4
จากคณบดี มหาวิทยาลัยศิลปากร กำหนดพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2553 ในวันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2554 ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา คณะวิทยาศาสตร์ มีผู ้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี 378 คน ปริญญาโท 106 คน และปริญญาเอก 1 คน ในจำนวนนี้มีผู้ได้รับเกียรตินิยม 45 คน เป็นเกียรตินิยมอันดับ 1 จำนวน 15 คน เกียรตินิยมอันดับ 2 จำนวน 30 คน ผมขอแสดงความยินดีกับผู้สำเร็จการศึกษาทุกคนด้วย และในโอกาสนี้ ผมขอเชิญชวนคณาจารย์ นักศึกษา บุคลากร และศิษย์เก่าของคณะฯ ทุกท่าน เข้าร่วมงานสัปดาห์ วิทยาศาสตร์ ประจำปี 2554 ซึ่งจะมีขึ้นในวันที่ 17-19 สิงหาคม นี้ ในงานจะมีนิทรรศการทางวิทยาศาสตร์ การบรรยายทาง วิชาการ การประกวดพานพุ่มสักการะ การประกวดวาดภาพทางวิทยาศาสตร์ การประกวดภาพถ่าย การประกวดโครงงาน วิทยาศาสตร์ การประกวดหนังสั้น การแข่งขันเขียนโปรแกรม การแข่งขันตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ การแข่งขันทักษะทาง วิทยาศาสตร์ และกิจกรรมนันทนาการต่างๆ บริเวณคณะวิทยาศาสตร์ ปีท่ 17 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนกรกฎาคม 2554 มหาวิทยาลัยศิลปากร กำหนดพิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจำปีการศึกษา 2553 สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดำเนินแทนพระองค์ในพิธี พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จ การศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำปีการศึกษา 2553 วัน พฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2554 ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัย ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ใน ปีน้บัณฑิตคณะวิทยาศาสตร์ที่เข้า รับพระราชทานปริญญาบัตร ราย ละเอียดมีดังนีøąéĆïðøĉââćêøĊ øąéĆïðøĉââćöĀćïĆèæĉê ÿć×ć ÝĞćîüîìĊę Ýï đÖĊ÷øêĉîĉ÷ö ĂĆîéĆï 1 đÖĊ÷øêĉîĉ÷ö ĂĆîéĆï 2 ÿć×ćüĉßć ÝĞćîüîìĊęÝï ÙèĉêýćÿêøŤ 16 2 3 ßĊüüĉì÷ć 10 ÙèĉêýćÿêøŤðøą÷čÖêŤ 9 2 ôŗÿĉÖÿŤ 4 ßĊüüĉì÷ć 56 1 4 üĉì÷ćÖćøÙĂöóĉüđêĂøŤ Ēñî Ö2 - đÙöĊ 52 3 6 ÙèĉêýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċ ÿćøÿîđìý Ēñî × 6 ôŗÿĉÖÿŤ 40 2 1 ÙèĉêýćÿêøŤ 4 đìÙēîēú÷Ċÿćøÿîđìý Ēñî Ö2 2 ÿëĉêĉ 27 1 1 đìÙēîēú÷Ċÿćøÿîđìý Ēñî × 27 üĉì÷ćýćÿêøŤ ÿĉęÜĒüéúšĂö 71 4 ÿëĉêĉðøą÷čÖêŤĒñî Ö2 - üĉì÷ćÖćø ÙĂöóĉüđêĂøŤ 33 3 3 üĉì÷ćýćÿêøŤÿĉęÜĒüéúšĂö Ēñî Ö2 9 ÝčúßĊüüĉì÷ć 35 3 3 üĉì÷ćýćÿêøŤÿĉęÜĒüéúšĂö Ēñî × 1 đìÙēîēú÷Ċÿćøÿîđìý 39 - 3 îĉêĉüĉì÷ćýćÿêøŤ Ēñî Ö2 25 øüöÝïìĆĚÜÿĉĚî(øć÷) 378 15 30 îĉêĉüĉì÷ćýćÿêøŤ Ēñî × 9 ðøĉââćéčþãĊïĆèæĉê ÝčúßĊüüĉì÷ć Ēñî Ö2 5 ôŗÿĉÖÿŤ Ēïï1.1 1 đÙöĊĂĉîìøĊ÷Ť Ēñî Ö2 2 üĉì÷ćÖćøÙĂöóĉüđêĂøŤ Ēñî × 2 øüöÝïìĆĚÜÿĉĚî 106

SUedoc.sc.su.ac.th/ScJournal/July54.pdf · 2011. 8. 29. · Created Date: 8/26/2011 3:11:40 PM

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • จากคณบดี

    มหาวทิยาลยัศลิปากรกำหนดพธิีพระราชทานปรญิญาบตัรประจำปีการศกึษา2553ในวนัพฤหสับดีที่21กรกฎาคม

    2554ณศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ6รอบพระชนมพรรษาคณะวิทยาศาสตร์มีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

    378คนปริญญาโท106คนและปริญญาเอก1คนในจำนวนนี้มีผู้ได้รับเกียรตินิยม45คนเป็นเกียรตินิยมอันดับ1จำนวน

    15คนเกียรตินิยมอันดับ2จำนวน30คนผมขอแสดงความยินดีกับผู้สำเร็จการศึกษาทุกคนด้วย

    และในโอกาสนี้ ผมขอเชิญชวนคณาจารย์ นักศึกษา บุคลากร และศิษย์เก่าของคณะฯ ทุกท่าน เข้าร่วมงานสัปดาห์

    วิทยาศาสตร์ประจำปี2554ซึ่งจะมีขึ้นในวันที่17-19สิงหาคมนี้ในงานจะมีนิทรรศการทางวิทยาศาสตร์การบรรยายทาง

    วิชาการ การประกวดพานพุ่มสักการะ การประกวดวาดภาพทางวิทยาศาสตร์ การประกวดภาพถ่าย การประกวดโครงงาน

    วิทยาศาสตร์ การประกวดหนังสั้น การแข่งขันเขียนโปรแกรม การแข่งขันตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ การแข่งขันทักษะทาง

    วิทยาศาสตร์และกิจกรรมนันทนาการต่างๆบริเวณคณะวิทยาศาสตร์

    ปีที่ 17 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนกรกฎาคม 2554

    มหาวิทยาลัยศิลปากรกำหนดพิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจำปีการศึกษา2553

    สมเด็จพระเทพรัตนราช

    สุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จ

    พระราชดำเนินแทนพระองค์ในพิธี

    พระราชทานปรญิญาบตัรแก่ผู้สำเรจ็

    การศกึษาจากมหาวทิยาลยัศลิปากร

    ประจำปีการศึกษา 2553 วัน

    พฤหัสบดีที่21กรกฎาคม2554ณ

    ศนูย์ศลิปวฒันธรรมเฉลมิพระเกยีรติ

    6รอบพระชนมพรรษามหาวทิยาลยั

    ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง

    สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ใน

    ปีนี้บัณฑิตคณะวิทยาศาสตร์ที่เข้า

    รับพระราชทานปริญญาบัตร ราย

    ละเอียดมีดังนี้

    1

    2

    16 2 3 10 9 2 4

    56 1 4 2 -

    52 3 6

    6

    40 2 1 4 2 2

    27 1 1 27

    71 4

    2 -

    33 3 3 2 9

    35 3 3 1 39 - 3 2 25

    ( ) 378 15 30 9

    2 5

    1.1 1 2 2

    2

    106

    . . 2554 2554 17-19 2554

    4 , ,

    , , , , , , , ,

    , ,

  • science

    •ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรุงแสง ลักษณบุญส่ง ได้รับเชิญ

    เปน็กรรมการประเมนิคณุภาพการศกึษาภายในสถาบนัวจิยัและพฒันา

    ประจำปีการศึกษา2553วันที่1กรกฎาคม2554ณสถาบันวิจัย

    มหาวิทยาลัยศิลปากร

    •ผู้ชว่ยศาสตราจารย์ดร.เอกพนัธ์บางยีข่นัเขา้รว่มสมัมนาเชงิ

    ปฏบิตัิการเรือ่งการอนรุกัษ์ซอ่มสงวนจติรกรรมฝาผนงัจากการทำลาย

    ดว้ยปจัจยัของสภาพแวดลอ้มระหวา่งวนัที่29–31กรกฎาคม2554

    ณจังหวัดนครปฐมเพชรบุรีและสมุทรสงคราม

    •อาจารย์ดร.จันทร์ดีระแบบเลิศได้รับเชิญจากกรมควบคุม

    โรคเขา้รว่มประชมุวชิาการเรือ่งการปอ้งกนัควบคมุโรคและภยัสขุภาพ

    จากสารเคมีและเปน็วทิยากรบรรยายในหวัขอ้สรปุประเดน็การดำเนนิ

    งานเพื่อการประเมินผลโครงการฯระหว่างวันที่26–28กรกฎาคม

    2554ณโรงแรมสตาร์อำเภอเมืองจังหวัดระยอง

    •ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุลนาถ อบสุวรรณ ได้รับเชิญเป็น

    กรรมการตัดสินการประกวดโปสเตอร์ การประชุมวิชาการและเสนอ

    ผลงานวิจัยและพัฒนาพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน ครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่

    21–22กรกฎาคม2554ณมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

    •อาจารย์ ดร.วรัญญูพูลสวัสดิ์ เข้าร่วมโครงการอบรมและ

    ปฏิบัติการนวัตกรรมพอลิเมอร์ชีวภาพจากจุลินทรีย์ระหว่างวันท่ี29–30

    มิถุนายน2554ณภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพคณะวิศวกรรมศาสตร์

    และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยศิลปากร

    •ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญศรี จงเสรีจิตต์ เข้าร่วมประชุม

    ประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) วันที่

    14 – 16 กรกฎาคม 2554ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัด

    อุบลราชธานี

    •อาจารย์โอภาส วงษ์ทวีทรัพย์ และนายเมธา ลิมปิวรรณ

    เข้าร่วมประชุมอบรมการใช้ระบบลงทะเบียนออนไลน์โครงการการแข่งขัน

    พฒันาโปรแกรมคอมพวิเตอร์แหง่ประเทศไทยครัง้ที่14(NSC2012)

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2554ณ อาคารศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์

    และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย อำเภอ

    คลองหลวงจังหวัดปทุมธานี

    ข่าวบุคคล

    •ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐพล อ้นแฉ่ง เข้าร่วมประชุม

    สมาคมสถาบันอุดมศึกษาสิ่งแวดล้อมไทย ครั้งที่ 2/2554 วันที่

    28–29กรกฎาคม2554ณห้องประชุมเรือนรับรองโรงเรียน

    นายร้อยพระจุลจอมเกล้าจังหวัดนครนายก

    •ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.รัฐพลอ้นแฉ่งและรองศาสตราจารย์

    ดร.มลิวรรณบุญเสนอเข้าร่วมประชุมเพื่อเสนอข้อเสนอโครงการ

    วิจัย เรื่อง การวิเคราะห์สถานการณ์และความเสี่ยงของมลพิษ

    อุตสาหกรรมต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ภาคกลาง ณ

    สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขอำเภอเมืองจังหวัดนนทบุรี

    •ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกพันธ์ บางยี่ขัน อาจารย์

    ดร.วรัญญูพูลสวัสดิ์และอาจารย์ดร.เชาวรีย์อรรถลังรองได้รับ

    เชญิเปน็อาจารย์พเิศษรายวชิาสรรีวทิยาของจลุนิทรยี์(4032603)

    ระหว่างวันที่6มิถุนายน–26กันยายน2554ณมหาวิทยาลัย

    ราชภัฎนครปฐม

    •ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธงชัย เตโชวิศาล ได้รับเชิญ

    เป็นอาจารย์พิเศษรายวิชาพันธุศาสตร์ของจุลินทรีย์(4034401)

    ระหว่างวันที่6มิถุนายน–26กันยายน2554ณมหาวิทยาลัย

    ราชภัฎนครปฐม

    •ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยา ศรีพุทธชาติ และ อาจารย์

    ดร.กมัปนาทธาราภมูิเขา้รว่มสมัมนาทางวชิาการสตัว์ปา่สวนสตัว์

    ครั้งที่5ภายใต้หัวข้อการอนุรักษ์เชิงบูรณาการทางรอดของสรรพ

    ชีวิตระหว่างวันที่27–28กรกฎาคม2554

    •ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นรงค์ ฉิมพาลี ได้รับเชิญเป็น

    วทิยากรโครงการประชมุเชงิปฏบิตัิการ:การจดัทำยทุธศาสตร์ดา้น

    การวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรีระหว่างวันที่27–28

    กรกฎาคม2554ณโรงแรมชมวิวหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

  • science

    กิจกรรมวิทยาศาสตร์

    คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากรจัดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติพ.ศ.2554 คณะวทิยาศาสตร์มหาวทิยาลยัศลิปากรจดังานสปัดาห์วทิยาศาสตร์ประจำปี

    2554 ระหว่างวันที่ 17-19 สิงหาคม2554ณคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย

    ศิลปากร ประธานพิธีเปิดโดยท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ

    ประกอบด้วยกิจกรรมถวายพานพุ่มสักการะพระบรมสาทิสลักษณ์รัชกาลที่ 4

    พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย, การแสดงนิทรรศการทางวิทยาศาสตร์, การบรรยาย

    ทางวิชาการ, การประชุมทางวิชาการ, การแข่งขันสุนทรพจน์, การประกวดพาน

    พุ่มสักการะ,การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์,การประกวดภาพถ่าย,การประกวด

    วาดภาพทางวทิยาศาสตร,์การแขง่ขนัตอบปญัหาทางวทิยาศาสตร์,การแขง่ขนัเขยีน

    โปรแกรม,การแข่งขันทักษะทางวิทยาศาสตร์,กิจกรรมนันทนาการต่างๆ ณบริเวณ

    คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัด

    นครปฐม

    คณะกรรมการนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ ได้จัด

    โครงการรับขวัญบัณฑิตวันที่18กรกฎาคม2554เพื่อ

    เป็นการแสดงความยินดีกับบัณฑิตที่จบการศึกษาและ

    เป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างบัณฑิตใหม่

    คณะวิทยาศาสตร์โดยชมรมข้าราชการพนักงาน

    และลูกจ้างคณะวิทยาศาสตร์ จัดกิจกรรมโครงการ ถวาย

    เทียนพรรษา เพ่ือเป็นการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของไทย

    วนัที่14กรกฎาคม2554ณวดัพะเนยีงแตกอำเภอเมอืง

    จังหวัดนครปฐม

  • ในปจัจบุนัมนษุย์มีความตอ้งการเชือ้เพลงิและพลงังานเพิม่มาก

    ขึน้ทำให้นำ้มนัมีราคาสงูและไม่คงที่อกีทัง้วกิฤตขาดแคลนนำ้มนัทำให้

    มีความจำเป็นที่จะต้องมองหาพลังงานทางเลือกชนิดใหม่มาทดแทน

    พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ใช้กันอยู่ ซึ่งพลังงานทางเลือกที่กำลัง

    เป็นที่สนใจในปัจจุบันคือน้ำมันจากจุลสาหร่าย หรือ Microalgae

    เนื่องจากจุลสาหร่ายมีข้อได้เปรียบพลังงานชนิดอื่นตรงที่

    1. มีปริมาณซัลเฟอร์ต่ำ ดังนั้นการเผาไหม้น้ำมันจากสาหร่าย

    จะไม่ก่อให้เกิดก๊าซSO2ซึ่งเป็นสาเหตุของฝนกรด

    2.มีอตัราการเจรญิเตบิโตสงูในสภาวะที่เหมาะสมสามารถเพิม่

    ปรมิาณขึน้1เทา่ตวัได้ทกุ4ชัว่โมงและใช้ระยะเวลาเพาะเลีย้งให้เจรญิ

    เติบโตสมบูรณ์เพียง1-2สัปดาห์ในขณะที่พืชน้ำมันชนิดอื่นเช่นสบู่

    ดำต้องมีอายุอย่างต่ำ14เดือนจึงจะนำมาสกัดน้ำมันได้

    ข่าวคณะวิทยาศาสตร์มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างคณะวิทยาศาสตร์ศิษย์เก่าและผู้มีอุปการคุณหากท่าน

    มีความประสงค์ที่จะส่งข้อเสนอแนะข่าวสารหรือที่อยู่โปรดแจ้ง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต

    พระราชวังสนามจันทร์นครปฐม73000โทร.0-3425-5093โทรสาร[email protected]

    สามารถเปิดอ่านข่าววิทยาศาสตร์ได้ในwww.sc.su.ac.thได้เช่นกัน

    ฐิฏิมาธโนศวรรย์SC35

    น้ำมันสาหร่าย เชื ้อเพลิงอนาคต

    1 2 3 4

    3. มีอัตราการสังเคราะห์แสงสูง จึงดึงก๊าซ CO2 ใน

    บรรยากาศมาใช้เปน็จำนวนมากดงันัน้การเพาะเลีย้งmicroalgae

    ควบคู่ไปกบัการใช้นำ้มนัจากmicroalgaeอยา่งสมดลุจะไม่เปน็การ

    เพิ่มปริมาณก๊าซ CO2 สุทธิในบรรยากาศ เป็นการช่วยลดภาวะ

    โลกร้อนและยังสามารถขายเป็นคาร์บอนเครดิตเพิ่มมูลค่าได้อีก

    ด้วย

    4.Microalgaeมีการสะสมน้ำมันปริมาณมากภายในเซลล์

    จึงนำมาสกัดน้ำมันได้มาก

    การนำMicroalgaeมาสกดัได้เปน็นำ้มนัที่เรยีกวา่‘Bio-oil’

    นั้นมีอยู่ด้วยกันหลายวิธี เช่น กระบวนการ Thermochemical

    liquefraction,gasificationและfastpyrolysisเปน็ตน้โดยนำ้มนั

    ที่ผลติได้มีคา่Heatingvalue(คา่ความรอ้นของเชือ้เพลงิเมือ่เทยีบ

    กับ1หน่วยน้ำหนักของเชื้อเพลิง)ประมาณ26.62MJ/kgซึ่ง

    น้อยกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีค่าประมาณ42MJ/kgแต่การนำ

    น้ำมันที่ผลิตได้ไปทดลองใช้กับกังหันก๊าซ หม้อไอน้ำ และ

    เครื่องยนต์ดีเซล พบว่าสามารถใช้งานได้ แต่หากเก็บไว้นาน

    นำ้มนัที่ผลติได้จะมีความหนดืมากขึน้ซึง่เมือ่สมัผสักบัความรอ้น

    ที่เหมาะสมจะกลายเป็นถ่านดังนั้นเมื่อผลิตแล้วไม่สามารถเก็บ

    ไว้ได้นานอีกทั้งยังมีความเป็นกรดภาชนะที่จะเก็บหรือขนย้าย

    จึงต้องทนต่อกรดเช่นpolypropyleneหรือstainlessstillแต่

    จากข้อดีที่กล่าวมาข้างต้นทำให้ Bio-oil เป็นพลังงานทางเลือก

    ชนิดหนึ่งที่ น่าสนใจสำหรับงานวิจัยเพื่อพัฒนาปรับปรุง

    ประสิทธิภาพให้ได้เป็นเชื้อเพลิงทางเลือกที่ดีขึ้นต่อไปใน

    อนาคต

    รูปที่1.LightmicroscopicimageofthemicroalgaeChlamy

    domonasreinhardtii.

    รูปที่2.การเพาะเลี้ยงmicroalgaeในท่อปฏิกรณ์แสงเพื่อ

    ประหยัดพื้นที่

    รูปที่3.น้ำมันที่microalgaeสะสมไว้ในเซลล์

    รูปที่4.Bio-oilที่ผลิตจากbiomass

    ที่มาhttp://nstda.or.th/index.php/news/1252-2010-03-03-06-57-29

    http://microscopy.tamu.edu/PoM-03-2008.jpg/image_large

    http://www.biotechnologie.de/BIO/Navigation/EN/News/people,

    did=99406.html?view=renderPrint

    http://www.german-info.com/press_shownews.php?pid=2880

    Microalgae ‘Bio-oil’ Thermochemical liquefraction , gasification fast pyrolysis Heating value (

    1 ) 26.62 MJ/kg 42 MJ/kg

    polypropylene stainless still

    Bio-oil

    2

    4

    Microalgae ‘Bio-oil’ Thermochemical liquefraction , gasification fast pyrolysis Heating value (

    1 ) 26.62 MJ/kg 42 MJ/kg

    polypropylene stainless still

    Bio-oil

    2

    4

    Microalgae ‘Bio-oil’ Thermochemical liquefraction , gasification fast pyrolysis Heating value (

    1 ) 26.62 MJ/kg 42 MJ/kg

    polypropylene stainless still

    Bio-oil

    2

    4