แบบ

Page 11: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

2.จุดประสงค

เพื่อหาความสามารถเทไดของคอนกรีต โดยวิธีทดสอบหาคาการยุบตัว(Slump Test)

3.เครื่องมือทดสอบและวสัดุทดสอบ เครื่องมือทดสอบ

1. แบบวัดการยุบตัว (Slump mold) เปนแบบรูปกรวยตัด เปดหัวทาย ทําดวยโลหะตอนลางมีเสนผาศูนยกลางภายใน 8 นิ้ว ตอนบนมีเสนศูนยกลางภายใน 4 นิ้ว และสูง 12 นิ้วดานขางภายนอกมีที่สําหรับเทาเหยียบและหูยกทั้งสองขาง

2. เหล็กกระทุง (Temping rod) เปนแทงเหล็กกลมเสนผาศูนยกลาง 16 มิลลิเมตร ยาว 60 ซม. ปลา

3. ถาดเหล็ก

วัสดุทดลอง

ปูนซีเมนต 63.0 กิโลกรัม ทราย 112.5 กิโลกรัม หิน 167.5 กิโลกรัม น้ํา 32.5 กิโลกรัม

4.วิธีการทดลอง

1. ผสมคอนกรีตดวยเครื่องผสม ตามสัดสวนที่กําหนดไว 2. นําแบบไปชุบน้ําเพื่อใหผิวเปยก แลวนําไปวางบนพื้นเรียบที่ไมดูดซับน้ํา ใชเทาทั้งสอง

ขางเหยียบไวใหแนน 3. ตักคอนกรีตใสลงในแบบใหได 3 ช้ัน โดยใหแตละชั้นมีปริมาตรเทากัน ๆ ใชเหล็ก

กระทุง (Tamping rod) กระทุง 25 ครั้ง ทุกชั้น ช้ันลางใหกระทุงจนสุดสวนช้ันที่สองและชั้นที่สามใหกระทุงจนเหล็กผานไปในชั้นเดิมเล็กนอย

4. แตงผิวหนาใหเรียบ โดยใชเหล็กกระทุงกลิ้งดันคอนกรีตสวนเกินปากขอบแบบออกไป

Page 12: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

5. คอย ๆ ยกแบบขึ้นตามแนวดิ่งอยางระมัดระวังไมใหมีการปดหรือดันดานขางใชเวลาประมาณ 5 วินาที (รวมเวลาตั้งแตเร่ิมบรรจุคอนกรีตลงแบบจนถึงยกแบบขึ้นไมควร เกิน 2 ½ นาที)

6. ทําการวัดระยะการยุบตัวของคอนครีตรูปกรวย โดยเปรียบเทียบกับความสูงของกรวยถามีการยุบตัวแบบเฉือน(Shear) ใหทําซํ้าอีกครั้ง หากมีการยุบตัวเหมือนเดิมถือวาคอนกรีตนัน้มกีารยึดเหนี่ยวในเนื้อคอนกรีตต่ํา (ASTM C 192-81) ระบุวา ถาเปนการยุบตัวแบบเฉือนจะนําคาอานมาใชวัดความสามารถเทไดของคอนกรีตไมได)

5. ตัวอยางขอมูลและผลการทดลอง

คาการยุบตัวของคอนกรีตที่ไดในการทดลอง 8.0 cm OK

Page 13: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

ภาพประกอบการทํา slump test

Page 14: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

ทะเบียนทดสอบ………………

ผูทดสอบ

ผูตรวจสอบ

โครงการ……………………………………….

…………………………………………………

สถานที่กอสราง………………………………..

………………………………………………...

ผูรับจางหรือผูนําสง……………………………

ชนิดตัวอยาง..……….….ทดสอบครั้งที่………

ทดสอบวันที่………………….แผนที่…………

(หนวยงานที่ทําการทดสอบ)

การทดสอบคาการยุบตัวของคอนกรีต

(SLUMP TEST)

อนุมัติ

ระยะความสูงของคอนกรีตที่ทดสอบหลังยกแบบออก(H) ………………………………………….. เซนติเมตร

คาการยุบตัวของคอนกรีต (SLUMP) = 30-H เซนติเมตร

= …….…………………………………………………… เซนติเมตร

หมายเหตุ :

Page 15: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

รายละเอียดแบบหลอตัวอยางคอนกรตีรูปทรงกระบอกเสนผาศูนยกลางประมาณ 15 ซม. สูง 30 ซม.

1. รายละเอียดท่ัวไป เปนชุดแบบหลอตัวอยางคอนกรีต (Mold) รูปทรงกระบอกมาตรฐาน(Cylinder)

2. รายละเอียดทางเทคนิค 2.1 แบบหลอมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 ซม. สูง 30 ซม. ผลิตจากเหล็กหลอ ชนิดหนาอยางดเีคลือบ

หรือพนสีเรียบรอยมีความแข็งแรงทนทาน สามารถถอดออกและประกอบเพื่อใชงานไดงาย 2.2 สามารถหลอแทงคอนกรีตรูปทรงกระบอกขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 ซม.สูง 30 ซม. ไดโดยรูปทรง

ไมผิดสวน 2.3 แบบหลอสามารถแยกออกจากกนัไดเปน 3 สวน พรอมฐานเหล็กหลอ ทุกชิน้สวนสามารถ

ยึดติดกันไดดวยสลักเกลียว

รายละเอียดแบบหลอตัวอยางคอนกรตีรูปทรงลูกบาศก ขนาด 15X15 X 15 ซม.

1. รายละเอียดท่ัวไป เปนแบบหลอตัวอยางคอนกรีต (Mold) รูปทรงลูกบาศก (Cube) เพื่อทดสอบกําลังอัด

2. รายละเอียดทางเทคนิค 2.1 แบบหลอผลิตจากเหล็กหลอชนิดหนาอยางดี ทาสีเรียบรอย มคีวามแข็งแรงทนทานสามารถถอดออก และประกอบเพื่อใชงานไดโดยงาย มีรายละเอยีดดังนี ้ 2.2 สามารถหลอตัวอยางคอนกรีตรูปทรงลูกบาศก ขนาด 15X15X15 ซม. โดยไมผิดสวน 2.3 แบบหลอสามารถแยกออกจากกันไดเปน 3 สวน พรอมฐานเหล็กหลอยดึตดิกันดวยสกรูขันยึด

Page 16: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

รูปประกอบแสดงการเก็บตัวอยางเพือ่ทดสอบ

Page 17: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project

รูปเครื่องมือท่ีใชทดสอบ concrete ในกรณีที่ กดลูกปูน ไมผาน

เครื่องยิง concrete Concrete core

เครื่อง ultrasonic

เครื่องconcrete test hammer

Page 18: & 5 % 5 4* 0 % F5kmcenter.rid.go.th/kmc14/check/check2.pdf · 4 8.0 8.0 ความยุับตววัี่นท็ับตเกวอย าง slump test unit project