3
บททีÉ 1 บทนํา 1.1 ทีÉมาและความสําคัญ ปัจจุบันการทําการเกษตรอินทรีย์กําลังเป็นทีÉนิยมในการผลิตผลทางการเกษตร สืบ เนืÉองมาจากสภาพพืÊนทีÉเพาะปลูกเริÉมมีสภาพเสืÉอมโทรมอันเนืÉองมาจากการใช้สารเคมีหรือการทํา กิจกรรมต่างๆ ทีÉส่งผลให้สภาพดินเปลีÉยนไปในทางทีÉเลวลงดังนัÊนการนําเชืÊอจุลินทรีย์ทีÉมีประโยชน์ มาใช้ในทางการเกษตรจึงเป็นทางเลือกหนึÉงในการแก้ปัญหาดังกล่าว เชืÊอรา Trichoderma spp. เป็นเชืÊอราปฏิปักษ์ทีÉสามารถควบคุมโรคพืชได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถผลิตปฏิชีวนะสารและสารพิษ ตลอดจนนํÊาย่อยหรือเอนไซม์สําหรับช่วย ละลายผนังเส้นใยของเชืÊอโรคพืช คุณสมบัติพิเศษของเชืÊอรา Trichoderma spp. คือ สามารถช่วย ละลายแร่ธาตุให้อยู่ในรูปทีÉเป็นประโยชน์ต่อพืช จึงช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชและชักนํา ให้ต้นพืชมีความต้านทานต่อเชืÊอโรคพืชทัÊงเชืÊอราและแบคทีเรียสาเหตุโรคในการเกษตร พบได้ ทัÉวไปในดินทุกหนทุกแห่ง สามารถแยกเชืÊอบริสุทธิÍจากดินธรรมชาติได้ง่ายเจริญเติบโตได้ดีบน อาหารเลีÊยงเชืÊอราหลายชนิด มีการสร้างเส้นใยและผลิตโคนิเดีย (conidia) หรือสปอร์ (spore) เห็น เป็นสีเขียว บางชนิดมีสีขาวหรือสีเหลือง (จิระเดช, 2549) เชืÊอรา Trichoderma spp. เป็นเชืÊอราทีÉมี คุณสมบัติและศักยภาพสูงในการควบคุมเชืÊอราสาเหตุโรคพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น โรคแอน แทรคโนส โรคเหีÉยวของพืช โรคแคงเกอร์บนลําต้น โรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศและแตงกวา เป็นต้น (จิระเดช, 2546; Intana, 2003) นอกจากนัÊนยังมีความสามารถในการส่งเสริมการ เจริญเติบโตและเพิÉมผลผลิตของพืชชนิดต่างๆ ได้อีกด้วย เช่น ข้าวสาลี มะเขือเทศ แตงกวา ข้าวโพด คะน้า และผักโขมพันธุ์ผักเป็นต้น (Hayakumachi, 1994; อรรถกร และคณะ, 2549; Preuk et al., 2007) จากการศึกษาพบว่าในปัจจุบันมีการส่งเสริมให้ใช้เชืÊอรา Trichoderma spp. นีÊอย่าง กว้างขวาง เพราะวิธีการกําจัดเชืÊอราโดยใช้เชืÊอราปฏิปักษ์เป็นวิธีทีÉปลอดภัยมากกว่าการกําจัดโดย สารเคมี แต่พบปัญหาการผลิตเชืÊอรา Trichoderma spp. ทีÉไม่เพียงพอกับความต้องการของ เกษตรกร จากความสําคัญและเหตุผลทีÉกล่าวมา การทําโครงงานครัÊงนีÊจึงเป็นแนวทางศึกษาและ พัฒนาเทคนิคการขยายเชืÊอรา Trichoderma spp. ชนิดสด โดยนําเชืÊอรา Trichoderma spp. มาขยาย เชืÊอสดในข้าวสามชนิด ได้แก่ ข้าวเจ้าและข้าวเหนียว ข้าวกล้อง สังเกตดูว่าเชืÊอรา Trichoderma spp. สามารถเจริญได้ดีในข้าวชนิดไหน ข้าวชนิดไหนทีÉทําให้เชืÊอราเจริญได้ดีทีÉสุดเพืÉอจะนําไปใช้ใน

บทที่ 1ปรับปรุง

  • Upload
    kasetpcc

  • View
    15.030

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

บทที 1

บทนํา

1.1 ทีมาและความสําคัญ

ปัจจุบันการทําการเกษตรอินทรีย์ก ําลังเป็นทีนิยมในการผลิตผลทางการเกษตร สืบ

เนืองมาจากสภาพพืนทีเพาะปลูกเริมมีสภาพเสือมโทรมอันเนืองมาจากการใช้สารเคมีหรือการทํา

กิจกรรมต่างๆ ทีส่งผลให้สภาพดินเปลียนไปในทางทีเลวลงดังนั นการนําเชือจุลินทรีย์ทีมีประโยชน์

มาใช้ในทางการเกษตรจึงเป็นทางเลือกหนึงในการแก้ปัญหาดังกล่าว

เชือรา Trichoderma spp. เป็นเชือราปฏิปักษ์ทีสามารถควบคุมโรคพืชได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ สามารถผลิตปฏิชีวนะสารและสารพิษ ตลอดจนนํ าย่อยหรือเอนไซม์สําหรับช่วย

ละลายผนังเส้นใยของเชือโรคพืช คุณสมบัติพิเศษของเชือรา Trichoderma spp. คือ สามารถช่วย

ละลายแร่ธาตุให้อยู่ในรูปทีเป็นประโยชน์ต่อพืช จึงช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชและชักนํา

ให้ต้นพืชมีความต้านทานต่อเชือโรคพืชทั งเชือราและแบคทีเรียสาเหตุโรคในการเกษตร พบได้

ทั วไปในดินทุกหนทุกแห่ง สามารถแยกเชือบริสุทธิ จากดินธรรมชาติได้ง่าย เจริญเติบโตได้ดีบน

อาหารเลี ยงเชือราหลายชนิด มีการสร้างเส้นใยและผลิตโคนิเดีย (conidia) หรือสปอร์ (spore) เห็น

เป็นสีเขียว บางชนิดมีสีขาวหรือสีเหลือง (จิระเดช, 2549) เชือรา Trichoderma spp. เป็นเชือราทีมี

คุณสมบัติและศักยภาพสูงในการควบคุมเชือราสาเหตุโรคพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น โรคแอน

แทรคโนส โรคเหียวของพืช โรคแคงเกอร์บนลําต้น โรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศและแตงกวา

เป็นต้น (จิระเดช, 2546; Intana, 2003) นอกจากนั นย ังมีความสามารถในการส่งเสริมการ

เจริญเติบโตและเพิมผลผลิตของพืชชนิดต่าง ๆได้อีกด้วย เช่น ข้าวสาลี มะเขือเทศ แตงกวา ข้าวโพด

คะน้า และผ ักโขมพันธุ์ผ ัก เป็นต้น (Hayakumachi, 1994; อรรถกร และคณะ, 2549; Preuk et al.,

2007) จากการศึกษาพบว่าในปัจจุบันมีการส่งเสริมให้ใช้เชือรา Trichoderma spp. นี อย่าง

กว้างขวาง เพราะวธีิการกําจัดเชือราโดยใช้เชือราปฏิปักษ์เป็นวิธีทีปลอดภัยมากกว่าการกําจัดโดย

สารเคมี แต่พบปัญหาการผลิตเชือรา Trichoderma spp. ทีไม่เพียงพอกับความต้องการของ

เกษตรกร จากความสําคัญและเหตุผลทีกล่าวมา การทําโครงงานครั งนี จึงเป็นแนวทางศึกษาและ

พัฒนาเทคนิคการขยายเชือรา Trichoderma spp. ชนิดสด โดยนําเชือรา Trichoderma spp. มาขยาย

เชือสดในข้าวสามชนิด ได้แก่ ข้าวเจ้า และข้าวเหนียว ข้าวกล้อง สังเกตดูว่าเชือรา Trichoderma spp.

สามารถเจริญได้ดีในข้าวชนิดไหน ข้าวชนิดไหนทีทําให้เชือราเจริญได้ดีทีสุดเพือจะนําไปใช้ใน

2

แปลงของเกษตรกร ซึงคาดว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรอย่างมากและประชาชนทั วไป

สามารถขยายเชือรา Trichoderma spp. ไว ้ใช้ควบคุมเชือราสาเหตุโรคพืชได้ด้วยตนเอง ประหย ัด

ค่าใช้จ่าย ช่วยลดต้นทุนในการใช้เชือสดโดยตรงซึงมีราคาแพงกว่า ลดการใช้สารเคมีเพิมความ

ปลอดภัยจากผู ้ผลิต ผู ้บริโภค และสิงแวดล้อม

1.2 วัตถุประสงค์

1. เพือศึกษาชนิดของข้าวทีเหมาะสมใชใ้นการขยายเชือสด เชือรา Trichoderma spp.

2. เพือศึกษาวิธีทีเพิมปริมาณเชือรา Trichoderma spp. ให้ได้ปริมาณมากทีสุดและเสีย

ค่าใช้จ่ายน้อย

1.3 ขอบเขตของการศึกษา

ข้าวทีใช้ศึกษาเป็นข้าว 3 ชนิดคือข้าวเจ้า, ข้าวเหนียว, ข้าวกล้อง ทีมีจ ําหน่ายทั วไปใน

ท้องตลาด

1.4 สมมติฐานการศึกษา

เชือรา Trichoderma spp. สามารถเจริญเติบโตและมีปริมาณเส้นใยมากเมือเลี ยงใน

ข้าวเหนียว

1.5 ตัวแปรทีศึกษา

1. ตัวแปรต้นคือชนิดของข้าว 3 ชนิดทีใช้ในการ

2. ตัวแปรตามคือการเจริญเติบโตของเส้นใยเชือรา Trichoderma spp.

3. ตัวแปรควบคุมคือ

-ปริมาณข้าวทีใส่ลงไปในแต่ละ plate มีปริมาณ 40 กรัม

-ปริมาณเชือรา Trichoderma spp. ทีใช้ในการทดลอง จ ํานวน 0.3 (± 1 mg)

-บันทึกผลการทดลองทุกวันและบันทึกผลการทดลองเป็นเวลาทั งหมด 7 ว ัน

3

-การทดลองจะทําให้อุณหภูมิห้อง 25 องศาเซลเซียส

-เวลาทีใช้หุงข้าวในการทดลองนํามาหุงให้สุกเป็นเวลา 10 นาที

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ

เชือรา Trichoderma spp. หมายถึง เชือบริสุทธิ ทีสามารถแยกเชือบริสุทธิ จากดิน

ธรรมชาติได้ง่าย เจริญเติบโตได้ดีบนอาหารเลี ยงเชือรา(PDA)จากนักวิชาการด้านโรคพืช ศูนย์วิจัย

พืชสวน จังหวัดเชียงราย

การเจริญเติบโตของเชือรา หมายถึง เส้นผ่าศูนย์กลาง สีของโคโลนี ลักษณะของเส้นใย

ลักษณะรูปร่างและการแผ่รัศมีของเชือรา

ความฟู หมายถึง

อัตราการเจริญเติบโต หมายถึง

การเจริญเติบโตของเชือราไตรโคเดอร์ม่าเราสามารถวัดการเจริญเติบโตของเชือ

ราโดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากพืนทีในแต่ละ plate ทีเราเลี ยง , วัดจากเส้นผ่าศูนย์กลาง

ของเชืราทีเจริญ , วัดจากโคโลนี เล้นใยและความฟูบนข้าว ,วัดจากรูปร่างและการแผ่

รัศมีของเชือ

- การวัดเส้นผ่าศูนย์กลางของเชื อรา วัดจากด้านทีมีความกว้างทีสุด