EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ......

Preview:

Citation preview

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วิชาหลักเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC211) ภาค 2/2556 อ.ลอยลม ประเสริฐศรี

เคาโครงการบรรยาย

หัวขอที่ 3ความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทาน

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคากับรายรับรวม

ความยืดหยุนของอุปสงคชนิดอื่นๆ

วันพุธ ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา STUDENT Version

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี2

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

คำถาม: ระหวางทางที่ลาดชันมาก กับทางเรียบ รถยนตจะเคลื่อนที่ในเสนทางไหน ไดเร็วกวากัน? เร็วกวากันเพียงใด?

ประโยชนของความยืดหยุน: การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพชวยใหทราบถึงเพียงทิศทางการเปลี่ยนแปลง

แตคาความยืดหยุนชวยใหสามารถคำนวณขนาดของการเปลี่ยนแปลง

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี3

ความหมายของความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

สินคา X คือ อาหาร สินคา Y คือ เสื้อผา

PX QX ΔQX

4 6 -2$2 8 -

PY QY ΔQY

4 2 -2$2 4 -

เราควรสรุปวาอุปสงคของสินคาทั้งสองชนิด

ตอบสนองตอราคาเทากันไหม

ลองพิจารณาการเปลี่ยนแปลง:เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงทางดานราคา:

เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงทาง

ดานปริมาณ:

จะพบวา เมื่อคิดเปนเปอรเซ็นตของการเปลี่ยนแปลงจะมีคาไมเทากัน นั่นคือ ควรเปรียบเทียบดวยสัดสวนของการเปลี่ยนแปลง

คาความยืดหยุน (Elasticity) คืออะไร?

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี4

ความหมายของความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

“ดัชนีที่นักเศรษฐศาสตรใชในการวัดอัตราการตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของราคา”

คาความยืดหยุน (Elasticity) คืออะไร?

Price Elasticity of Demand: “อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงคของสินคาชนิดนั้น ตอการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาชนิดนั้น”

Ed =ΔQ QΔP P

Ed =ΔQΔP

× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

ตัวอยางที่ 3.1: ถาหาก มธ. ปรับคาหนวยกิตเพิ่มขึ้น 10% สงผลใหปริมาณการลงทะเบียน ลดลงไป 20% ถามวา Price Elasticity of Demand มีคาเทาใด?วิธีทำ

สูตรการคำนวน ความยืดหยุนแบบจุด:

Ed =%Δ in Q demanded

%Δ in price

Elastic: Ed >1

Inelastic: Ed <1

Unitary elastic: Ed = 1

แปลความหมาย: ปริมาณการลงทะเบียน ลดลงไป 2% ถาหาก มธ. ปรับคาหนวยกิตเพิ่มขึ้น 1% (ในทิศทางตรงกันขาม)

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี5

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ตัวอยางที่ 3.2: กำหนดให ผูโดยสารบนเครื่องบินประกอบดวยนักทองเที่ยว กับ นักธุรกิจ มีปริมาณความตองการตั๋วเครื่องบิน เพื่อเดินทางจากกรุงเทพถึงเชียงใหม ดังขอมูลในตาราง

ราคาตั๋วเครื่องบินปริมาณที่ตองการ

(นักธุรกิจ)$150200250300

2,100 tickets2,0001,9001,800

ปริมาณที่ตองการ

(นักทองเที่ยว)

600400

8001,000 tickets

จากตาราง: ถาหากราคาสินคาปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 200 บาทเปน 250 บาท จงหาคา Price Elasticity of Demand สำหรับบุคคลสองกลุม

วิธีทำ

แปลความหมาย: : ปริมาณการจองตั๋ว-เครื่องบิน ลดลงไป 0.2% ถาหากปรับราคาคาตั๋วเพิ่มขึ้น 1%

Ed = 0.2 แปลความหมาย: : ปริมาณการจองตั๋ว-เครื่องบิน ลดลงไป 1% ถาหากปรับราคาคาตั๋วเพิ่มขึ้น 1%

Ed = 1.0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี6

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ปญหาของความยืดหยุนแบบจุด: “เมื่อเคลื่อนที่ไปตามเสนอุปสงคระหวางสองจุด คาความยืดหยุนที่วัดได กรณีราคาเพิ่มกับราคาลดจะมีคาไมเทากัน”

Q0

P

D1

Ed =Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

คาความยืดหยุน ณ จุด A:

คาความยืดหยุน ณ จุด B:

Ed =Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี7

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

คาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา(แบบจุด) บนเสนอุปสงคเสนเดียวกันมีคาไมเทากัน :

สามารถแกไขปญหาการคำนวณคาความยืดหยุนของ

อุปสงคแบบจุดดวย การหา Arc Price elasticity

EdA = Q2 −Q1

P2 − P1× P1Q1

=

Note: (1) การหาคาความยืดหยุน ณ จุดไหน ใหจุดนั้นเปน P1, Q1

(2) สมมติจุดอื่นจุดไหนก็ไดเปน P2, Q2

EdB = Q2 −Q1

P2 − P1× P1Q1

=

EdC = Q2 −Q1

P2 − P1× P1Q1

=D1

B

A

C

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี8

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา: ความยืดหยุนแบบชวงความยืดหยุนแบบชวง (Arc Price elasticity)

Q0

P

D1

104

0.50 B

2.00 A

Ed =Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2สูตรการคำนวณ:

คาความยืดหยุน ณ จุด A:Ed =

Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2

คาความยืดหยุน ณ จุด B:Ed =

Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2

Key Points: ความยืดหยุนแบบชวงไมวาจะคำนวณ ณ จุดใด จะใหคาเทากัน

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี9

Bonus Tip: การหาความยืดหยุนโดยวิธีเรขาคณิต

Q0

P

D1

A

B

Ed =ΔQΔP

× P1Q1

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

Ed =ΔQΔP

× P1Q1

=

Ed =ΔQΔP

× P1Q1

Ed =P1Q1

× 1ΔP ΔQ

Ed =

Slope มาก ==> หยุนนอย

Slope นอย ==> หยุนมากQ1

P1 R

หมายเหตุ: ระวัง หามทองแบบนี้

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี10

การแบงประเภทอุปสงคดวยความยืดหยุน

อุปสงคที่มีความยืดหยุนมาก: Ed >11

อุปสงคที่มีความยืดหยุนนอย: Ed <12

เกิดเมื่อ %Δ ของปริมาณอุปสงค มากกวา %Δ ของราคา

เกิดเมื่อ %Δ ของปริมาณอุปสงค นอยกวา %Δ ของราคา

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี11

การแบงประเภทอุปสงคดวยความยืดหยุน

อุปสงคที่มีความยืดหยุนมาก: Ed >11 อุปสงคที่มีความยืดหยุนนอย: Ed <12

เกิดเมื่อ %Δ ของปริมาณอุปสงค มากกวา %Δ ของราคา

เกิดเมื่อ %Δ ของปริมาณอุปสงค นอยกวา %Δ ของราคา

Q0

P

5020

D120 B30 A

Q0

P

D1

2520

30 A

20 B

ยกตัวอยางเชน เฟอรนิเจอร =-1.2, ไฟฟา =-1.3 หรือ รถยนต = -2.1

ยกตัวอยางเชน น้ำตาล =-0.3, อาหาร =-0.4 หรือ เบนซิน = -0.6

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

D1

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี12

การแบงประเภทอุปสงคดวยความยืดหยุน

ความยืดหยุนเทากับหนึ่ง: Ed = 13

เกิดเมื่อ %Δ ของปริมาณอุปสงค เทากับ %Δ ของราคา

ยกตัวอยางเชน เนื้อวัว หรือเบียร

Q0

P

10

20

15

D1

30 A

BEd =

ΔQΔP

× P1Q1

=

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี13

การแบงประเภทอุปสงคดวยความยืดหยุน

Perfectly Elastic: Ed = ∞5

เกิดเมื่อ %Δ ของราคา ทำใหการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค มีคาเทากับคาอนันต

Q0

P

D120

At a price above 20, quantity demanded is zero.

At a price below 20, quantity demanded is infinite.

At a price exactly 20, consumer will by any quantity.

Perfectly Inelastic: Ed = 04

กรณีนี้ ปริมาณอุปสงคไมเปลี่ยนแปลงเลยจากการที่ราคาเปลี่ยนแปลง

Q0

P

D1

30 A

B20

10

ในโลกแหงความเปนจริง คงไมมีสินคาใด ที่ผูขายสามารถขึ้นราคาไดอยางไมสิ้นสุด

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี14

ปจจัยที่เปนตัวคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ยิ่งหาสินคาทดแทนไดงาย ผูบริโภคยิ่งออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงของราคา และยิ่งมีความยืดหยุนสูง

หาสิ่งทดแทนไดงายหรือยาก

การทองเที่ยวอวกาศ การทองเที่ยวชายหาด

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี15

ปจจัยที่เปนตัวคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ยิ่งมีเวลาปรับตัวนาน ก็ยิ่งหาสิ่งทดแทนไดงาย อุปสงคยิ่งยืดหยุนสูง

ระยะเวลาในการปรับตัว

ระยะสั้น ระยะยาว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี16

ปจจัยที่เปนตัวคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ยิ่งสินคามีความจำเปนมากเทาไหร ความยืดหยุนก็จะย่ิงต่ำ ในทางตรงกันขาม กรณีที่เปนสินคาฟุมเฟอยความยืดหยุนจะคอนขางมาก

จำเปนหรือฟุมเฟอย

สินคาจำเปน สินคาฟุมเฟอย

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี17

ปจจัยที่เปนตัวคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ยิ่งสัดสวนรายจายสูง การเปลี่ยนแปลงของราคายิ่งม ีผลกระทบมาก ผูบริโภคจึงยิ่งมีความยืดหยุนตอราคาสูง เมื่อสินคานั้นมีสัดสวนรายจายสูง

สัดสวนรายจาย

สัดสวนคาใชจายสูง

Price=$1,000

สัดสวนคาใชจายต่ำ

Price=$10

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี18

ขอควรระวัง: ความเขาใจผิดเกี่ยวกับความชันและความยืดหยุน

Ed =ΔQΔP

× P1Q1

= OQ1

AP1× OP1OQ1

= −OP1AP1

Ed =P1Q1

× 1slope

Ed1G = −OP1

AP1=

Ed2H = −OP1

AP1=1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

5101520253035404550

Q0

P

D1

D2

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี19

ขอควรระวัง: ความเขาใจผิดเกี่ยวกับความชันและความยืดหยุน

Ed =ΔQΔP

× P1Q1

= OQ1

AP1× OP1OQ1

= −OP1AP1

Ed =P1Q1

× 1slope

Ed1G = −OP1

AP1=

Ed2H = −OP1

AP1=Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

D1D2

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี20

Q0

P

D1

รายจายของผูบริโภค ในอีกมิติหนึ่งคือรายรับของผูขาย เทากับ พื้นที่สี่เหลี่ยมที่แรเงา ในกรณีนี้ รายรับมีคาเทากับ TR=PxQ=30x100= 3,000

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคากับรายรับรวม

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี21

อุปสงคที่มีความยืดหยุนมาก: Ed >11 อุปสงคที่มีความยืดหยุนนอย: Ed <12

Q0

P

D1

50

20 B

20

30 A

Q0

P

D1

20

30 A

25

20 B

กำหนดให มีการเพิ่มราคาสินคา จาก P1=20 เปน P2=30

ความยืดหยุนของอุปสงคกับรายรับ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี22

ความยืดหยุนของอุปสงคกับรายรับ

$0

Price Quantity demanded

Total revenue

12345678910

109876543210

$09

1621242524211690

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1012345678910

Q0

TR

0

9

16212425

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ตัวอยางที่ 3.3: ปจจุบันนางสาวยิ่งรัก มีเงินเดือน 20,000 บาท เธอบริโภคกาแฟ 30 แกว/เดือน และบริโภคซาลาเปา 30 กอน ตอมา เงินเดือนเพิ่มเปน 30,000 บาท เธอปรับการบริโภค โดยบริโภคกาแฟ 60 แกว/เดือน และบริโภคซาลาเปา 15 กอน จงระบุวากาแฟกับซาลาเปาเปนสินคาประเภทใด?

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี23

ความยืดหยุนของอุปสงคชนิดอื่นๆ ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได (Income elasticity of demand) เปนความออนไหวของอุปสงคของสินคาหนึ่ง ตอการเปลี่ยนแปลงของรายได

สินคาปกติ (normal) income elasticity of demand มีคาเปนบวก หรือ EI > 0

สินคาดอย (inferior) income elasticity of demand มีคาเปนลบ หรือ EI < 0

ผลการคำนวนแปลความได ดังนี้:-

EI =%Δ in Q demanded%Δ in income

= ΔQΔI

× IQ

สูตรการคำนวน:

วิธีทำ

EI =ΔQΔI

× IQ

=

EI =ΔQΔI

× IQ

=

สรุป กรณีของผูบริโภคทานนี ้กาแฟเปนสินคาปกติ สวนซาลาเปาเปนสินคาดอย

ตัวอยางที่ 3.4: เดิมราคาน้ำมันเบนซินอยูที่ 30 บาทตอลิตร ยอดขายรถยนตอยูที่ 5,000 คันตอเดือน ตอมา เกิดภาวะน้ำมันแพง ราคาน้ำมันเบนซิน เพิ่มเปน 50 บาทตอลิตร ยอดขายรถยนตลดลงเหลือ 1,000 คันตอเดือน จงระบุวาน้ำมันกับรถยนตเปนสินคาประเภทใด?

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี24

ความยืดหยุนไขว ความยืดหยุนไขว (Cross price elasticity of demand) ความออนไหวของอุปสงคของสินคาหนึ่งที่เกิดจากราคาของสินคาอื่นเปลี่ยนไป

EXY =%Δ in QX

%Δ in PY= ΔQX

ΔPY× PYQX

สูตรการคำนวน:

เมื่อเปนสินคาประกอบกัน (Complementary Goods) cross-elasticity ติดลบ หรือ EXY < 0

เมื่อเปนสินคาทดแทนกัน (Substitution Goods) cross-elasticity เปนบวก หรือ EXY > 0

ผลการคำนวนแปลความได ดังนี้:-

วิธีทำ กำหนดให X=รถยนต, Y=น้ำมัน

EXY =%Δ in QX

%Δ in PY= ΔQX

ΔPY× PYQX

EXY =

EXY =

ดังนั้น สามารถสรุปไดวาน้ำมันเบนซินกับรถยนตเปนสินคาประกอบกัน

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี25

สรุป ประเด็นความยืดหยุนของอุปสงคชนิดอื่นๆ

X และ Y ประกอบกันX และ Y ทดแทนกัน Normal Goods Inferior Goods

พิจารณา ความยืดหยุนของอุปสงคไขว หรือ EXY

พิจารณา ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได หรือ EI

Q0

P

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี26

ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา Price Elasticity of Supply:

“สัดสวน การเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปทาน ตอ การเปลี่ยนแปลงของราคา”

ตัวอยางที่ 3.5: จากกราฟดานลาง จงแสดงวิธีการหาความยืดหยุนของอุปทานตอราคา

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

ES =%Δ in Q Supplied%Δ in price

สูตรการคำนวน ความยืดหยุนแบบจุด:

ความยืดหยุนแบบชวง (Arc Price elasticity)

ES =Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2สูตรการคำนวณ:

S130 B

20 A

30 50วิธีทำ

ES =Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2

ES =

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี27

ความยืดหยุนของอุปทาน: แบบจุด VS แบบชวงตัวอยางที่ 3.6: จากกราฟดานลาง จงแสดงวิธีการหาความยืดหยุนของอุปทานตอราคาทั้งแบบจุดและแบบชวง

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

S1

A

B

วิธีทำ ES =Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

ความยืดหยุน ณ จุด A:

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

ความยืดหยุน ณ จุด B:

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

-3 -2 -1

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี28

ความยืดหยุนของอุปทานแบบตาง ๆ

S1

A

Es =ΔQS

ΔP× PQ

=

Es =RQ1OQ1

=

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

สรุป หากเสนอุปทานตัดแกนราคา จะไดวา Es >1

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี29

ความยืดหยุนของอุปทานแบบตาง ๆ

S1A

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= −RQ1−OP1

× OP1OQ1

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

สรุป หากเสนอุปทานตัดแกนปริมาณ จะไดวา Es <1

จุดตัดแกนนี้ อธิบายในทางเศรษฐศาสตรวาอยางไร?

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี30

ความยืดหยุนของอุปทานแบบตาง ๆ

S1

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= −RQ1−OP1

× OP1OQ1

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

สรุป หากเสนอุปทานตัดจุดกำเนิด จะไดวา Es = 1

S0S2

A B C

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี31

ปจจัยที่เปนตัวคาความยืดหยุนของอุปทานตอราคา

ยิ่งสามารถปรับไปผลิตสินคาอื่นไดงาย ยิ่งมีความยืดหยุนสูง

เปลี่ยนไปผลิตสินคาอื่นไดงายหรือยาก

ยิ่งตนทุนการผลิตเพิ่มขึ้นเร็วตามปริมาณการผลิตที่

เพิ่มขึ้นเสนอุปทานยิ่งยืดหยุนนอย

ตนทุนสวนเพิ่ม

ระยะเวลาปรับตัวที่เพิ่มขึ้นก็ยิ่งมีโอกาสปรับไปผลิต

สินคาอื่นไดงายขึ้น ความยืดหยุนก็ยิ่งสูงขึ้น

ระยะเวลาในการปรับตัว

คำถาม: สินคาเกษตรกับสินคาอุตสาหกรรม สินคาชนิดใด มีความยืดหยุนของอุปทานตอราคามากกวากัน?

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี32

คำถามในชั้นเรียน ครั้งที่ 2คำถาม: ไขไก กับ เนื้อไก เปนสินคาที่จำเปนตอการบริโภคของประชาชนเหมือนกัน ทานคิดวา สินคาสองชนิดนี้มีความยืดหยุนของอุปทานตอราคาใกลเคียงกันหรือไม โดยวาดกราฟอุปทานของไขไก และอุปทานของเนื้อไก เพื่อประกอบการอธิบายวามีความแตกตางกันหรือไม ประการใด

Q0

P

Q0

P

คำตอบ ไกเนื้อมีความยืดหยุนมากกวา เนื่องจากรอบการผลิตไกเนื้อคอนขางสั้น ประมาณ 45 วัน ในขณะที่ไขไก อายุการใหไขฟองแรกจะอยูที่ประมาณ 19-20 สัปดาห

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี33

Supply periods and time

Q0

PS0: Very short run

S1: Short run

S2: Long run

S3: Very Long run

S0: Very short runPerfectly inelastic supply = fixed supply

S1: Short runModerately inelastic.

S2: Long runMore elastic

S3: Very Long runPerfectly elastic supply

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี34

The downward sloping supply curve

Q0

P

Falling long run SUPPLY curve

The downward sloping supply curve in the long run is already familiar to you: computers, scanners, TV sets, digital cameras, DVD players and discs, CD players and discs….. Most if not all of the products of modern hi-tech industry fall into this category. As the years go by, they get better and a lot cheaper.

Recommended