3
ภาควิชาเทคโนโลยีขนถายวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ แผนการสอนภาคการศึกษาที่ 1 / 2553 วิชา 153102 VIBRATION TECHNOLOGY 3(3-0-6) 1. ผูสอน : รองศาสตราจารย พรชัย จงจิตรไพศาล ที่ติดตอ : หอง 512 ชั้น 5 อาคาร 88 , โทรศัพท 02-587-4336 , 02-913-2500-24 ตอ 8638 2. ตําราที่ใช : กลศาสตรการสั่นสะเทือน (Mechanical Vibrations) โดย พรชัย จงจิตรไพศาล สํานักพิมพ SE-ED 3. หนังสืออางอิงหรืออานประกอบ : 1. Steidel , Robert F., An Introduction to Mechanical Vibrations , 3 rd Edition , Singapore John Wiley & Sons , 1971. 2. Thomson , William T., Theory of Vibration with Applications , 3 rd Edition , New Jersey Prentice - Hall , 1988. 3. Rao , Singiresu S., Mechanical Vibration , 3 rd Edition , 3 rd Edition , New York Addison - Wesley , 1995. 4. Colijn , Hendrik , Mechanical Conveyors for Bulk Solids , Netherlands , Elsevier Science Publishers , 1985. 5. Giunta , J. and Colijn, Hendrik. , “ Theory of Particle Screening Phenomenon Part I“ Powder Handling & Processing .,Vol. 4 ,Number 4, (November 1992): p.393-403. 6. Giunta , J. and Colijn, Hendrik. ,“ Theory of Particle Screening Phenomenon Part II“ Powder Handling & Processing . , Volume 5 ,Number 1, (March 1993) : p.45-52. 4. การเก็บคะแนน : ทดสอบกลางภาค 30 % การบาน หรือรายงาน 10 % สอบไล 60 % 5.แนวทางการพิจารณาผลการเรียน ตองไดคะแนนไมต่ํากวา 30% จึงถือวาสอบผาน 6. วิธีสอน :บรรยาย สัปดาหละครั้ง ครั้งละ 3 ชั่วโมง เนนการวิเคราะหระบบโดยใชกฏเกณฑทางฟสิกส 7. วิชาบังคับกอน : 14-3101 สมการดิฟเฟอเรนเชียล หรือ 421211 คณิตศาสตรวิศวกรรม 3 และ 101101 กลศาสตรวิศวกรรม 1 8. คําอธิบายรายวิชาที่ปรากฎในหลักสูตร : การเคลื่อนที่แบบฮารโมนิค การสั่นสะเทือนแบบอิสระและแบบบังคับของระบบระดับความเสรีขั้นเดียว การ สั่นสะเทือนของระบบระดับความเสรีสองขั้นและหลายขั้นทั้งแบบอิสระและแบบบังคับ การแกไขปญหาการสั่นสะเทือน สมการลากรานจ การสั่นสะเทือนของระบบตอเนื่อง เชน แทงวัสดุคาน การศึกษารางเขยาขนถายวัสดุ ทฤษฎีรางเขยาเชิง เสน การเคลื่อนที่ของวัสดุบนรางเขยา ความเร็วในการขนถายวัสดุ อุปกรณขับแรงและกําลังขับรางเขยา การเคลื่อนที่ของ วัสดุบนพื้นเอียงของรางเขยาแบบเกลียว แฟคเตอรตางๆ ที่มีผลตอการแยกขนาดวัสดุดวยรางเขยา การคํานวณอัตราการแยก วัสดุ แอมปลิจูด และความถี่ของตะแกรง

วิชา 153102 VIBRATION TECHNOLOGY

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วิชา 153102 VIBRATION TECHNOLOGY

ภาควิชาเทคโนโลยีขนถายวัสด ุ คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

แผนการสอนภาคการศึกษาที่ 1 / 2553 วิชา 153102 VIBRATION TECHNOLOGY 3(3-0-6)

1. ผูสอน : รองศาสตราจารย พรชัย จงจิตรไพศาล ท่ีติดตอ : หอง 512 ช้ัน 5 อาคาร 88 , โทรศัพท 02-587-4336 , 02-913-2500-24 ตอ 8638 2. ตําราที่ใช : กลศาสตรการสั่นสะเทือน (Mechanical Vibrations) โดย พรชัย จงจิตรไพศาล สํานักพิมพ SE-ED 3. หนังสืออางอิงหรืออานประกอบ :

1. Steidel , Robert F., An Introduction to Mechanical Vibrations , 3 rd Edition , Singapore John Wiley & Sons , 1971.

2. Thomson , William T., Theory of Vibration with Applications , 3 rd Edition , New Jersey Prentice - Hall , 1988.

3. Rao , Singiresu S., Mechanical Vibration , 3 rd Edition , 3 rd Edition , New York Addison - Wesley , 1995.

4. Colijn , Hendrik , Mechanical Conveyors for Bulk Solids , Netherlands , Elsevier Science Publishers , 1985.

5. Giunta , J. and Colijn, Hendrik. , “ Theory of Particle Screening Phenomenon Part I“ Powder Handling & Processing.,Vol. 4 ,Number 4, (November 1992): p.393-403.

6. Giunta , J. and Colijn, Hendrik. ,“ Theory of Particle Screening Phenomenon Part II“ Powder Handling & Processing. , Volume 5 ,Number 1, (March 1993) : p.45-52. 4. การเก็บคะแนน : ทดสอบกลางภาค 30 % การบาน หรือรายงาน 10 % สอบไล 60 % 5.แนวทางการพิจารณาผลการเรียน ตองไดคะแนนไมตํ่ากวา 30% จึงถือวาสอบผาน 6. วิธีสอน :บรรยาย สัปดาหละครั้ง ครั้งละ 3 ช่ัวโมง เนนการวิเคราะหระบบโดยใชกฏเกณฑทางฟสิกส 7. วิชาบังคับกอน : 14-3101 สมการดิฟเฟอเรนเชียล หรือ 421211 คณิตศาสตรวิศวกรรม 3 และ 101101 กลศาสตรวิศวกรรม 1 8. คําอธิบายรายวิชาที่ปรากฎในหลักสูตร :

การเคลื่อนท่ีแบบฮารโมนิค การสั่นสะเทือนแบบอิสระและแบบบังคับของระบบระดับความเสรีข้ันเดียว การสั่นสะเทือนของระบบระดับความเสรีสองข้ันและหลายข้ันท้ังแบบอิสระและแบบบังคับ การแกไขปญหาการสั่นสะเทือน สมการลากรานจ การสั่นสะเทือนของระบบตอเนื่อง เชน แทงวัสดุคาน การศึกษารางเขยาขนถายวัสดุ ทฤษฎีรางเขยาเชิงเสน การเคลื่อนท่ีของวัสดุบนรางเขยา ความเร็วในการขนถายวัสดุ อุปกรณขับแรงและกําลังขับรางเขยา การเคลื่อนท่ีของวัสดุบนพื้นเอียงของรางเขยาแบบเกลียว แฟคเตอรตางๆ ท่ีมีผลตอการแยกขนาดวัสดุดวยรางเขยา การคํานวณอัตราการแยกวัสดุ แอมปลิจูด และความถี่ของตะแกรง

Page 2: วิชา 153102 VIBRATION TECHNOLOGY

9. หลักการที่จะใหเรียนรูและส่ิงที่คาดวานักศึกษาควรจะทําไดเม่ือสอบผานวิชานี้ :: 1. Oscillation Motion 2. Free Vibration with Single Degree of Freedom System 3. Force Vibration with Single Degree of Freedom System 4. Transient Vibration 5. Two Degree of Freedom System 6. Introduction to Multi Degree of Freedom System 7. Normal Mode Vibration of Continuous System 8. Application of Vibration for Conveying of Bulk Material 9. Application of Vibration for Vibrating Screen 10. หัวขอที่จะสอน :

สัปดาหท่ี เนื้อหา 1 Oscillation Motion

การเคลื่อนท่ีเชิงมุมและพลังงานจากการเคลื่อนท่ี การสั่นสะเทือนเบ้ืองตน

2 Equation of Motion สมการการเคลื่อนท่ี การวิเคราะหการเคลื่อนท่ี

3 Energy Method วิธีพลังงาน คาเสมือนของสปริง ตัวอยางการคํานวณ

4 Damping ระบบการสั่นสะเทือนอิสระท่ีประกอบดวยตัวหนวยชนิดหนืด การลดขนาดการเคลื่อนท่ี ตัวหนวงชนิดแหงหรือคูลอมบ ตัวหนวงการเคลื่อนท่ีชนิดของแข็ง

5 Force Vibration การสั่นสะเทือนโดยแรงฮารโมนิค การสั่นสะเทือนจากการหมุนแบบไมสมดุล การถายเทแรงและการแยกระบบ

6 Force Vibration (Continue) ฐานเคลื่อนท่ี การสั่นสะเทือนโดยแรงท่ีประกอบดวยตัวหนวงชนิดแหง การสั่นสะเทือนโดยแรงท่ีประกอบดวยตัวหนวงชนิดของแข็ง เครื่องมือวัดการสั่นสะเทือน, ระบบเสมือน

Page 3: วิชา 153102 VIBRATION TECHNOLOGY

7 Transient Vibration แรงกระตุน Convolution Integral Superposition

8 Two Degree of Freedom System นอรมัลโหมด การสั่นสะเทือนโดยแรง การลดขนาดการสั่นสะเทือน

9 Two Degree of Freedom System (Continue) การสั่นสะเทือนท่ีประกอบดวยตัวหนวงชนิดหนืด สมการลากรางค

10 Test 30% 11 Introduction to Multi Degree of Freedom System

การหาคําตอบจากการวิเคราะหโดยตรง Influence Coefficients วิธีคํานวณซ้ําดวยเมตริก

12 Introduction to Multi Degree of Freedom System (Continue) ไอเกนแวลู-ไอเกนเวคเตอร Mechanical Impedance Method

13 Application of Vibration for Conveying of Bulk Material การประยุกตการสั่นสะเทือนสําหรับการขนถายวัสดุ ลักษณะโดยท่ัวไป ทฤษฎีรางเขยาเชิงเสน การเคลื่อนท่ีของวัสดุบนรางเขยา ความเร็วในการขนถายวัสดุและอัตราการขนถายวัสดุ

14 Application of Vibration for Conveying of Bulk Material ขนาดการสั่นสะเทือนแรงขับและกําลังขับจากตัวขับชนิดตางๆ อุปกรณขับ รางเขยาแบบเกลียว

15 Application of Vibration for Vibrating Screen ตัวแปรท่ีมีผลตอประสิทธิภาพของการคัดแยกขนาดวัสดุ การหาขนาดของตะแกรงสั่นสะเทือน แอมปลิจูดและความถี่ของตะแกรงสั่นสะเทือน

ลงช่ือ______________________ผูสอน (พรชัย จงจิตรไพศาล)