11
วิทยาสาร ฉบับที2 ปที1 ประจําเดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม 2553 จุลสารความรูรายเดือนฉบับอิเล็กทรอนิกสเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ .สงขลา 90112 สาระในเลม แนะนําบุคลากร.1 (ประจําเดือน ..- ..53) ขยายเวลาประกวดคําคม.3 (Smart Science by Smart People) เลาสูกันฟง .4 (คุยกับ Dr.Helmut Dürrast: แผนดินไหว และสึนามิ ความจริงจากนักธรณีวิทยา โดย จิตติมา โพธิ์เสนา) มุมระบายความคิด.6 (สัมภาษณ คุณรัชวรรณ ลิ้มวิวัฒนกุล นักวิทยาศาสตรชํานาญการ(รุนแรกๆ) และคุณปยากร บุญยัง นักวิทยาศาสตรชํานาญการ (คนลาสุด) กับแนวคิดการทํางานและการขอตําแหนงชํานาญการ โดย ศิริประภา เรณุมาศ) ประมวลภาพกิจกรรม.9 (ชวยน้ําทวม, ทอดกฐินวัดมวงก็อง และ, มหกรรมการจัดการความรูแหงชาติ ครั้งที5) Smart Science by Smart People

วิทยาสารฉบับที่ 2

Embed Size (px)

DESCRIPTION

วิทยาสารฉบับที่ 2

Citation preview

Page 1: วิทยาสารฉบับที่ 2

วิทยาสาร ฉบบัที่ 2 ปที ่1 ประจาํเดือน พฤศจิกายน-ธนัวาคม 2553 จุลสารความรูรายเดือนฉบับอิเล็กทรอนิกสเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย คณะวทิยาศาสตร มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ จ.สงขลา 90112

สาระในเลม

แนะนาํบคุลากร… น.1

(ประจําเดือน ต.ค.- พ.ย.53)

ขยายเวลาประกวดคาํคม… น.3 (Smart Science by Smart People)

เลาสูกนัฟง … น.4 (คุยกับ Dr.Helmut Dürrast: แผนดินไหว และสึนาม ิ

ความจริงจาก…นักธรณีวิทยา โดย จิตติมา โพธิ์เสนา)

มมุระบายความคดิ… น.6 (สัมภาษณ คณุรัชวรรณ ลิ้มววิัฒนกุล นักวิทยาศาสตรชํานาญการ(รุนแรกๆ)

และคุณปยากร บุญยัง นักวิทยาศาสตรชํานาญการ (คนลาสุด) กับแนวคิดการทํางานและการขอตําแหนงชํานาญการ

โดย ศิริประภา เรณุมาศ)

ประมวลภาพกจิกรรม… น.9 (ชวยน้ําทวม, ทอดกฐินวดัมวงก็อง และ,

มหกรรมการจัดการความรูแหงชาติ คร้ังที่ 5)

Smart Science by Smart People

Page 2: วิทยาสารฉบับที่ 2

วทิยาสาร ฉบับที่ 2 ปที่ 1 ประจาํเดอืน พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2553 หนา 1

แนะนําบุคลากร (ประจําเดือน ต.ค.-พ.ย. 53)

ช่ือ-สกุล นางสาวอรณิชา รัตนาภรณ ตําแหนง อาจารย สังกัด ภาควิชาชีวเคมี บรรจุเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2553 จบการศึกษา ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร คติประจําใจ ความพยายามอยูที่ไหน ความสําเร็จอยูที่นั่น ขอคิดในการทํางาน ทํางานอยางเต็มความสามารถ ในทุกงานที่ไดรับ

มอบหมาย และหมั่นแสวงหาความรูและนําเอา ความรูนั้นมาใชในการดําเนินงานของตนใหมี ประสิทธิภาพสูงที่สุด

ช่ือ-สกุล นางสาวสุทธิดา รักกะเปา ตําแหนง อาจารย สังกัด ภาควิชาฟสิกส บรรจุเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2553 จบการศึกษา ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการศึกษา

คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

คติประจําใจ คนเราผิดพลาดได และเร่ิมใหมไดเสมอ

ขอคิดในการทํางาน ซ่ือสัตยสุจริต & ทัศนคติเชิงบวก & พัฒนา

ตนเองสม่ําเสมอ

Smart Science by Smart People

กลบัสูหนาหลัก

Page 3: วิทยาสารฉบับที่ 2

วทิยาสาร ฉบับที่ 2 ปที่ 1 ประจาํเดอืน พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2553 หนา 2

แนะนําบุคลากร…ตอ (ประจําเดือน ต.ค.-พ.ย.53)

ช่ือ-สกุล นางสาววรารตัน จักรหวัด ตําแหนง อาจารย สังกัด ภาควิชาวทิยาการคอมพิวเตอร บรรจุเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 จบการศึกษา ระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร

คณะวทิยาศาสตร มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

คติประจําใจ ทําวันนี้ใหดีที่สุด ขอคิดในการทํางาน พยายามทํางานทุกอยางใหดีที่สุด

ช่ือ-สกุล นางสาวกนกรัตน อองบุญ ตําแหนง นักวิชาการอุดมศึกษา สังกัด หนวยสงเสริมและพัฒนาทางวิชาการ บรรจุเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 จบการศึกษา ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาจุลชีววิทยา คณะวทิยาศาสตร

มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร คติประจําใจ อยาปลอยใหโอกาสหลุดมอื ขอคิดในการทํางาน เมื่อพบกับความลมเหลว จะตองถอยกลับไป

กาวหนึ่งและพรอมที่จะเร่ิมเดินหนาใหม

Smart Science by Smart People กลบัสูหนาหลัก

Page 4: วิทยาสารฉบับที่ 2

วทิยาสาร ฉบับที่ 2 ปที่ 1 ประจาํเดอืน พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2553 หนา 3

ขยายเวลาประกวดคําคม

ขยายเวลาประกวดคําคมภาษาไทยที่สอดคลองกับขยายเวลาประกวดคําคมภาษาไทยที่สอดคลองกับ ““ Smart ScienceSmart Science by by Smart PeopleSmart People ""

คณะวิทยาศาสตรคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

กติกาในการประกวด1. ผูสงผลงานจะตองเปนบุคลากรคณะวทิยาศาสตร มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร

2. ผลงานดังกลาว จะตองไมเคยสงไปประกวดที่ใด มากอน

3. ผลงานของผูไดรับรางวลัถือเปนกรรมสิทธิ์ของหนวยงานจัดประกวด

4. การตัดสินของคณะกรรมการถือเปนเด็ดขาด

(สามารถสงผลงานไดไมจํากัดจํานวน )

สามารถสงผลงาน ไดท่ีหนวยการเจาหนาท่ี คณะวทิยาศาสตร ต้ังแตบัดน้ี จนถึงวนัท่ี 17 ธันวาคม 2553 กอนเวลา 16.00 น.

ตัดสินผลการประกวดคําคม ในวนัท่ี 28 ธันวาคม 2553 โดยประกาศผลทางเวบ็ไซต www.sc.psu.ac.thสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณทัศนวรรณ แกวศรีหนอ และ คุณจุฑามาศ ไพยรัตน หนวยการเจาหนาท่ี คณะวทิยาศาสตร โทรศัพท 0 7428 8023

สามารถดูรายละเอียดการประกวดไดท่ี http://www.sc.psu.ac.th

Smart Science by Smart People

กลบัสูหนาหลัก

Page 5: วิทยาสารฉบับที่ 2

วทิยาสาร ฉบับที่ 2 ปที่ 1 ประจาํเดอืน พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2553 หนา 4

เลาสูกนัฟง (คุยกับ Dr.Helmut Dürrast: แผนดินไหว และสึนาม ิ

ความจริงจาก…นักธรณีวิทยา โดย จิตติมา โพธิ์เสนา)

โลกเปนดาวเคราะหที่ยังคงมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เปลือกโลกชั้นนอกสุด (crust: แผนดิน+น้ําที่เราอาศัยอยู) และช้ันรองลงไปหรือที่ลึกลงไปใตช้ันแผนดินชั้นนอก (mantle: ลึกจากเปลือกชั้นนอกราว 30 กิโลเมตรหากเปนแผนดิน หรือประมาณ 7 กิโลเมตรใตเปลือกสวนที่เปนน้ํา) ที่รวมเรียกวา เปลือกโลกมีการเคลื่อนที่/มีการเลื่อนตัวอยูเกือบตลอดเวลา ปรกติมนุษยทั่วไปไมสามารถรูสึกถึงการเคลื่อนที่เหลานี้ได นักธรณีวิทยาสามารถวัดคาการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกที่เกิดข้ึนได การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกทําใหเกิดแรงเคน (stress) บริเวณรอยตอของเปลือกโลกแผนที่อยูชิดกัน และอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปรางของเปลือกโลกแผนนั้นๆ ไปจากเดิม (strain) เมื่อไรก็ตามที่การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกทําใหเกิดแรงเคนบริเวณรอยตอ ในคราวเดียวกันมากๆ อาจทําใหแผนเปลือกโลกบริเวณขอบหรือรอบตอแยกออกจากกัน จะทําใหเกิดแผนดินไหวในบริเวณนั้น นักธรณีวิทยาตางทราบเรื่องราวเหลานี้ดี และทราบตอไปวา ผลจากปรากฏการณเหลานี้จะไมเปนเหตุใหเกิดการจมของแผนเปลือกโลกหรือสวนหนึ่งสวนใดของแผนดินหายไปใตพื้นพิภพคราวละมากๆ ดังเชนที่ปรากฏตามขาววา สวนของประเทศไทยภาคใตต้ังแตจังหวัดชุมพรจะจมหายไป หากพิจารณาจากที่ต้ัง และลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ขางตน

กรณีที่เกิดแผนดินไหวใตมหาสมุทร แผนดินไหวใตมหาสมุทรจะเกิดข้ึนในระดับความลึกไมมากนักคือประมาณ 10-30 กิโลเมตร การเกิดรอยแตกของเปลือกโลกหรือแผนดินไหวรุนแรงเกิดข้ึนใตพื้นทะเลหรือมหาสมุทร สามารถทําใหเกิดการเพิ่มข้ึนของระดับน้ําทะเลตามมาไดในทันที ซ่ึงเปนที่มาของการเกิดคลื่นสึนามิ ดังเชน สึนามิที่เกิดในมหาสมุทรอินเดียเมื่อป ค.ศ. 2004 ที่ผานมา นักธรณีวิทยาเขาใจความสัมพันธของปรากฏการณที่เกิดข้ึนดี ความสัมพันธระหวางแรงเคนเนื่องจากการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกท่ีเกิดข้ึนกับการเปลี่ยนแปลงของลักษณะของเปลือกโลกที่เปนผลตามมาไมไดมีความสัมพันธกันแบบเสนตรง แรงเคนที่เกิดข้ึนแตละคราว/ที่เกิดข้ึนสะสม ไมจําเปนตองทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของลักษณะของเปลือกโลกเสมอไป

ปรากฏการณขางตน ยังคงเปนสิ่งที่นักธรณีวิทยา นักธรณีฟสิกสหรือนักวิทยาศาสตรใดๆ ไมสามารถระบุ วัน เวลา ความรุนแรง และสถานที่ของเหตุการณที่จะเกิดข้ึนไดแนนอน นับแตอดีตจนกระทั่งปจจุบัน การเกิดแผนดินไหวไมสามารถพยากรณในรายละเอียดที่ระบุขางตนไดเลย จึงทําใหไมสามารถพยากรณการเกิดสึนามิที่จะตามมาไดเชนกัน ขาวลือที่วา จะเกิดแผนดินไหว และสึนามิในทะเลฝงอันดามันในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 นี้ จึงเปนสิ่งที่ไมสามารถพยากรณ หรือบอกแนชัดไดดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน ไมมีใครสามารถบอกไดวา เหตุการณนี้จะเกิดข้ึนจริงหรือไม

Smart Science by Smart People กลบัสูหนาหลัก

Page 6: วิทยาสารฉบับที่ 2

วทิยาสาร ฉบับที่ 2 ปที่ 1 ประจาํเดอืน พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2553 หนา 5

เลาสูกนัฟง (คุยกับ Dr.Helmut Dürrast: แผนดินไหว และสึนาม ิ

ความจริงจาก…นักธรณีวิทยา โดย จิตติมา โพธิ์เสนา)

การเกิดแผนดินไหว สึนามิ หรือภัยธรรมชาติอ่ืนๆ โดยทั่วไปแลวจึงเปนสิ่งที่ มนุษยไมสามารถหยุดย้ังไดดังเหตุผลที่ไดกลาวมาแลวขางตน ส่ิงที่มนุษย สามารถทําได คือ ตองปรับตัวเพื่อใหสามารถอยูในโลกใบนี้ตอไปใหได มนุษยอาจพยายามหาหนทางปองกันความสูญเสียที่อาจเกิดข้ึนกับชีวิต และ ความเปนอยู ซ่ึงความจริงแลวก็ไมสามารถปองกันความเสียหายที่อาจ เกิดข้ึนไดทั้งหมด เพียงเปนความพยายามที่จะปองกันใหไดมากที่สุดเทาที่ จะเปนไปไดเทานั้น ระบบการเตือนภัยสึนามิทํางานโดยอาศัยหลักจากความ จริงที่วา ความเร็วของคลื่นสึนามิชากวาของคลื่นที่ทําใหเกิดแผนดินไหว นักวิทยาศาสตรจึงใชความแตกตางระหวางความเร็วของคลื่นทั้งสองชนิดในการวิเคราะหเก่ียวกับแผนดินไหวที่เกิดข้ึน และใชขอมูลที่ไดสําหรับคาดคะเนความเปนไปไดของการเกิดสึนามิ เพื่อใหสามารถใชในการเตือนภัยแกประชาชนในพื้นที่เส่ียงใหอพยพขึ้นพื้นที่สูงตอไป ระบบการทํางานเตือนภัยสึนามิของประเทศไทยใชหลักการดังกลาวในการทํางานเชนเดียวกัน

หนวยงานราชการที่เก่ียวของ และรับผิดชอบเร่ืองเหลานี้ในประเทศของเรา ที่ทํางานตลอด 24 ช่ัวโมงตอเนื่อง ไมมีหยุด เพื่อที่จะใหไดขอมูลและสารสนเทศที่จําเปนสําหรับการเตือนภัย ที่สําคัญไดแก

ศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติ เว็บไซต www.ndwc.go.th กรมอุตุนิยมวิทยาประเทศไทย เว็บไซต www.tmd.go.th/ สํานักเฝาระวังแผนดินไหว เว็บไซต www.seismology.tmd.go.th/ และกรมอุทกศาสตร เว็บไซต www.navy.mi.th/hydro/

เปนความสําคัญอยางยิ่งที่ประชาชนที่อาศัยอยูใกลชายฝง และท่ีอ่ืนๆ เชน ในสวน และในเมือง จะไดรับขอมูลขาวสารที่ถูกตอง มีความรู และเขาใจการทํางานของระบบการเตือนภัยสึนามิเพื่อใหสามารถปองกันชีวิต และส่ิงอื่นที่จําเปนใหไดมากที่สุดเทาที่จะสามารถทาํได

Smart Science by Smart People กลบัสูหนาหลัก

Page 7: วิทยาสารฉบับที่ 2

วทิยาสาร ฉบับที่ 2 ปที่ 1 ประจาํเดอืน พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2553 หนา 6

มุมระบายความคิด (สัมภาษณ คณุรัชวรรณ ลิ้มววิัฒนกุล นักวิทยาศาสตรชํานาญการ(คนแรกๆ)

กับแนวคิดการทํางานและการขอตําแหนงชํานาญการ โดย ศิริประภา เรณุมาศ)

วิทยาสารฉบับนี้ จะนําทุกทานมาพบกับบุคลากรคณะวิทยาศาสตรที่ ได ตําแหนงนักวิทยาศาสตรชํานาญการคนแรกๆ คือคุณรัชวรรณ ลิ้มวิวัฒนกุล สังกัดภาควิชาสรีรวิทยา และนักวิทยาศาสตรชํานาญการคนลาสุดของคณะวิทยาศาสตรของเรา คือ คุณปยากร บุญยัง สังกัดภาควิชากายวิภาคศาสตร เพื่อจะไดทราบเทคนิคการทํางานในคณะวิทยาศาสตรของทั้ง 2 ทานกันนะคะ

ตลอดระยะเวลาที่คุณรัชวรรณทํางานในคณะวิทยาศาสตรมา 35 ป ยังคงยึดหลัก ขยัน อดทน รับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายเสมอ เพื่อใหงานบรรลุตามเปาหมายและไดระลึกถึงพระคุณของคณาจารยและคณะวิทยาศาสตรเสมอมา “กอนอื่นตองขอขอบคุณคณาจารยภาควิชาสรีรวิทยาทุกทานที่ใหโอกาสสนับสนุนความกาวหนาในอาชีพการงานของเรา ในสวนของที่มาในการขอตําแหนงชํานาญการ ยอนหลังไป 20 ปที่แลวยังไมมีนักศึกษาปริญญาโท หรือ นักศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร อาจารยหลายทานจึงชวนใหรวมงานวิจัยในยามที่วางจากงานประจํา เชน ตอนปดเทอม หรือชวงที่มีเวลาวางจากการเรียนการสอนชวงสั้นๆ ก็รวมกันวางแผนงานวิจัย สวนของผลงานวิจัยเก็บสะสมเร่ือยมาจนไดตีพิมพรวมกับอาจารยหลายทาน ต้ังแตป 1993 – 2001 ไดรวมทําผลงานกับอาจารยที่ภาควิชาจํานวน 4 เร่ืองและไดตีพิมพงานวิจัยในฐานะหัวหนาโครงการอีก 1 เร่ือง รวมผลงานทั้งหมด 5 ผลงาน และเมื่อคณะฯ ใหโอกาสจึงลองสงเร่ืองขอตําแหนงชํานาญการ ซ่ึงรวมระยะเวลาในการสะสมผลงานจนไดตําแหนงชํานาญการรวม 10 ปพอดี แมจะเจออุปสรรคบางดวยเพราะเราคนทํางานไมคุนเคยกับการเขียนจึงตองอาศัยความพยายามแตก็สามารถผานพนมาไดดวยดี และเมื่อเราไดตําแหนงชํานาญการแลวจึงสนับสนุนใหกับนองๆ ในภาควิชาไดมีแรงบันดาลใจ ในการขอตําแหนงชํานาญการจนไดครบทั้ง 3 คนดวยเชนกัน” คุณรัชวรรณกลาว

คุณรัชวรรณไดยึดหลักในการทํางานที่วาไมวาอาชีพใด ตําแหนงใดก็ตาม ถาเรารักงานและมีความตั้งใจและรับผิดชอบในการทํางาน ผลสําเร็จเหลานั้นยอมสงผลดีกลับมาใหเราเสมอ และยึดมั่นในพระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชนก ที่วา “ขอใหถือประโยชนสวนตัวเปนกิจที่สอง

ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง” เสมอมา ทายสุดคุณรัชวรรณไดกลาวขอบคุณภาควิชาสรีรวิทยา รวมทั้งเพื่อนรวมงาน-บุคลากรที่เก่ียวของทุกทาน และขอขอบคุณคณะวิทยาศาสตรที่ใหโอกาสสนับสนุนความกาวหนาในอาชีพการทํางานของเธออีกดวย

Smart Science by Smart People กลบัสูหนาหลัก

Page 8: วิทยาสารฉบับที่ 2

วทิยาสาร ฉบับที่ 2 ปที่ 1 ประจาํเดอืน พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2553 หนา 7

มุมระบายความคิด…ตอ (สัมภาษณ คณุปยากร บุญยัง

นักวิทยาศาสตรชํานาญการ (คนลาสุด) กับแนวคิดการทํางานและการขอตําแหนงชํานาญการ

โดย ศิริประภา เรณุมาศ)

คุณปยากร บุญยัง นักวิทยาศาสตรชํานาญการคนลาสุดของคณะวิทยาศาสตร ซ่ึงไดเร่ิม

ทํางานในคณะวิทยาศาสตรในตําแหนงนักวิทยาศาสตร คุณปยากรเลาใหฟงวา “ตอนเริ่มทํางานใหมๆ ที่ภาควิชาฯ ยังไมมีนักศึกษาปริญญาโท หรือ นักศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร เขามาชวยงานอาจารยในภาควิชาฯ เมื่ออาจารยมีงานวิจัยตัวเองจึงไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบในสวนของการเตรียมสไลดเนื้อเย่ือ ซ่ึงขณะนั้นตนไดชวยงานอาจารย โดยไมไดคิดที่จะขอตําแหนงชํานาญการ ชวยเหมือนกับวาเปนภาระงานของตัวเอง เมื่องานเสร็จ อาจารยก็จะใสช่ือเราลงไปในงานวิจัยตีพิมพดวย และเมื่อทํางานผานไปได 4-5 ป เร่ิมมีนักศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร เขามาที่ภาควิชาฯ ตนจึงไดรับมอบ หมายใหสอนการเตรียมสไลดเนื้อเย่ือใหกับนักศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร ถึงจุดนี้ก็ขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารยพรพิมล คีรีรัตน ที่ไดใหแงคิดวา หองวิจัยควรจะมีคูมือการเตรียมสไลดเนื้อเย่ือเพื่อใชเปนคูมือประกอบการศึกษาเพิ่มเติมแกนักศึกษาโครงงานวิทยาศาสตรดวย ตนจึงไดเร่ิมรวบรวมขอมูลและเขียนจากประสบการณของตัวเอง โดยเร่ิมจากวาตัวเองทําอะไรก็เขียนอยางที่ทํา คอยๆ เขียนวันละนิดวันละหนอย สะสมไปเร่ือยๆ สักประมาณ 1 ป จึงไดเปน คูมือการเตรียมสไลดเนื้อเย่ือ 1 เลม” คุณปยากรกลาว

เมื่อไดเห็นตัวอยางของรุนพี่นักวิทยาศาสตรชํานาญการหลายคน คุณปยากรจึงเร่ิมคิดจะขอชํานาญการบางจากผลงานวิจัยตีพิมพที่มีสวนรวมกับอาจารยที่ภาควิชาฯ 5 ช้ินงาน และคูมือการเตรียมเนื้อเย่ือสไลดอีก 1 เลม ซ่ึงนาจะเพียงพอกับการขอตําแหนง ซ่ึงในขณะนั้นใชระเบียบการขอชํานาญการแบบเกาซึ่งหนวยงานมีกรอบชํานาญการวางใหอยู “เร่ิมดําเนินการขอตําแหนงชํานาญการเมื่อประมาณเดือนธันวาคม 2550 เร่ืองก็ผานคณะฯ ไปเรียบรอย ประมาณ 4-5 เดือนผานไป ก็ไดพบกับอุปสรรคที่ไมคาดคิดมากอน ผลงานและเอกสารตางๆ ที่ตนสงไปถูกตีกลับมา ดวยเหตุผลวาระเบียบเกาถูกยกเลิก พรอมกับกรรมการพิจารณาผลงานลาออกจากตําแหนง และมหาวิทยาลัยเร่ิมใชระเบียบใหมทันที ซ่ึงระเบียบใหมวาดวยการขอตําแหนงชํานาญการนั้นมีกฎเกณฑที่แตกไปจากเดิมที่กําหนดไวชัดเจน คือ (1.) ขอกรอบหรือเหตุผลความจําเปนที่ตองมีตําแหนงชํานาญการ (2.) มีผลงาน 2 ช้ิน ควบคูกัน อาจจะเปนคูมือกับงานวิจัยตีพิมพ หรืองานวิจัยตีพิมพกับงานประดิษฐ หรือบทความกับงานนวัตกรรมก็ได (3.) มีสวนรวมในผลงานไมนอยกวา 25 % ซ่ึงในขณะนั้นงานวิจัยของตนที่มีอยูมีสวนรวมสูงสุดเพียง 20 % เทานั้น ซ่ึงไมเขาเงื่อนไขกับระเบียบใหม เทียบเทากับวาตองเริ่มตนใหมเลย ณ โอกาสนี้ตองขอขอบคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อุราพร วงศวัชรานนท ที่ได

Smart Science by Smart People กลบัสูหนาหลัก

Page 9: วิทยาสารฉบับที่ 2

วทิยาสาร ฉบับที่ 2 ปที่ 1 ประจาํเดอืน พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2553 หนา 8

มุมระบายความคิด…ตอ (สัมภาษณ คณุปยากร บุญยัง

นักวิทยาศาสตรชํานาญการ (คนลาสุด) กับแนวคิดการทํางานและการขอตําแหนงชํานาญการ

โดย ศิริประภา เรณุมาศ)

แบงสัดสวนงานของอาจารยใหอีก 5 % ทําใหเขาเงื่อนไขของระเบียบใหมได จึงไดเร่ิมตนขอชํานาญการใหมอีกคร้ัง โดยทานหัวหนาภาควิชากายวิภาคศาสตร ผูชวยศาสตราจารยพรพิมล คีรีรัตน ไดเสนอเร่ืองเขาสูกรรมการคณะฯ พิจารณาขอกรอบตําแหนงนักวิทยาศาสตรชํานาญการให เมื่อไดกรอบมา ตนจึงไดดําเนินการสงผลงานและเอกสารตางๆ ตามระเบียบใหม ใชระยะเวลาในการพิจารณาประมาณ 6 เดือนก็ไดรับการพิจารณาตําแหนงชํานาญการ” คุณปยากรกลาว

หลังจากที่คุณปยากรไดรับตําแหนงนักวิทยาศาสตรชํานาญการแลว ก็พยายามรักษามาตรฐานภาระงานของตําแหนงชํานาญการ ทั้งในภาระงานประจํา การมีสวนรวมในงานวิจัยและ การถายทอดความรูแกนักศึกษาหรือผูที่สนใจ โดยยึดหลักแนวคิดในการทํางานที่วา การทํางาน คือการเรียนรูและจะตองพัฒนาไปเรื่อยๆ การไดเขามาทํางานที่คณะวิทยาศาสตรรวม 12 ป คณะวิทยาศาสตรมอบสิ่งดีๆ และกําลังใจในการทํางานใหกับเธอมาโดยตลอด ทายสุดคุณปยากร กลาวขอใหกําลังใจแกบุคลากรของคณะวิทยาศาสตรทุกทานในการขอตําแหนงชํานาญการวา “ดวยทุกคนมีงานอยูในมืออยูแลว เพียงแคเร่ิมตนเขียนงานของเราใหเปนรูปธรรมไมวาจะเปนคูมือ บทความ หรืออะไรก็ไดที่บงบอกถึงความชํานาญของตัวเอง ทางที่คิดวาไกล ก็จะไมไกลอยางที่คิด และอยากบอกวาอุปสรรคมีอยูทุกที่ เราทํางานตองเจอกับมันอยูแลว ขอใหเขมแข็ง อยาทอและเดินตอไป”…..

Smart Science by Smart People กลบัสูหนาหลัก

Page 10: วิทยาสารฉบับที่ 2

วทิยาสาร ฉบับที่ 2 ปที่ 1 ประจาํเดอืน พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2553 หนา 9

ประมวลภาพกจิกรรม (ชวยน้ําทวม, ทอดกฐินวดัมวงก็อง และ,

มหกรรมการจัดการความรูแหงชาติ คร้ังที่ 5)

Smart Science by Smart People

“ชวยน้าํทวม” : 2-5 พฤศจกิายน 2553

“ทอดกฐนิวดัมวงกอ็ง” : 7 พฤศจกิายน 2553

กลบัสูหนาหลัก

“ทอดกฐนิวดัมวงกอ็ง” : 7 พฤศจกิายน 2553

“มหกรรมการจดัการความรูแหงชาต ิครัง้ที ่5” :

21-22 พฤศจกิายน 2553

Page 11: วิทยาสารฉบับที่ 2

วทิยาสาร ฉบับที่ 2 ปที่ 1 ประจาํเดอืน พฤศจกิายน-ธนัวาคม 2553 หนา 10

คณะทาํงานกองบรรณาธกิารจลุสารความรู “วิทยาสาร” คณะวทิยาศาสตร มหาวทิยาลัยสงขลานครนิทร

ที่ปรกึษาบรรณาธกิาร คณบดีคณะวิทยาศาสตร รองคณบดีฝายพฒันาบุคลากรและการจัดการความรู

ผูชวยคณบดีฝายกิจการพิเศษและประชาสัมพันธ

หวัหนากองบรรณาธกิาร นางสาวทัศนวรรณ แกวศรีหนอ

ผูชวยบรรณาธกิาร นางจิตติมา โพธ์ิเสนา

กองบรรณาธกิาร นายอิสรภาพ ชุมรักษา

นางสาวศิริประภา เรณุมาศ

นางสาวพิมพาภรณ ชุมสุวรรณ

นายสันติ บัวกิ่ง

นางสาวอรุณศรี รัตนญา

นางสาวจุฑามาศ ไพยรัตน

Smart Science by Smart People กลบัสูหนาหลัก